Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

หนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

Description: หนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

Search

Read the Text Version

หนงั สอื คูมอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม เลม ๑ ตอนปลาย หนงั สอื คมู อื แนวทางการจัดการเรียนการสอน แบบเรยี นเร็วใหม เลม ๑ ตอนปลาย สถาบนั ภาษาไทย สํานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอน แบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย สถาบันภาษาไทย สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ลิขสทิ ธิ์ของ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ถนนราชดำเนนิ นอก เขตดสุ ิต กรงุ เทพมหานคร ๑๐๓๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๘๘-๕๗๔๖-๗ โทรสาร ๐-๒๖๒๘-๕๓๔๓ สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา ดำเนนิ การจดั ทำต้นฉบับ ISBN 978-616-372-263-8 พิมพค์ ร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๘ จำนวนพิมพ ์ ๓๕,๐๐๐ เลม่ พมิ พ์ท ี่ โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั ๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑

คำนำ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เล็งเห็นความสำคัญของ การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย ให้นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๓ อา่ นออกเขยี นได้ เพ่ือเป็นรากฐานการเรียนรู้อ่ืนๆ ในระดับท่ีสูงข้ึน โดยเน้นการฝึกทักษะการอ่านการเขียน ให้นักเรียนทุกคนมีพ้ืนฐานการอ่านการเขียนท่ีดี ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จึงจัดพิมพ์หนังสือ แบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้ ตอนกลาง และตอนปลาย ใหเ้ ปน็ หนงั สือสง่ เสรมิ ฝึกทักษะ การอา่ นการเขยี นภาษาไทยอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ แจกให้แกโ่ รงเรยี นในสงั กดั ท่วั ประเทศ เพอ่ื ใหก้ ารใชห้ นงั สอื แบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ ตอนกลาง และตอนปลาย บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจัดทำหนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ แบ่งเป็นตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย เพื่อเป็นแนวทางให้ครูผู้สอน ใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบกับหนังสือแบบเรียนเร็วใหม่ท่ีพิมพ์แจกน้ัน ทั้งตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย ใชต้ น้ ฉบับเดิม จึงมีคำ ประโยค หรอื ขอ้ ความเปน็ ภาษาทแ่ี ตกตา่ ง จากภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน หนังสือน้ีจะอธิบายส่วนท่ีแตกต่างให้ครูเข้าใจสภาพการใช้ภาษา ที่ปรากฏในหนังสือ สามารถนำไปใช้จัดการเรียนการสอนให้แก่นักเรียนได้อย่างดียิ่งข้ึน โดยฉบบั ตอนปลายนมี้ เี นอ้ื หาแบง่ เปน็ บทที่ ๒๕ ถงึ บทท่ี ๓๔ ตามเนอื้ หาของแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย โดยบทที่ ๓๕ และ ๓๖ มิได้นำมาจัดพิมพ์ เนื่องจากมีเนื้อหากล่าวถึง อักขรวิธีแบบโบราณ ซ่ึงยากเกินไปสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา มีตัวอย่างแนวทาง การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ครูสามารถปรับประยกุ ตใ์ หส้ อดคล้องกับบทฝึกแต่ละบท ขอขอบคณุ ผมู้ ีสว่ นเกี่ยวขอ้ งทรี่ ว่ มกนั ดำเนนิ งานจัดทำหนงั สือคมู่ อื นี้ และหากม ี ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การปรบั ปรงุ และพฒั นา โปรดแจง้ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน เพื่อทราบและดำเนนิ การต่อไป (นายกมล รอดคลา้ ย) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗



สารบญั หน้า คำนำ บทที่ ๒๕ ๑ บทท่ี ๒๖ บทที่ ๒๗ ๑๗ บทที่ ๒๘ ๓๑ บทท่ี ๒๙ ๓๙ บทท่ี ๓๐ ๔๗ บทที่ ๓๑ ๕๕ บทที่ ๓๒ ๖๕ บทท่ี ๓๓ ๗๓ บทที่ ๓๔ ๘๕ คณะผู้จดั ทำ ๙๕ ๑๐๓

บทที่ ๒๕ ๑. เน้อื หา ๑.๑ การอา่ นคำมีตัวสะกด มาตรา กน ไดแ้ ก่ ญ ณ ร ล ฬ ๑.๒ การอา่ นคำมตี ัวสะกด มาตรา กก ไดแ้ ก่ ข ค ฆ ๑.๓ การอา่ นคำมตี ัวสะกด มาตรา กด ไดแ้ ก ่ จ ช ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส ๑.๔ การอา่ นคำมีตัวสะกด มาตรา กบ ไดแ้ ก่ ป พ ฟ ภ ๒. แนวทางการจดั กิจกรรม ๒.๑ ทบทวนมาตราตัวสะกด ทง้ั ๘ มาตรา ดังน้ ี มาตราคำเป ็น ๕ มาตรา แม่ กง มตี วั สะกด ๑ ตวั คอื ง แม่ กน มตี วั สะกด ๖ ตัว คือ ญ ณ น ร ล ฬ แม่ กม มีตัวสะกด ๑ ตัว คือ ม แม่ เกย มีตัวสะกด ๑ ตวั คอื ย แม่ เกอว มีตวั สะกด ๑ ตัว คอื ว มาตราคำตาย ๓ มาตรา แม่ กก มตี วั สะกด ๔ ตวั คือ ก ข ค ฆ แม่ กด มตี ัวสะกด ๑๕ ตวั คือ จ ช ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส แม่ กบ มีตวั สะกด ๕ ตวั คือ บ ป พ ฟ ภ หนังสอื คมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

๒.๒ ตวั สะกดทอี่ ่านออกเสยี งเหมือนมาตรา กน ไดแ้ ก่ ญ ณ ร ล ฬ เช่น กุญแจ อา่ นว่า กนุ - แจ ขอบคุณ อา่ นวา่ ขอบ - คุน ทหาร อา่ นว่า ทะ - หาน นามสกลุ อา่ นวา่ นาม - สะ - กุน ปลาวาฬ อา่ นว่า ปลา - วาน ตวั อย่างกิจกรรม คำช้ีแจง แบ่งนกั เรยี นเป็นกล่มุ แตล่ ะกล่มุ ฝึกอา่ นออกเสียงแบบฝกึ หดั ต่อไปน ี้ ✿ แบบฝึกหัด คนโบราณ รปู้ ระมาณ การกศุ ล เจริญมงคล ณ ตำบล ต้นตาลหม่ ู โครงปลาวาฬ ทีห่ น้าศาล เชญิ ทา่ นด ู ควรเรยี นรู้ เปน็ สำคญั เกดิ ปัญญา เปน็ คนควร กตญั ญู รูค้ ณุ ท่าน เป็นทหาร ต้องหาญ เชี่ยวชาญกลา้ จงึ เป็นคณุ เปน็ มงคล เป็นผลมา เป็นบญุ พา ให้เจรญิ เน่ินนานเอย โบราณ อา่ นวา่ โบ - ราน ประมาณ อ่านว่า ประ - มาน กุศล อ่านวา่ กุ - สน เจริญ อา่ นว่า จะ - เริน มงคล อา่ นว่า มง - คน ตำบล อ่านวา่ ตำ - บน ตน้ ตาล อ่านว่า ต้น - ตาน ปลาวาฬ อ่านวา่ ปลา - วาน  หนังสอื คมู่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

ศาล อ่านว่า สาน เชญิ อ่านวา่ เชนิ สำคัญ อา่ นว่า สำ - คัน ปญั ญา อ่านวา่ ปนั - ยา ควร อ่านว่า ควน กตัญญ ู อ่านว่า กะ - ตนั - ยู คณุ อา่ นว่า คุน ทหาร อา่ นวา่ ทะ - หาน หาญ อา่ นว่า หาน เช่ยี วชาญ อ่านวา่ เชีย่ ว - ชาน ผล อ่านว่า ผน บญุ อ่านว่า บุน ๒.๓ ตวั สะกดที่อา่ นออกเสยี งเหมอื นมาตรา กก ได้แก่ ข ค ฆ เช่น สนุ ัข อา่ นวา่ สุ - นัก เมฆ อ่านว่า เมก พญานาค อ่านว่า พะ - ยา - นาก ตัวอย่างกจิ กรรม คำชแ้ี จง ✿ ใหน้ ักเรียนอา่ นออกเสียงต่อไปนี้ แบบฝึกหัด แห่นาค ภาค หน้ามุข หายโรค สขุ สามัคค ี ทำเลข เมฆ โชคด ี พญานาค สุนขั ใน นาค อา่ นวา่ นาก ภาค อ่านว่า พาก มุข อา่ นวา่ มุก หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

โรค อา่ นว่า โรก สขุ อ่านวา่ สกุ สามัคค ี อา่ นว่า สา - มัก - ค ี เลข อ่านวา่ เลก โชคด ี อา่ นวา่ โชก - ด ี พญานาค อา่ นว่า พะ - ยา - นาก สุนขั อ่านว่า สุ - นัก ๒.๔ ตัวสะกดทอี่ า่ นออกเสยี งเหมือนมาตรา กด ได้แก่ จ ช ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส เช่น เวจ็ อ่านว่า เว็ด กรชิ อา่ นว่า กรดิ กฎหมาย อ่านว่า กด - หมาย ปรากฏ อา่ นว่า ปรา - กด อฐิ อา่ นวา่ อิด ครฑุ อา่ นว่า ครุด สังเกต อ่านวา่ สัง - เกด รถไฟ อา่ นว่า รด - ไฟ เงินบาท อา่ นวา่ เงนิ - บาด วนั พุธ อา่ นว่า วนั - พุด อากาศ อ่านว่า อา - กาด กระดาษ อา่ นว่า กระ - ดาด สวสั ด ี อา่ นว่า สะ - หวดั - ด ี  หนงั สือคู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

ตัวอย่างกจิ กรรม คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนอ่านออกเสียงแบบฝึกหดั ตอ่ ไปน้ี ✿ แบบฝกึ หดั เดอื นเมษ เมือ่ วันตรษุ ยกตราครุฑ หนา้ หา้ งเสรจ็ ตรวจงาน ผา่ นทางเว็จ ถกู เศษอิฐ เหมอื นกริชตำ เหน็ อูฐ มีชีวิต ก็เพง่ พิศ พนิ ิจจำ ท่องบท กฎหมาย คำ- ภาษติ เลศิ ประเสริฐเหลอื อากาศ อาจแผกผิด ไปท่วั ทศิ ประเทศเหนือ นงั่ ไป ในรถเรอื เราสังเกต ปรากฏชัด สวสั ดี มีเมตตา กนั ทวั่ หนา้ ประชารัฐ กลวั อาชญา อย่าริหดั พูดเทจ็ เลย จะเคยตัว เมษ อ่านว่า เมด ตรุษ อ่านวา่ ตรดุ ครุฑ อา่ นวา่ ครดุ เสรจ็ อา่ นวา่ เส็ด ตรวจ อา่ นวา่ ตรวด เว็จ อ่านว่า เว็ด เศษ อา่ นวา่ เสด อฐิ อา่ นว่า อดิ กรชิ อ่านว่า กริด อูฐ อา่ นว่า อดู หนังสอื ค่มู ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

พศิ อ่านว่า พิด พินิจ อา่ นวา่ พิ - นดิ บท อา่ นว่า บด กฎหมาย อา่ นวา่ กด - หมาย ภาษิต อ่านว่า พา - สิด เลิศ อา่ นวา่ เลิด ประเสรฐิ อ่านว่า ประ - เสดิ อากาศ อา่ นว่า อา - กาด อาจ อ่านว่า อาด ทศิ อา่ นวา่ ทิด ประเทศ อา่ นว่า ประ - เทด รถ อ่านวา่ รด สงั เกต อา่ นวา่ สงั - เกด ปรากฏ อ่านว่า ปรา - กด สวัสด ี อา่ นวา่ สะ - หวดั - ด ี เมตตา อา่ นวา่ เมด - ตา รัฐ อา่ นวา่ รัด อาชญา อา่ นว่า อาด - ชะ - ยา เท็จ อา่ นว่า เทด็ ๒.๕ ตัวสะกดท่ีอ่านออกเสียงเหมือนมาตรา กบ ไดแ้ ก่ ป พ ฟ ภ เช่น ธปู อา่ นว่า ทูบ เคารพ อา่ นวา่ เคา - รบ ลาภ อา่ นวา่ ลาบ ออฟฟิศ อา่ นวา่ ออบ - ฟิด  หนงั สอื ค่มู อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

ตวั อย่างกจิ กรรม คำช้แี จง ให้นักเรยี นอ่านออกเสยี งต่อไปนี้ ✿ แบบฝกึ หดั จดุ ประทีป ธูปเทียนครบ เคารพศพ โดยสภุ าพ ไปทัพ ได้รบั ลาภ อย่าทำบาป ทราบไว้เอย ประทีป อา่ นว่า ประ - ทีบ ธูป อ่านวา่ ทบู เคารพ อ่านว่า เคา - รบ ศพ อา่ นวา่ สบ สุภาพ อา่ นวา่ สุ - พาบ ทัพ อา่ นวา่ ทับ ลาภ อ่านว่า ลาบ บาป อ่านว่า บาบ ทราบ อ่านวา่ ซาบ หนงั สือคู่มอื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

๒.๖ การฝึกอ่านบ่อยๆ จะทำใหน้ ักเรียนสามารถอ่านไดถ้ ูกตอ้ งแลคลอ่ งแคล่ว ตวั อยา่ งกจิ กรรมที่ ๑ คำช้ีแจง ให้นักเรียนอ่านแบบฝึกหัดตอ่ ไปน้ี ๑. อา่ นพร้อมกนั ท้ังชั้นเรียน ๒. อา่ นตามแถวทน่ี ่งั แถวละวรรค ๓. อ่านทีละคน คนละวรรค ✿ แบบฝกึ หดั ณ วันพธุ คราวตรุษ จงเจริญ ร่วมสามัคคี ดีเทอญ เชิญทา่ น คนสุภาพ พินิจ กิจการงาน อาจบนั ดาล ผลส่ง เปน็ มงคล แตก่ าลนาน คนโบราณ ท่านปรารภ มโหรสพ อุโบสถ กจิ กศุ ล พระบณิ ฑบาต ทำบุญ ทกุ ตำบล บำเพ็ญตน เปน็ ผล สุขสบาย เลอื ดทหาร กลา้ หาญ ชาญองอาจ โชคโอกาส เกดิ ผล เพยี รขวนขวาย เปน็ นักรบ ปรารภเรียน เพยี รจนตาย ชีวติ กาย ก็อทุ ศิ เพ่อื กิจรบ นิทานใหม่ ใช่บรุ าณ ชายภารโรง ชอื่ บญุ โปร่ง นามสกลุ บญุ ขนบ นสิ ยั เธอ ทง้ั มวล สมควรคบ เคยประสพ อุตสาหะ พอประมาณ ในปจั จุบัน ใชป้ ัญญา ทางพาณิช เลย้ี งชีวติ สวสั ดี มีหลักฐาน ทำกระดาษ ทำอฐิ เปน็ กิจการ คา้ นำ้ ตาล ขา้ วสาร ผาลไถนา ขายกรอบรปู ธปู เทียน ทำประณีต อาวธุ มีด มากมวล ควรซอ้ื หา อาจสงั เกต ประเภทหมวด และตรวจตรา ดมู ลู คา่ ประมาณไว้ ในบญั ชี อนั กองทพั สำหรับ ป้องประเทศ ตอ้ งวเิ ศษ สมยคุ ทกุ หน้าท ่ี กำลงั ทหาร ประมาณ ให้มากม ี อาวุธมี ดุจอา้ ง ตัวอย่างยล มเี คร่อื งบนิ เรือเหาะ รถเกราะครบ พร้อมรถถัง ทงั้ เรอื รบ รวมเปน็ ตน้ ยังอาวธุ อ่ืนๆ เชน่ ปนื กล เตรยี มประจญ ประจำไว้ ใช้รบเอย  หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

ตวั อย่างกจิ กรรมท่ี ๒ คำช้แี จง ๑. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มเลือกอ่านเร่ือง “กีฬา” แล้วบอก ใจความสำคญั หรอื ขอ้ คดิ จากเรื่อง ๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มวาดภาพและระบายสีเก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน และ ส่งตัวแทนมาเล่าให้เพอื่ นๆ ฟัง กฬี า ✿ กีฬา คือ การเล่นแข่งขัน เพ่ือความสนุก เพื่อบำรุงกำลังให้แข็งแรง อยเู่ ยน็ เปน็ สขุ มอี ายยุ นื ยาว พดู ถงึ การเลน่ แลว้ เดก็ ๆ คงชอบเลน่ ดว้ ยกนั ทง้ั นน้ั ทกุ ๆ คน ตั้งแต่จำความได้มาคงจะระลึกขึ้นได้ว่าได้เคยเล่นอะไรกันมาบ้างแล้วท้ังนั้น การเล่น เปน็ การสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ อยา่ งไร เดก็ ๆ เมอื่ นกึ ขน้ึ คงรสู้ กึ ไดด้ ี แตเ่ พราะยงั เปน็ เดก็ อยู่ จงึ ไมใ่ ครค่ ดิ เลยไปถงึ วา่ การเลน่ อยา่ งไรควรเลน่ อยา่ งไรไมค่ วรเลน่ เวลาและสถานทไี่ หน ควรเล่นและไมค่ วรเลน่ เลน่ อยา่ งไรเป็นคณุ เลน่ อยา่ งไรเป็นโทษ เชน่ นเี้ ปน็ ตน้ บัดนี้ เด็กๆ ได้เข้าโรงเรียน เป็นนักเรียนจนได้รับการศึกษาในสถานท่ีดีแล้ว นอกจากความรู้วิชาต่างๆ ท่ีเรียนอยู่ทุกๆ วัน ทางโรงเรียนยังจัดให้นักเรียนเล่นกีฬา ในเวลาและโอกาสท่ีควรจะเล่นได้อีกด้วย พูดถึงตรงนี้ นักเรียนจะรู้สึกข้ึนได้ทันทีว่า การที่โรงเรียนได้จัดสนาม โรงพลศึกษา และห้องพัก สำหรับไว้ให้นักเรียนเล่น โดยครบครนั เชน่ นี้ กเ็ พราะถอื วา่ กฬี าเปน็ การศกึ ษาเชน่ เดยี วกบั วชิ าความรอู้ น่ื ๆ เหมอื นกนั ด้วยว่ากีฬาเป็นสิ่งสำคัญอย่างหน่ึง ซึ่งนอกจากผู้เล่นจะได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลินดังกล่าวแล้ว ยังเป็นการบำรุงกำลังกายให้แข็งแรง เพราะทำให้กล้ามเน้ือ โลหิต และอวัยวะต่างๆ ออกกำลังทำงาน บำรุงกำลังใจและสติปัญญาให้ดี มีความคิด ความอา่ นและไหวพรบิ คลอ่ งแคลว่ เฉยี บแหลมยง่ิ ขน้ึ และเปน็ เครอ่ื งนำใหเ้ กดิ การรกั หมคู่ ณะ รักโรงเรียน ทำความสามัคคีให้เกิดในพวกเดียวกัน ตลอดจนทำให้เป็นผู้มีนิสัยกล้าหาญ รวมความว่าเป็นส่ิงที่อบรมกำลังกายและกำลังใจ ให้เป็นนักกีฬาอย่างดีเลิศ นักเรียน บางคนมักมีกิริยาหงอยเหงาและเซ่ืองซึม บางคนก็ทำท่าขรึมและเคร่งครัดในการด ู หนงั สอื หรอื เลา่ เรยี นจนเกนิ ไป แสดงอาการออ่ นแอนา่ เบอ่ื หนา่ ย ไมเ่ อาใจใสต่ อ่ กฬี าเสยี เลย หนงั สอื คมู่ ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

✿ กฬี า (ตอ่ ) ข้อนี้นับว่านักเรียนคนน้ัน ขาดส่ิงสำคัญในการศึกษาไปส่วนหน่ึงทีเดียว เพราะกีฬา เปน็ การบำรงุ กำลังกาย ตลอดจนกำลงั ใจและกำลงั ความคดิ ใหส้ ะอาดผอ่ งใสดขี ึ้น การกีฬาท่ีควรเล่นน้ัน มีมากมายหลายประการ รวมกล่าวได้เป็น ๒ อย่าง อย่างหนงึ่ คอื กฬี ากลางแจง้ เลน่ กนั ในลานหรือสนาม เป็นต้นว่า เล่นเอาเถดิ ซอ่ นหา มอญซ่อนผา้ กาฟักไข่ ไมห้ ึ่ง กระโดดเชอื ก ชิงธง ลงิ ชงิ หลกั ว่งิ สวมกระสอบ ว่ิงสามขา ว่ิงเก็บของ วิงเปี้ยว วิ่งผลัด วิ่งเร็ว ต่ีจับ กายบริหาร เล่นว่าว ว่ายน้ำ ว่ิงวัว แข่งเรือ และเตะตะกรอ้ เปน็ ตน้ อกี อยา่ งหนง่ึ คอื กฬี าในรม่ เลน่ ในหอ้ งพกั สำหรบั เลน่ เปน็ ตน้ วา่ หมากเก็บ หมากแยก เสือตกถัง เสือกินวัว ปิงปอง จูงนางเข้าห้อง ตลอดถึงการเล่น ในโรงพลศึกษา เช่น ห่วง ราวเดี่ยว ราวคู่ มวยฝรั่ง มวยญ่ีปุ่น เป็นต้น กีฬาเหล่าน ้ี ถา้ รจู้ กั เลน่ แตพ่ อดี ทงั้ เลอื กเวลาและสถานทใี่ หเ้ หมาะ จงึ จะมคี ณุ ดงั กลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ แต่ถ้าไมร่ ปู้ ระมาณ เล่นมากหรือนอ้ ยเกินไป ไมพ่ อเหมาะแก่เวลา หรอื เล่นในท่ีไมค่ วร ไปเล่น เล่นอย่างไม่รู้จักถนอมของเล่น ทำให้หมดเปลืองไปในสิ่งท่ีไม่จำเป็น เช่น เม่ือเล่นแล้วไม่นำไปเก็บไว้ท่ีตามเดิม เป็นต้น เหล่าน้ีไม่ดี คืออาจทำให้เกิดความเสีย หายอยา่ งหนงึ่ อย่างใดแก่ตนได้ และควรกำหนดจดจำไว้ว่า เกียจครา้ นน้ันไม่ด ี เม่ือทางโรงเรียนได้ฝึกหัดการกีฬาต่างๆ และอบรมนิสัยนักกีฬาที่ดี ให้ม ี ในหมู่นักเรียนของตนเรียบร้อย ทั้งได้คัดเลือกคนท่ีเล่นกีฬาเก่งๆ ที่จะเข้าแข่งขันกับ โรงเรยี นอนื่ ๆ ไดแ้ ลว้ จงึ รวบรวมชอื่ สง่ ไปยงั เจา้ หนา้ ท่ี ครง้ั ถงึ วนั กำหนดแขง่ ขนั วนั นน้ั เป็นวันสนุกสนานอย่างย่ิงของนักเรียนท้ังหลายทีเดียว จะได้เห็นสนามที่เล่นกรีฑานั้น ตกแต่งงดงาม ประดับประดาด้วยธงทิวห้อยแขวนและปักรายเป็นระยะๆ ปลิวสะบัด อยไู่ หวๆ แลดงู ดงามนา่ ดู ทกุ ๆ ดา้ นสนามกรฑี ากเ็ ตม็ แนน่ ดว้ ยผคู้ น ทพ่ี ากนั เบยี ดเสยี ด เขา้ ไปดเู ข้าไปชม ซ่งึ โดยมากบดิ า มารดา ผู้ปกครอง 10 หนังสือคู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

✿ กฬี า (ต่อ) พ่ีน้อง พวกพ้อง เพ่ือนฝูง ของนักเรียนในโรงเรียนต่างๆ ในสนามก็ม ี เจา้ หนา้ ทพ่ี รอ้ มดว้ ยเครอ่ื งใชป้ ระกอบการเลน่ กีฬาทกุ ๆ อยา่ ง นกั เรยี นทงั้ ชายและหญงิ ทุกๆ รุ่น ซ่ึงเป็นนักกีฬา สวมเส้ือกางเกงแบบกีฬาสีของโรงเรียนสะอาดเรียบร้อยน่าดู คอยเข้าแข่งขัน ใจก็ต่ืนเต้นลิงโลดอยากได้เห็นเขามีชัยชนะเป็นอย่างยอดเย่ียมในการ กีฬาน้ันๆ เมื่อขณะแข่งขันได้เห็นเพื่อนนักกีฬาร่วมโรงเรียน ซึ่งได้รับการฝึกหัดอบรม ใหเ้ ปน็ นกั กฬี าทด่ี แี ลว้ มนี ำ้ ใจเปน็ ลกู ผชู้ าย คอื ใจคอหนกั แนน่ แนว่ แน่ มน่ั คง กวา้ งขวาง เฉียบขาด ไม่หวั่นไหว และรู้จักคุมสติไว้ ได้ ไม่เสียมารยาทผู้ดี ไม่โกรธง่าย ไม่แสดง อาการรา้ ยกาจ สภุ าพออ่ นโยน เมอ่ื ทำผดิ พลาดพลงั้ ลว่ งเกนิ ตอ่ ผอู้ น่ื กแ็ สดงความเสยี ใจ และขอโทษ ถ้าเขาทำดีแก่ตนก็แสดงความยินดีและขอบคุณ ด้วยถ้อยคำอันอ่อนหวาน จบั อกจบั ใจ เลน่ ถกู ตอ้ งตามกตกิ า เปน็ ทไ่ี วว้ างใจได้ ซอ่ื ตรง ไมเ่ อาเปรยี บใคร ไมโ่ กงเลก็ โกงนอ้ ย เอาชนะอย่างสง่าผ่าเผย ไม่รังแกหรือแกล้งใคร ไม่ทำร้ายใครลับหลัง ไม่ดูถูก ดูหม่ินใคร ไม่เยาะเย้ยใคร ไม่พยาบาทปองร้ายใคร ตลอดเวลาเล่นก็มีหน้าตายิ้มแย้ม แจ่มใส มกี ิรยิ าร่าเริง มีใจพรอ้ มเพรยี งกัน ไม่แก่งแย่งชงิ ดกี ัน รกั หมู่รกั คณะ เขา้ แข่งขัน ตามเวลากำหนด เมื่อได้เห็นพวกพ้องของตนต่างรู้สึกว่า เล่นเพ่ือความชนะสำหรับ โรงเรียนของตน ไม่ใชเ่ ล่นเพอ่ื ตัวคนเดยี ว ถงึ คราวชนะก็ชนะเป็น ไมอ่ วดดี ไม่เยาะเยย้ ฝา่ ยผู้แพ้ แมป้ ระสพคราวแพก้ แ็ พ้เปน็ ไม่อาฆาตจองเวรฝ่ายผู้ชนะ เป็นต้น ในเวลาทด่ี ู อยนู่ นั้ นกั เรยี นหรอื ผเู้ ปน็ นกั กฬี า ยอ่ มดดู ว้ ยอาการสภุ าพเรยี บรอ้ ย เหน็ ใครเลน่ ดหี รอื ชนะ การกีฬาใดๆ ก็ตบมือแสดงความยินดี พร้อมกับร้องชโย! ชโย! ด้วยเสียงอันดัง นา่ สนกุ สนาน สว่ นการตดั สนิ เดด็ ขาดในการแพห้ รอื ชะนะนนั้ อยใู่ นหนา้ ทขี่ องผตู้ ดั สนิ คนเดยี ว นักกีฬาที่ดี ย่อมนิยมเชื่อถือตามคำของผู้ตัดสินอย่างเฉียบขาด ไม่มีการคัดค้านหรือ โตแ้ ยง้ อกี เลย เพราะผเู้ ลน่ กด็ ี ผดู้ กู ด็ ี ไมใ่ ชผ่ ตู้ ดั สนิ จงึ ไมม่ หี นา้ ทเี่ ชน่ นน้ั ถา้ ผใู้ ดกลา่ วตเิ ตยี น หรือคัดค้านโต้แย้งผู้ตัดสินแล้ว ผู้น้ันนับว่าโง่เขลาและเลวทรามมาก เพราะยังเป็น คนปา่ เถื่อน ไมร่ จู้ ักระเบียบแบบแผนของนักกฬี า หนังสือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 11

กฬี า (ตอ่ ) เมื่อเสร็จการแข่งขันทุกประเภทแล้ว จะได้เห็นนักเรียนทั้งชายและหญิง ทุกๆ รุ่นที่ชนะกีฬา เข้าไปรับรางวัลจากผู้เป็นประธานในงานนั้น ตามลำดับก่อนหลัง เป็นระเบียบเรียบร้อย น่าดูน่าชมน่ายินดียิ่งนัก ตอนน้ีแหละเป็นเวลาที่นักเรียนรู้สึก ปลาบปลม้ื อยา่ งลน้ เหลอื ทไ่ี ดเ้ หน็ พวกของตน เพอ่ื นของตน และโรงเรยี นของตนมชี อื่ เสยี ง ไดร้ บั รางวลั เปน็ ตน้ วา่ ถว้ ย ซงึ่ โดยมากเปน็ ของรางวลั ใหแ้ กค่ ณะหรอื โรงเรยี น นอกจากน ี้ กย็ งั มเี หรยี ญ กระเปา๋ ใสห่ นงั สอื นาฬกิ าปลกุ และเสอื้ หมวกพเิ ศษ ซงึ่ ใหแ้ กผ่ ชู้ นะเปน็ สว่ นตวั เวลาแจกรางวัล ต่างก็ตบมือเสียงเกรียวกราว เป็นการแสดงความยินดีให้แก่ผู้ชนะ อย่างน้ำใจนักกฬี า นักเรียนได้อ่านมาถึงเพียงนี้ ก็อาจจะรู้ได้แล้วว่ากีฬานั้นสำคัญอย่างไร นักกีฬาท่ีดีน้ันมีลักษณะอย่างไร เพราะฉะนั้นทุกคนควรอบรมนิสัยนักกีฬา ให้เป็น นิสัยติดสันดานประจำตัวช่ัวลูกหลานเหลนสืบไป และนิยมส่งเสริมสนับสนุนผู้ท่ีมีน้ำใจ เป็นนักกีฬาด้วยกัน เมื่อจะคบเพื่อนก็ควรเลือกคบหาเพ่ือนที่มีน้ำใจเป็นนักกีฬา อย่างแทจ้ รงิ เพราะเพ่ือนเชน่ น้ีแหละ ย่อมจะชักนำไปสู่ความดคี วามเจรญิ และความดี ความเจริญน้ัน ย่อมจะมีผลเนื่องไปเป็นคุณแก่บ้านเกิดเมืองนอนอันเป็นที่รักย่ิงของตน อกี ดว้ ย สว่ นผทู้ ม่ี นี ำ้ ใจไม่ใชน่ กั กฬี านนั้ เปน็ คนชวั่ เลวทรามตำ่ ชา้ มากเหมอื นกบั คนพาล อันมีลกั ษณะตรงกนั ข้ามกับนกั กฬี า น่ารังเกียจมาก ไมน่ า่ คบเปน็ เพื่อนดว้ ยเลย ใครคบ เข้าแล้วก็มีแต่จะชักจูงให้ตกไปสู่ความเส่ือมเสีย และความเส่ือมเสียนั้นก็อาจมีผลเน่ือง ไปเป็นโทษแก่บ้านเกิดเมืองนอนได้เช่นเดียวกัน เรารังเกียจเกลียดของโสโครก ไม่อยากแตะต้อง และไม่อยากให้มาเปรอะเปื้อนร่างกายของเราฉันใด เราก็จงเกลียด ผู้ที่มีน้ำใจไม่ใช่นักกีฬาฉันนั้น ผู้ที่พยายามอบรมตนให้มีน้ำใจเป็นนักกีฬาได้ช่ือว่า เปน็ คนรักบา้ นเกิดเมืองนอนอันเป็นทีร่ ักย่ิงอยา่ งแท้จริง 12 หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๓ คำชี้แจง ๑. ใหน้ ักเรยี นอ่านเรอ่ื งต่อไปน้ี - อ่านพร้อมกันทั้งชัน้ เรยี น - อ่านตามแถวที่นงั่ แถวละวรรค - อ่านทลี ะคน คนละวรรค ๒. นักเรียนร้องเพลงพร้อมปรบมือหรือเคาะจังหวะประกอบ โดยครู อาจใส่ทำนองหรอื ให้นักเรียนรอ้ งเปน็ กลมุ่ โดยใส่ทำนองทช่ี อบ ✿ เพลง........................................ ผู้รว่ มด้าว ชาวสยาม ชอื่ งามสม ควรอบรม ตวั เรา ให้เขา้ หลัก ทำตัวเรา ใหช้ น ทกุ คนรกั คอื เปน็ นกั - กฬี า ทกุ ท่าทาง ใจเยอื กเยน็ หนกั แนน่ ข่มแคน้ โกรธ ไมถ่ อื โทษ ยอมให้ ไดท้ กุ อย่าง ทงั้ ม่นั คง เฉยี บขาด ไม่พลาดพราง ลำบากบ้าง กม็ ิบน่ ทนตรากตรำ อกี ใจคอ กว้างขวาง ทางเผ่ือแผ่ ไมห่ มายแต่ เอาเปรยี บ หรือเหยียบยำ่ กรณุ า ปรานี มีประจำ กล่าวถอ้ ยคำ กส็ ภุ าพ ไมห่ ยาบคาย น้ีคือหลกั นกั กีฬา ว่าอย่างยอ่ เป็นเครื่องก่อ เกิดผล ควรขวนขวาย ทำตนเปน็ นักกีฬา อย่าเว้นวาย สยามหมาย สมมุง่ รงุ่ เรอื งเอย หนงั สือคมู่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 13

๓. คำศพั ท ์ ๓.๑ ความหมายของคำศัพท์ คำศพั ท ์ ความหมาย เวจ็ ปัจจบุ ันใช้ เวจ ท่หี มายถึง ทีถ่ า่ ยอุจจาระหรอื สว้ ม ผาล เหลก็ สวมหวั หมเู ครอื่ งไถ เพอื่ ฟนื้ ดนิ ขา้ งลา่ งใหข้ นึ้ มาอยขู่ า้ งบน ไมห้ ึง่ ชอ่ื การเลน่ ซง่ึ ประกอบดว้ ยไมแ้ มห่ ง่ึ ยาวประมาณศอกคบื ๑ อนั และลกู ห่ึงยาวประมาณ ๑ คบื ๑ อัน โดยแบง่ ผเู้ ลน่ เป็น ๒ ฝ่าย ฝา่ ยละ ๓ - ๕ คน ฝ่ายหน่งึ จะเอาลกู หึง่ วางขวางบนหลุม ซึ่งขดุ เป็นรางยาวประมาณ ๑ คืบ เรยี กว่า รางไม้หงึ่ แลว้ ใช ้ ไม้แมห่ ึง่ ปกั ปลายลงในราง งดั ลกู หึ่งออกไปให้อีกฝ่ายหนึ่งรับ เมอื่ ฝา่ ยรบั รบั ลกู หงึ่ ไดก้ จ็ ะมาเปน็ ฝา่ ยสง่ บา้ ง แตถ่ า้ ฝา่ ยรบั รบั ลกู หง่ึ ไม่ไดก้ จ็ ะตอ้ งวงิ่ รอ้ งหง่ึ มาทห่ี ลมุ ในแตล่ ะถนิ่ มวี ธิ กี ารเลน่ ตา่ งๆ กนั 14 หนังสือคมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

๓.๒ คำท่ีเขยี นแตกตา่ งจากปจั จบุ ัน คำที่ใช้ในปจั จบุ นั คำท่ใี ชใ้ นหนงั สอื แบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย อทุ ศิ โบราณ อทุ ทิศ นสิ ยั บรุ าณ ประสบ นิสสัย เซอ่ื งซมึ ประสพ กระโดดเชือก เชอ่ื มซึม ทั้ง กะโดดเชือก ชัยชนะ ทง ชนะ ชัยชะนะ ชยั โย ชัยโย ชะนะ กระเปา๋ ชโย! ชโย! เวจ กะเป๋า เว็จ ๔. ข้อสังเกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ การสอนอา่ นคำจากเรื่อง ไมค่ วรให้อา่ นออกเสียงเพยี งอย่างเดียว แต่ควร สอนให้นกั เรยี นรจู้ กั ความหมายของคำ โดยอาจให้นักเรยี นฝึกแตง่ ประโยคจากคำนน้ั ๆ ๔.๒ การอ่านเร่ือง “กีฬา” เมื่อนักเรียนอ่านจบครูอาจตั้งคำถามเพ่ือให้ นกั เรียนเกดิ คณุ ลักษณะทด่ี ี คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น การมีนำ้ ใจนักกฬี า เปน็ ตน้ หนงั สือค่มู อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 15

16 หนงั สือค่มู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

บทท่ี ๒๖ ๑. เน้อื หา คำที่มเี ครอื่ งหมาย ์ (ทัณฑฆาต) ๒. แนวทางการจดั กิจกรรม เคร่ืองหมาย ์ (ทัณฑฆาต) เป็นเครื่องหมายที่ใช้เขียนกำกับเหนือตัวอักษร ทไี่ ม่ต้องการออกเสียง โดยพยญั ชนะที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต เรียกว่า ตวั การันต์ หลกั การใส่เคร่อื งหมาย ์ (ทณั ฑฆาต) ๑) พยัญชนะท่ีอยู่หลังตัวสะกดที่ไม่ใช่อักษรควบ หรือไม่มีคำเชื่อม ข้างหลัง ตอ้ งมเี ครอ่ื งหมายทัณฑฆาต เชน่ วันเสาร ์ อ่านว่า วัน - เสา เจดยี ์ อ่านวา่ เจ - ดี อาทิตย์ อ่านวา่ อา - ทิด พระจนั ทร ์ อ่านวา่ พระ - จนั ๒) พยัญชนะท่ีอยูห่ ลงั ตวั สะกดทเี่ ปน็ อกั ษรควบ หรือมสี ระอิ ( -ิ ) หรอื สระอุ ( -ุ ) ไม่ตอ้ งมีเครื่องหมายทัณฑฆาต เพราะเป็นตัวสะกด เชน่ เหต ุ อ่านวา่ เหด บตุ ร อ่านวา่ บดุ สมทุ ร อ่านว่า สะ - หมดุ ชาติ อา่ นวา่ ชาด หนงั สอื ค่มู อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 17

ตวั อยา่ งกิจกรรมท่ี ๑ คำช้แี จง ๑. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มฝึกอ่านออกเสียงแบบฝึกหัด ทกี่ ำหนดให้ ๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มหาคำท่ีมีเคร่ืองหมายทัณฑฆาตจากแบบฝึกหัด และออกมาเขียนบนกระดานดำ (คำที่เขียนแตกต่างจากปัจจุบันให้นักเรียนเขียนเป็นคำ ในปัจจุบันใหถ้ ูกตอ้ งดว้ ย) ๓. ให้นักเรียนแต่ละคนคัดคำท่ีมีเคร่ืองหมายทัณฑฆาตจากเรื่องในสมุด ✿ ใหส้ วยงาม แบบฝึกหดั พระสงฆ์สอนศิษย์ให้ต่อหนังสือค่ำ เพ่ือให้รู้จักสวดมนตร์ ไหว้พระ ฟังเทศน์ อันเปน็ ประเพณที ด่ี ีงามของเรา นอกจากนย้ี ังสอนหนงั สือ คำศัพท์ ตวั สะกดการนั ต์ และ สอนเลข คดิ โจทยเ์ ลข เหลย่ี มลกู บาศก์ สปั ดาหห์ นง่ึ มวี นั อาทติ ยถ์ งึ วนั เสาร*์ ผเู้ ยาวท์ รี่ กั ษา อนามยั ดมี รี า่ งกายสมบรู ณพ์ นู สขุ เดก็ ๆ ตอ้ งอตุ สา่ หเ์ ลา่ เรยี น รจู้ กั ใชส้ ตางค์ ประหยดั ทรพั ย์ ซ่ือสัตย์ สงเคราะห์กัน รักพงศ์พันธ์ุ รักอาจารย์ รักการกีฬา เล่นฟุตบอลได้โล่ ครบู าอาจารยท์ า่ นกลา่ ววา่ ประชาราษฎรข์ องเรานบั ถอื พระพทุ ธ เคารพพระมหากษตั รยิ ์ ถือคำสัตย์ม่ัน เสียชีพอย่าเสียสัตย์ มีจิตใจประสงค์ดี ถึงคราวถูกเกณฑ์ทหารก็เต็มอก เต็มใจ พระปรางค์ ต้นโพธ์ิ โบสถ์ วิหาร พระเจดีย์ เหล่าน้ีเป็นเคร่ืองหมายเล็งถึง พระพุทธ พระพุทธก็รวมอยู่ในพระไตรรัตน์ พระไตรรัตน์น้ีมีคุณค่าย่ิงกว่าเพชรพลอย ทั้งหลาย เปน็ แบบพมิ พอ์ นั ดงี าม เปน็ ดวงประทปี ทจ่ี ะนำตวั เราไปสคู่ วามสขุ หนงั สอื พมิ พ ์ สง่ ทางไปรษณยี ์ โดยทางรถยนต์ เรือยนต์ เรือเมล์ เป็นต้น ถึงอยู่เขตแดนไกลต้ังโยชน์ กไ็ ดอ้ า่ นเนอื งนติ ย์ หนงั สอื พมิ พฉ์ บบั วนั จนั ทร์ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ มขี า่ วนายแพทยพ์ สิ จู นศ์ พ ปราบโรคอหิวาต์ เรือ่ งการเพาะปลูกขา้ วโพดทีส่ งิ คโปร์ และเร่ืองไขม่ ุก หอยสังข์เปน็ สัตว์ แปลกประหลาดน่าอ่าน ผู้ทีอ่ ตุ ส่าหอ์ า่ นหนงั สือพิมพ์ทกุ วนั ย่อมทำให้หตู ากว้าง * ครบู าอาจารยอ์ ตุ สา่ หพ์ รำ่ สงั่ สอน ชแี้ จงใหศ้ ษิ ยร์ สู้ กึ สำนกึ ตวั วา่ เมอ่ื เยาวต์ อ้ งรบี หาวชิ าไว้ ครั้นเตบิ ใหญข่ นึ้ จงึ จะมวี ชิ าสำหรบั หาทรัพย์สนิ เงนิ ทอง เลย้ี งตวั ไดค้ ลอ่ งและสะดวก 18 หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

เฉลย ๑. พระสงฆ ์ ๒. ศษิ ย์ ๓. สวดมนต์ ๖. การันต ์ ๔. ฟงั เทศน ์ ๕. คำศพั ท์ ๙. สัปดาห ์ ๑๒. ผเู้ ยาว์ ๗. โจทย ์ ๘. ลกู บาศก ์ ๑๕. สตางค ์ ๑๘. สงเคราะห์ ๑๐. วนั อาทิตย์ ๑๑. วันเสาร์ ๒๑. ประชาราษฎร ์ ๒๔. เสยี สตั ย ์ ๑๓. สมบูรณ ์ ๑๔. อตุ ส่าห ์ ๒๗. พระปรางค์ ๓๐. พระเจดีย ์ ๑๖. ทรัพย์ ๑๗. ซอื่ สตั ย์ ๓๓. หนงั สอื พิมพ ์ ๓๖. เรือเมล ์ ๑๙. พงศพ์ ันธ์ ุ ๒๐. อาจารย ์ ๓๙. วันจันทร ์ ๔๒. พิสูจน์ ๒๒. พระมหากษัตรยิ ์ ๒๓. คำสตั ย์ ๔๕. หอยสังข ์ ๒๕. ประสงค์ ๒๖. เกณฑ์ ๒๘. ตน้ โพธ์ ิ ๒๙. โบสถ์ ๓๑. พระไตรรตั น ์ ๓๒. แบบพิมพ์ ๓๔. ไปรษณีย ์ ๓๕. รถยนต์ ๓๗. โยชน์ ๓๘. เนอื งนติ ย์ ๔๐. กุมภาพนั ธ ์ ๔๑. นายแพทย์ ๔๓. โรคอหิวาต์ ๔๔. สิงคโปร ์ ๔๖. สตั ว ์ หนงั สือคู่มือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 19

ตัวอย่างกจิ กรรมที่ ๒ คำชี้แจง ๑. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มเลือกอ่านเรื่อง “เที่ยวในท่ีต่างๆ ทางทะเล” หรือ “เท่ียวในทีต่ า่ งๆ ทางบก” ๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มวาดภาพและระบายสีเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่าน และส่งตัวแทนมาเล่าให้เพ่ือนๆ ฟงั ✿ เท่ยี วในทีต่ า่ งๆ ทางทะเล การไปเท่ียวในท่ีต่างๆ น้ัน เป็นของสำคัญแห่งชีวิต เพราะเป็นการพักผ่อน ทำให้ร่างกายและจิตใจสดช่ืนผ่องใส โดยได้รับอากาศสดช่ืน ได้รับความเพลิดเพลิน สนุกสนานเบิกบานใจ เพราะได้พบเห็นสถานท่ี และสิ่งของแปลกๆ ท่ียังไม่เคยพบเห็น อนั เปน็ เครอ่ื งบำรงุ ปญั ญา ประดบั ประดาความรู้ ความคดิ ใหก้ วา้ งขวางยงิ่ ขน้ึ เปน็ การเปดิ หู เปดิ ตา โดยได้เห็นทำเลในท้องถิ่นต่างๆ พืชต่างๆ สตั ว์ตา่ งๆ และการทำมาหากนิ ต่างๆ ของผู้คนในท้องถ่ินนั้นๆ ตลอดจนการฝีมือของช่างโบราณอันงดงามต่างๆ อีกด้วย การไปเที่ยวน้ี จึงนับว่าเป็นการเรียนสำคัญส่วนหน่ึงทีเดียว สมัยนี้การไปมาก็สะดวกดี มรี ถไฟ เรอื เมล์ รถยนต์ เรอื ยนต์ แลน่ ขน้ึ ลอ่ งอยเู่ สมอ ทงั้ ทางนำ้ และทางบก จงึ นา่ ไปเทย่ี ว ย่งิ นกั ถ้าไปเท่ียวทางน้ำ ก็จะได้เห็นภาพแม่น้ำ ตลอดจนทะเลอันงดงามน่าดู พอเรือแล่นออกปากน้ำ ก็รู้สึกเย็นสบายดี และแลเห็นปากน้ำน้ันกว้างออกไปทุกๆ ท ี แลดูลิ่วไป ซงึ่ นา่ ดมู าก พอสดุ เขตปากนำ้ กถ็ งึ ปากอา่ ว ทปี่ ากอา่ วสยามนม้ี สี นั ดอน คอื เปน็ ทเ่ี นนิ นนู ข้ึนคล้ายหลังเต่า เรือใหญ่เดินข้ามได้แต่เฉพาะเมื่อเวลาน้ำข้ึน ถ้าเป็นเวลา น้ำลงแล้วตื้นเขินมาก น่ีก็น่าประหลาดยิ่งแล่นไกลออกไป ก็เห็นแต่ทิวไม้อยู่รำไรๆ สุดสายตา และถ้าย่ิงแล่นออกอีก ทิวไม้เหล่าน้ันก็ดูเล็กเรียวลงทุกทีๆ จนเห็นไม่ถนัด และในที่สุดกแ็ ลไมเ่ หน็ อะไรเลย นอกจากน้ำกับฟ้าเท่าน้ัน น่าใจหาย สีน้ำในทะเลนั้น ค่อยๆ เขยี วขน้ึ ทลี ะนอ้ ยๆ จนกระทงั่ เขยี วจดั และถา้ ยงิ่ ลกึ ออกไป กเ็ ปน็ สนี ำ้ เงนิ จนใน ทส่ี ดุ เปน็ สดี ำ นก่ี ป็ ระหลาดมาก สว่ นรสของนำ้ ทะเลนน้ั เคม็ จดั ถา้ ตกั ขน้ึ มาดใู นเวลากลางคนื จะเห็นมีแสงใสเป็นเม็ดพราวราวกับแสงห่ิงห้อยหรือแมงดาเรืองแสง เป็นของน่าดู 20 หนงั สือคูม่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

✿ เทยี่ วในท่ตี ่างๆ ทางทะเล (ต่อ) และประหลาดมาก กลางทะเลนน้ั มลี มพดั แรงจดั ทำใหก้ ระแสนำ้ เตน้ กระเพอื่ มเปน็ ระลอกคลน่ื อยู่ไหวๆ เสียงน้ำปะทะกันแตกกระจายดังซ่าๆ ถ้าเป็นคล่ืนใหญ่ก็มีเสียงดังกึกก้อง คล่ืนน้อยก็ค่อยๆ เบาบางลง ขณะท่ีเรือแล่นอยู่ เมื่อมีคล่ืนมากระทบเข้า ก็ทำให้เรือ โคลงเคลงแกวง่ ไกวไปมา ราวกบั วา่ เล่นชิงช้า เป็นสิ่งท่ีน่าดูและน่าประหลาดเหมือนกัน พอสุดเขตปากอ่าวก็เข้าสู่ทะเล เห็นนกนางนวล ซ่ึงงามน่ารักมาก เท่ียวบินโผลงลอยน้ำ โฉบปลากนิ ไปมาใกลๆ้ ลำเรอื นอกจากนยี้ งั มนี กทะเลชนดิ อนื่ ๆ บนิ รอ่ นขวกั ไขวไ่ ปมาอยู่ มากมาย น่าดูแท้ๆ และที่กลางทะเลใกล้ๆ กับร่องน้ำหรือทางเดินเรือ มีกระโจมไฟ หรือท่ีเรียกว่าประภาคารเป็นเรือนกระจก มีสีเขียวๆ แดงๆ ต้ังอยู่เป็นแห่งๆ เวลา กลางคืน มีเจา้ หนา้ ทปี่ ระจำคอยฉายแสงไฟใหส้ วา่ ง เหน็ ไดใ้ นระยะไกลๆ เพอ่ื ใหส้ ะดวก แกก่ ารเดนิ เรอื ไปมา เพราะในทะเลนัน้ มเี รอื ไปมาคา้ ขายมาก เมอื่ แลน่ เรอื ไปในทะเล จะไดพ้ บเหน็ เกาะนอ้ ยใหญ่ ซงึ่ ตง้ั รายระกะอยู่ในทะเล มากมายเหลือที่จะนับ มีท้ังทิวไม้และเขาดูเขียวชอุ่ม งามนัยน์ตา น่าชมอย่างย่ิง ตามชายหาดบางแห่งก็มีทรายทั้งชนิดหยาบและละเอียด กรวดหินก้อนเล็กก้อนน้อย มองดูเร่ียร่ายเกล่ือนกลาดไป ท้ังสัตว์จำพวกหอยต่างๆ เช่น หอยพิมพการัง หอยสังข ์ หอยเสียบ หอยนมสาว หอยหลอด หอยจบุ๊ แจง หอยแครง หอยแมลงภู่ หอยกะพง ก็มี อยู่ตามฝั่งทะเลเป็นอันมาก หอยเหล่านี้มีสีและรูปร่างต่างๆ กัน นอกจากนก้ี ย็ งั มปี ตู า่ งๆ เชน่ ปทู ะเล ปมู า้ และปลู ม เปน็ ตน้ กระดองของมนั มลี ายตา่ งๆ กัน สตั วป์ ระเภทนก้ี เ็ ปน็ ของงามน่าดูน่าชม ในท้องทะเลน้ันมีปลาต่างๆ นับอนันต์ เป็นต้นว่า ปลาแป้น ปลาทู ปลากุเลา ปลากะพง ปลากระบอก ปลาโลมา และปลาฉลาม เหล่าน้ี เป็นต้น ต่างวา่ ย แหวกเวียนวนไปมาเป็นฝูงๆ แลดูสะพรั่ง นอกจากน้ี ก็ยังมีแมงกะพรุน ตัวของมัน มีลักษณะคล้ายๆ กับวุ้นและสีขาว หัวกลมๆ มีหางเป็นสายรุงรัง แหวกว่ายอยู่ในน้ำ น่าดูมาก แมงดาทะเลก็มีรูปร่างของมันผิดกันกับแมงดานา คือกระดองกลมๆ มีปาก อยใู่ ตท้ อ้ ง มตี นี ยมุ่ ยา่ ม อยรู่ มิ ฝปี าก และมหี างแขง็ แหลม ตวั ผเู้ กาะอยบู่ นหลงั ตวั เมยี เสมอ ถ้าจะนึกต่อไปแล้ว ก็ดูเลวทรามเต็มที เพราะตามปกติท่ีรู้กันอยู่ทั่วๆ ไปนั้น มนุษย์ก็ดี สัตว์เดียรฉานก็ดี ผู้ชายหรือตัวผู้ โลกได้สร้างมาให้เป็นฝ่ายท่ีมีกำลังแข็งแรง จึงจำเป็น หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 21

✿ เท่ยี วในท่ตี า่ งๆ ทางทะเล (ตอ่ ) ตอ้ งหาเลยี้ งผหู้ ญงิ หรอื ตวั เมยี ซงึ่ เปน็ เพศฝา่ ยทมี่ กี ำลงั ออ่ นแอกวา่ ทงั้ สน้ิ แตแ่ มงดาทะเลน้ี ทำไมกลับกลายเป็นเช่นนั้น เป็นของน่าขันและน่ารังเกียจแท้ๆ ถ้าเรือแล่นเลียบเข้าไป ใกล้ๆ ฝ่ัง ก็จะได้เห็นชาวประมงทำโป๊ะ โพงพาง วางเฝือก ลากอวน ลงเบ็ด ยกยอ ซ่ึงล้วนแต่เป็นเครื่องมือจับปลา บางพวกก็ปักหลักจับหอยแมลงภู่ หอยกะพง บ้างก็ ถบี กะดาน ลงไปเทยี่ วเกบ็ หอย เกบ็ ปลาเลก็ ๆ ตามชายทะเล บา้ งกพ็ ายเรอื เลก็ ๆ ไปหาปลา ตามชายฝั่งทะเลท่ีต้ืนๆ ล้วนแต่เป็นการทำมาหากินในท้องถิ่นทะเลทั้งส้ิน เป็นสิ่งน่าร ้ ู นา่ ดมู ใิ ชน่ อ้ ย บนฝงั่ ก็มตี น้ ไม้ เช่น ตน้ ลำพู ขน้ึ อยตู่ ามชายเลน มหี ง่ิ หอ้ ยเกาะอยเู่ ปน็ นติ ย์ เวลากลางคืนจะเห็นแสงเป็นประกายราวกับประดับด้วยเพชรพลอยพราวไปท้ังน้ัน แลดู งามตาและนา่ ประหลาดยง่ิ นกั นอกจากนก้ี ย็ งั มตี น้ โกงกาง ตน้ ตะบนู และไมอ้ นื่ ๆ มเี ถาวลั ย์ ขึ้นพาดพันห้อยย้อยอยู่ยั้วเย้ีย น่าดูมาก ตามต้นไม้เหล่าน้ี มักมีลิงค่างอาศัยอยู่เป็นฝูงๆ ส่งเสียงร้องอยู่ขรม น่าดูน่าฟัง ผู้ท่ีไปเท่ียวทะเล เวลาเย็นๆ มักชอบเท่ียวเดินเล่น ตามหาดทราย เก็บกรวดหินและเปลอื กหอยสตี า่ งๆ เลน่ บา้ ง จบั หอยจบั ปเู ลน่ บา้ ง ลยุ นำ้ ตามหาดทรายเลน่ บา้ ง บางทวี งิ่ หนคี ลนื่ ทะเลเลน่ บา้ ง ลงเรอื ตกี รรเชยี งหรอื แลน่ ใบเลน่ บา้ ง การเลน่ เหล่าน้แี ต่ละอยา่ งๆ ล้วนสนกุ สนาน นา่ เพลิดเพลินท้งั น้นั 22 หนังสือคู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

✿ เท่ียวในทต่ี ่างๆ ทางบก ถา้ แมว้ า่ ไปเทยี่ วทางบก กจ็ ะไดพ้ บเหน็ ภาพแปลกเปลยี่ นผดิ ไปจากทกี่ ลา่ วมาแลว้ อกี อยา่ งหนง่ึ ทเี ดยี ว คอื จะไดเ้ หน็ แผน่ ดนิ เปน็ ทงุ่ นาใหญ่ กวา้ งขวางเวงิ้ วา้ ง แลดสู ดุ สายตา เห็นคันนาค่ันเป็นตอนเป็นระยะตลอดทาง บ้างก็เป็นท่ีมีหญ้าป่าละเมาะ และหมู่ไม ้ อยูเ่ ป็นแห่งๆ ถา้ เป็นเวลาหน้าแล้งจะเหน็ ววั ควายเท่ียวหากินอยูเ่ ปน็ ฝงู ๆ ถา้ เปน็ หน้านา จะเห็นต้นข้าวงอกงามเขียวสะพรั่งไปทั้งนั้น มองดูคล้ายพรมสวยงาม น่าดู และถ้าเป็น หน้าข้าวออกรวง ก็จะได้เห็นรวงข้าวสุกเหลืองอร่ามท่ัวไปท้ังท้องทุ่ง ดูราวกับสีทอง นี่ก็สวยงามน่าดู พวกชาวนาท้ังหญิงชายลงแขกเกี่ยวข้าว ต่างร้องเพลงแก้กันอย่าง สนุกสนาน เป็นภาพท่ีงามน่าดูมาก ในทำเลบางแห่งจะได้พบพื้นท่ีท่ีเป็นไร่ต่างๆ มีไร่ ข้าวโพด กล้วย อ้อย น้อยหน่า ถั่วงา ฝ้าย ฟักแฟง และแตงกวา เป็นต้น ซ่ึงชาวไร ่ ได้ทะนุบำรุงเป็นอย่างดี งอกงามน่าดูน่าชมมาก จะได้พบพื้นท่ีท่ีเป็นสวนต่างๆ เช่น สวนหมาก มะพร้าว มะม่วง มะไฟ ลำไย ล้ินจ่ี เงาะ ทุเรียน ละมุด มังคุด เป็นต้น ซ่ึงชาวสวนได้ปลูกไว้และหมั่นบำรุงรักษาอยู่เสมอๆ ถ้าเป็นหน้ามีผลแล้วก็จะได้เห็นผล ดกยั้วเยี้ย ถ้าเป็นสวนไม้ดอก เช่น กุหลาบ พุด สายหยุด พุทธชาติ มะลิลา กระดังงา จำปา จำปี ราตรี สารภี ยี่สุ่น บุนนาค หน้าวัว กล้วยไม้ ไม้ดอกเหล่าน้ีมีสีสันต่างๆ งามนา่ ดนู า่ ชม ทง้ั สง่ กลนิ่ หอมฟงุ้ ตลบอบอวลนา่ ชนื่ ใจยงิ่ นกั จะไดพ้ บปา่ ไม้ใหญน่ อ้ ยตา่ งๆ มีไม้หลายชนิด เป็นต้นว่า ไม้ไผ่ ไม้รวก ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้ตะแบก ไม้สัก ไม้พะยุง ไม้มะเกลือ ไม้ประดู่ ไมแ้ ดง และไมอ้ ่นื ๆ ล้วนแต่มลี ำต้นสงู ตระหงา่ น แผก่ ิง่ กา้ นงดงาม และน่าร่มเย็น ชาวป่าท่ีทำมาหากินในทางป่า ก็พาพวกมาทำการโค่น ตัดต้นไม้ บ้างก็ ทอนเป็นท่อนฟืน เผาถ่าน ตีผ้ึง ล่าสัตว์กันอย่างสนุกสบายตามประเภทพน้ื บา้ นพน้ื เมอื ง เวลาลมพดั ไมช้ นดิ มดี อกหอม กส็ ง่ กลนิ่ หอมตลบ เปน็ ทนี่ า่ สบายใจ น่าเที่ยว น่าชมย่ิงนัก พ้นื ทีบ่ างแหง่ เป็นเขาน้อยใหญเ่ ปน็ ทิว มตี ้นไมข้ ้ึนเขยี วชอมุ่ ร่มเย็น เปน็ ทนี่ า่ ปนี ปา่ ยขน้ึ ไป เที่ยวเล่น และประกอบด้วยแคว ลำธาร มีน้ำไหลคดเคี้ยวอยู่ตามเชิงเขา มีน้ำพุ น้ำตก ใสเย็นซ่านกระเซ็น พุ่งขึ้นเป็นฝอย บ้างก็หยดย้อยไหลอยู่ตลอดวันตลอดคืน งามน่าด ู น่าอาบเล่นอย่างย่ิง ในที่บางแห่งก็เป็นหนองเป็นบึง มีกระจับ ตับเต่า ผักตบ สันตะวา ผักแว่น ขึน้ อยูส่ ลบั สลอน และมปี ลา ปู เต่า ชุกชุม ตา่ งกด็ ำผุดและว่ายแหวก ไปมาอยู่ไหวๆ น่าดูมาก นอกจากน้ีในป่าใหญ่ๆ จะได้พบสัตว์ต่างๆ อันมีอยู่มากมาย หนังสอื ค่มู ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 23

✿ เทีย่ วในท่ตี า่ งๆ ทางบก (ตอ่ ) เชน่ ชา้ ง เสอื เน้ือทราย กวาง ลิง คา่ ง บา่ ง ชะนี เปน็ ต้น ต่างเท่ยี วหากนิ และวิง่ ขวกั ไขว ่ ไปมาอยูต่ ามพืน้ ดิน บ้างกโ็ หนตา่ ยไปมาตามต้นไม้ สง่ เสยี งรอ้ งกอ้ งอย่ทู ว่ั ไป ประกอบด้วย เสียงร้องของสัตว์จำพวกแมลงต่างๆ เช่น เรไร ร้องหร่ิงๆ ! ฟังดูวังเวงเยือกเย็นมาก ยังมี สตั วจ์ ำพวกนกอกี ประเภทหนงึ่ มขี นาดรปู รา่ งและสตี า่ งๆ กนั บา้ งกพ็ ลอดตามภาษาของมนั สำเนยี งไพเราะเพราะพรง้ิ นา่ ฟงั ยง่ิ นกั ถา้ ไปเทยี่ วตามวดั ตา่ งๆ จะไดพ้ บเหน็ โบสถ์ วหิ าร มณฑป พระเจดยี ์ พระปรางค์ พระพทุ ธรปู และของเกา่ ๆ ทส่ี รา้ งไว้ใหญโ่ ต มอี ยเู่ ปน็ อนั มาก ของเหลา่ นี้ เชน่ กรอบประตู หนา้ ตา่ ง ฝาผนงั เปน็ ตน้ แกะสลกั ปน้ั เขยี นไวเ้ ปน็ รปู คน รปู สตั ว์ เปน็ ภาพลวดลายตา่ งๆ ดว้ ยฝมี อื ชา่ งโบราณของเรา ลว้ นแตส่ วยงามประณตี นา่ ดนู า่ ชมยง่ิ นกั และตามโบราณสถาน ก็มีกำแพงปราสาท กู่ เทวรูป อิศวร นารายณ์ เป็นต้น ทำด้วยฝีมือละเอียดและงดงาม โบราณสถาน ศิลปวัตถุ โบราณวัตถุ เหล่าน้ีเป็นเคร่ืองเชิดชูช่ือเสียงของเรา เราต้อง พร้อมใจกันเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ช่วยกันสงวนและบำรุงรักษาไว้ให้ปรากฏอยู่ตลอด กระทง่ั ลกู หลานเหลนสบื ๆ กนั ตอ่ ไป นอกจากนกี้ ย็ งั มตี ลาดซงึ่ เปน็ ทชี่ มุ นมุ ชนผคู้ นไปมาซอ้ื ขาย สิ่งของท่ีมีในพื้นบ้านพื้นเมืองนั้นๆ ก็เป็นของน่าดูน่าชมเหมือนกัน ยังมีส่ิงอื่นๆ อีก ซ่ึงถ้าจะนำมากล่าวให้ส้ินเชิงแล้ว ก็จะยืดยาวมากเกินไป รวมความว่าทุกส่ิงทุกอย่าง เหลา่ น้ี เปน็ ทน่ี า่ ไปเทยี่ วดู เทยี่ วชม และเปน็ สงิ่ ทจี่ ะทำใหบ้ งั เกดิ ความเพลดิ เพลนิ เปน็ ความ สำราญกายสบายใจของผ้ทู ่ีได้ไปเทย่ี ว ได้พบได้ดไู ดช้ ม ท้งั สนิ้ ทุ่งนา 24 หนงั สอื คู่มือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

✿ เทีย่ วในท่ตี า่ งๆ ทางบก (ต่อ) เมื่อนักเรียนได้อ่านเร่ืองเที่ยวในที่ต่างๆ แต่เพียงย่อๆ เท่าน้ี ก็คงจะรู้สึก เพลิดเพลินมาก ถ้ามีโอกาสอันเหมาะแล้ว น่าจะไปเที่ยวชมให้เห็นปรากฏแก่ตา ของตนเอง และเมื่อนึกว่าการไปเที่ยวนั้น ได้รับผลคือความสนุกสนาน ความสำราญกาย สบายใจ และความรู้ เป็นเคร่ืองบำรุงปญั ญาใหฉ้ ลาดขนึ้ อกี เป็นตน้ เช่นน้ีแลว้ แมห้ ากว่า จะได้ประสบความยากลำบาก หรือบางทีจะต้องผจญภัยอันตรายต่างๆ บ้างก็ดี แต่ถ้าเรา มสี ตริ อบคอบ โดยระมดั ระวงั ตวั มกี ำลงั กายคล่องแคล่ววอ่ งไวอยู่ มกี ำลงั ใจเข้มแขง็ อดทน ดีแล้ว ก็ไม่น่าจะเห็นเป็นความยากเข็ญในการเท่ียวนั้นเลย และถ้าหากต่างว่า ตนจะต้อง ไปประสบความลำบาก หรือภัยอันตรายเข้า ก็จำต้องมีใจกล้าหาญอย่างลูกผู้ชายแท้จริง จำเปน็ ตอ้ งพยายามฝา่ ความลำบาก หรอื ภยั อนั ตรายนนั้ ๆ ใหร้ อดชวี ติ กลบั มาจนได้ ดงั เชน่ เรื่องผจญภัย เป็นต้น ต้องหมั่นสังเกตกำหนดจดจำสิ่งต่างๆ ให้ดี เหมือนกับนักท่องเที่ยว ที่เท่ียวเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ อันจะเป็นคุณแก่ตน และประเทศอันเป็นท่ีรักย่ิงของตน แต่ถ้าหากว่าการไปเท่ียวน้ัน ไม่ได้รับผลดังกล่าวแล้ว ก็น่าเสียดายทรัพย์และเวลา ทหี่ มดเปลอื งไปโดยไร้ผล ตลาดนดั ตามชนบท หนังสอื คูม่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 25

ตัวอยา่ งกิจกรรมท่ี ๓ คำชีแ้ จง ๑. ใหน้ ักเรยี นอ่านเรอื่ งต่อไปนี้ - อา่ นพร้อมกนั ทง้ั ชนั้ เรียน - อา่ นตามแถวทีน่ ัง่ แถวละวรรค - อา่ นทลี ะคน คนละวรรค ๒. นักเรียนร้องเพลงพร้อมปรบมือหรือเคาะจังหวะประกอบ โดยครู อาจใสท่ ำนองหรือให้นักเรยี นร้องเปน็ กลุม่ โดยใสท่ ำนองที่ชอบ ✿ เพลง........................................ ชาวสยาม พยายาม อบรมอาตม์ ให้ฉลาด เลิศสม อดุ มศกั ด ิ์ การศกึ ษา ไม่สน้ิ สุด อย่าหยุดพกั เพียรขะมัก- เขม้นหมาย จนวายชนม์ หม่ันคน้ คว้า ความจรงิ สง่ิ น่ันนี ่ คณุ โทษมี เป็นไฉน หรอื ไรผ้ ล ทำสง่ิ ที่ ดเี พ่ือ เกื้อกูลตน แลเปน็ ผล เผยแผ่ แก่โลกเอย ๓. คำศัพท ์ ๓.๑ ความหมายของคำศพั ท ์ คำศัพท ์ ความหมาย เถาวลั ย์ พรรณไม้เล้อื ย, พรรณไม้ท่เี ปน็ เถา ไข่มกุ วัตถุมคี ่า ลักษณะกลมๆ เกิดจากหอยบางชนดิ มีหลายสี ใชเ้ ป็นเครื่องประดบั เนือ้ ทราย ชื่อกวางชนิดหน่งึ โยชน์ ชื่อมาตราวดั ๔๐๐ เส้น เปน็ ๑ โยชน ์ 26 หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

๓.๒ คำที่เขยี นแตกต่างจากปัจจบุ นั คำท่ใี ช้ในปจั จุบนั คำท่ใี ช้ในหนงั สอื แบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ เถาวลั ย์ ตอนปลาย สวดมนต ์ เถาวลั ลิ์ ฟตุ บอล สวดมนตร์ โล ่ ฟุตบอลล ์ พระพุทธ โลห่ ์ จติ ใจ พระพุทธ ์ เพชร จติ ต์ใจ รถยนต ์ เพ็ชร เรอื ยนต์ รถยนตร ์ เขต เรือยนตร์ ขา้ วโพด เขตต์ ไขม่ ุก ขา้ วโภชน์ เฉพาะ ไข่มุกต ์ กระเพือ่ ม ฉะเพาะ ระลอก กะเพื่อม กระทบ ละลอก ชนิด กะทบ กระจก ชะนดิ กระโจม กะจก ชอ่มุ กะโจม ปลากระบอก ชะอุ่ม กระดอง ปลากะบอก เดรจั ฉาน กะดอง กระดาน เดียรฉาน เพชร กะดาน เพช็ ร หนงั สือคมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 27

คำทใี่ ช้ในปัจจุบนั คำทใ่ี ช้ในหนังสือแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย พทุ ธชาด จำปา พุทธชาต กระดังงา จมั ปา กระจบั กะดงั งา ไต ่ กะจับ กระทัง่ ตา่ ย ยากเขน็ กะทงั่ ประสบ ยากเขญ็ ประสพ ๔. ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ๔.๑ การสอนอา่ นคำทมี่ ที ณั ฑฆาต ใหน้ กั เรยี นจำหลกั การวา่ เครอ่ื งหมายทณั ฑฆาต วางไว้บนตัวพยัญชนะที่ไม่ออกเสียง โดยอาจยกตัวอย่างคำท่ีมีเครื่องหมายทัณฑฆาตหรือ ตวั การนั ต์ ดงั น ี้ ๑) คำทม่ี เี คร่ืองหมายทณั ฑฆาตหรอื ตวั การนั ต์ ๑ ตัว เชน่ แพทย์ (แพด) ไม่ออกเสียง ย เพราะตัวทัณฑฆาตอยู่บนไม่ออกเสียง ย จงึ เปน็ ตัวการันต์ ฉันท์ (ฉัน) ไม่ออกเสียง ท เพราะตัวทัณฑฆาตอยู่บนไม่ออกเสียง ท จงึ เปน็ ตัวการนั ต ์ ๒) คำท่ีมเี ครือ่ งหมายทณั ฑฆาตหรอื ตวั การันต์ ๒ ตวั ทา้ ย เช่น จันทร์ (จัน) ไม่ออกเสียง ทร เพราะตัวทัณฑฆาตอยู่บนไม่ออกเสียง ทร จงึ เปน็ ตวั การนั ต ์ ๓) คำท่มี ีเครอ่ื งหมายทัณฑฆาตหรือตวั การันต์แทรกกลางคำ เชน่ ฟิล์ม (ฟิม) ไม่ออกเสียง ล เพราะตัวทัณฑฆาตอยู่บนไม่ออกเสียง ล จงึ เป็นตัวการันต ์ 28 หนังสอื คมู่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

๔) คำทมี่ ีเครอื่ งหมายทัณฑฆาตหรอื ตวั การันตท์ ่มี ีสระ เช่น พันธ์ุ (พัน) ไม่ออกเสียง ธุ เพราะตัวทัณฑฆาตอยู่บนไม่ออกเสียง ธุ จึงเป็นตัวการันต ์ ๔.๒ การสอนอา่ นคำจากเรือ่ ง ไม่ควรให้อ่านออกเสียงเพยี งอยา่ งเดยี ว แตค่ วร สอนให้นกั เรยี นรู้จักความหมายของคำ โดยอาจให้นกั เรียนฝกึ แต่งประโยคจากคำนน้ั ๆ ๔.๓ การอา่ นเรอ่ื ง “เทย่ี วในทตี่ า่ งๆ ทางทะเล” และ “เทย่ี วในทตี่ า่ งๆ ทางบก” เมอื่ นกั เรยี นอา่ นจบครอู าจตง้ั คำถามเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเกดิ คณุ ลกั ษณะทด่ี ี คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ เช่น - การอนรุ ักษ์ธรรมชาติ - การรักษาโบราณสถานและโบราณวตั ถุ หนงั สอื ค่มู อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 29

30 หนงั สือค่มู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

บทที่ ๒๗ ๑. เน้อื หา ๑.๑ คำทม่ี ีตวั สะกดมีตัวควบ หรือตัวสะกดที่มสี ระอิ ( )ิ หรอื สระอุ (-ุ) ๑.๒ คำท่ีมตี ัว ร ล หรอื ห ท่คี วบอยูห่ น้าตวั สะกด ๒. แนวทางการจัดกจิ กรรม ๒.๑ คำทม่ี ตี วั สะกดมตี วั ควบ หรอื ตวั สะกดทมี่ สี ระอิ ( ิ ) หรอื สระอุ (-)ุ อยดู่ ว้ ย ถา้ เปน็ คำเดยี วโดดๆ ถงึ ไมม่ ี ์ (ทณั ฑฆาต) กไ็ มต่ อ้ งอา่ นออกเสยี ง เชน่ คำทมี่ ี ต ิ ตร ต ุ ธ ิ ม ิ เป็นตวั สะกด เชน่ ชาต ิ อา่ นวา่ ชาด (มี ติ เป็นตวั สะกด) บตุ ร อา่ นวา่ บุด (มี ตร เปน็ ตัวสะกด) เหตุ อา่ นวา่ เหด (มี ตุ เปน็ ตวั สะกด) พยาธปิ ากขอ อ่านว่า พะ - ยาด - ปาก - ขอ (มี ธิ เปน็ ตวั สะกด) ภูมิรู้ อ่านวา่ พมู - รู้ (มี มิ เปน็ ตัวสะกด) ตัวอย่างกิจกรรม คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนอา่ นคำตอ่ ไปน้ี ✿ แบบฝึกหัด สารพดั พยาธิ มูตร บุตร ท่องสูตร พูดสมเหต ุ มหาสมุทร เซนติเมตร นำ้ ห้าลิตร รักมติ ร ญาติ รว่ มสมคั ร ธนบตั ร ย่ีสบิ บาท รักชาติ รอ้ งเพลงชาต ิ ชักธงชาติ ถอื ธงฉตั ร “สละชีพ เพื่อชาติ” จริง “รกั ชาติ ยงิ่ ชีพ” แนช่ ัด “เสียชีพ อยา่ เสียสตั ย์” จงปฏบิ ตั ิ เคร่งครัดไว ้ หนังสือคูม่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 31

พยาธ ิ อา่ นว่า พะ - ยาด บตุ ร อ่านว่า บุด สูตร อา่ นว่า สดู เหต ุ อา่ นวา่ เหด สมัคร อา่ นว่า สะ - หมัก ธนบตั ร อา่ นวา่ ทะ - นะ - บัด ชาต ิ อา่ นวา่ ชาด ฉัตร อา่ นวา่ ฉัด ปฏบิ ตั ิ อ่านวา่ ปะ - ติ - บัด ๒.๒ คำท่มี ตี วั ร ล หรือ ห ควบอยหู่ น้าตวั สะกด ไมต่ ้องออกเสยี งตวั ร ล หรือ ห แต่ใหอ้ อกเสยี งแต่ตัวหลัง เป็นตัวสะกดตวั เดียวเทา่ นัน้ เชน่ สามารถ อา่ นวา่ สา - มาด (มี ร เปน็ ตวั ควบ มี ถ เปน็ ตวั สะกด) มารค อา่ นวา่ มาก (มี ร เปน็ ตวั ควบ มี ค เปน็ ตวั สะกด) ตน้ ปาลม์ อ่านว่า ตน้ - ปาม (มี ล เปน็ ตวั ควบ มี ม เปน็ ตวั สะกด) กระยาสารท อ่านวา่ กระ - ยา - สาด (มี ร เปน็ ตวั ควบ มี ท เปน็ ตวั สะกด) เกียรติ อา่ นวา่ เกียด (มี ร เปน็ ตวั ควบ มี ติ เปน็ ตวั สะกด) พระพรหม อ่านวา่ พระ - พรม (มีหรเปน็ ตวั ควบมีมเปน็ ตวั สะกด) ตัวอย่างกิจกรรม คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นอ่านแบบฝกึ หดั ต่อไปน ี้ ✿ แบบฝึกหัด มารค แปลว่า ทาง ถ้าเราจะไปทางบกหรือทางน้ำในวันสารทกลางปี จะเห็นชาวบ้านเขานิยมทำบุญกันด้วยกระยาสารท ในแผ่นฟิล์มนั้นมีภาพต้นปาล์ม และเราสามารถมองเห็นภาพพราหมณ์นั่งก้มศีรษะกราบไหว้พระพรหมอยู่ใต้ต้นปาล์ม นอกจากน้ียังมีภาพท่านผู้นำทำความดีและสร้างเกียรติให้แก่ประเทศชาติของเรา น่าบูชา นา่ ปลาบปลมื้ ใจย่ิงนัก 32 หนังสอื คูม่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย

๒.๓ การฝกึ อา่ นบอ่ ยๆ จะทำใหน้ กั เรยี นสามารถอา่ นไดถ้ กู ตอ้ งและคลอ่ งแคลว่ ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๑ คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นอา่ นเรอื่ ง “อบรมตนในขณะทยี่ งั เยาว”์ แลว้ บอกใจความสำคญั หรือขอ้ คดิ จากเรื่องท่อี า่ น อบรมตนในขณะท่ยี ังเยาว์ ✿ บรรดาสิ่งต่างๆ อันเป็นสมบัติของโลก จะเป็นวัตถุ สิ่งของ สัตว์ หรือบุคคล กต็ าม ถา้ ไดร้ บั การอบรม ฝกึ หดั ดดั แปลง ตกแตง่ ใหด้ ขี นึ้ กวา่ เดมิ แลว้ กย็ อ่ มมคี า่ ยงิ่ ขน้ึ เชน่ ต้นตะโก ต้นมะขาม ต้นปาล์มที่เขาดัดเขาแต่ง ย่อมน่าดูน่าชมกว่าต้นไม้ที่ไม่ได้ดัด ไมไ่ ดแ้ ตง่ ไมถ้ อื กด็ ี โตะ๊ เกา้ อก้ี ด็ ี ถา้ ขดั และทาสีใหป้ ระณตี ขนึ้ กย็ อ่ มงดงาม มรี าคามากขนึ้ เพชรพลอยก็เป็นแร่ธาตุชนิดหนึ่ง ซ่ึงถ้านำมาเจียระไนจนสะอาด มีน้ำงาม รัศมีพราวตา ก็ยอ่ มมรี าคาแพงกวา่ เพชรพลอยทไ่ี ม่ไดเ้ จยี ระไน หรือเจยี ระไนแต่น้อย ชา้ ง มา้ วัว ควาย เสือ หมี ลิง และสุนัข เป็นต้น ถ้าฝึกหัดดีแล้ว ก็ย่อมใช้ได้ดีกว่าช้างเถื่อน ม้าเถื่อน ควายเถื่อนที่อยู่ตามป่า และเท่ียวระเหระหนไปตามลำพังของมัน เราคงจะได้เคยเห็น ตามทเี่ ขานำมาแสดงบา้ งแลว้ ซง่ึ นา่ ดนู า่ ชม นา่ ประหลาดยงิ่ นกั สว่ นมนษุ ยเ์ รากเ็ ปน็ ฉนั นน้ั คือถ้าได้รับการอบรมฝึกหัดกล่อมเกลาให้เป็นคนมีภูมิรู้ดีแล้ว ก็ย่อมเป็นคุณเป็นเกียรต ิ ทงั้ แกต่ นเองและคนอน่ื ๆ ตลอดถงึ ประเทศชาติ พระพทุ ธเจา้ จอมปราชญผ์ เู้ ปน็ ครอู ยา่ งวเิ ศษ ของเรา แต่เดิมทีก็ทรงนิยมลัทธิพราหมณ์ผู้ถือพระพรหม แต่ภายหลังท่านได้ทรงคิด ค้นคว้าหาความจริง จนกระท่ังทรงพบแล้วว่า ความสุขหรือความทุกข์ต่างๆ น้ันเกิดจาก ตนเอง และการกระทำของตนเอง ความดีหรือความช่ัวที่ทำลงแล้วนั้นเองเป็นเหตุย่อม เผล็ดผลตามทที่ ำไวเ้ หมอื นหวา่ นพชื ชนดิ ใดลง กผ็ ลผิ ลชนดิ นน้ั ขน้ึ เชน่ หวา่ นขา้ วกไ็ มก่ ลาย เปน็ หญา้ หญา้ กไ็ มก่ ลายเปน็ ถวั่ งา พชื ชนดิ ใดกค็ งเปน็ ชนดิ นน้ั ถา้ เราทำดกี ไ็ ดร้ บั ผลดี คอื ความสขุ ความเจรญิ เราทำชวั่ ก็ไดร้ บั ผลชวั่ คอื ความทกุ ข์ ความเดอื ดรอ้ น ความเสอ่ื ม เปน็ เงา หนงั สอื คมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 33

✿ อบรมคนในขณะที่ยังเยาว์ (ต่อ) ตามตัว เราทุกคนต้องเช่ือม่ันในคำสั่งสอนของท่าน จะได้เป็นเครื่องคอยเตือนใจ เหนี่ยวร้ังใจ ข่มใจให้หม่ันพยายามปฏิบัติแต่สิ่งที่ดี ละเว้นจากการกระทำชั่วทุกเวลา และทกุ สถาน เรากจ็ ะไดร้ บั ความสขุ ความเจรญิ อาจสามารถเลยี้ งตวั เองไดต้ อ่ ไปภายหนา้ เพราะฉะนั้นคนเราทกุ คนจำเปน็ ตอ้ งอบรมฝกึ หดั ตนเอง ใหห้ มนั่ กำจดั ความชว่ั ทมี่ อี ยใู่ นตวั แม้ทีละน้อยๆ บ่อยๆ เข้าก็อาจผ่องใสมากข้ึนได้ เหมือนน้ำฝนท่ีตกลงมาจากอากาศ อนั คนเอาภาชนะเปลา่ ไปวางรองไว้ ณ กลางแจง้ แมเ้ มด็ ฝนตกลงในภาชนะนนั้ ทลี ะนอ้ ยๆ บอ่ ยๆ เข้าก็อาจเต็มภาชนะตมุ่ ไหน้นั ได้ การอบรมฝกึ หัดตนตอ้ งอบรมด้วยความสมคั รใจ และรู้สึกสำนึกตนเอง ต้องตั้งใจแน่วแน่ดังเข็มทิศ และต้องเริ่มอบรมฝึกหัดตนเสียตั้งแต่ ยังเยาว์ เพราะจิตใจยังอ่อน และกำลังเจริญจึงจะได้ผลสมหวัง เม่ือเติบโตแล้วร่างกาย เจริญเต็มท่ี จิตใจกล้าแข็ง อบรมฝึกหัดยากมาก ไม่ค่อยได้ผล สมดังสุภาษิตโบราณ ท่ีกล่าวไว้ว่า “ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก” ยุวชนสยามทั้งหลายจงรู้สึกสำนึกตัวไว้ว่า การอบรมตนให้เป็นคนดีน่ันแหละ ชื่อว่าเป็นผู้รักประเทศชาติ อันเป็นถิ่นฐานของตน พรอ้ มทงั้ สกุลและมติ รญาติอยา่ งแทจ้ ริง ควรภมู ใิ จได้ 34 หนังสอื คมู่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

ตวั อย่างกจิ กรรมท่ี ๒ คำช้ีแจง ๑. ให้นกั เรยี นอ่านเร่อื งตอ่ ไปน้ี - อา่ นพรอ้ มกันท้ังชัน้ เรียน - อ่านตามแถวท่ีนัง่ แถวละวรรค - อ่านทีละคน คนละวรรค ๒. นักเรียนร้องเพลงพร้อมปรบมือหรือเคาะจังหวะประกอบ โดยครู อาจใสท่ ำนองหรอื ให้นักเรยี นร้องเปน็ กลุ่มโดยใสท่ ำนองท่ชี อบ ✿ เพลง........................................ ปรารภ อบรมตน เถดิ ทกุ คน ชนสยาม เรามา พยายาม ทำดีดว้ ย ตนชว่ ยตน หนึง่ นี้ มสี ติ หมนั่ ตรองตริ ใหผ้ ลผิ ล ยั้งไว้ อยูไ่ ดจ้ น ทกุ อึดใจ ไป่ปล่อยตาม ขนื ข่ม อารมณช์ ั่ว ไม่มายั่ว ทวั่ ทกุ ยาม เชน่ เช้ือ เกลือเค็มนาม ความเค็มนนั้ มนั รักษา ข้อสอง ต้องยึดยุด ตามพระพุท- ธวาจา ตนมี ดีช่วั มา เพราะตนแท้ ทำแก่ตน ผลต้อง สนองม ี หมายทำดี ได้ดีดล ทำชั่ว ได้ชว่ั ยล เหมอื นอยา่ งเงา เฝา้ ติดตาม สามน้ี ที่หมายมุ่ง คอื ผดุง คุณดงี าม งดทวั่ ชว่ั เลวทราม สามข้อครบ ควรอบรม จกั สขุ ทุกประชา- ราษฎร์ทว่ั หน้า สมาคม สยาม ยอ่ มงามสม อดุ มพร้อม หอมฟุ้งเอย หนังสอื คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 35

๓. คำศัพท์ ๓.๑ ความหมายของคำศัพท ์ คำศพั ท์ ความหมาย มูตร นำ้ ปสั สาวะ กระยาสารท ขนมทําด้วยถั่วงา ข้าวเม่า และข้าวตอกกวนกบั นำ้ ตาล แต่เดิมนิยมทําเฉพาะในเทศกาลสารท พระพรหม ช่อื พระเปน็ เจ้าผู้สรา้ งโลกตามศาสนาพราหมณ ์ มารค ทาง เผล็ด ผลิออก งอกออก ๓.๒ คำทเ่ี ขียนแตกตา่ งจากปัจจุบนั คำทีใช้ในปัจจบุ นั คำทใ่ี ช้ในหนังสือแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย สารพัด ตน้ ปาล์ม สารพตั ร พระพรหม ตน้ ปาลม เพชร พระพรม ชนิด เพ็ชร จติ ใจ ชะนดิ กระทั่ง จติ ต์ใจ ผดุง กะท่งั ผะดุง 36 หนังสือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

๔. ข้อสงั เกตและข้อเสนอแนะ ๔.๑ การสอนอา่ นคำจากเรอื่ ง ไมค่ วรใหอ้ า่ นออกเสยี งเพยี งอยา่ งเดยี ว แตค่ วรสอน ใหน้ กั เรียนร้จู ักความหมายของคำ โดยอาจให้นักเรียนฝกึ แตง่ ประโยคจากคำนั้นๆ เชน่ คำ ประโยค สวดมนต ์ นกั เรยี นควรไหวพ้ ระสวดมนตก์ ่อนนอน อารมณ์ คุณตาเปน็ คนมอี ารมณด์ ี ชอบเลา่ นทิ านใหเ้ ดก็ ฟัง สัปดาห์ หน่ึงสัปดาหม์ ี ๗ วนั โจทย ์ ก่อนทำเลขนกั เรียนตอ้ งอา่ นโจทยใ์ หเ้ ขา้ ใจ บริสุทธ ิ์ ฉนั ชอบไปสูดอากาศบริสุทธทิ์ ี่ทุ่งนา ๔.๒ การอ่านเรื่อง “อบรมตนในขณะที่ยังเยาว์” เม่ือนักเรียนอ่านจบครูอาจ ต้งั คำถามเพอ่ื ให้นกั เรยี นเกดิ คณุ ลักษณะทด่ี ี คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ เช่น - การปฏบิ ตั ติ นให้เปน็ คนด ี - การรกั ษาความสามคั คีในหมูค่ ณะ ๔.๓ ครูอาจนำคำศัพท์ท่ีอยู่ในบทเรียนมาจัดทำเป็นบัตรคำ บัตรภาพ เพ่ือให้ นักเรียนฝกึ อา่ นและฝึกเขยี น เช่น สมคั ร มหาสมุทร พยาธิ สามารถ ธนบตั ร อนมุ ตั ิ หนังสือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย 37

38 หนงั สือค่มู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

บทท่ี ๒๘ ๑. เนื้อหา คำทมี่ ตี วั สะกดทีอ่ า่ นออกเสยี งตัวสะกดด้วย ๒. แนวทางการจดั กิจกรรม ๒.๑ การสอนอ่านคำที่มีตัวสะกดท่ีอ่านออกเสียงตัวสะกดด้วย ครูควรอ่าน ให้นักเรียนฟงั ช้าๆ ชดั เจน พรอ้ มอธิบายให้เขา้ ใจ เช่น ตุ๊กตา อ่านวา่ ตกุ๊ - กะ - ตา (มี ก เป็นตวั สะกดและออกเสยี ง) ผลไม้ อ่านว่า ผน - ละ - ไม้ (มี ล เป็นตัวสะกดและออกเสียง) ราชสหี ์ อา่ นว่า ราด - ชะ - สี (มี ช เปน็ ตวั สะกดและออกเสยี ง) มาตรา อ่านว่า มาด - ตรา (มี ต เป็นตวั สะกดและออกเสียง) ศาสนา อา่ นวา่ สาด - สะ - หนา (มี ส เปน็ ตวั สะกดและออกเสยี ง) ภมู ศิ าสตร์ อา่ นว่า พมู - มิ - สาด (มี มิ เปน็ ตวั สะกดและออกเสยี ง) เกียรติยศ อา่ นวา่ เกยี ด - ติ - ยด (มี ติ เป็นตวั สะกดและออกเสยี ง) จกั รยาน อ่านวา่ จกั - กะ - ยาน (มี ก เปน็ ตวั สะกดและออกเสยี ง) หนงั สือคู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 39

ตวั อยา่ งกจิ กรรม คำชี้แจง ๑. ใหน้ ักเรยี นอ่านแบบฝึกหดั ตอ่ ไปนี ้ ✿ แบบฝกึ หัด รฐั บาล รศั มี มีไม้ผล อธั ยาศยั ชันสูตร ศาสนา ผ้าสักหลาด ภูมิศาสตร์ เลขมาตรา ปรารถนา วทิ ยา ชน้ั มัธยม ราชสีห์ ตั๊กแตน ต๊กุ ตา จกั จัน่ เจรจา เสียงขรม สุขศึกษา พลเมือง ต่างมาชม พัสดุ อดุ ม เปน็ เกยี รติยศ มธั ยัสถ์ ชักเย่อ ข่จี กั รยาน พิศดู พิสดาร ไปทงั้ หมด เอ็ดตะโร อึกทึก เธอควรงด ถึงกำหนด ฟังวทิ ยุ เรียนวิทยา รัฐบาล อา่ นวา่ รัด - ถะ - บาน รัศม ี อา่ นว่า รัด - สะ - หมี อธั ยาศัย อา่ นวา่ อัด - ทะ - ยา - สยั ชันสูตร อ่านวา่ ชัน - นะ - สดู ศาสนา อา่ นว่า สาด - สะ - หนา สักหลาด อา่ นว่า สัก - กะ - หลาด ภูมิศาสตร ์ อา่ นวา่ พูม - มิ - สาด มาตรา อ่านวา่ มาด - ตรา ปรารถนา อ่านวา่ ปราด - ถะ - หนา วทิ ยา อ่านว่า วดิ - ทะ - ยา มธั ยม อา่ นว่า มัด - ทะ - ยม ราชสหี ์ อ่านว่า ราด - ชะ - ส ี ตกั๊ แตน อ่านว่า ตก๊ั - กะ - แตน ตกุ๊ ตา อ่านว่า ตุก๊ - กะ - ตา จักจ่ัน อ่านว่า จกั - กะ - จ่นั 40 หนังสือคมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

เจรจา อ่านวา่ เจ - ระ - จา สขุ ศึกษา อา่ นวา่ สุก - ขะ - สกึ - สา พลเมอื ง อา่ นว่า พน - ละ - เมือง พสั ด ุ อ่านวา่ พดั - สะ - ดุ เกียรติยศ อ่านว่า เกยี ด - ติ - ยด มัธยสั ถ ์ อ่านว่า มัด - ทะ - ยัด ชกั เย่อ อา่ นวา่ ชัก - กะ - เยอ่ จักรยาน อ่านว่า จัก - กะ - ยาน พิศด ู อ่านวา่ พดิ - สะ - ด ู พิสดาร อา่ นว่า พดิ - สะ - ดาน อึกทึก อ่านว่า อกึ - กะ - ทึก วิทย ุ อา่ นว่า วิด - ทะ - ย ุ ๒. ให้นักเรียนเลือกคำท่ีมีตัวสะกดท่ีอ่านออกเสียงตัวสะกดด้วยจาก ข้อ ๑. มาแต่งประโยคปากเปล่าคนละ ๑ ประโยค เชน่ อัธยาศัย เขาเปน็ คนมอี ธั ยาศยั ด ี ตุ๊กตา นอ้ งชอบเล่นตุ๊กตามาก มธั ยัสถ์ เขาเป็นคนมธั ยัสถใ์ นการดำรงชวี ิตด้วยความประหยดั ๒.๒ การฝกึ อา่ นบอ่ ยๆ จะทำใหน้ กั เรยี นสามารถอา่ นไดถ้ กู ตอ้ งและคลอ่ งแคลว่ ตัวอย่างกจิ กรรมที่ ๑ คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นอา่ นเรอื่ ง “อบรมตนในขณะทย่ี งั เยาว”์ แลว้ บอกใจความสำคญั หรือข้อคดิ จากเรือ่ งทอี่ า่ น หนงั สอื คมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 41

✿ อบรมตนในขณะท่ยี งั เยาว์ เดก็ ๆ ทกุ คน จำตอ้ งกระทำตวั ใหเ้ ปน็ เดก็ ดที ส่ี ดุ ทจี่ ะกระทำได้ ใหม้ คี ณุ งามความดี สมกับได้รับการศึกษามาแล้ว หน้าท่ีท่ีดีนั้น มีอยู่เป็นอันมาก เหลือที่จะนำมากล่าว ใหพ้ สิ ดารในทีน่ ้ีได้ ต่อไปมชิ ้าเม่ือนักเรยี นได้เรยี นถึงชัน้ มัธยม หรือได้รับการอบรมในทาง ศาสนาอีกแล้ว ก็คงจะเข้าใจว่า สิ่งไหนควรกระทำและส่ิงไหนไม่ควรกระทำ กว้างขวาง ออกไปเป็นลำดับ แต่ในที่น้ีจะกล่าวถึงหน้าที่ท่ีเด็กๆ ควรอบรมทางบ้าน ท่ีโรงเรียน และตอ่ ประชมุ ชน จะไดม้ อี ธั ยาศยั สภุ าพเรยี บรอ้ ย รจู้ กั ระเบยี บแบบแผนอนั ดี ใหเ้ ปน็ นสิ ยั ติดตัว ต่อไปภายหน้าจะได้เป็นพลเมืองดี เป็นกำลังของประเทศชาติอันเป็นท่ีรักย่ิง ของตนสบื ไป หน้าท่ีซ่ึงควรกระทำทางบ้านนั้น ข้อสำคัญต้องรู้จักเคารพนับถือ เชื่อฟัง ถ้อยคำของผู้ใหญ่ ต้องแสดงกิริยาอันอ่อนน้อม ต้องเจรจาถ้อยคำท่ีอ่อนหวานไพเราะ อยา่ ทำเป็นคนดอ้ื ดา้ นมทุ ะลหุ นุ หันพลันแล่น ถือทฐิ ิมานะในทางท่ีผิด ซงึ่ เป็นสิ่งเลวทราม ต่ำช้ามาก มีความกตัญญูกตเวที รู้จักสนองคุณผู้มีคุณ กับต้องรู้จักมัธยัสถ์เก็บหอม รอมรบิ ทรพั ย์ อยา่ เปน็ คนสรุ ยุ่ สรุ า่ ย ตอ้ งขยนั ขนั แขง็ ทำการงาน อยา่ เกยี จครา้ นหรอื มกั งา่ ย ส่ิงของอะไรหยิบเอาไปใช้แล้ว ต้องเอาเก็บไว้ท่ีตามเดิม ไม่ทิ้งขว้างพัสดุนั้นให้เสียหาย ทั้งกับต้องตั้งตนอยู่ในระเบียบเรียบร้อยเสมอ อย่าให้ใครๆ เขาติเตียนได้ว่าเป็นเด็ก ไม่รูจ้ ักสมบตั ิผ้ดู ี ไมม่ ีความสุภาพ เหล่าน้เี ป็นตน้ หน้าท่ีซ่ึงควรกระทำที่โรงเรียนนั้น ข้อสำคัญต้องพยายามรักษาวินัยและต้ังใจ กระทำตามกฎขอ้ บงั คบั ของโรงเรยี นใหถ้ กู ตอ้ งเตม็ ที่ อยา่ ใหบ้ กพรอ่ งได้ ไมไ่ ปโรงเรยี นสาย หรือหนีโรงเรียน ซึ่งเป็นศัตรูชั่วร้ายยิ่งกว่างูพิษ กับต้องมีความเคารพนับถือ ครบู าอาจารยจ์ รงิ ๆ ตลอดจนหวั หนา้ นกั เรยี น เชอ่ื ฟงั คำสงั่ สอนโดยเครง่ ครดั และเอาใจใส่ ในบทเรียนของตน ไม่เกียจคร้าน การใช้จ่ายก็ต้องกระเหม็ดกระแหม่ ใช้แต่พอสมควร แก่ฐานะท่ีเป็นนักเรียน อย่าทำเป็นคนสุรุ่ยสุร่าย กับทั้งต้องมีใจสมัครท่ีจะช่วยกันทำ กิจการของโรงเรียนสารพัดทุกอย่าง ที่จะนำเกียรติยศชื่อเสียงมาสู่โรงเรียนของตัว เหลา่ นี้เป็นตน้ 42 หนังสอื คูม่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย

✿ อบรมตนในขณะทีย่ ังเยาว์ (ต่อ) หนา้ ทซี่ งึ่ ควรกระทำตอ่ ประชมุ ชนนน้ั ขอ้ สำคญั ตอ้ งคดิ ถงึ คนหมมู่ ากเปน็ ใหญก่ วา่ ที่จะถือเอาความสะดวกสบายส่วนตัว เวลาเดินไปตามถนน อย่าทำตนเป็นเคร่ืองจักร หรอื ไมม่ ชี วี ติ จติ ใจ และหาความรสู้ กึ ผดิ ชอบมไิ ด้ เชน่ เดนิ กลางถนนเกะกะ กดี ขวางทางรถ ไปมา และหากว่าพบคนไม่รู้จักทางมาไต่ถามถึงหนทางท่ีเขาไม่รู้จัก ถ้าเรารู้จักก็ควร บอกแก่เขาโดยดี ถือเหมือนกับเขาเป็นญาติมิตร ช่วยกันรักษาความสะอาด ไม่เทขยะ มูลฝอย เศษอาหาร อุจจาระ ปัสสาวะ ลงในแม่น้ำ ลำคลอง เพราะจะเพาะเชื้อโรค ให้แพร่หลาย เต็มอกเต็มใจท่ีจะช่วยส่งเสริมทางอนามัย ไม่ก่อความรำคาญให้เดือดร้อน ต่อประชุมชน เช่น ส่งเสียงอึกทึกครึกโครม เป็นต้น เคารพและกระทำตามคำแนะนำ ของเจ้าหน้าท่ี ไม่ฝ่าฝืนเจ้าพนักงาน ผู้ทำการตามหน้าที่ เม่ือเราทำผิดพล้ังพลาดล่วงเกิน ต่อผู้ ใด เราก็แสดงความเสียใจและขอโทษ โดยกล่าวว่า “ผมเสียใจ ผมขอโทษขอรับ” เม่ือพบผู้ใดแสดงบุญคุณอย่างใดอย่างหนึ่งต่อเรา เราก็แสดงความยินดีและขอบคุณ โดยกลา่ ววา่ “ขอบพระคุณขอรบั ” เมอื่ เราพบปะผทู้ ่นี บั ถือ เพื่อนฝูงเรากแ็ สดงความยินดี ทักทายปราศรัยกัน โดยกล่าวว่า “สวัสดีขอรับ” คำกล่าวทั้ง ๓ ข้อนี้ เป็นเคร่ืองสมาน ความสามัคคีอย่างดูดดื่ม เราน่าจะพร้อมใจกัน ปฏิบัติให้เป็นแบบอย่างอันดีงามจริงๆ เพ่ือให้ฝังอยู่ในจิตใจของยุวชน จนให้เป็นประเพณีนิยม ตลอดจนกระทั่งลูกหลานเหลน สบื ต่อไป เด็กนักเรียน ถ้ากระทำได้ตามท่ีได้กล่าวมาเพียงย่อๆ ข้างบนน้ี จะได้ช่ือว่า เปน็ คนรจู้ กั หนา้ ทข่ี องตวั เปน็ อยา่ งดสี มกบั ทม่ี ภี มู ริ ู้ ซงึ่ ไดศ้ กึ ษาอบรมอยา่ งดดี งั กลา่ วมาแลว้ หนังสือคูม่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนปลาย 43

ตัวอยา่ งกจิ กรรมท่ี ๒ คำช้แี จง ๑. ให้นกั เรียนอ่านเรือ่ งตอ่ ไปนี้ - อา่ นพรอ้ มกันท้งั ช้นั เรยี น - อ่านตามแถวท่นี ่ัง แถวละวรรค - อา่ นทีละคน คนละวรรค ๒. นักเรียนร้องเพลงพร้อมปรบมือหรือเคาะจังหวะประกอบ โดยครู อาจใสท่ ำนองหรอื ให้นกั เรยี นรอ้ งเปน็ กลมุ่ โดยใส่ทำนองทีช่ อบ ✿ เพลง........................................ ประเพณี ทนี่ ยิ ม สมควรย่งิ เพราะเป็นสิ่ง สดชืน่ ราบรน่ื เหลอื ล้วนสำแดง ดว้ ยใจ ไมตรเี จือ โอนออ้ มเอ้ือ เพ่อื สมาน สามัคคี คอื เชน่ พบ ผู้ใหญ่ ใครทั้งหลาย มิตรสหาย เมื่อเห็น เปน็ หน้าที ่ ต้องทักกัน พลันวา่ “สวสั ด”ี โดยหมายมี มิตรใจ เนอ่ื งในกนั กบั อกี เม่ือ เผอื่ ผดิ ดว้ ยกิจพลาด เพราะเขลาขลาด เลนิ เลอ่ เผลอผลนุ ผลนั ผมขอโทษ ขอรบั ” กล่าวฉบั พลัน เพอ่ื อดกลั้น โกรธให้ อภัยเรา อน่ึงใคร ให้อะไร หรือได้รับ บญุ คุณนบั เนื่องยินดี มตี อ่ เขา ตอ้ ง “ขอบคุณ ขอรบั ” ใหน้ ับเอา เป็นคำเคา- รพตอบ ขอบบญุ คุณ จึงชาวเรา เหล่าผู้ รู้เรียนร่ำ ควรกระทำ สำหรบั สนบั สนุน เสนอสนทิ มิตรจติ มาเจือจุน แก่สกุล แก่คณะ ประชาชน เปน็ เคร่ืองนำ ดำเนิน เจริญแน ่ ประจำแก่ สยามรัฐ พพิ ฒั น์ผล พึงทำไว้ ให้เป็นแบบ เย่ียงแยบยล เพอ่ื ยวุ ชน ชั้นหลงั ฝังใจเอย 44 หนังสือค่มู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนปลาย