Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

หนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

Description: หนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

Search

Read the Text Version

๓. คำศพั ท ์ ๓.๑ ความหมายของคำศัพท์ คำศพั ท ์ ความหมาย ราชสีห ์ พญาสงิ โต สตั ว์ในนยิ าย ถอื วา่ มีความดุรา้ ยและมีกาํ ลังมาก สิงห์ สงิ หราช หรือสหี ราช ก็เรยี กได้ มัธยัสถ์ ประหยัด, เขยี ม, อดออม, กระเหมด็ กระแหม่ อัธยาศยั นิสัยใจคอ ๓.๒ คำทเ่ี ขียนแตกต่างจากปจั จบุ นั คำท่ีใช้ในปจั จบุ ัน คำทีใ่ ช้ในหนังสอื แบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย นสิ ัย สารพดั นสิ สยั จิตใจ สารพัตร กระท่งั จิตต์ใจ มติ รจติ กะทั่ง ครับ มิตรจติ ต์ ขอรับ ๔. ข้อสงั เกตและข้อเสนอแนะ ๔.๑ การสอนอา่ นคำจากเรอื่ ง ไมค่ วรใหอ้ า่ นออกเสยี งเพยี งอยา่ งเดยี ว แตค่ วรสอน ใหน้ กั เรยี นรูจ้ กั ความหมายของคำ โดยอาจให้นักเรยี นฝกึ แต่งประโยคจากคำนั้นๆ ๔.๒ การอ่านเรื่อง “อบรมตนในขณะที่ยังเยาว์” เม่ือนักเรียนอ่านจบ ควรให้ นกั เรียนรว่ มกันสรุปความรู้ ร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกับประโยชน์ของการอา่ น ครูอาจตั้งคำถาม เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเกิดคุณลักษณะท่ีดี คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ เชน่ - การปฏิบัตติ นใหเ้ ป็นเด็กดคี วรทำอย่างไร - หน้าท่ขี องเด็กๆ ทีค่ วรปฏิบตั ิ หนังสือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 45

46 หนงั สือค่มู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

บทที่ ๒๙ ๑. เน้อื หา คำเรียงทีอ่ ่านออกเสยี งเหมอื นอกั ษรนำ ๒. แนวทางการจัดกจิ กรรม ๒.๑ การสอนอา่ นคำเรยี งทอ่ี า่ นออกเสยี งเหมือนอักษรนำ ครคู วรทบทวนเรื่อง “อกั ษรนำ” กอ่ น จากนั้นจงึ สอนใหน้ ักเรยี นอ่านคำเรียงทอี่ า่ นออกเสยี งเหมือนอกั ษรนำ อักษรนำ คือ พยัญชนะ ๒ ตัวเรียงกัน ประสมสระเดยี ว พยัญชนะตวั แรก ของคำ จะอ่านออกเสียง อะ กึ่งเสียง พยัญชนะตัวหลังจะอ่านออกเสียงตามสระที่ประสม และอ่านออกเสยี งวรรณยุกต์ตดิ ตามพยัญชนะตัวแรก เช่น คำ คำอ่าน คำท่มี อี กั ษรนำ คำอา่ น ยับ ยบั ขยับ ขะ - หยับ ลาม ลาม ฉลาม ฉะ - หลาม ลาด ลาด ตลาด ตะ - หลาด ยาม ยาม สยาม สะ - หยาม วาย วาย ถวาย ถะ - หวาย ตวั อยา่ งคำเรียงท่ีอา่ นออกเสยี งเหมือนอักษรนำ สริ ิ อ่านว่า สิ - หร ิ ดลิ ก อา่ นวา่ ดิ - หลก อดิเรก อ่านว่า อะ - ดิ - เหลก ประมาท อา่ นว่า ประ - หมาด จตั รุ สั อ่านว่า จดั - ตุ - หรัด สำเร็จ อ่านวา่ สำ - เหรด็ ดำร ิ อา่ นว่า ดำ - หร ิ ตำรับ อ่านวา่ ตำ - หรบั อำมาตย ์ อ่านว่า อำ - หมาด ดำรัส อา่ นว่า ดำ - หรดั หนังสอื ค่มู อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 47

ตัวอย่างกจิ กรรมที่ ๑ คำชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นอ่านแบบฝึกหัดตอ่ ไปน ี้ ✿ แบบฝึกหัด สำเร็จ สิริ ดำริ สำรวจ ตำรับ ตำรวจ จัตรุ สั จำรสั ยโุ รป อดิเรก ดำรสั ดิลก ประวัติ ประโยค ประมาท อำมาตย์ ไม่ประมาท พระราชบัญญัติ รู้พุทธประวัติ ประวัตศิ าสตร์ สุภาพบุรุษ เป็นผรู้ ู้รกั ชาติ ทำประโยชน์ แกร่ าษฎร์ และแก่รัฐ งานอดเิ รก ดำริ สำรวจสอบ สำเร็จรวม ร้กู ฎ บทบัญญัติ ตำรบั ตำรา เรียนดู ให้รู้ชัด สริ ิสวัสดิ์ มงคล ส่ตู นเอย สำเรจ็ อ่านวา่ สำ - เหร็ด สิร ิ อ่านวา่ สิ - หร ิ ดำริ อ่านว่า ดำ - หร ิ สำรวจ อา่ นวา่ สำ - หรวด ตำรบั อ่านว่า ตำ - หรับ ตำรวจ อา่ นว่า ตำ - หรวด จัตุรสั อา่ นวา่ จัด - ตุ - หรดั จำรสั อ่านว่า จำ - หรดั ยุโรป อ่านวา่ ยุ - โหรบ อดิเรก อา่ นว่า อะ - ดิ - เหรก ดำรัส อา่ นวา่ ดำ - หรัด ดิลก อา่ นวา่ ดิ - หลก ประวัต ิ อ่านวา่ ประ - หวดั ประโยค อา่ นวา่ ประ - โหยก ประมาท อา่ นวา่ ประ - หมาด พระราชบัญญัต ิ อ่านว่า พระ - ราด - ชะ - บัน - หยดั ประวัติศาสตร ์ อ่านว่า ประ - หวดั - ติ - สาด / ประ - หวดั - สาด สภุ าพบรุ ษุ อา่ นว่า สุ - พาบ - บุ - หรดุ ประโยชน ์ อา่ นว่า ประ - โหยด สำรวจ อ่านว่า สำ - หรวด สวสั ด ิ์ อา่ นว่า สะ - หวดั 4 8 หนังสอื คมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

ตัวอย่างกจิ กรรมที่ ๒ คำศพั ท ์ คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นเขยี นคำจากคำอา่ นทกี่ ำหนดให ้ ที ่ คำอ่าน ๑ ตำ - หรวด ๒ สำ - หรวด ๓ จำ - หรัด ๔ ยุ - โหรบ ๕ อะ - ดิ - เหรก ๖ ดิ - หลก ๗ ประ - หวัด ๘ ประ - โหยด ๙ ประ - หมาด ๑๐ บนั - หยัด ๑๑ บุ - หรดุ ๑๒ สำ - หรวด ๑๓ ตำ - หรบั ๑๔ อำ - หมาด * เฉลย ๑. ตำรวจ ๒. สำรวจ ๓. จำรัส ๔. ยโุ รป ๕. อดเิ รก ๖. ดลิ ก ๗. ประวัต ิ ๘. ประโยชน ์ ๙. ประมาท ๑๐. บัญญัต ิ ๑๑. บุรุษ ๑๒. สำรวจ ๑๓. ตำรับ ๑๔. อำมาตย์ หนงั สือคู่มือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 49

๒.๒ การฝกึ อา่ นบอ่ ยๆ จะทำใหน้ กั เรยี นสามารถอา่ นไดถ้ กู ตอ้ งและคลอ่ งแคลว่ ตวั อยา่ งกิจกรรมท่ี ๑ คำช้แี จง ให้นักเรียนอ่านเรื่อง “ว่ายน้ำ” แล้วบอกใจความสำคัญ หรือข้อคิดจาก เรือ่ งทอ่ี ่าน ว่ายน้ำ ✿ ถ้าเราสำรวจพื้นที่ของประเทศเราดูแล้ว เราจะเห็นได้ว่ามีแม่น้ำ ลำคลอง ห้วย หนอง บึงบางอยู่ท่ัวไป ลำคลองเหล่านี้ เมื่อถึงหน้าฝน ตลอดไปจนถึงหน้าน้ำ ก็เต็มเป่ียมไปด้วยน้ำ ซึ่งไหลหลากลงมาจากที่สูงสู่ท่ีต่ำ แล้วกระแสน้ำนั้น ก็เซาะบ่า ไปตามสวน ตามนา ตามที่ทำการเพาะปลูก เราแลไปทางไหนก็จะเห็นแต่น้ำเจิ่งนอง อยู่ท่ัวไป บางแห่งดูสุดสายตาราวกบั ทอ้ งทะเล ทัง้ ประกอบด้วยพืช เช่น ขา้ วและผักน้ำ ชนดิ ตา่ งๆ ขน้ึ งอกงาม เขยี วชอ่มุ ดสู ะพรั่ง ภาพภูมิประเทศท่ีสมบรู ณด์ ว้ ยน้ำ เช่น สยาม ของเราน้ีงดงามตานัก และพื้นดินก็อุดมดี เป็นอดิเรกลาภของเราโดยแท้จริง ในเวลา หน้าน้ำเช่นน้ี นอกจากเราจะได้ชมภาพภูมิประเทศ อันงดงามตามท้องถิ่นทางน้ำแล้ว จะได้เห็นประชาชนชาวเราเขาเลน่ เรอื วา่ ยน้ำเลน่ แขง่ เรือกันอย่างสนุกสนาน แต่ถ้าใคร ว่ายน้ำไม่เป็นแล้วก็ได้แต่เพียงดูเขาเล่น และนึกสนุกอยู่ในใจตนเองเท่าน้ัน จะลงไปเล่น ให้สนุกอย่างเขาบ้างก็ไม่ได้ เพราะว่ายน้ำไม่เป็น ส่วนการว่ายน้ำเป็นน้ัน ก็มิใช่เพ่ือ สำหรับว่ายเล่นสนุกๆ เท่าน้ัน ยังมีประโยชน์อย่างอ่ืนอีกมากมาย เช่น ในทางคมนาคม ซ่ึงเราต้องใช้เรือแพไปมา เป็นต้น สรุปพูดสั้นๆ ก็คือ ภูมิประเทศของเรามีส่วนท่ีเป็นน้ำ อยู่ท่ัวไปดังกล่าวแล้ว เพราะฉะน้ันเราประชาชนชาวสยามทุกคน จำต้องว่ายน้ำเป็น เพื่อเป็นการช่วยตัวเองในทางน้ำ แท้จริงการว่ายน้ำเป็นกีฬาชนิดหน่ึง ซึ่งนับเน่ืองเข้าไป ในพลศกึ ษา เปน็ การศกึ ษาของนกั เรยี นทกุ คน ถงึ แมเ้ รยี นอยใู่ นชน้ั ประโยคประถม กต็ อ้ งรู้ และควรเริ่มฝึกหัดไว้ การว่ายน้ำเป็นการออกกำลังกายแทบทั่วทั้งตัว จึงทำให้ร่างกาย แคล่วคล่องว่องไวและแข็งแรงดีมาก และเป็นกีฬาท่ีนิยมกันทั่วโลก ในทวีปยุโรปถึงแก่มี ตำรับตำราไว้ สำหรับเรียนและฝึกหัด ผวู้ า่ ยนำ้ ชนะเลศิ บางคน ถงึ กบั มปี ระวตั กิ ารเลอ่ื งลอื 50 หนังสือค่มู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

✿ วา่ ยนำ้ (ตอ่ ) ชอื่ เสยี ง ยงิ่ ผทู้ จี่ ะตอ้ งผา่ นไปมาทางนำ้ ดว้ ยแลว้ กย็ ง่ิ เปน็ ประโยชนม์ าก เมอ่ื ตกนำ้ หรอื เรอื ลม่ หากไม่มีใครช่วย ก็จะได้ช่วยตนเองให้รอดพ้นจากภัยอันตราย เพราะการจมน้ำตาย จะไมต่ อ้ งเดอื ดรอ้ นถงึ ตำรวจหรอื ผหู้ นงึ่ ผู้ใด ผทู้ ว่ี า่ ยนำ้ เปน็ จงึ มปี ระโยชนม์ าก และนา่ ภาคภมู ิ ผู้ท่ไี มเ่ คยวา่ ยน้ำ หรือวา่ ยน้ำไมเ่ ป็น ยอ่ มหวาดหวนั่ ตอ่ การจมนำ้ ตาย เม่อื ตกลง ไปในน้ำแล้ว มักสิ้นสติ ไม่รู้ว่าควรจะใช้มือและเท้าช่วยตัวเองได้อย่างไร เลยปล่อยมือ และเท้าให้เท่ากับตายเสีย โดยไม่กระดุกกระดิก หรืออย่างดีก็ใช้มือและเท้าตะกุยตะกาย ป่ายไปป่ายมาเกะๆ กะๆ ลงท้ายเม่ือไม่มีคนมาช่วยเหลือแล้ว ก็เลยจมน้ำตาย คนที่ ไม่เคยว่ายน้ำหรือว่ายน้ำไม่เป็นนั้น เม่ือตกน้ำ ถ้าเขารู้จักพยายามใช้มือและเท้าของตน ชว่ ยตนเองแล้ว กอ็ าจจะรอดพ้นจากอันตรายได้บ้าง วิธีฝึกหดั วา่ ยนำ้ น้นั อนั ท่จี รงิ ก็ไมน่ ่าจะมีบทบัญญตั อิ ะไร แตเ่ ด็กพึงจำใสใ่ จไวว้ า่ จะฝึกหัดว่ายน้ำแต่ลำพังตนเองไม่ได้ เพราะอาจมีอันตรายมาก เด็กๆ ควรจะต้องให้ ผู้ใหญท่ า่ นฝกึ หดั ให้ และควรฝกึ หดั วา่ ยในทมี่ นี ำ้ สะอาดปราศจากอนั ตรายและนำ้ ตน้ื ๆ กอ่ น ใชบ้ นั ได ตน้ กลว้ ย ตะโหงกจาก ผลมะพรา้ วแหง้ ผกู เขา้ เปน็ คู่ พวงมาลยั ชชู พี ทำดว้ ยสงั กะส ี หรือยางเหล่าน้ี เป็นต้น สำหรับเกาะพักหรือพยุงตัว ทำให้ตัวลอยอยู่ในน้ำ วิธีว่ายน้ำ ตอ้ งกลนั้ ลมหายใจ แลว้ ใชม้ อื พยุ้ นำ้ เทา้ ถบี นำ้ ยกศรี ษะใหพ้ น้ นำ้ วา่ ยโผไปโผมา บอ่ ยๆ เขา้ ก็ฝึกหัดได้สำเร็จ คือว่ายน้ำเป็น ต่อจากนี้ก็จะได้ว่ายน้ำเล่นสนุกสนาน วิธีว่ายน้ำน้ัน มหี ลายวธิ ี เชน่ วา่ ยวา วา่ ยอยา่ งกบ วา่ ยอยา่ งตกี รรเชยี ง วา่ ยกระทมุ่ วา่ ยลอยคอ ถา้ จะวา่ ยนำ้ ให้ได้อยู่นานๆ และไม่ให้เหนื่อยมาก ก็ใช้ผ้าทำเป็นโป่งรูปต่างๆ เช่น โป่งกลม โป่งยาว โป่งพวงมาลัย สำหรับอาศัยเกาะ เหล่าน้ีเป็นต้น แต่ละอย่างๆ ล้วนน่าสนุกสนานท้ังน้ัน แตเ่ มอื่ สนกุ แลว้ กจ็ งอยา่ งเพลดิ เพลนิ ใหเ้ กนิ ไป จนเปน็ การเลน่ พรำ่ เพรอ่ื และอยา่ ไดเ้ ชอื่ ใจ ตนเองว่าจะไม่มีภัยอนั ตราย เพราะในนำ้ บางแห่งมกี ระแสน้ำไหลเช่ยี ว บางแหง่ มีสตั ว์ร้าย แอบแฝงอยู่ บางแหง่ มปี ลาไหลไฟฟา้ และสง่ิ อน่ื ๆ อกี ในปหี นงึ่ ๆ มเี ดก็ จมนำ้ ตายไม่ใชน่ อ้ ย ดงั นน้ั จงึ นา่ จะใชค้ วามระมดั ระวงั ใหม้ าก อยา่ ไดป้ ระมาท เมอ่ื เวลาเหนอ่ื ยเหงอื่ ยงั ไมท่ นั แหง้ ไม่ควรว่ายน้ำ เพราะอาจเป็นลม เป็นไข้เป็นหวัดได้ง่าย เวลาแดดร้อนจัดก็ไม่ควรว่ายน้ำ หนังสือคูม่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 51

✿ วา่ ยน้ำ (ต่อ) เพราะเมื่อศีรษะร้อน แต่ร่างกายเย็น อาจทำให้โลหิตข้ึนสมองแล้วเลยกลายเป็นลม หรอื เจบ็ ปว่ ยได้ง่าย ตามทไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้ นี้ เดก็ ๆ ทกุ คนคงจะดำรเิ หน็ ชอบดว้ ยวา่ การวา่ ยนำ้ นน้ั เป็นกฬี าทสี่ นุก เปน็ พลศกึ ษาอยา่ งดีและมปี ระโยชน์มาก เมื่อฝึกหดั ว่ายน้ำจนเปน็ ดีแล้ว เผอ่ื วา่ ไปประสพภยั อนั ตรายทางนำ้ เชน่ เรอื ลม่ ลงกลางแมน่ ำ้ เปน็ ตน้ กจ็ ะได้ใชอ้ วยั วะของ ตนช่วยตัวเองได้ หรือสามารถหาสิ่งของอ่ืนๆ เช่น ผ้าที่เหมาะทำเป็นโป่งพวงมาลัยชูชีพ พอพักพยุงตัวไว้อย่างท่ีได้เคยทำใช้ฝึกหัดว่ายน้ำมาแต่ก่อน ก็จะได้ทำข้ึนใช้ให้เป็น ประโยชนส์ ำหรบั ช่วยชูชพี ตวั เอง แลว้ พยายามวา่ ยให้ตลอดรอดฝัง่ มาจนได้ ตัวอยา่ งกจิ กรรมที่ ๒ คำชี้แจง แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มอ่านเร่ือง “ว่ายน้ำ” แล้วเขียนแผนผัง ความคิดเก่ียวกบั เรอื่ งที่อา่ น ประโยชน์ของการวา่ ยนำ้ ว่ายนำ้ วิธีว่ายน้ำมอี ะไรบ้าง …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… ผลเสยี ของการว่ายน้ำไมเ่ ปน็ อ่นื ๆ (ระบ)ุ ทำไมตอ้ งเรยี นวา่ ยน้ำ …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… 52 หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๓ คำช้แี จง ๑. ให้นักเรียนอา่ นเรือ่ งตอ่ ไปน้ี - อา่ นพรอ้ มกันท้งั ชน้ั เรยี น - อ่านตามแถวทนี่ ่ัง แถวละวรรค - อา่ นทลี ะคน คนละวรรค ๒. นักเรียนร้องเพลงพร้อมปรบมือหรือเคาะจังหวะประกอบ โดยครู อาจใส่ทำนองหรอื ใหน้ ักเรยี นรอ้ งเป็นกลุ่มโดยใส่ทำนองทช่ี อบ ✿ เพลง........................................ ประเทศใด ดินดี ด้วยมนี ้ำ หน้าฝนฉำ่ ชมุ่ เหมาะ เพาะพืชผล ถึงหนา้ นำ้ น้ำชว่ ย เป่ยี มดว้ ยชล หล่อเล้ียงต้น ผลไม้ ท้งั ไร่นา น่ันแหละคือ เขตคาม สยามน ้ี ภมู ิพ้นื ที่ ดีอุดม สมเรยี กว่า “ทรัพย์ในดนิ สนิ ในน้ำ” เมื่อนำมา ต้องมคี ่า ข้นึ เอง อยา่ เกรงจน ในแม่น้ำ ลำคลอง มองดูภาพ คนลงอาบ นำ้ เล่น กนั เป็นตน้ สนกุ สนาน หนักหนา นกึ น่ายล นอกจากคน ข้เี กยี จ จึงเกลียดกลัว การวา่ ยนำ้ จำเป็น เว้นไม่ได้ ตอ้ งฝึกไว้ ใหค้ ลอ่ ง ใช่ของชัว่ เปน็ ประโยชน์ ยิง่ ด้วย ได้ชว่ ยตัว ในทีท่ ั่ว ทางน้ำ สำคญั เอย ๓. คำศัพท์ ๓.๑ ความหมายของคำศพั ท์ คำศัพท์ ความหมาย อำมาตย์ - ขา้ ราชการ - ขา้ เฝ้า - ทีป่ รึกษาของพระราชา หนังสอื คมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 53

๓.๒ คำท่เี ขยี นแตกตา่ งจากปัจจุบนั คำทีใ่ ช้ในปัจจบุ นั คำทใี่ ชใ้ นหนังสอื แบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย ชนดิ ชอุ่ม ชะนดิ ชนะ ชะอุม่ กระดุกกระดิก ชะนะ พยุง กะดุกกะดกิ กระท่มุ พะยงุ ประสบภัย กะทุ่ม เขต ประสพภัย เขตต ์ ๔. ข้อสังเกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ การฝกึ หดั อา่ น และสะกดคำเรยี งทอี่ า่ นออกเสยี งเหมอื นอกั ษรนำ ควรอธบิ าย ความแตกต่างระหว่างคำท่ีเป็นอักษรนำและคำท่ีเป็นคำเรียงที่อ่านออกเสียงเหมือนอักษรนำ ให้นกั เรยี นเขา้ ใจ เพือ่ ไม่ให้เดก็ สับสน ๔.๒ การสอนอา่ นคำจากเรอื่ ง ไมค่ วรใหอ้ า่ นออกเสยี งเพยี งอยา่ งเดยี ว แตค่ วรสอน ใหน้ กั เรียนรู้จกั ความหมายของคำ โดยอาจใหน้ กั เรยี นฝึกแต่งประโยคจากคำนนั้ ๆ เช่น คำ ประโยค ลกู บาศก ์ สีเ่ หลี่ยมทีม่ ีด้านเทา่ กนั ทกุ ด้านคอื สี่เหลยี่ มลกู บาศก ์ จัตรุ ัส สี่เหลี่ยมทมี่ ดี ้านเทา่ กนั ทุกด้านคอื ส่เี หล่ยี มจัตรุ สั ๔.๓ การอา่ นเรือ่ ง “วา่ ยน้ำ” ในบทเรียน เมื่อนกั เรยี นอา่ นจบครอู าจต้งั คำถาม เพ่อื ให้นักเรยี นเกิดคุณลักษณะที่ดี คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ เชน่ - การอนรุ ักษ์ทรัพยากรน้ำ - การช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ - การปฐมพยาบาลผจู้ มนำ้ 54 หนังสอื คูม่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

บทท่ี ๓๐ ๑. เนอ้ื หา ๑.๑ คำที่มีสระ -อ ลดรูป และมีตัว ร สะกด ๑.๒ คำทม่ี ี รร (ร หัน) ๒. แนวทางการจดั กจิ กรรม ๒.๑ การสอนอ่านคำท่ีออกเสียงเหมือนอักษรนำ ครูควรทบทวนเร่ือง “อกั ษรนำ” ทีไ่ ดฝ้ ึกไปแล้ว จากนน้ั จงึ สอนใหน้ ักเรียนอ่านออกเสยี งเหมอื นอักษรนำ การอา่ นคำทมี่ สี ระ -อ ลดรปู และมี ตวั ร สะกด อา่ นออกเสยี งเปน็ ออน เหมอื นสะกดด้วยมาตราตัวสะกดแม่ กน เชน่ ละคร อ่านวา่ ละ - คอน บดิ ร อา่ นวา่ บิ - ดอน วานร อา่ นวา่ วา - นอน อทุ าหรณ ์ อา่ นวา่ อุ - ทา - หอน สุกร อ่านว่า สุ - กอน ราษฎร อา่ นว่า ราด - สะ - ดอน ตัวอยา่ งกจิ กรรมที่ ๑ คำชแี้ จง ครูติดบัตรภาพบนกระดาน และให้ตัวแทนนักเรียนที่อาสาสมัครหาบัตรคำให้ ตรงกบั ภาพทีก่ ำหนดให้ เชน่ วานร ลกู ศร สุกร หนงั สือคู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 55

ตัวอย่างกิจกรรมท่ี ๒ คำชีแ้ จง ให้นักเรียนอา่ นแบบฝึกหดั ต่อไปน ี้ ✿ แบบฝกึ หดั บิดรมารดร ผใู้ หญ่ให้พร ถาวรจงมี เสียสมพัตสร อากรภาษี คือราษฎรด ี อ้างอทุ าหรณ์ น่นั วานรไพร อทุ รเท่าไห ถอื ไมเ้ หมือนศร ขี่กญุ ชรใหญ ่ แล่นไลส่ ุกร พวกราษฎร ดูละครลงิ บดิ ร อา่ นวา่ บิ - ดอน มารดร อา่ นว่า มาน - ดอน พร อา่ นว่า พอน ถาวร อ่านว่า ถา - วอน พัตสร อา่ นวา่ พดั - สอน อากร อา่ นวา่ อา - กอน ราษฎร อ่านวา่ ราด - สะ - ดอน อุทาหรณ ์ อา่ นวา่ อุ - ทา - หอน วานร อา่ นว่า วา - นอน อทุ ร อา่ นวา่ อุ - ทอน ศร อ่านว่า สอน กุญชร อา่ นวา่ กุน - ชอน สกุ ร อ่านว่า สุ - กอน ละคร อ่านวา่ ละ - คอน 56 หนังสอื คู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

๒.๒ การสอนอ่านคำท่ีมี รร (ร หัน) ให้นักเรียนจำว่าคำท่ีมี รร (ร หัน) เท่ากับ ั (ไม้ผัดหรือไมห้ ันอากาศ) และตวั น สะกด อ่านออกเสยี งเปน็ อนั แตถ่ า้ มตี วั ตาม เป็นตัว ม หรอื ค หรือ ถ หรอื พ กอ็ ่านออกเสยี งเป็น อมั อกั อัด อบั เชน่ จรรยา อ่านวา่ จนั - ยา ธรรม อา่ นว่า ทำ วรรค อา่ นว่า วกั อรรถ อา่ นวา่ อดั สรรพ อ่านว่า สบั สรรพ ์ อ่านวา่ สัน โดยคำเหล่านี้ ถ้ามีคำอ่ืนต่อท้ายเช่ือมเป็นคำเดียวกันหมดก็ต้องอ่าน ออกเสียงตวั สะกดเหมือนมีสระ -ะ ดว้ ย เช่น ธรรมดา อา่ นวา่ ทำ - มะ - ดา กรรมกร อ่านว่า กำ - มะ - กอน วรรณยุกต ์ อา่ นว่า วนั - นะ - ยุก บรรพบุรุษ อ่านวา่ บนั - พะ - บุ - หรดุ ตัวอยา่ งกจิ กรรมท่ี ๑ คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านแบบฝึกหัดตอ่ ไปน้ี ✿ แบบฝึกหัด กรรณกิ าร์ จรรยา วรรณยุกต์ อศั จรรย์ บรรทกุ อปุ สรรค พชื พรรณ พนิ ัยกรรม บรรดาพรรค บรรทดั วรรค กสิกรรม ธรรมดา ฟังบรรเลง บทเพลง สรรเสริญชาติ ธรรมศาสตร์ ครบสรรพ์ เข้าพรรษา รกั ยุตธิ รรม รูธ้ รรมจรรยา พรอ้ มสรรพ ฝา่ อปุ สรรค ทราบวรรคตอน หนังสือคูม่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 57

กรรณิการ ์ อา่ นวา่ กนั - นิ - กา จรรยา อ่านว่า จนั - ยา วรรณยกุ ต ์ อ่านวา่ วนั - นะ - ยุก อศั จรรย ์ อา่ นวา่ อดั - สะ - จนั บรรทุก อา่ นว่า บนั - ทุก อปุ สรรค อ่านว่า อุบ - ปะ - สัก พชื พรรณ อา่ นวา่ พืด - พนั พินัยกรรม อา่ นวา่ พิ - ไน - กำ บรรดา อ่านวา่ บนั - ดา พรรค อ่านวา่ พัก บรรทัด อา่ นว่า บัน - ทดั วรรค อ่านว่า วัก กสิกรรม อ่านวา่ กะ - สิ - กำ ธรรมดา อา่ นว่า ทำ - มะ - ดา บรรเลง อา่ นว่า บัน - เลง สรรเสรญิ อา่ นว่า สนั - เสนิ / สัน - ระ - เสิน ธรรมศาสตร ์ อ่านว่า ทำ - มะ - สาด สรรพ ์ อา่ นวา่ สัน พรรษา อา่ นว่า พนั - สา ยตุ ิธรรม อา่ นวา่ ยุด - ติ - ทำ ธรรม อ่านว่า ทำ สรรพ อ่านว่า สบั วรรคตอน อา่ นว่า วกั - ตอน กรรไตร อ่านวา่ กนั - ไตร กรรมาธิการ อา่ นวา่ กนั - มา - ทิ - กาน หัตถกรรม อา่ นว่า หัด - ถะ - กำ กรรมกร อา่ นวา่ กำ - มะ - กอน ธรรมนูญ อา่ นว่า ทำ - มะ - นนู คณุ ธรรม อา่ นวา่ คนุ - นะ - ทำ 58 หนงั สือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

ตวั อยา่ งกิจกรรมที่ ๒ คำช้ีแจง ให้นกั เรียนเขียนคำอา่ นของคำที่มี รร (ร หนั ) ทก่ี ำหนดให้ คำ คำอา่ น ๑. บรรเลง ........................................................................... ........................................................................... ๒. ธรรมดา ........................................................................... ........................................................................... ๓. กรรมการ ........................................................................... ๔. บรรพบุรุษ ๕. สรรเสรญิ เฉลย ๑. บนั - เลง ๒. ทำ - มะ - ดา ๓. กำ - มะ - กาน ๔. บัน - พะ - บุ - หรดุ ๕. สนั - เสนิ / สนั - ระ - เสิน ตัวอย่างกจิ กรรมที่ ๓ คำช้แี จง ให้นักเรยี นเขยี นคำของคำอา่ นที่มี รร (ร หัน) ท่กี ำหนดให ้ คำอ่าน คำ ๑. บัน - ทุก .......................................................................... .......................................................................... ๒. ยดุ - ติ - ทำ .......................................................................... .......................................................................... ๓. จนั - ยา .......................................................................... ๔. พิ - ไน - กำ ๕. บัน - ดา เฉลย ๑. บรรทกุ ๒. ยตุ ิธรรม ๓. จรรยา ๔. พินยั กรรม ๕. บรรดา หนังสอื คู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 59

๒.๓ การฝกึ อา่ นบอ่ ยๆ จะทำใหน้ กั เรยี นสามารถอา่ นไดถ้ กู ตอ้ งและคลอ่ งแคลว่ ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๑ คำช้แี จง ให้นักเรียนอ่านเร่ือง “งานรื่นเริงวันข้ึนปีใหม่” แล้วบอกใจความสำคัญ หรอื ข้อคิดจากเรอื่ งท่ีอ่าน งานรืน่ เรงิ วนั ข้ึนปีใหม ่ ✿ การที่เราอยู่เย็นเป็นสุขตลอดปีหนึ่งๆ โดยผ่านพ้นอุปสรรคใดๆ มาได้น้ัน นับว่าเปน็ บุญลน้ เหลอื ดว้ ยเหตนุ ีเ้ มอ่ื บรรลุถงึ วนั ข้นึ ปีใหม่ เราจะมีงานรื่นเรงิ เป็นการ ตอ้ นรบั วนั ขน้ึ ปีใหม่ เพราะทกุ ชาติทกุ ภาษาถอื กนั ว่า เปน็ ประเพณนี ยิ มอนั ดียิง่ เป็นวนั สำคัญของชาติ เพราะเป็นการเชิดชูเกียรติยศช่ือเสียงของชาติ พ่อแม่ ปู่ย่า ตาทวด ของเรา ทา่ นไดเ้ คยนบั ถอื และกระทำสบื ตอ่ ๆ กนั มาเปน็ เวลาชา้ นาน หลายชว่ั บรรพบรุ ษุ แตค่ รง้ั กอ่ นชาวเราเคยถือเอาวันที่ ๑๓ เมษายน เปน็ วนั ขึ้นปใี หม่ ครั้นมาบดั นเ้ี รานยิ ม เอาวนั ท่ี ๑ เมษายน ซง่ึ เหมาะและสะดวกทจี่ ะมงี านรนื่ เรงิ ดว้ ยประการทง้ั ปวง ธรรมชาติ ดนิ ฟา้ อากาศก็ปลอดโปรง่ ดี คนทำงานท้ังหลายตลอดจนพวกกสกิ ร กรรมกรก็หยดุ งาน ทัง้ ส้นิ และตา่ งกม็ ีความรสู้ กึ ร่าเริงบนั เทิงใจในวนั ขึน้ ปใี หมท่ ่ัวหน้ากัน เวลาเช้า ผู้คนท้ังในและนอกกรุงเทพมหานคร ตลอดจนกระทั่งราษฎร ทว่ั ทกุ จงั หวดั ในประเทศสยาม ตา่ งกต็ ระเตรยี มสงิ่ ของสำหรบั ทำบญุ ใหท้ านไวพ้ รอ้ มสรรพ แล้วนำไปยังที่ชุมนุมชน ซึ่งโดยมากเป็นวัด พร้อมใจกันไปตักบาตร เลี้ยงพระ สรงน้ำ พระพุทธรปู กัน นอกจากน้ีก็ยงั มกี ารรดนำ้ ผู้ใหญ่ ผู้ที่สงู อายุ เพอื่ ขอศลี ขอพรจากทา่ น ให้อยเู่ ยน็ เป็นสขุ มีความเจรญิ ถาวรสืบไป ทงั้ ยังมกี ารบังสกุ ลุ คือทำบุญอุทิศส่วนกุศล ให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว เป็นการแสดงจรรยาอันดีงาม ว่าเป็นผู้รู้จักคุณ และตอบแทนบุญคุณต่อทา่ นผ้ทู มี่ คี ุณ นา่ ชมเชยยิ่งนัก 60 หนงั สือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

✿ งานรืน่ เริงวนั ขึน้ ปใี หม่ (ต่อ) เวลาบ่าย บรรดาชาวบา้ นทงั้ หนุ่มและสาว ตลอดจนเดก็ ผู้ใหญ่ ไดพ้ รอ้ มใจกนั ไปชมุ นมุ เลน่ การรนื่ เรงิ ตามประเพณยี งั ทหี่ นง่ึ ที่ใด เพ่ือความสนุกสนานเฮฮาร่าเริงบันเทิงใจ เป็นการเอิกเกริก ครึกคร้ืน น่าดู น่าชม โดยมิได้มีการถือเนื้อถือตัวกันเลย นับว่าเป็น การปลูกและสมานความสามัคคีกันในระหว่างคนทุกช้ัน ทุกวัย ทุกเพศ ให้สนิทสนม กลมเกลียวกันเป็นอย่างดี การเล่นตามประเพณีของเรานั้นมีมาก จะชักอุทาหรณ ์ มาเพยี งเลก็ นอ้ ย เชน่ โนรา กาฟกั ไข่ ชว่ งชยั ไมห้ งึ่ ดงึ หนดื ลงิ ชงิ หลกั ชกั เยอ่ และแยช้ งิ รู เป็นต้น เวลากลางคืน ตามสโมสร สมาคม และที่ประชุมต่างๆ ยังมีการมหรสพ เช่น มดี นตรีบรรเลง มีการแสดงละคร โขน หนัง หุ่น งิว้ ลิเก ระบำ จำอวด นอกจากนย้ี ังม ี การจดุ ดอกไม้ไฟ เชน่ พลุ ตะไล ไฟพะเนยี ง กงั หนั ไมก้ ระถาง สง่ิ เหลา่ น้ีแต่ละอยา่ งๆ มีเสียงดงั สนน่ั หว่นั ไหว และมีแสงสุกใสสตี า่ งๆ งดงามน่าดนู า่ ชมย่ิงนัก เช่ือแน่ว่านักเรียนท้ังหลาย ท่ีอ่านเร่ืองงานร่ืนเริงวันขึ้นปีใหม่นี้ตลอดแล้ว คงรู้สึกสนกุ สนานเบิกบานใจดว้ ยกันทกุ คน ดังน้นั เมื่อเตบิ โตข้นึ กน็ ่าจะช่วยกนั สนบั สนุน ฟืน้ ฟู และผดงุ รกั ษาธรรมเนยี มประเพณี งานรืน่ เรงิ วันข้นึ ปใี หมข่ องเราไวใ้ ห้เปน็ สง่าบ้าน สงา่ เมอื ง ปรากฏอยู่ยงั่ ยืนตลอดกระทง่ั บรรดาลกู หลานเหลนสบื ๆ กันต่อไป ทำบญุ ตกั บาตร หนังสอื คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 61

ตวั อย่างกิจกรรมท่ี ๒ คำชี้แจง ๑. ใหน้ ักเรียนอ่านเร่อื งตอ่ ไปนี้ - อา่ นพร้อมกนั ทัง้ ชน้ั เรียน - อา่ นตามแถวท่นี งั่ แถวละวรรค - อา่ นทลี ะคน คนละวรรค ๒. นักเรียนร้องเพลงพร้อมปรบมือหรือเคาะจังหวะประกอบ โดยครู อาจใสท่ ำนองหรอื ให้นกั เรยี นร้องเปน็ กลมุ่ โดยใส่ทำนองท่ีชอบ ✿ เพลง........................................ เราจะต้อง ต่นื ตวั ทุกท่ัวหน้า ดว้ ยเปดิ ตา เปิดหู ให้รู้แน่ ความเปน็ ไป ในโลก ทงั้ หลายแล ลว่ งมาแต่ ก่อนนน้ั เป็นฉนั ใด บัดนยี้ ล อย่างไร ไปภายหน้า จะมมี า หมายเหน็ เปน็ เช่นไหน พยายาม เดนิ ตาม ให้ทนั ไป กับสมยั โลกเสมอ ไมเ่ ผลอพลัง้ ทุกธรรมเนียม ประเพณี มีขนบ ต้องเคารพ ดำรง ใหค้ งขลงั สนบั สนุน เป็นคณุ อยยู่ ืนยัง ท่ีลา้ หลัง โลกอยู่ รู้ดดั แปลง เชน่ นี้เรา เหล่าราษฎร์ ชนชาติร่วม เปน็ สว่ นรวม รับสขุ ทว่ั ทกุ แห่ง สยามจะ ประเสริฐ เลศิ แสดง ช่อื เสยี งแจง้ ประจกั ษ์จบ พภิ พเอย 62 หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

๓. คำศัพท์ คำท่ีเขยี นแตกต่างจากปจั จบุ นั คำทใ่ี ช้ในปัจจบุ ัน คำที่ใช้ในหนงั สือแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย พนิ ัยกรรม ครบสรรพ พินัยกรรม ยตุ ธิ รรม ครบสรรพ์ กรรไกร ยตุ ติธรรม กระทั่ง กรรไตร ไมก้ ระถาง กะท่งั ผดงุ ไม้กะถาง ประจกั ษ์ ผะดุง ประจัก ๔. ขอ้ สังเกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ การฝึกหัดอ่านคำ ควรอธิบายหลักการอ่านและความแตกต่างระหว่าง คำท่ีอา่ นกบั คำท่ีเขียนใกลเ้ คยี งกันใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ เพอื่ ไม่ใหเ้ ดก็ สบั สน ๔.๒ การสอนอา่ นคำในแบบฝกึ หดั แตล่ ะคำ ไมค่ วรใหอ้ า่ นออกเสยี งเพยี งอยา่ งเดยี ว แตค่ วรนำคำมาเขยี นประโยคให้นกั เรยี นเข้าใจคำมากข้นึ ๔.๓ การอ่านเร่ือง “งานร่ืนเริงวันข้ึนปีใหม่” เม่ือนักเรียนอ่านจบครูอาจ ต้งั คำถามเพือ่ ให้นกั เรยี นเกดิ คุณลักษณะท่ดี ี คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ ๔.๔ การร้องเพลง ครูอาจใส่ทำนองเองถ้าไม่สามารถหาเพลงที่กำหนดได้ หรอื อาจใหน้ กั เรียนรว่ มกนั กำหนดทำนองกไ็ ด ้ หนงั สอื ค่มู ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 63

64 หนงั สือค่มู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

บทท่ี ๓๑ ๑. เนอ้ื หา คำที่ประสมด้วยสระ ออ ลดรูป ตัว ร ซึ่งไม่ใช่ตัวสะกดอยู่ข้างหลัง หรือคำท่ีมี พยญั ชนะตน้ บ ทไ่ี ม่มีรูปสระ ๒. แนวทางการจัดกจิ กรรม ๒.๑ การสอนคำที่มีสระ ออ ลดรูป ที่มีตัว ร ซึ่งไม่ใช่ตัวสะกดอยู่ข้างหลัง หรือคำทีม่ พี ยญั ชนะตน้ บ ที่ไมม่ ีรปู สระ ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสียงเปน็ สระ ออ เชน่ จระเข ้ อ่านวา่ จอ - ระ - เข ้ นรชน อา่ นว่า นอ - ระ - ชน มรสมุ อ่านว่า มอ - ระ - สมุ หรด ี อา่ นวา่ หอ - ระ - ด ี ทรพี อ่านวา่ ทอ - ระ - พ ี อรทัย อ่านวา่ ออ - ระ - ไท บด ี อา่ นวา่ บอ - ด ี จรล ี อ่านวา่ จอ - ระ - ล ี ตัวอย่างกิจกรรมที่ ๑ คำช้ีแจง ให้นักเรยี นอา่ นแบบฝกึ หดั ตอ่ ไปน ี้ ✿ แบบฝึกหดั คหบดี เดินจรลี หนีทรชน ด้นมรคา ข้าวรพุทธเจ้า เหล่านรชน พ้นทรมาน กาลมรณะ พระนางอรทัย ในโรงมหรสพ พบอสรพิษ ไข้ทรพิษ บริจาคเนืองๆ เคร่ืองบริขาร บรบิ าลทารก บรโิ ภคอาหาร บรวิ ารของเรา เขา้ ในบรเิ วณ เหน็ พระบรมรปู บรษิ ทั รปู สยาม งามบรบิ ูรณ์ ข้าวพนู ทรพี หนจี ระเข้ เร่ไปทิศหรดี มลี มมรสุม ทา้ วอรชนุ ขาวบรสิ ทุ ธิ์ เขียวมรกต อย่าทรยศ นางธรณ ี หนังสือคูม่ อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 65

คหบด ี อ่านวา่ คะ - หะ - บอ - ด ี จรล ี อ่านว่า จอ - ระ - ล ี ทรชน อา่ นวา่ ทอ - ระ - ชน มรคา อ่านวา่ มอ - ระ - คา วรพทุ ธเจ้า อา่ นว่า วอ - ระ - พุด - ทะ - เจา้ นรชน อา่ นว่า นอ - ระ - ชน ทรมาน อา่ นวา่ ทอ - ระ - มาน มรณะ อา่ นวา่ มอ - ระ - นะ อรทัย อ่านว่า ออ - ระ - ไท มหรสพ อ่านว่า มะ - หอ - ระ - สบ อสรพษิ อ่านว่า อะ - สอ - ระ - พิด ทรพิษ อา่ นว่า ทอ - ระ - พดิ บรจิ าค อา่ นว่า บอ - ริ - จาก บรขิ าร อ่านวา่ บอ - ริ - ขาน บริบาล อา่ นวา่ บอ - ริ - บาน บริโภค อา่ นว่า บอ - ริ - โพก บริวาร อ่านวา่ บอ - ริ - วาน บรเิ วณ อ่านวา่ บอ - ริ - เวน บรมรปู อา่ นวา่ บอ - รม - มะ - รบู บรษิ ัท อ่านว่า บอ - ริ - สัด บริบูรณ ์ อ่านว่า บอ - ริ - บนู ทรพ ี อา่ นวา่ ทอ - ระ - พ ี จระเข ้ อา่ นวา่ จอ - ระ - เข ้ หรด ี อา่ นวา่ หอ - ระ - ด ี มรสุม อ่านว่า มอ - ระ - สมุ อรชนุ อา่ นวา่ ออ - ระ - ชนุ บริสทุ ธ ์ิ อา่ นว่า บอ - ริ - สุด มรกต อ่านว่า มอ - ระ - กด ทรยศ อา่ นว่า ทอ - ระ - ยด ธรณ ี อา่ นว่า ทอ - ระ - น ี 66 หนังสอื คมู่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

ตัวอย่างกจิ กรรมท่ี ๒ คำชแ้ี จง ให้นักเรียนเขยี นคำอา่ นของคำที่กำหนดให้ ๑. บรโิ ภค คำ คำอา่ น ๒. ทรมาน .......................................................................... ๓. มหรสพ .......................................................................... ๔. บรบิ าล .......................................................................... ๕. บรวิ าร .......................................................................... ๖. บรเิ วณ .......................................................................... ๗. ธรณ ี .......................................................................... ๘. มรกต .......................................................................... ๙. บรษิ ทั .......................................................................... ๑๐. ทรพ ี .......................................................................... .......................................................................... เฉลย ๑. บอ - ริ - โพก ๒. ทอ - ระ - มาน ๓. มะ - หอ - ระ - สบ ๔. บอ - ริ - บาน ๕. บอ - ริ - วาน ๖. บอ - ริ - เวน ๗. ทอ - ระ - นี ๘. มอ - ระ - กด ๙. บอ - ริ - สัด ๑๐. ทอ - ระ - พี หนังสอื คูม่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 67

ตวั อย่างกิจกรรมที่ ๓ คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนอา่ นเรื่อง “เล่นว่าว” แล้วบอกใจความสำคัญ หรือข้อคิดจากเร่ืองทอ่ี า่ น ✿ เล่นว่าว การเลน่ วา่ วเปน็ กฬี าอยา่ งดชี นดิ หนง่ึ ซงึ่ เรานยิ มเลน่ กนั ทง้ั ในหมเู่ จา้ นายคหบดี ตลอดจนคนสามัญ แม้แต่กระท่ังเด็กๆ ตั้งแต่ไหนแต่ไรมาทีเดียว ว่าวเป็นของเล่นท ่ี ประหลาดมาก เพราะอาจชักมันข้ึนไปบนอากาศ บินร่อนไปมาคล้ายๆ นก จะชักให ้ คว้ากันจนถึงแพ้ชนะก็ได้ และเป็นของเล่นที่สวยงาม เพราะได้ประดิษฐ์ขึ้นโดยผูกโครง ทำเป็นภาพแปลกๆ บ้าง ก็วาดระบายสี หรือปดิ ลูกปลางดงามนา่ ดู เรียกตามชนดิ เชน่ ว่าวจุฬา วา่ วปกั เปา้ วา่ วอลี มุ้ เรยี กตามรปู เชน่ วา่ วจระเข้ วา่ วตะขาบ วา่ วผเี สอ้ื วา่ วนก เรยี กตามเสยี ง เชน่ วา่ วตุ้ยตยุ่ ว่าวหง่าว เป็นต้น แต่ละอยา่ งๆ ลว้ นน่าดูน่าชม การเลน่ ว่าวน้ี จัดเป็นศิลปวิทยาอย่างหนึ่ง ซ่ึงในชั้นต้นผู้เล่นต้องอาศัยฝึกเรียนด้วยเชาวน์ คือ คอยจับไหวพริบและวิธีแพ้ชนะ ในขณะเม่ือว่าวคว้าต่อสู้กันบนอากาศ ประกอบด้วย ความตัดสินใจอย่างว่องไวเฉียบขาด พร้อมท้ังต้องอาศัยกำลังวังชาและสายตาแม่นยำ จนมีความชำนาญด้วยตนเอง ในปีหน่ึงๆ มีหน้าเล่นว่าวอยู่ราว ๒ เดือน คือเล่นกันในหน้าแล้ง ระหว่าง เดอื น ๔ ข้างแรม ถงึ เดอื น ๖ ข้างข้ึน ซึ่งเป็นหนา้ ลมดี และท้องฟ้าอากาศบริสุทธิแ์ จม่ ใส ถ้าเป็นวันเทศกาลตรุษสงกรานต์แล้ว วันนั้นสนุกสนานมาก เพราะคนท้ังหลายหยุดงาน ต่างก็เท่ียวเตร่พากันมาเล่นว่าวด้วยความเบิกบานใจ เมื่อถึงคราวนัดประชุมเล่นว่าวนี้ กล่าวเฉพาะบริเวณท้องสนามหลวง ตอนบ่ายจนถึงย่ำค่ำ จะเห็นเต็มไปด้วยหมู่นรชน ท้ังผู้เล่นคือคนชักว่าว และบริวารคือคนว่ิงรอก ตลอดจนคนส่งว่าว ทั้งผู้ที่ไปเที่ยว ชุมนุมอยู่ในที่นั้น ตามรอบๆ สนามก็มีร้านขายอาหารเคร่ืองบริโภค ตั้งอยู่เรียงราย ดูเกล่อื นกล่นล้นหลามแนน่ ท่ัวไป ย่ิงกว่านนั้ บางปยี ังเคยมปี ระกวดว่าว เปน็ กีฬาเนอ่ื งใน การมหรสพเกี่ยวกับงานของสภากาชาด เช่น ชักชวนให้บริจาคเงินบำรุงบริบาลทารก เป็นต้น ซ่ึงในวันน้ันมีว่าวทำเป็นรูปและระบายสีต่างๆ มากมายหลายชนิด ผู้ประกวด 68 หนงั สอื คู่มือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

✿ เลน่ ว่าว (ต่อ) ต่างคิดทำว่าวมาประกวดกันด้วยฝีมืออันงดงาม แล้วชักข้ึนไปลอยร่อนส่ายคว้างเคว้ง ยักไปมา และไขวค่ วา้ อยู่บนอากาศ เป็นภาพทีง่ ามตาน่าดูย่งิ นกั เด็กๆ ที่ได้เคยเล่นว่าว คงจะรู้สึกว่า ว่าวเป็นกีฬาท่ีสนุกสนานดี ช่วยบริหาร รา่ งกายใหแ้ ขง็ แรงบรบิ รู ณ์ และมปี ระโยชนเ์ กยี่ วแกก่ ารศกึ ษาดงั กลา่ วมาแลว้ เดก็ ๆ ทจ่ี ะ เล่นว่าวต้องระมัดระวังเล่นให้เป็นเวลา อย่าเล่นให้พร่ำเพร่ือและเพลิดเพลินจนเกินไป คือ อย่าเล่นจนลืมการเล่าเรียนและกิจท่ีควรทำอื่นๆ อย่าเล่นในเวลาที่ไม่ควรเล่น คือ ควรเลน่ จำเพาะในเวลาวา่ ง ตอนบา่ ย ราว ๑๖ นาฬ ิ กาไปจนถงึ ยำ่ คำ่ เทา่ นน้ั อยา่ เลน่ ในท่ี ไมค่ วรเลน่ คือต้องเล่นท่ีลานกลางแจ้ง เช่น สนามหรือทุ่ง เป็นต้น ในท่ีซ่ึงมีต้นไม้หรือมี สิ่งปลูกสร้างเกะกะ เช่น ตึกกว้านบ้านเรือนหรือท่ีมีเสาโทรเลขโทรศัพท์ และอ่ืนๆ ท่ีจะ กระทำความเสยี หาย ตลอดถงึ เลน่ สง่ เสยี งอกึ ทกึ กอ่ ความรำคาญใหแ้ กผ่ คู้ นไปมา และในท ี่ ท่ีประกอบดว้ ยภยั อนั ตราย เชน่ มสี ายไฟฟา้ ซงึ่ รา้ ยแรงยง่ิ กวา่ อสรพษิ ถา้ ถกู มนั เขา้ แมแ้ ต ่ นดิ หนอ่ ย ก็มกั ตายกันบ่อยๆ ทเี่ หลา่ น้ไี มค่ วรใช้เป็นทีเ่ ล่นเปน็ อันขาด ตามทไี่ ดอ้ า่ นเรอ่ื งการเลน่ วา่ วมาตลอดแลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ กฬี าวา่ วนม้ี วี ธิ ีในเชงิ เลน่ อยา่ งสนกุ สนานมาก เปน็ ประโยชนบ์ ำรงุ รา่ งกาย ใหเ้ บกิ บานรา่ เรงิ บนั เทงิ ใจ ทำใหม้ ีไหวพรบิ เกดิ สตปิ ัญญาความคิด เด็กท้ังหลายจงจดจำไว้วา่ ควรเลน่ เพียงไร ควรเลน่ ไมค่ วรเล่นในที่ เช่นไร การเล่นว่าวน้ีในทางท่ีดีที่ควรนั้น นอกจากได้รับประโยชน์ดังกล่าวมาข้างต้นแล้ว ยงั จะไดช้ อ่ื วา่ เปน็ ผมู้ สี ว่ นบำรงุ ฟน้ื ฟแู บบอยา่ งการเลน่ วา่ ว อนั เปน็ กฬี าทดี่ ขี องเราชาวสยาม ซ่ึงมีมาแต่สมัยโบราณเน่ินนานแล้วนั้นไว้ให้ดำรงคงเจริญสืบต่อไปจนกระทั่ง ลกู หลานเหลน กจ็ ะได้ชือ่ ว่าเป็นคนทำประโยชน์ให้แกป่ ระเทศชาตอิ นั เป็นทีร่ ักยิ่งของตน หนังสอื คู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 69

ตวั อยา่ งกจิ กรรมที่ ๔ คำชี้แจง ๑. ใหน้ ักเรยี นอ่านเรื่องต่อไปนี้ - อา่ นพร้อมกนั ทงั้ ชัน้ เรียน - อา่ นตามแถวที่นงั่ แถวละวรรค - อ่านทีละคน คนละวรรค ๒. นักเรียนร้องเพลงพร้อมปรบมือหรือเคาะจังหวะประกอบ โดยครู อาจใส่ทำนองหรือให้นกั เรียนร้องเป็นกลุ่มโดยใสท่ ำนองท่ีชอบ ✿ เพลง........................................ เลน่ วา่ ว กล่าวกนั วา่ เป็นกฬี า มีท่าที ทำให้ ไหวพรบิ ดี ดว้ ยฝมี ือ หรือชำนาญ เล่นว่าว ชาวสยาม มเี กยี รตงิ าม ความเช่ียวชาญ ทราบส้นิ ทุกถน่ิ ฐาน โลกขานชื่อ เล่อื งลือชม เลน่ วา่ ว ตามคราวยุค พาสนกุ ปลกุ เรงิ รมย์ รกั ษา กีฬาสม นยิ มไว้ ให้ดเี อย ๓. คำศพั ท์ ๓.๑ ความหมายของคำศัพท์ คำศพั ท์ ความหมาย มรคา มรรค มรรคา ทาง ชอ่ ง ถนน วธิ ี ธรรมเนียม นรชน หรด ี คน ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต ้ 70 หนังสือค่มู ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

๓.๒ คำทเี่ ขียนแตกต่างจากปัจจุบัน คำท่ีใช้ในปจั จุบนั คำทีใ่ ชใ้ นหนังสอื แบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย ทัพพ ี อสรพษิ ทรพี บรจิ าค อศรพิษ บรขิ าร บรจิ จาค ชนิด บริกขาร เฉพาะ ชะนดิ กระทง่ั ฉะเพาะ ชนะ กะทัง่ ชะนะ ๔. ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ๔.๑ การสอนอ่านคำแต่ละคำในแบบฝึกหัด ไม่ควรให้อ่านออกเสียงเพียง อย่างเดียว แต่ควรคำนึงถึงคำท่ีเข้าใจยาก พูดหรือเขียนประโยคให้นักเรียนเข้าใจการใช้คำ มากขนึ้ เชน่ - แมใ่ ชท้ พั พตี กั ขา้ วใส่บาตร - การเดินไปในปา่ ตอ้ งระวงั สตั วท์ ่ีมีอันตรายและอสรพิษตา่ งๆ ๔.๒ การอ่านเร่ือง “เล่นว่าว” เมื่อนักเรียนอ่านจบครูอาจต้ังคำถามเพ่ือให้ นกั เรียนเกดิ คุณลักษณะท่ีดี คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ เช่น - ประโยชนข์ องการเล่นวา่ ว - การอนรุ กั ษ์กฬี าพนื้ บ้านใหค้ งอยู่ตอ่ ไป หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 71

72 หนงั สือค่มู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

บทท่ี ๓๒ ๑. เนอื้ หา ๑.๑ ไ...ย (ไมม้ ลายมตี วั ย) ๑.๒ ตวั ฤ ฤๅ ๒. แนวทางการจัดกจิ กรรม ๒.๑ การสอนคำท่ีใช้ไม้มลาย มี ย ตาม (ไ...ย) คำเดียวโดดๆ อ่านออกเสียง เหมอื น ไอ ไมต่ อ้ งอ่านออกเสียงตัว ย เชน่ ไทย อา่ นวา่ ไท อปุ ไมย อ่านว่า อุบ - ปะ - ไม อสงไขย อา่ นวา่ อะ - สง - ไข ปาลไิ ลยก ์ อา่ นว่า ปา - ลิ - ไล แตถ่ ้ามคี ำอน่ื ตอ่ ท้ายเช่อื มเปน็ คำเดียวกนั แล้ว ใหอ้ า่ นออกเสียง ย เป็น ยะ เชน่ ไทยทาน อ่านว่า ไท - ยะ - ทาน ไทยธรรม อา่ นว่า ไท - ยะ - ทำ ไมยราพ อา่ นวา่ ไม - ยะ - ราบ ไสยศาสตร ์ อา่ นว่า ไส - ยะ - สาด ปาลิไลยก ์ หนงั สอื คูม่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 73

ตวั อย่างกจิ กรรมที่ ๑ คำชแี้ จง ให้นักเรียนอา่ นแบบฝึกหัดต่อไปนี ้ ✿ แบบฝกึ หดั คนไทยเป็นชาติไทย มีความเป็นไทย ไม่ยอมเป็นข้าใคร แต่ก่อนมีการ ปกครองเป็นราชาธิปไตย บัดน้ี เปล่ียนแปลงเป็นประชาธิปไตย คนไทยถึงแม้ว่ารู้ ไสยศาสตร์ แต่นบั ถือพระพุทธศาสนา ซึง่ เป็นศาสนาของชาวไทย และได้นับถอื สบื เนื่อง กันมาต้ังแต่ครั้งปู่ย่าตาทวด ตามวัดไทยมักมีรูปพระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) รูปพระพุทธเจ้ากับช้างปาลิไลยก์และวานร (ลิง) ช้างนำน้ำ วานรนำรวงผ้ึง มาถวาย พระพุทธเจ้า น่ีเป็นตัวอย่างแสดงความใจดีอย่างน่าชมเชย คนใจดีทำบุญมักมีของ ไทยทานมาก ผู้ทใี่ จดียอ่ มได้รบั ความเจริญสรรเสริญ ไทย อา่ นวา่ ไท ราชาธปิ ไตย อ่านว่า รา - ชา - ทิบ - ปะ - ไต ประชาธปิ ไตย อ่านวา่ ประ - ชา - ทิบ - ปะ - ไต ไสยศาสตร ์ อ่านวา่ ไส - ยะ - สาด พทุ ธไสยาสน ์ อ่านว่า พดุ - ทะ - ไส - ยาด ปาลิไลยก ์ อา่ นว่า ปา - ลิ - ไล ไทยทาน อ่านวา่ ไท - ยะ - ทาน ตัวอย่างกจิ กรรมท่ี ๒ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นเขยี นคำพรอ้ มคำอา่ นออกเสยี ง คำทม่ี ี ไ....ย (ไมม้ ลายมี ย เคยี ง) คำเดยี วโดดๆ อา่ นออกเสยี งเหมอื นไอ ไมต่ อ้ งอา่ นออกเสยี งตวั ย โดยคน้ หาคำจากหนงั สอื อนื่ ๆ ให้ไดม้ ากทส่ี ุด เชน่ อสงไขย อา่ นวา่ อะ - สง - ไข 7 4 หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

๒.๒ การสอนคำ ฤ ฤๅ ให้สอนอ่าน เขียนเป็นคำ โดยให้นักเรียนเห็นรูปคำ แล้วครูอ่านนำให้นกั เรียนอ่านตาม และเขยี นคำท่อี ่าน พร้อมท้งั ครอู ธิบายความหมายของคำ ฤ อ่านออกเสยี งต่างกนั เปน็ ๓ อย่าง คือ ริ รึ เรอ ดงั นี้ ๑) ฤ อ่านเปน็ เสยี ง “เรอ” มที ใี่ ช้อยแู่ ตเ่ ฉพาะคำวา่ ฤกษ์ (เรกิ ) คำเดียว เทา่ นั้น ๒) ฤ ถา้ อยู่แตล่ ำพัง หรอื อยูข่ า้ งหลังตวั ค น พ ม ห อา่ นเปน็ เสยี ง รึ เช่น ฤษ ี อ่านว่า รึ - ส ี หฤทัย อ่านว่า หะ - รึ - ไท พฤหัสบด ี อ่านว่า พรึ-หดั -สะ-บอ-ดี/พะ-รึ-หดั -สะ-บอ-ดี คฤหัสถ ์ อ่านวา่ ครึ - หดั / คะ - รึ - หดั พฤกษา อ่านวา่ พรกึ - สา พฤษภาคม อ่านว่า พรดึ - สะ - พา - คม ประพฤต ิ อา่ นวา่ ประ - พรึด พฤศจกิ ายน อา่ นวา่ พรดึ - สะ - จิ - กา - ยน ๓) ฤ ถ้าอยขู่ ้างหลงั ตวั ก ป ต ท ศ ส หรือ ตวั ท ษ สะกด อ่านเป็น เสียง ริ เช่น ฤทธ์ิ กฤษณา ตฤณ ฯลฯ ๔) ฤๅ ให้อ่านออกเสยี งเหมอื น รอื เชน่ ฤๅดี อา่ นว่า รือ - ด ี ฤๅทยั อ่านวา่ รือ - ไท หนงั สือคมู่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 75

ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๑ คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนอ่านแบบฝึกหดั ต่อไปนี้ ✿ แบบฝกึ หัด พฤษภ แปลว่า โคผู้ พฤศจิก แปลว่า แมลงป่อง ซ่ึงได้ชื่อมาจากดาวฤกษ ์ และเป็นชื่อเดือนตามทางสุริยคติ เรียกว่า เดือนพฤษภาคม และเดือนพฤศจิกายน เดอื นพฤษภาคม ตรงกบั เดอื นหก ตกอยู่ในฤดูฝน เดือนพฤศจกิ ายนตรงกบั เดอื นสบิ สอง ตกอยู่ในฤดูหนาว แต่ในประเทศอังกฤษ เดือนพฤษภาคม ตกอยู่ในฤดูใบไม้ผล ิ สว่ นเดอื นพฤศจกิ ายนนนั้ ตกอยใู่ นฤดหู นาว วนั พฤหสั บดเี ปน็ วนั ครู สมยั โบราณนยิ มพาบตุ รหลาน ไปฝากกับครูบาอาจารย์ในวันพฤหัสบดี เพราะถือว่าวันพฤหัสบดีเป็นวันครู และถ้า จะทำพิธีไหว้ครู ก็ทำในวันพฤหัสบดี ฤาษ เี ป็นนักบวชผู้แสวงหาความรู้ นับว่าเป็นครูบา อาจารยเ์ หมอื นกนั ทห่ี นา้ กฎุ พระฤาษ มี ตี น้ พฤกษา ชอ่ื ไมก้ ฤษณา มกี ลน่ิ หอม เดก็ ทเ่ี ชอ่ื ฟงั คำสั่งสอนของครูบาอาจารย์ มักประพฤติดี บุตรที่ประพฤติดี บิดามารดารักใคร่และ มอบทรัพย์มรดกให้ปกครองต่อไป บุตรที่ดีเมื่อบิดามารดามอบทรัพย์มรดกให้แล้ว ก็ต้ังใจประกอบอาชีพในทางท่ีดีที่ชอบ และพยายามรักษาทรัพย์มรดกให้เกิดมูนพูนเขา เปน็ ปกึ แผน่ มั่นคงสืบต่อกันไปจนกระทง่ั ชว่ั ลกู หลานเหลน พฤษภ อา่ นวา่ พรึ - สบ / พรึด - สบ พฤศจิก อา่ นว่า พรึด - สะ - จกิ ฤกษ ์ อา่ นว่า เรกิ พฤษภาคม อ่านวา่ พรดึ - สะ - พา - คม พฤศจิกายน อ่านวา่ พรดึ - สะ - จิ - กา - ยน ฤด ู อ่านวา่ รึ - ดู องั กฤษ อ่านวา่ อัง - กรดิ พฤหสั บด ี อา่ นว่า พรึ-หดั -สะ-บอ-ดี/พะ-รึ-หดั -สะ-บอ-ด ี ฤษี อ่านว่า รึ - ส ี พฤกษา อ่านวา่ พรกึ - สา กฤษณา อ่านว่า กรดิ - สะ - หนา ประพฤต ิ อ่านวา่ ประ - พรึด 7 6 หนังสือคูม่ อื แนวมทราดงกการ จดั การเรยี นการสออน่าแนบบวเ่ารีย นเมรว็ อใหม- ่ ระ - ดก เล่ม ๑ ตอนปลาย

ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๒ คำช้ีแจง ให้นักเรียนอ่านเรื่อง “ธงชาติของเรา” แล้วบอกใจความสำคัญ หรือ ✿ ขอ้ คิดจากเรอื่ งที่อา่ น ธงชาตขิ องเรา ในฤดูแล้งเมื่อข้ึนปีใหม่ ราวเดือนเมษายน ยังไม่ขึ้นเดือนพฤษภาคม เด็กๆ ทกุ คนไดเ้ คยไปทำบญุ กอ่ พระเจดยี ท์ รายทว่ี ดั กบั บดิ ามารดาบา้ งแลว้ เมอ่ื กอ่ พระเจดยี ท์ ราย เรียบร้อยแล้วก็เอาธงปัก พระเจดีย์ทรายทุกๆ องค์แวดล้อมไปด้วยธงธงคันใหญ ่ ปักตระหง่านอยู่ตรงยอดพระเจดีย์องค์ใหญ่ท่ีอยู่กลาง ส่วนคันเล็กๆ นั้นอุปไมยเหมือน ธงบรวิ าร ปกั อยเู่ รยี งรายตามองคท์ ก่ี อ่ ไวร้ อบๆ แลดสู ลอนงามสลา้ งทว่ั ไปทงั้ บรเิ วณลานวดั เป็นเบิกบานตา น่าเพลิดเพลินหฤทัย นอกจากท่ีกล่าวน้ีแล้ว เด็กๆ คงจะได้เคยเล่นธง โดยเอาธงผกู ติดเขา้ กบั ปลายไม้ แล้วพาว่ิงไปมาคล้ายกับเล่นว่าว อย่างน่าสนุกสนานบ้าง ทำเรือนตุ๊กตาแล้วปักธงไว้บนหลังคา งดงามน่าดู บ้างเดินเป็นแถวทหาร มีธงนำหน้า เป็นสงา่ ผ่าเผยร่าเรงิ บ้าง เหลา่ นี้เปน็ ตน้ ตลอดจนได้เห็นธงท่โี รงเรยี น โรงทหาร สถานที่ ราชการพลเรือนชักขึ้นไว้ในท่ีสูงตระหง่าน สง่างามสำหรับกระทำความเคารพบ้าง ในวันประกอบดว้ ยฤกษพ์ ธิ ีซ่งึ เป็นวันสำคัญของชาติ สถานทที่ ำการของรฐั บาล ตลอดจน หา้ งรา้ นบา้ นเรอื น กพ็ รอ้ มใจกนั ชกั ธงขน้ึ ปลายเสา ปกั และแขวนเปน็ ราว หอ้ ยรายเปน็ ระยะ ดูเป็นทิวตลอด แลสลา้ งไปทุกหนทกุ แห่ง เหน็ แล้วย่อมเร้าใจ ชวนใหล้ ิงโลดมิใชน่ อ้ ยเลย เมื่ออ่านเร่ืองธงต่างๆ ที่เด็กๆ ได้เคยเห็นและเคยเล่นมาถึงตรงน้ี เช่ือว่าเด็กๆ คงรา่ เรงิ มาก และพงึ ร้ใู หก้ วา้ งขวางย่งิ ขนึ้ ว่า ธงชาติ คอื ธงของชาตไิ ทย แทนประเทศไทย ท่ีเรารักและเคารพนับถือย่ิงน้ัน มีความหมายสำคัญเพียงไรแล้วก็คงจะรู้สึกตื่นเต้น และปลาบปลม้ื ใจย่ิงขนึ้ อีกเปน็ แน่ สมัยโบราณ ไทยเรานี้ใช้ธงชาติสีแดง ต่อมาได้เปล่ียนแปลงใช้ธงช้าง คือ เพมิ่ รปู ชา้ งยนื สขี าวอยทู่ ต่ี รงกลาง สว่ นพน้ื ธงคงสแี ดงตามเดมิ ประดษิ ฐป์ ระดอยใหด้ งู ามยง่ิ ขน้ึ แต่คงมีความหมายเช่นเดียวกัน ครั้นต่อมาอีก เราได้เปลี่ยนแปลงใหม่ใช้ธงไตรรงค์ คือ ธงสามสี สีหนึ่งๆ นั้นแสดงเป็นเคร่ืองหมายแทนสิ่งประเสริฐยิ่งของเรา คือ สีแดงท่ีอย ู่ ริมทั้งสองข้างน้ันมีสีแดงเหมือนสีเลือด อันหมายถึงแสดงความกล้าหาญเป็นเครื่องหมาย หนงั สอื คู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 77

✿ ธงชาติของเรา (ตอ่ ) แทนชาติ มุ่งถึงจุดที่คนไทยทุกคนจะต้องพร้อมใจกันทำประโยชน์ให้แก่ชาติ รักษาชาติ และสงวนชาตอิ นั เปน็ มรดกสำคญั ของเราไว้ ใหค้ งเปน็ ไทยอยชู่ วั่ ฟา้ และดนิ ไมย่ อมเปน็ ขา้ ใคร สขี าวทอ่ี ยถู่ ดั สแี ดงเขา้ ไปทง้ั สองขา้ งนน้ั มงุ่ ถงึ ความบรสิ ทุ ธข์ิ าวสะอาดหมดจดผอ่ งใสแหง่ ใจ อนั เปน็ ความหมายแทนศาสนา ตลอดจนรฐั ธรรมนญู ซงึ่ เปน็ สงิ่ สำคญั คกู่ บั ชาติ เปน็ หลกั ธรรม ของชาติ สำหรับสนับสนุนเหน่ียวรั้งน้ำใจคนไทย ให้นิยมอยู่ในหมู่คณะเป็นพวกเดียวกัน มีวินัยอย่างเดียวกัน ส่วนสีน้ำเงินแถบใหญ่ตรงกลางนั้นเล่า สีคล้ายสีฟ้าซ่ึงอยู่เบ้ืองสูง มคี วามหมายแทนพระมหากษตั ริย์ ซึง่ เรายกข้นึ ไว้ในฐานะอนั สงู คือ เป็นหัวหน้าของชาติ เปน็ ธงชยั ของชาติ เป็นสงา่ ราศีของชาติ ยุวชนสยามจงรู้สกึ สำนึกตวั ว่า ธงชาติของสยาม เป็นเครื่องเชดิ ชคู วามเอกราชของสยาม และเป็นสง่ิ เคารพย่งิ ของชาวสยาม ชาติ ศาสนา ตลอดถงึ รฐั ธรรมนญู และพระมหากษตั รยิ ์ ทงั้ สามนเี้ ปน็ สง่ิ ประเสรฐิ ยง่ิ ซ่ึงชาวเราได้รบั มรดกสืบเน่อื งกันมาหลายช่วั บรรพบุรษุ สที ั้งสามในพน้ื ธงชาตนิ นั้ จะคอย เตอื นใจเราใหร้ ะลกึ อยเู่ สมอวา่ เราเปน็ ไทย มเี ลอื ดเนอ้ื เชอื้ ไขเปน็ ไทย ชาตขิ องเราเปน็ ไทย เราต้องยอมสละเลือดเนื้อเพื่อชาติไทย เราต้องรักษาความเป็นเอกราชของชาติไทยไว ้ จะไมย่ อมเปน็ ขา้ ใครเปน็ อนั ขาด เรายอมเสยี สละทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งทจ่ี ะทำตนใหส้ มกบั คำจารกึ ทห่ี นา้ หมวกวา่ “รกั ชาตยิ งิ่ ชพี ” ถงึ “เสยี ชพี อยา่ เสยี สตั ย”์ “ยอมสละชพี เพอ่ื ชาต”ิ เราจะรกั และนบั ถอื ศาสนาของเรา เราจะรกั และนยิ ม ในระบอบรฐั ธรรมนญู ของชาตไิ ทย เราจะรกั และเคารพในพระมหากษตั รยิ ์ ผเู้ ปน็ ประมขุ ของชาตไิ ทย เราจะพรอ้ มเพรยี งชว่ ยกนั รบี เรง่ ทำประโยชน์ให้แก่ประเทศไทยจริงๆ มิสักว่าพูดแต่ปาก เราจะร่วมกันช่วยเหลือ ทะนุบำรุงสนองคุณชาติไทย เราจะร่วมกันยกย่องสนับสนุนส่งเสริมเชิดชูชาติไทย ให้ก้าวหน้าไปสู่ความเจริญมากท่ีสุดท่ีจะกระทำได้ เราจะร่วมกันรักเกียรติยศชื่อเสียง ของชาตไิ ทย ชาวสยามทกุ ๆ คนจะตอ้ งถอื วา่ ชาวสยามทงั้ หมดเปน็ ชาตเิ ดยี วกนั เหมอื นหนง่ึ รว่ มบดิ ามารดาเดยี วกนั ควรตอ้ งถอื ธรรมและรกั ใครส่ ามคั คปี รองดองกนั เมตตากรณุ าตอ่ กนั มีสาระทุกข์สุข ต้องช่วยเหลือกันในทางดีทางชอบตามแต่สมควรที่จะช่วยได้ ต้องละเสีย ซงึ่ ความอจิ ฉารษิ ยา เบยี ดเบยี นกนั การทะเลาะววิ าทฆา่ ฟนั กนั สง่ิ ชวั่ รา้ ยอนั ผดิ ตอ่ ศาสนา และนา่ อบั อายขายหนา้ เหลา่ น้ี อยา่ ใหม้ ขี น้ึ ระหวา่ งชาตไิ ทยเราเลย เราจะตอ้ งถอื วา่ เราตอ้ ง มใี จเปน็ นำ้ หนง่ึ เดยี วกนั รว่ มทกุ ขร์ ว่ มสขุ กนั เราจะตอ้ งรว่ มกนั ขยนั ขนั แขง็ พยายามบากบนั่ 78 หนังสือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

✿ ธงชาติของเรา (ต่อ) มานะอดทนก้มหน้ากัดฟันทำมาหากินหนักเอาเบาสู้ ยินดีทำงานไม่เลือกงาน ทำงาน อยา่ งนา่ สนกุ สนาน ชน่ื หนา้ ชน่ื ตาชนื่ ใจ ขะมกั เขมน้ กระทำการตามหนา้ ทขี่ องตนโดยเตม็ กำลงั สติปัญญา และความสามารถ ต่างคนต่างต้องนึกถึงประโยชน์ของประเทศชาติให้มาก ท่ีสุดท่ีจะทำได้ ต้องช่วยเหลือเก้ือกูลอุดหนุนหัตถกรรมในพ้ืนเมืองไทย ท้ังผู้ทำและผู้ซ้ือ อย่างแท้จริง พอใจใช้แต่ของหรือสินค้าของเรา อันเราทำขึ้นในเมืองไทยให้มากท่ีสุด ชว่ ยกนั ปอ้ งกนั และรกั ษาผลประโยชนข์ องประเทศชาตไิ วท้ กุ ๆ สถาน เพอ่ื ใหป้ ระเทศชาติ ของเราเลยี้ งตวั เองได้ โดยไมต่ อ้ งอาศยั ชาตอิ น่ื นบั วา่ เปน็ การเชดิ ชเู กยี รตยิ ศของชาตอิ นั แทจ้ รงิ เราต้องพร้อมใจกันส่งเสริมความรุ่งเรืองของชาติ ยอมสละกำลังทรัพย์ทำประโยชน ์ และสรา้ งอำนาจกำลงั ของทหารแหง่ ชาตไิ วใ้ หแ้ ขง็ แรงมน่ั คงอยเู่ สมอ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ทเี่ กรงขาม ของชาติอ่ืน เราต้องร่วมใจกันสนับสนุนขนบธรรมเนียม ประเพณีท่ีดีงามของเราไว้ เพ่ือให้เป็นเกียรติยศ แสดงความเจริญรุ่งเรืองของชาติ เราต้องเคารพบูชาและปฏิบัติตาม ศาสนาโดยเครง่ ครดั เพราะเปน็ หลกั ธรรมของชาติ เปน็ เครอ่ื งสง่ เสรมิ ชกั ชวนเหนยี่ วรงั้ ใจคนไทย ให้เป็นน้ำหน่ึงใจเดียวกัน เพื่อประพฤติตนให้เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ เราต้องรัก พระมหากษัตริย์ เพราะเป็นธงชัยและสง่าราศีของชาติ เป็นเคร่ืองเตือนใจว่าคนไทย มีประมุขและมีใจร่วมกันเป็นบุคคลเดียวกัน เพื่อให้มีความพร้อมเพรียงกลมเกลียวกัน อยู่เสมอ เราต้องรกั และปฏบิ ัติตามรัฐธรรมนญู เพราะเปน็ หลกั ธรรมความสุข ความเจรญิ ของชาติ เป็นสิง่ เตอื นใจวา่ คนไทยต้องถือวินัยอยา่ งเดียวกนั เพ่ือใหก้ ารปกครองไดเ้ ปน็ ไป โดยความสงบเรยี บรอ้ ย เราท้งั หลายก็จะไดร้ บั ความร่มเยน็ เป็นสุขสบายทัว่ หนา้ กนั ธงชาตมิ คี วามหมายสำคญั หลายประการดงั กลา่ วแลว้ จงึ เปน็ ทรี่ กั ของเรา รกั ยงิ่ กวา่ ชวี ติ จติ ใจทเี ดยี ว เราจะไมย่ อมใหใ้ ครมาดหู มน่ิ เกยี รตศิ กั ดขิ์ องชาตเิ ราดว้ ยอาการเหยยี บยำ่ หรอื กระทำอนั ตรายอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใด ตอ่ ธงชาตขิ องเราเปน็ อนั ขาด และเมอ่ื เวลาพบธงชาติ ในที่สมควรกระทำความเคารพ เราต้องแสดงความเคารพด้วยน้ำใสใจจริงทุกครั้ง พรอ้ มกบั ระลกึ ถงึ ส่งิ ท้ังสาม ควบไปกบั สง่ิ ประเสรฐิ ดังกลา่ วแล้ว โดยคำมน่ั สัญญาว่า “เรารกั ชาต ิ ศาสน์ กษัตรยิ ์ เรารกั รั ฐ-ธรรมนญู ไทย” หนงั สอื คมู่ ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 79

✿ ธงชาติของเรา (ต่อ) ทุกคร้ัง และพร่ำเตือนตัวเองว่า เรามีเลือดเน้ือเป็นไทย เราจะต้องร่วมใจกันกระทำ แต่ประโยชน์เพ่ือชาติไทย และมีความรักชาติย่ิงชีพ เมื่อถึงคราวที่เราชุมนุมร่วมกัน ในวนั มีงานรน่ื เรงิ ของชาติ หรือในการประชมุ เพ่อื ความครึกครื้นอย่างหนงึ่ อยา่ งใด เราต้อง พรอ้ มใจกนั แสดงความปตี ิยินดี โดยเปลง่ เสียงชโย! ฉะนน้ั แลว้ เราก็ควรระลึกถึงสขี องชาติ อันแทนส่งิ ประเสรฐิ ของชาติ และกลา่ วคำอวยพรว่า “ขอให้ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ จรัสจรญู และใหร้ ัฐ-ธรรมนญู เพิ่มพนู พพิ ฒั น ์ สวสั ด-ี ชโย!” เด็กๆ จงรู้ไว้ว่า เราจะต้องกระทำตนให้เป็นคนรักชาติพร้อมทั้งกายวาจาใจ ตามความหมายแหง่ สที ง้ั สาม ซงึ่ มอี ยู่ในพนื้ ธงชาตจิ นฝงั ตรงึ มนั่ ตดิ เปน็ นสิ ยั สนั ดานประจำตวั เพอ่ื ความเจรญิ จะได้มีมาสู่ตน และผลแห่งความเจรญิ น้ัน กย็ อ่ มเกย่ี วเนือ่ งถึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และรัฐธรรมนูญ ของพวกเราชาวไทยท้ังหลายด้วย จึงจะเรียกกว่า เกิดมาไม่เสียชาตเิ ปล่า ในที่สุดพวกเราจงมาพรอ้ มกันร้องเพลงอนั เกี่ยวแกช่ าติ ดงั ต่อไปนี ้ “ขอใหช้ าติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ จรัสจรูญ และให้รฐั -ธรรมนญู เพ่มิ พนู พพิ ัฒน์ สวัสด-ี ชโย!” 80 หนงั สือคมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

ตัวอยา่ งกจิ กรรมที่ ๓ คำชีแ้ จง ๑. ให้นกั เรยี นอา่ นเร่อื งต่อไปน้ี - อา่ นพร้อมกนั ทงั้ ชน้ั เรียน - อา่ นตามแถวท่ีน่ัง แถวละวรรค - อา่ นทีละคน คนละวรรค ๒. นักเรยี นร้องเพลงพร้อมปรบมือหรอื เคาะจังหวะประกอบ ✿ เพลง ทำนองเพลงชาติ เหลา่ เราน้ีหรอื คอื เลือดไทย ไดส้ บื มา เลอ่ื งลอื ชา กล้าทกุ สิ่ง จริงทกุ อยา่ ง นำ้ จติ พรอ้ ม ยอมพลี ทกุ ทท่ี กุ ทาง รว่ มกอ่ รา่ ง สรา้ งประเทศ มาเขตไทย แมถ้ งึ ถูก กระทำ เขายำ่ ยี ก็ไมม่ ี อ่อนนอ้ ม ยอมเปน็ ข้า ก่อกคู้ วาม เปน็ ไทยไว้ ได้ทกุ ครา นี้นา่ บชู า นา่ ดูดด่ืม ปลาบปล้ืมใจ เหล่าเราทงั้ หลาย ตอ้ งระลึก นกึ ถึงคุณ ของบรรพชน ต้นสกลุ คณุ ยิ่งใหญ่ ร่วมรกั ษา รบี บำรุง ผดงุ ไทย ให้ทนั สมยั หมายพงึ่ ซ่ึงตนเอง มยิ อมให้ ใครกลา้ มารานรกุ เตรยี มพรอ้ มทกุ ๆ ทาง อยา่ งครดั เครง่ หากใครขืน ฝืนกระทำ มยิ ำมิเกรง ไทยยอมละเลง เลอื ดเนอ้ื ไว้ เพอ่ื ไทยชยั โย หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 81

๓. คำศัพท์ ๓.๑ ความหมายของคำศัพท ์ คำศพั ท์ ความหมาย มนู - พอกพนู - มาก พนู - พอกขึน้ เพ่ิม เจรญิ - ทำใหส้ งู มรดก ทรัพยส์ มบตั ขิ องผู้ตาย โรงทหาร กรมทหาร กองทหาร คา่ ยทหาร ลงิ โลด - โดดเต้น - ปล้มื ใจ ดใี จ ยุวชน เดก็ วัยรุ่น เกรงขาม ครา้ ม เกรง จรัส - แจ่มแจง้ - รุง่ เรือง - สว่าง จรญู - รุ่งเรอื ง - งาม 82 หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

๓.๒ คำทีเ่ ขยี นแตกต่างจากปจั จบุ ัน คำท่ีใช้ในปจั จบุ ัน คำที่ใชใ้ นหนังสอื แบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย มรดก กระทง่ั มฤดก เยาวชน กะท่งั สารทุกขส์ ุกดิบ ยวุ ชน เบยี ดเบยี น สาระทกุ ข์สุขดบิ เอกราช เบยี ดเบียฬ นสิ ยั เอกราชย์ จิตใจ นสิ สัย เขต จติ ต์ใจ ผดงุ เขตต ์ ชยั โย ผะดุง ชัโย ๔. ขอ้ สงั เกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ การสอนอา่ นคำแตล่ ะคำในแบบฝกึ หดั ไมค่ วรใหอ้ า่ นออกเสยี งเพยี งอยา่ งเดยี ว แตค่ วรคำนึงถึงคำทเี่ ขา้ ใจยาก ต้องบอกความหมายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจคำมากขนึ้ ๔.๒ การอ่านเรื่องในแบบฝึกหัด เมื่อนักเรียนอ่านจบครูอาจตั้งคำถามเพื่อให้ นกั เรยี นเกิดคุณลักษณะที่ดี คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ๔.๓ มีการใช้เครื่องหมาย – (ยัติภังค์) ค่ันเพ่ือเว้นวรรคช่วงจังหวะในการอ่าน ในบทรอ้ ยกรอง เช่น “ขอให้ชาติ-ศาสนา พระมหากษัตริย์ จรัสจรูญ และใหร้ ฐั -ธรรมนูญ เพิ่มพูนพพิ ัฒน์ สวัสด-ี ชโย!” หนังสอื คูม่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 83

84 หนงั สือค่มู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

บทท่ี ๓๓ ๑. เน้อื หา เครือ่ งหมายที่ใชแ้ ทนตวั หนงั สือ ๒. แนวทางการจัดกจิ กรรม ครูสอนนักเรียนเก่ียวกบั การใชเ้ ครื่องหมายตา่ งๆ ที่ใช้แทนตวั หนงั สอื ดงั นี ้ ๒.๑ คำยอ่ เวลาอ่านตอ้ งอ่านให้เตม็ ความ เชน่ น. ยอ่ มาจาก นาฬ ิกา อ่านว่า นา - ลิ - กา พ.ศ. ยอ่ มาจาก พุทธศกั ราช อ่านวา่ พดุ - ทะ - สกั - กะ - หราด พ.ร.บ. ยอ่ มาจาก พระราชบญั ญัต ิ อา่ นว่า พระ - ราด - ชะ - บนั - หยดั สต. ยอ่ มาจาก สตางค ์ อา่ นวา่ สะ - ตาง สน. ยอ่ มาจาก เสน้ อา่ นว่า เส้น ม. ยอ่ มาจาก เมตร อ่านวา่ เมด ซม. ย่อมาจาก เซนติเมตร อ่านว่า เซน - ติ - เมด ๒.๒ ฯ อ่านว่า ไปยาลน้อย ถ้าเขียนไวข้ า้ งหลังคำ หมายความวา่ คำนน้ั เขียน ละไว้ แตเ่ วลาอ่านตอ้ งอ่านใหเ้ ต็ม เชน่ กรงุ เทพฯ ย่อมาจาก กรงุ เทพมหานคร อา่ นว่า กรงุ - เทบ - มะ - หา - นะ - คอน โปรดเกลา้ ฯ ย่อมาจาก โปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ ม อ่านวา่ โปรด - เกลา้ - โปรด - กระ - หม่อม ๒.๓ ฯลฯ อ่านว่า ละ เมื่ออยู่หลังข้อความ และถ้าอยู่กลางข้อความ อ่านว่า “ละถึง” เชน่ สัตว์ ๒ เท้า ได้แก่ เป็ด, ไก่ ฯลฯ อ่านว่า สตั ว์ ๒ เทา้ ไดแ้ ก่ เปด็ ไก่ ละ หนังสอื ค่มู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 85

๒.๔ - อ่านวา่ ถึง เมื่ออยู่ระหวา่ งจำนวนหนา้ กับจำนวนหลงั สุด เช่น ๑ - ๓ วนั อา่ นวา่ ๑ ถึง ๓ วัน ๒.๕ = อา่ นวา่ เทา่ กบั เชน่ ๑ วา = ๔ ศอก อ่านว่า ๑ วา เทา่ กับ ๔ ศอก ๒.๖ ( ) อ่านวา่ วงเลบ็ หรอื “นขลิขิต” เช่น ๑ วา ยาว ๒ เมตร อา่ นวา่ ๑ วา ยาว ๒ เมตร ๒.๗ ” อา่ นวา่ บพุ สัญญา ใช้อ่านซ้ำคำหรือความขา้ งบนทตี่ รงกนั เช่น แมวดำ ” ขาว อ่านวา่ แมวขาว ๒.๘ อา่ นว่า เพราะว่า ∴ ๒.๙ ∴ อา่ นวา่ เพราะฉะน้นั ๓ ๒.๑๐ วัน ๑ ฯ ๒ คำ่ อ่านว่า วนั อาทิตย์ เดือนย่ี ขึน้ ๓ คำ่ ๒.๑๑ วัน ๒ ๔ฯ ๓ ค่ำ อ่านว่า วนั จันทร์ เดือนสาม แรม ๔ คำ่ ๒.๑๒ อา่ นว่า ตนี ครุ ใชส้ ำหรบั บอกจำนวนเงนิ ขา้ งบนเปน็ ชงั่ ขา้ งลา่ งเปน็ ไพ บนซา้ ยเปน็ ตำลงึ บนขวาเปน็ บาท ลา่ งซา้ ยเปน็ สลงึ ลา่ งขวาเปน็ เฟอื้ ง เวลาอา่ น จะอ่านจากช่ัง ตำลึง บาท สลึง เฟื้อง ไพ ๔๑ ๒๕ ๒๓ อ่า นวา่ ตามลำดับ ๕ ช่ัง ๔ ตำลงึ ๓ บาท ๑ สลึง ๒ เฟอ้ื ง ๒ ไพ 86 หนงั สือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

ตัวอยา่ งกิจกรรมท่ี ๑ คำชแี้ จง ให้นักเรียนอา่ นแบบฝกึ หัดต่อไปน ้ี ✿ แบบฝกึ หดั ด.ช. บญุ เชดิ เลศิ เชาวน์ เกดิ วนั ๗ ฯ๗ ๙ คำ่ สว่ น ด.ญ. ทองคำ ธรรมประเสรฐิ เกดิ วัน ๖ ฯ๙ ๔ ค่ำ จำได้ว่าเปน็ ปีเดยี วกนั คือ พ.ศ. ๒๔๖๖ ปนี น้ั ขา้ วปลาไดผ้ ลดี เราขายขา้ วออกจะรวย สต. อยสู่ กั หนอ่ ย ถา้ เขยี นลงเปน็ มาตราเงนิ โบราณ กร็ วมเปน็ จำนวน ๑๐ ๑๔ ๑ ๓๒ และในปีนั้นมี พ.ร.บ. มาตราชั่ง ตวง วัด ออกใหม่ โปรดเกล้าฯ ให้ใช้ท่ัวไป ตลอดจนกรุงเทพฯ เพ่ือป้องกันไม่ให้ผู้ขายเอารัดเอาเปรียบโกงเล็กโกงน้อยต่อผู้ซื้อ เด็กๆ ควรฝกึ หดั ดมู าตราชงั่ ตวงวดั ใหเ้ ปน็ ทกุ คน จะได้ ไมเ่ สยี เปรยี บเขาในการซอ้ื ขาย ใน พ.ร.บ. น ี้ มีวิธีเปล่ียนมาตราเมตริก กับมาตราประเพณีของเรา เช่น ๑ ม. = ๑๐๐ ซม. ฯลฯ ๗ อา่ นว่า วันเสาร์ เดือนเก้า ขน้ึ ๗ ค่ำ ๗ ฯ ๙ ๖ ๙ฯ ๔ อา่ นว่า วันศุกร์ เดือนส่ี แรม ๙ คำ่ พ.ศ. อา่ นว่า พทุ ธศกั ราช สต. อา่ นวา่ สตางค ์ ๔๑ ๑๑๐ ๒๓ อ่านว่า พ.ร.บ. ๑๐ ชั่ง ๔ ตำลงึ ๓ บาท ๑ สลงึ ๒ เฟอื้ ง ๑ ไพ อา่ นว่า พระราชบัญญตั ิ โปรดเกลา้ ฯ อา่ นวา่ โปรดเกลา้ โปรดกระหม่อม กรุงเทพฯ อา่ นว่า กรงุ เทพมหานคร ๑ ม. = ๑๐๐ ซม. ๑ สน. = ๔๐ ม. ฯลฯ อา่ นวา่ ๑ เมตร เทา่ กับ ๑๐๐ เซนตเิ มตร ๑ เส้น เทา่ กับ ๔๐ เมตร ละ หนังสอื คมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 87

ตวั อยา่ งกิจกรรมที่ ๒ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นอา่ นเรอื่ ง “จงบชู ารฐั ธรรมนญู ของเรา” แลว้ บอกใจความสำคญั หรอื ขอ้ คดิ จากเรอ่ื งทอ่ี า่ น ✿ จงบูชารัฐธรรมนญู ของเรา ประเทศสยามเราได้เปล่ียนแปลงการปกครองตามระบอบรัฐธรรมนูญหรือ ทเี่ รยี กวา่ การปกครองแบบประชาธปิ ไตย เมอื่ ๒ ๙ฯ ๗ คำ่ ปวี อก ตรงกบั วนั ท่ี ๒๗มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๗๕ รฐั ธรรมนญู ของเรามรี ปู รา่ งคลา้ ยกบั สมดุ คมั ภรี ์ พระธรรมปดิ ทอง มแี ผน่ ตราครฑุ ติดไว้ท่ีปกหน้า ตั้งอยู่บนพานทองอันงดงามน่าดู ในสมุดน้ันมีระเบียบข้อบังคับ การปกครองของเรา อันประกอบด้วยหลักธรรมในพระพุทธศาสนาของเราเป็นพื้น ข้อความทุกข้อเป็นท่ีนับถืออย่างย่ิง เช่นเดียวกับพระธรรมในพระพุทธศาสนาของเรา เพราะฉะน้ันรัฐธรรมนูญก็นับเน่ืองอยู่ในศาสนา ซ่ึงเป็นสิ่งประเสริฐน้ันทีเดียว การปกครองตามระบอบรัฐธรรมนูญ ก็คือการปกครองที่พวกเราปกครอง ตัวเราเอง แต่พวกเราท้ังหมดทัว่ ประเทศจะมาประชุมทีส่ ภาผู้แทนราษฎรพร้อมกนั ทกุ คน ไม่สะดวกด้วยประการต่างๆ พวกเราจึงได้พร้อมใจช่วยกันเลือกคัดผู้ท่ีมีศีลธรรมอันดีงาม จรงิ ๆ มคี วามประพฤตดิ ี กตญั ญตู อ่ ชาติ ซอ่ื ตรงตอ่ ชาติ มีใจเดด็ เดยี่ ว ยอมสละไดท้ กุ อยา่ ง มีความรู้ เฉลียวฉลาดและสามารถดี จนเป็นที่นิยมนับถือของคนท่ัวไปในจังหวัดนั้นๆ มาเป็นผู้แทน ส่วนผู้ท่ีสมัครเป็นผู้แทนราษฎรน้ันเล่า ก็ควรต้ังปฏิญาณว่าตนจะตั้งใจ ทำประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาตจิ รงิ ๆ มสิ กั วา่ พดู แตป่ าก ตอ้ งการเกยี รตยิ ศชอื่ เสยี งมากกวา่ เงนิ ทอง และจะตั้งใจยอมทำหน้าที่เป็นหูตาเป็นปากเสียงของเรา ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และเมตตากรุณา เป็นหัวหน้าอย่างเป็นพ่อบ้านปกครองครอบครัว แล้วผู้แทนนั้นๆ ได้มาประชุมท่ีสภาผู้แทนราษฎร เพ่ือปรึกษาหารือในการควบคุมดูแลความทุกข์สุข ความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัย ตลอดจนความเจริญของพวกเราทงั้ หลาย 88 หนังสอื คมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

✿ จงบชู ารัฐธรรมนูญของเรา (ตอ่ ) ระเบยี บขอ้ บงั คบั แหง่ การปกครองตามระบอบรฐั ธรรมนญู นนั้ ใชบ้ งั คบั พวกเราทกุ คน ตลอดจนพระเจ้าอยู่หัวอย่างเดียวกันท้ังหมด และได้รับความคุ้มครองเสมอหน้ากัน ไมเ่ ลือกว่าจะเปน็ คนช้ันไหนๆ หรอื ศาสนาใดๆ ก็ตาม รัฐธรรมนูญนี้เป็นธรรมหลัก ความสุขความเจริญของประเทศสยาม หรือเป็น หลักบ้านหลักเมืองของไทยเรา ดังน้ันเราทุกคนควรเล่ือมใส เคารพนับถือการปกครอง ตามระบอบรฐั ธรรมนญู ดว้ ยใจอนั ผอ่ งใสจรงิ ๆ ไม่ใชพ่ ดู แตป่ าก และนา่ จะรวมความพรอ้ มเพรยี ง เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ประพฤติและปฏิบัติตาม และยกย่องสนับสนุนส่งเสริมเชิดชูบูชา รัฐธรรมนญู ไว้ พร้อมดว้ ยกาย วาจา และใจ ตลอดจนชวี ิตก็อาจยอมตายแทนรฐั ธรรมนญู ไดท้ กุ เวลา และควรระลกึ ไวเ้ สมอ เพอ่ื ใหร้ ฐั ธรรมนญู ของเราดำรงเปน็ ศรี คอื มง่ิ ขวญั ตงั้ มน่ั อยู่ตลอดกาลนาน นักเรียนท้ังหลายได้อ่านเรื่องรัฐธรรมนูญของเรามาแล้วถ้าคิดให้ลึกซึ้ง จะเห็น พอ้ งรว่ มกนั วา่ รฐั ธรรมนญู ของเรา กค็ อื ตวั เรานน่ั เอง แตม่ คี า่ สงู ยง่ิ กวา่ ตวั เรา เพราะฉะนนั้ เราจะตอ้ งรกั และนบั ถอื รฐั ธรรมนญู ของเรายง่ิ กวา่ ชวี ติ จติ ใจของเรา และเราจะตอ้ งดำรงไวซ้ ง่ึ รฐั ธรรมนญู ของเรา และจงจำไวว้ า่ ผทู้ รี่ กั รฐั ธรรมนญู อนั แทจ้ รงิ นน้ั คอื ผทู้ ปี่ ระพฤตแิ ละปฏิบัติ ตามระบอบรฐั ธรรมนญู โดยเคร่งครัด ณ วนั ๗๑ฯ๓ ๑ คำ่ ปวี อก ตรงกบั วนั ที่ ๑๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เวลา ๑๕.๐๐ น. (บา่ ย ๓ โมง) ชาวสยามผมู้ นี ำ้ ใจเปน็ นกั กฬี า นบั ตง้ั แตเ่ จา้ นาย ฯลฯ ตลอดถงึ ประชาราษฎร ทว่ั หนา้ ตา่ งพากนั ปลม้ื ปตี แิ ซซ่ อ้ งสาธกุ าร ในการทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ออก ณ พระที่น่ังอนันตสมาคม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่ง พระราชอาณาจกั รสยาม แกป่ ระชาชนชาวสยาม รฐั ธรรมนญู นมี้ ใิ ชก่ ฎหมายหรอื พ.ร.บ. สามญั ที่ประกาศออกใช้ตามเวลาปกติ คือเป็นกฎหมายสูงสุด เป็นแม่บทสำคัญหลักในการ ปกครองประเทศสยาม เหลา่ ประชาชนชาวสยามพากนั ชน่ื ชมยนิ ดี ทำการฉลองรฐั ธรรมนญู อยา่ งครกึ ครน้ื มโหฬารทวั่ พระราชอาณาจกั รสยาม ตลอด ๓ วนั ๓ คนื ตา่ งรสู้ กึ เหมอื นหนง่ึ หนังสือค่มู ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 89

✿ จงบชู ารัฐธรรมนญู ของเรา (ต่อ) ได้แก้วสารพัดนึกอันมีค่าประเสริฐ ไม่มีสิ่งใดมาปูนเปรียบได้ด้วยความรู้สึกอย่างว่าน้ ี มที วั่ ไปในบรรดาชนชาวสยามทกุ เพศทกุ วยั ไมใ่ ชแ่ ตเ่ ฉพาะผใู้ หญ่ แมแ้ ตเ่ ดก็ ๆ ด.ช. คนหนง่ึ กลา่ วดว้ ยความรสู้ กึ อยา่ งจรงิ ใจวา่ อยา่ วา่ แต่ใครจะให้ สต. ฉนั สกั ๘๐-๙๐ สต. เลย ตอ่ ใหเ้ อาเงนิ ๑๐๐ จำนวนทัง้ ๓๑ ๑ ๓๒ มายกให้ ฉันกไ็ มย่ นิ ดเี ท่ากบั ความปรดี าปราโมทยอ์ ยา่ งจริงใจ ของฉนั เลย และได้ยนิ ครคู นหน่งึ กลา่ วเปน็ คติอนั จบั ใจนา่ ฟังว่า “ปวงประชาชนชาวสยามเปน็ ผู้ที่รกั รฐั ธรรมนูญสยาม นกั เรยี นท้ังหลายเปน็ ปวงประชาชนชาวสยาม ∴ ” ” ผทู้ ่ีรกั รฐั ธรรมนูญสยาม” นักเรียนท้ังหลายจงจำไว้ว่า วันท่ี ๑๐ ธันวาคมน้ี เป็นวันที่ระลึกพระราชทาน รัฐธรรมนูญประจำปีของเรา เราจงพร้อมใจเป็นน้ำหน่ึงใจเดียวกัน ด้วยน้ำใสใจจริง เพื่ออวยพรแด่รัฐธรรมนูญอันเป็นศรี คือม่ิงขวัญของเราให้ดำรงตั้งมั่นสถาพรอยู่ตลอด กาลนานช่ัวฟา้ และดนิ 90 หนังสอื ค่มู อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

ตวั อย่างกิจกรรมที่ ๓ คำชแี้ จง ๑. ใหน้ ักเรียนอา่ นเร่อื งต่อไปน้ี - อ่านพร้อมกันทงั้ ช้นั เรยี น - อา่ นตามแถวทีน่ ั่ง แถวละวรรค - อ่านทีละคน คนละวรรค ๒. นักเรียนร้องเพลงพร้อมปรบมือหรือเคาะจังหวะประกอบ โดยครู อาจใสท่ ำนองหรือใหน้ กั เรยี นร้องเปน็ กลุ่มโดยใสท่ ำนองทชี่ อบ ✿ เพลง............................. รัฐธรรมนญู คู่ชาติ ศาสนา รัฐธรรมนูญ เหมือนว่า ตวั ข้าพเจ้า รัฐธรรมนูญ น้ันตอ้ ง เปน็ ของเรา รัฐธรรมนญู นน่ั เล่า สงิ่ เคารพ รว่ มประพฤติ ยดึ เปน็ หลกั รว่ มรักษา ใครขนื มา หมิน่ เล่น ตอ้ งเปน็ ศพ เสียเลือดเนื้อ สละมอบ ด้วยนอบนบ โดยปรารภ รักเลศิ เชิดชูเอย ✿ เพลง............................. ชาวสยาม ยนิ ดี เป็นท่สี ุด เปรียบประดุจ ได้มณี อนั มคี า่ คอื รฐั -ธรรมนูญ พร้อมมูลมา เพอ่ื ผลพา พพิ ฒั น์ สรู่ ัฐรกั เรานยิ ม ชมชืน่ ทุกคนื ค่ำ เรารกั ธรรม-นูญเถิด เป็นเลิศหลกั เราทั้งชาติ ราษฎร์รวม รว่ มพิทักษ์ เราพร้อมพรัก พร่ำร้อง ร้องชโย! หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 91

๓. คำศพั ท ์ ๓.๑ ความหมายของคำศพั ท ์ คำศัพท์ ความหมาย ตนี คร ุ เครอื่ งหมายบอกมาตราเงนิ เสน้ ดงิ่ ขา้ งบนเปน็ หลกั ชง่ั เสน้ ดง่ิ ขา้ งลา่ ง เปน็ หลกั ไพ มุมบนซา้ ยเป็นหลกั ตำลงึ มมุ บนขวาเป็นหลักบาท มุมลา่ งซา้ ยเป็นหลกั เฟ้อื ง มุมล่างขวาเป็นหลกั สลงึ ตอ้ งการเขียน จำนวนเทา่ ไรให้เขยี นตัวเลขลงใหต้ รงหลัก ชัง่ มาตราเงนิ ตามวธิ ปี ระเพณี ๒๐ ตาํ ลึง หรือ ๘๐ บาท เปน็ ๑ ช่งั ชือ่ มาตราชั่งตามวิธีประเพณแี บบไทย ๒๐ ตําลึง เป็น ๑ ช่งั หรือมีน้ำหนักเท่ากบั ๑,๒๐๐ กรมั , ถ้าเป็นชั่งจนี มีน้ําหนกั เท่ากับ ๖๐๐ กรัม คือเปน็ ครงึ่ หน่ึงของชัง่ ไทย กระทําให้รู้นํ้าหนกั โดยใช้เครอื่ งชง่ั หรอื ตราชู เปน็ ต้น ตำลงึ มาตราเงินเท่ากบั ๔ บาท สลึง ช่ือมาตราเงิน ๑ ใน ๔ ของบาท คอื ๒๕ สตางค ์ เฟอ้ื ง มาตราเงินโบราณ คอื ๘ อัฐ เปน็ ๑ เฟอ้ื ง เท่ากับ ๑๒ สตางคค์ รึ่ง ปฏิญาณ ใหค้ าํ ม่ันสญั ญา โดยมากมกั เปน็ ไปตามแบบพิธ ี 92 หนังสือค่มู ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

๓.๒ คำท่ีเขยี นแตกต่างจากปจั จบุ ัน คำทีใ่ ชใ้ นปัจจุบนั คำท่ใี ช้ในหนงั สือแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย ปฏญิ าณ, ปฏิญา จิตใจ ปฏิญญาณ เซนติเมตร จิตตใ์ จ กระทง่ั เซน็ ติเมด กะทั่ง ๔. ข้อสงั เกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ ครคู วรอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ในเรอ่ื งเครอ่ื งหมายตา่ งๆ ทใี่ ชแ้ ทนตวั หนงั สอื ของไทย ๔.๒ การสอนอ่านเรื่องเครื่องหมายต่างๆ ที่ใช้แทนตัวหนังสือของไทยใน แบบฝึกหัดแต่ละเรื่อง ไม่ควรให้อ่านออกเสียงเพียงอย่างเดียว แต่ควรคำนึงถึงการนำมาใช ้ ให้ถูกตอ้ งดว้ ย ๔.๓ การอ่านเร่ืองในแบบฝึกหัดเรื่องเครื่องหมายต่างๆ ท่ีใช้แทนตัวหนังสือ ของไทย เมื่อนกั เรยี นอา่ นจบครอู าจตั้งคำถามเพื่อให้นกั เรยี นเกดิ คณุ ลกั ษณะทดี่ ี คณุ ลักษณะ ทีพ่ ึงประสงค์ ๔.๔ ครูควรบอกวิธีการอ่านและอธิบายเพ่ิมเติมในเรื่องเครื่องหมายต่างๆ ท่ีใช ้ แทนตวั หนงั สอื ของไทยท่ีนกั เรยี นพบเจอไดน้ อ้ ยในปจั จุบัน เช่น ตนี ครุ หรือตีนกา ใช้เปน็ เครือ่ งหมายบอกมาตราเงิน ดังนี้ ชงั่ ๒ ตำลงึ บาท ๔ ๓ เฟือ้ ง สลึง ๑ ๒ ไพ ๒ 93 อา่ นวา่ ๒ ชง่ั ๔ ตำลึง ๓ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟื้อง ๒ ไพ หนังสือคูม่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

อังค่ันเดี่ยว หรือค่ันเดี่ยว ฯ ใช้เขียนหลังประโยค หรือเขียนไว้ตอนท้ายสุดของคำประพันธ์ และใชเ้ ขยี นเคร่อื งหมายวนั เดือน ตามจนั ทรคติ เช่น อา่ นวา่ วนั อาทติ ย์ เดอื นสบิ เอด็ ขึ้นแปดค่ำ อ่านวา่ วันพฤหัสบดี เดือนเกา้ แรมสามค่ำ 94 หนงั สอื คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย