กาย สะกดวา่ กอ - อา - ยอ กาย กาว สะกดว่า กอ - อา - วอ กาว ๑.๒ คำ�ที่ประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง + สระเสียงส้ัน + ตัวสะกด แมก่ ง กน กม เกย และ เกอว อา่ นออกเสยี งเปน็ เสียงสามญั เช่น กงั สะกดวา่ กอ - อะ - งอ กัง กนั สะกดว่า กอ - อะ - นอ กัน ตมิ สะกดวา่ ตอ - อิ - มอ ตมิ จยุ สะกดว่า จอ - อุ - ยอ จยุ ติว สะกดว่า ตอ - อิ - วอ ตวิ ๑.๓ คำ�ที่ประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรตํ่า + สระเสียงยาว + ตัวสะกด แมก่ ง กน กม เกย และ เกอว อา่ นออกเสียงเปน็ เสยี งสามัญ เช่น คาง สะกดวา่ คอ - อา - งอ คาง คาน สะกดว่า คอ - อา - นอ คาน งาม สะกดวา่ งอ - อา - มอ งาม คาย สะกดวา่ คอ - อา - ยอ คาย ราว สะกดวา่ รอ - อา - วอ ราว ๑.๔ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรต่ํา + สระเสียงส้ัน + ตัวสะกด แม่กง กน กม เกย และ เกอว อ่านออกเสียงเปน็ เสยี งสามญั เชน่ รัง สะกดว่า รอ - อะ - งอ รัง รนั สะกดวา่ รอ - อะ - นอ รัน ชมิ สะกดวา่ ชอ - อิ - มอ ชิม ลุย สะกดว่า ลอ - อุ - ยอ ลยุ ควิ สะกดว่า คอ - อิ - วอ คิว 44 คู่มือการเรียนการสอนการอ่านคดิ วิเคราะหส์ กู่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
๑.๕ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงยาว + ตัวสะกด แมก่ ง กน กม เกย และ เกอว อ่านออกเสียงเปน็ เสียงจตั วา เช่น สาง สะกดวา่ สอ - อา - งอ สาง สาน สะกดวา่ สอ - อา - นอ สาน ขาม สะกดวา่ ขอ - อา - มอ ขาม ขาย สะกดวา่ ขอ - อา - ยอ ขาย ขาว สะกดวา่ ขอ - อา - วอ ขาว ๑.๖ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงสั้น + ตัวสะกด แมก่ ง กน กม เกย และ เกอว อ่านออกเสยี งเป็นเสียงจตั วา เช่น ขัง สะกดวา่ ขอ - อะ - งอ ขงั ขนั สะกดวา่ ขอ - อะ - นอ ขัน ขิม สะกดวา่ ขอ - อิ - มอ ขิม ขุย สะกดวา่ ขอ - อุ - ยอ ขยุ หิว สะกดว่า หอ - อิ - วอ หวิ ๒. คำ�ท่ีมตี ัวสะกดในแมก่ ก แมก่ ด แมก่ บ ๒.๑ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง + สระเสียงยาว + ตัวสะกด แม่กก กด และ กบ อ่านออกเสียงเป็นเสียงเอก เช่น จาก สะกดว่า จอ - อา - กอ จาก จาด สะกดวา่ จอ - อา - ดอ จาด จาบ สะกดวา่ จอ - อา - บอ จาบ ๒.๒ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง + สระเสียงสั้น + ตัวสะกด แมก่ ก กด และ กบ อ่านออกเสยี งเปน็ เสียงเอก เชน่ ตัก สะกดว่า ตอ - อะ - กอ ตัก ตดั สะกดวา่ ตอ - อะ - ดอ ตัด ตับ สะกดวา่ ตอ - อะ - บอ ตบั คู่มอื การเรียนการสอนการอ่านคิดวเิ คราะหส์ กู่ ารพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 45
๒.๓ คำ�ที่ประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรต่ํา + สระเสียงยาว + ตัวสะกด แมก่ ก กด และ กบ อา่ นออกเสยี งเปน็ เสยี งโท เชน่ ราก สะกดว่า รอ - อา - กอ ราก ราด สะกดว่า รอ - อา - ดอ ราด ราบ สะกดว่า รอ - อา - บอ ราบ ๒.๔ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรตํ่า + สระเสียงส้ัน + ตัวสะกด แมก่ ก กด และ กบ อา่ นออกเสยี งเปน็ เสยี งตรี เช่น รกั สะกดว่า รอ - อะ - กอ รกั รดั สะกดว่า รอ - อะ - ดอ รัด รับ สะกดว่า รอ - อะ - บอ รับ ๒.๕ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงยาว + ตัวสะกด แมก่ ก กด และ กบ อ่านออกเสยี งเป็นเสยี งเอก เช่น สาก สะกดวา่ สอ - อา - กอ สาก สาด สะกดวา่ สอ - อา - ดอ สาด สาบ สะกดว่า สอ - อา - บอ สาบ ๒.๖ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงส้ัน + ตัวสะกด แม่กก กด กบ อ่านออกเสยี งเป็นเสยี งเอก เชน่ สกั สะกดว่า สอ - อะ - กอ สกั สัด สะกดว่า สอ - อะ - ดอ สดั สับ สะกดวา่ สอ - อะ - บอ สับ ในหน่วยนี้ นำ�เสนอคำ�ที่ประสมสระเม่ือมีตัวสะกด ซ่ึงสระจะมีการเปลี่ยนแปลง โดยบางสระจะลดรูปหรือเปลี่ยนรูป ดงั นี้ 46 คู่มอื การเรียนการสอนการอ่านคิดวเิ คราะหส์ ู่การพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA
๑. คำ�ประสมสระอะ (-ะ) มีตัวสะกด เมอ่ื เขยี นคำ�จะเปลีย่ นรปู -ะ เป็น - ั แตย่ ังคง อ่านออกเสียงสระอะ เชน่ ผกั รัก ขงั ดงั จัด วดั ฉนั คัน ขับ จับ ฯลฯ ผัก สะกดว่า ผอ - อะ - กอ อา่ นวา่ ผกั ฉนั สะกดว่า ฉอ - อะ - นอ อา่ นวา่ ฉัน จดั สะกดวา่ จอ - อะ - ดอ อ่านวา่ จัด ๒. คำ�ประสมสระเอะ (เ-ะ) สระแอะ (แ-ะ) มีตัวสะกด เมื่อเขียนคำ�จะเปล่ียน รปู -ะ เป็น -็ แตย่ งั คงอา่ นออกเสียง สระเอะ สระแอะ เชน่ เดก็ เข็น เจ็บ เลง็ เค็ม เตม็ เป็ด แขง็ เปน็ ตน้ เด็ก สะกดวา่ ดอ - เอะ - กอ อา่ นวา่ เด็ก แข็ง สะกดว่า ขอ - แอะ - งอ อา่ นวา่ แขง็ ๓. คำ�ประสมสระโอะ (โ-ะ) มีตัวสะกด เมื่อเขียนคำ� สระ โ-ะ จะหายไป แต่ยังคง อ่านออกเสยี ง สระโอะ เชน่ นม คน ธง กบ ฝน นก มด ฯลฯ นม สะกดวา่ นอ - โอะ - มอ อา่ นวา่ นม คน สะกดว่า คอ - โอะ - นอ อ่านว่า คน ๔. ค�ำ ประสมสระอัว (-วั ) มตี วั สะกด เมื่อเขยี นคำ�จะลดรูป สระ -ัว ท�ำ ให้ -ั หายไป เหลอื แตต่ ัว ว แตย่ ังคงอา่ นออกเสยี ง สระ -ัว เชน่ ขวด นวด สวย รวย บวก ขวด สะกดวา่ ขอ - อวั - ดอ อา่ นว่า ขวด สวย สะกดว่า สอ - อัว - ยอ อา่ นว่า สวย ๕. คำ�ประสมสระเออ (เ-อ) มตี วั สะกด เม่อื เขยี นค�ำ จะเปลีย่ นรปู อ เปน็ -ิ แตย่ ังคง อ่านออกเสยี ง สระ เ-อ เช่น เดิน เกดิ เพิง เนิน เดมิ เบกิ เดิน สะกดว่า ดอ - เออ - นอ อา่ นวา่ เดิน เกิด สะกดวา่ กอ - เออ - ดอ อ่านวา่ เกดิ คู่มือการเรียนการสอนการอ่านคดิ วิเคราะห์ส่กู ารพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 47
คำ�ประสมสระ เ-อ มีตวั สะกด ย เมือ่ เขยี นค�ำ จะลดรปู ท�ำ ใหร้ ูป อ หายไป แต่ยังคง อ่านออกเสียง สระ เ-อ เชน่ เขย เงย เฉย เตย เนย เอย เลย เชย เนย สะกดว่า นอ - เออ - ยอ อ่านวา่ เนย เตย สะกดว่า ตอ - เออ - ยอ อ่านวา่ เตย ๖. คำ�ประสมสระ ออ เมื่อมีสะกด ร เม่ือเขียนคำ�จะทำ�ให้รูป อ หายไป แต่ยังคง อ่านออกเสยี ง สระ ออ เช่น จร พร ศร ๗. คำ�ประสมสระเอาะ (เ-าะ) มีสะกด เม่อื เขยี นค�ำ จะเปล่ียนรูป เ-าะ เปน็ -็อ เช่น กอ็ ก นอ็ ก มอ็ บ การสอนอ่านแจกลูกสะกดคำ�ที่มีพยัญชนะต้น สระ และมีตัวสะกดตรงตามมาตรา ควรจัดลำ�ดับเน้ือหา โดยเร่ิมจากการเปล่ียนพยัญชนะต้นเพียงอย่างเดียวก่อน แล้วจึงเปลี่ยน พยญั ชนะตน้ และสระ เมอ่ื นกั เรยี นอา่ นค�ำ ทมี่ ตี วั สะกดทง้ั ๘ มาตราไดค้ ลอ่ งแลว้ จงึ ฝกึ ใหน้ กั เรยี น อา่ นชดุ ค�ำ ทคี่ งพยญั ชนะตน้ และสระเดมิ แลว้ เปลยี่ นตวั สะกดเปน็ ชดุ ๆ จะเหน็ ไดว้ า่ การอา่ นแจกลกู จะเปลยี่ นไปตามเสียงตวั สะกด 48 คูม่ อื การเรยี นการสอนการอ่านคดิ วเิ คราะห์สกู่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
การผันวรรณยกุ ต์คำ�ท่มี ีตัวสะกดตรงตามมาตรา การผนั วรรณยุกตค์ �ำ ทีม่ ตี วั สะกดตรงตามมาตรา แบง่ ไดเ้ ป็น ๒ กลุม่ ดังนี้ ๑. ค�ำ ทสี่ ะกดดว้ ยแมก่ ง แมก่ น แมก่ ม แม่เกย แม่เกอว ๑.๑ พยัญชนะต้นอักษรกลาง ผันได้ครบท้ัง ๕ เสียง พ้ืนเสียงเป็นเสียงสามัญ เมอื่ ผันวรรณยกุ ตแ์ ลว้ ออกเสียงตรงตามรูปวรรณยุกตน์ ้นั ๆ ๑.๑.๑ พยญั ชนะต้นอกั ษรกลาง + สระเสียงยาว + ตัวสะกด + วรรณยกุ ต์ ตัวอย่างการผนั วรรณยุกต์โดยการแจกลูกแบบยึดสระเปน็ หลัก เสียงวรรณยุกต์ ค�ำ สามญั เอก โท ตรี จัตวา กาง กาง ก่าง กา้ ง ก๊าง ก๋าง บาน บาน บ่าน บ้าน บา๊ น บา๋ น จาม จาม จ่าม จ้าม จ๊าม จ๋าม ปาย ปาย ปา่ ย ปา้ ย ป๊าย ปา๋ ย ดาว ดาน ด่าน ดา้ น ด๊าน ด๋าน คมู่ อื การเรียนการสอนการอ่านคิดวิเคราะหส์ กู่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 49
๑.๑.๒ พยญั ชนะต้นอกั ษรกลาง + สระเสียงส้นั + ตวั สะกด + วรรณยุกต์ ตัวอย่างการผันวรรณยุกต์โดยการแจกลกู แบบยดึ สระเปน็ หลัก คำ� เสยี งวรรณยกุ ต์ จัตวา สามญั เอก โท ตรี องิ อิง องิ่ อง้ิ อิ๊ง องิ๋ ดิน ดิน ดนิ่ ดน้ิ ดนิ๊ ด๋นิ กิม กิม กม่ิ ก้ิม กมิ๊ กิม๋ ติว ติว ติ่ว ติ้ว ต๊วิ ติว๋ ๑.๒ พยญั ชนะตน้ อกั ษรสงู ผันได้ ๓ เสียง พืน้ เสยี งเปน็ เสียงจตั วา ผันด้วยรปู เอก เป็นเสยี งเอก ผนั ดว้ ยรูปโทเป็นเสยี งโท ๑.๒.๑ พยญั ชนะตน้ อักษรสูง + สระเสยี งยาว + ตัวสะกด + วรรณยุกต์ ตัวอย่างการผนั วรรณยุกตโ์ ดยการแจกลูกแบบยดึ สระเปน็ หลกั เสียงวรรณยุกต์ ค�ำ สามัญ เอก โท ตรี จตั วา หาง - ห่าง ห้าง - หาง สาน - ส่าน สา้ น - สาน ขาม - ขา่ ม ข้าม - ขาม ถาย - ถา่ ย ถ้าย - ถาย สาว - ส่าว ส้าว - สาว 50 คู่มือการเรียนการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะหส์ ู่การพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
๑.๒.๒ พยัญชนะตน้ อกั ษรสูง + สระเสียงส้ัน + ตวั สะกด + วรรณยุกต์ ต วั อย่างก ารผนั วร รณยกุ ตโ์ ดยการแจกลูกแบบยึดสระเป็นหลกั เสียงวรรณยกุ ต์ ค�ำ สามญั เอก โท ตรี จัตวา ขงิ - ข่งิ ขิ้ง - ขิง สนิ - สิน่ ส้นิ - สิน ขิม - ขม่ิ ข้มิ - ขิม สิว - สิว่ ส้วิ - สวิ ในกรณีน้ี ครูสามารถสอนโดยเร่ิมจากเสียงจัตวา ซ่ึงเป็นพ้ืนเสียงของคำ�ท่ีไม่มีรูป วรรณยุกตก์ ไ็ ด้ ๑.๓ พยญั ชนะต้นอกั ษรตํ่า ผันได้ ๓ เสียง พน้ื เสยี งเป็นเสียงสามญั ผันดว้ ยรูปเอก เป็นเสียงโท ผันด้วยรปู โทเปน็ เสียงตรี ๑.๓.๑ พยญั ชนะตน้ อกั ษรต่าํ + สระเสียงยาว + ตัวสะกด + วรรณยุกต์ ต ัวอย่างก ารผันวร รณยุกต์โ ดยการแจกลกู แบบยดึ สระเป็นหลัก เสียงวรรณยุกต์ ค�ำ สามญั เอก โท ตรี จัตวา คาง คาง - คา่ ง ค้าง - นาน นาน - น่าน น้าน - หาม หาม - ห่าม หา้ ม - ทาย ทาย - ทา่ ย ทา้ ย - ราว ราว - รา่ ว ร้าว - คมู่ ือการเรยี นการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะห์สู่การพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 51
๑.๓.๒ พยญั ชนะต้นอกั ษรตา่ํ + สระเสยี งสัน้ + ตัวสะกด + วรรณยุกต์ ตัวอยา่ งก ารผนั วร รณยกุ ต์โ ดยการแจกลูกแบบยึดสระเปน็ หลกั เสียงวรรณยกุ ต์ ค�ำ สามญั เอก โท ตรี จตั วา ยุง ยงุ - ย่งุ ยุง้ - ชมุ ชมุ - ช่มุ ช้มุ - รุม รมุ - รมุ่ รมุ้ - ทุย ทยุ - ทุ่ย ทยุ้ - คมุ คมุ - คมุ่ คุม้ - หมายเหตุ ค�ำ ทม่ี ีตวั สะกดและมรี ปู วรรณยุกตน์ ี้ หลายค�ำ ไม่มีความหมาย แต่การสอน นักเรียน ต้องสอนให้เห็นหลักการผันเสียงวรรณยุกต์ แม้คำ�ท่ีนำ�มาผันเสียงวรรณยุกต์นี้จะไม่มี ความหมายกต็ าม ๒. คำ�ทส่ี ะกดด้วยแมก่ ก แม่กบ แมก่ ด ๒.๑ พยัญชนะต้นอักษรกลาง ผันได้ ๔ เสียง พื้นเสียงเป็นเสียงเอก เมื่อผันรูป และเสยี งวรรณยุกตต์ รงกนั (ไม่มีเสยี งสามัญ) ๒.๑.๑ พยัญชนะต้นอกั ษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตวั สะกด + วรรณยุกต์ ตัวอย่างก ารผนั วร รณยุกตโ์ ดยการแจกลกู แบบยดึ สระเปน็ หลัก เสียงวรรณยกุ ต์ คำ� สามัญ เอก โท ตรี จตั วา บาก - บาก บา้ ก บา๊ ก บ๋าก จาบ - จาบ จา้ บ จ๊าบ จา๋ บ กาด - กาด ก้าด ก๊าด ก๋าด 52 ค่มู อื การเรียนการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะหส์ กู่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
๒.๑.๒ พยญั ชนะตน้ อักษรกลาง + สระเสยี งส้ัน + ตัวสะกด + วรรณยกุ ต์ ตวั อย่างก ารผันวร รณยกุ ต์โ ดยการแจกลูกแบบยึดสระเปน็ หลกั เสยี งวรรณยุกต์ คำ� สามญั เอก โท ตรี จัตวา ดกุ - ดุก ดุก้ ดุ๊ก ดุ๋ก บุบ - บุบ บุบ้ บุ๊บ บบุ๋ ปุด - ปดุ ป้ดุ ปุ๊ด ป๋ดุ ๒.๒ พยัญชนะต้นอักษรสูง ผันได้ ๒ เสียง พ้ืนเสียงเป็นเสียงเอก ผันด้วยรูปโท เปน็ เสยี งโท ๒.๒.๑ พยัญชนะต้นอกั ษรสงู + สระเสียงยาว + ตวั สะกด + วรรณยกุ ต์ ต วั อยา่ งก ารผนั วร รณยกุ ตโ์ ดยการแจกลูกแบบยดึ สระเปน็ หลัก เสยี งวรรณยกุ ต์ ค�ำ สามญั เอก โท ตรี จตั วา สาก - สาก ส้าก - - หาบ - หาบ ห้าบ - - ขาด - ขาด ขา้ ด - - คมู่ อื การเรียนการสอนการอ่านคิดวิเคราะห์ส่กู ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA 53
๒.๒.๒ พยัญชนะตน้ อกั ษรสูง + สระเสยี งสนั้ + ตวั สะกด + วรรณยุกต์ ตวั อย่างก ารผันวร รณยกุ ตโ์ ดยการแจกลกู แบบยึดสระเป็นหลกั เสียงวรรณยกุ ต์ คำ� สามญั เอก โท ตรี จตั วา ปัด - ปัด ปัด้ - - สกั - สกั สั้ก - - หดั - หัด หดั้ - - ๒.๓ พยัญชนะต้นอกั ษรตาํ่ ๒.๓.๑ พยญั ชนะตน้ อกั ษรตา่ํ + สระเสยี งยาว + ตวั สะกด + วรรณยกุ ต์ ผนั ได ้ ๒ เสยี ง พนื้ เสียงเป็นเสียงโท ผนั ด้วยรปู โทเปน็ เสยี งตรี ต วั อย่างก ารผนั วร รณยุกต์โ ดยการแจกลกู แบบยดึ สระเปน็ หลัก เสยี งวรรณยุกต์ คำ� สามญั เอก โท ตรี จัตวา ราก - - ราก ร้าก - คาบ - - คาบ คา้ บ - ลาด - - ลาด ลา้ ด - 54 คูม่ ือการเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะห์สูก่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
๒.๓.๒ พยัญชนะตน้ อกั ษรตํ่า + สระเสียงสน้ั + ตวั สะกด + วรรณยุกต์ ผนั ได้ ๒ เสยี ง พื้นเสยี งเป็นเสียงตรี ผนั ด้วยรูปเอกเป็นเสยี งโท ตวั อย่างก ารผันวร รณยกุ ต์โ ดยการแจกลูกแบบยึดสระเปน็ หลัก เสียงวรรณยกุ ต์ ค�ำ สามญั เอก โท ตรี จตั วา คกึ - - ค่ึก คึก - นกึ - - น่กึ นกึ - ลกึ - - ลึ่ก ลกึ - ขอ้ เสนอแนะ การสอนผันวรรณยกุ ต์ทีม่ ีตวั สะกดตรงมาตรา ควรสอนตามลำ�ดบั เนอ้ื หา ดังตอ่ ไปนี้ ๑. สอนพยญั ชนะตน้ อกั ษรกลางเปน็ กลมุ่ ทผี่ นั ไดง้ า่ ยทสี่ ดุ เพราะสามารถผนั วรรณยกุ ต์ ไดค้ รบทั้ง ๕ เสียง และมีรปู กบั เสียงวรรณยุกต์ตรงกนั ๒. สอนพยัญชนะต้นอักษรสูงเป็นกลุ่มท่ีผันได้ง่ายลำ�ดับถัดมา เพราะสามารถ ผนั วรรณยกุ ตไ์ ด้ ๓ เสียง และมรี ปู กับเสยี งวรรณยุกต์ตรงกนั ๒ เสยี ง ๓. สอนพยญั ชนะตน้ อกั ษรตาํ่ เปน็ กลมุ่ ทผ่ี นั ไดย้ ากทส่ี ดุ เพราะสามารถผนั วรรณยกุ ตไ์ ด้ ๓ เสียง และมีรปู กบั เสียงวรรณยุกต์ไม่ตรงกัน ๒ เสยี ง ขอ้ สงั เกตกลมุ่ นีเ้ สยี งวรรณยกุ ต์จะเลอ่ื น จากรูปไป ๑ ระดบั คอื รูปเอก เสียงโท รปู โท เสียงตรี คู่มือการเรยี นการสอนการอา่ นคิดวิเคราะห์สกู่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA 55
การแจกลกู สะกดค�ำ ทม่ี ตี วั สะกดไม่ตรงตามมาตรา มาตรา คือ แม่บทแจกลูกอักษรตามหมวดคำ�ที่มีตัวสะกดหรือออกเสียงอย่างเดียวกัน แบ่งออกเป็น ๘ มาตรา หรอื ๘ แม่ คอื แมก่ ก แมก่ ด แมก่ บ แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กง และแมก่ น แบง่ ไดเ้ ปน็ ๒ กล่มุ ดังน้ี ๑. มาตราท่ีมพี ยัญชนะเป็นตวั สะกดเพียงตัวเดยี ว ๔ มาตรา คอื แมก่ ง ใช้ ง สะกด เชน่ หาง แรง สอง ปลงิ ฯลฯ แมก่ ม ใช ้ ม สะกด เชน่ งาม ชม แต้ม สนาม ฯลฯ แมเ่ กย ใช้ ย สะกด เช่น สาย โปรย เฉย ปุ๋ย ฯลฯ แม่เกอว ใช้ ว สะกด เชน่ กาว แหว้ เปลว เปร้ียว ฯลฯ ๒. มาตราทม่ี พี ยญั ชนะเปน็ ตวั สะกดในแตล่ ะมาตราหลายตวั แตอ่ อกเสยี งเพยี งเสยี งเดยี ว มี ๔ มาตรา คือ แม่กก มีพยัญชนะ ก ข ค ฆ สะกด แล้วออกเสียงเปน็ เสียง /ก/ เช่น เลข โรค เมฆ ฯลฯ แมก่ ด มพี ยัญชนะ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด แลว้ ออกเสยี งเปน็ เสยี ง /ด/ เชน่ กจิ ราช กา๊ ซ กฎ ปรากฏ อฐิ ครฑุ พฒั นา ทตู รถ บาท พุธ อากาศ พษิ ทาส ฯลฯ แมก่ บ มพี ยัญชนะ บ ป พ ฟ ภ สะกด แล้วออกเสยี งเปน็ เสียง /บ/ เช่น บาป ภาพ ยรี าฟ ลาภ ฯลฯ แม่กน มีพยัญชนะ น ญ ณ ร ล ฬ สะกด แลว้ ออกเสียงเป็นเสียง /น/ เช่น เชิญ คณู หาร ศลี วาฬ ฯลฯ 56 คูม่ ือการเรยี นการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะห์สู่การพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
การอ่านสะกดคำ�ทีม่ ีตวั สะกดไมต่ รงตามมาตรา การอา่ นออกเสยี งค�ำ โดยใหน้ กั เรยี นรจู้ กั เสยี งพยญั ชนะตน้ สระ ตวั สะกด และวรรณยกุ ต์ ตามล�ำ ดับ เชน่ กรณีเปน็ ค�ำ พยางค์เดยี วให้อ่านสะกดค�ำ ดังนี้ เขต แบบที่ ๑ ขอ - เอ - ตอ เขด แบบท่ี ๒ ขอ - เอ - เข - เข - ตอ เขด บาป แบบที่ ๑ บอ - อา - ปอ บาบ แบบท่ี ๒ บอ - อา - บา - บา - ปอ บาบ เลข แบบท่ี ๑ ลอ - เอ - ขอ เลก แบบท่ี ๒ ลอ - เอ - เล - เล - ขอ เลก เชิญ* แบบที่ ๑ ชอ - เออ - ญอ เชิน แบบที่ ๒ ชอ - เออ - เชอ - เชอ - ญอ เชนิ *ถา้ ใช้ ย แทน ญ ในการอา่ นสะกดคำ� จะท�ำ ให้สับสนกบั แมเ่ กยได้ จึงคงรปู พยญั ชนะ ญ ไว้ กรณที ค่ี �ำ มีมากกว่า ๑ พยางคใ์ หอ้ า่ นสะกดค�ำ ดังนี้ สนุ ัข แบบท่ี ๑ สอ - อุ สุ นอ - อะ - ขอ นัก สุ - นัก แบบที่ ๒ สอ - อุ สุ นอ - อะ - นะ - นะ - ขอ นัก สุ - นัก เคารพ แบบที่ ๑ คอ - เอา เคา รอ - โอะ - พอ รบ เคา - รบ แบบที่ ๒ คอ - เอา เคา รอ - โอะ - โระ - โระ - พอ รบ เคา - รบ อาหาร แบบที่ ๑ ออ - อา อา หอ - อา - รอ หาน อา - หาน แบบท่ี ๒ ออ - อา อา หอ - อา - หา - หา - รอ หาน อา - หาน โอกาส แบบที่ ๑ ออ - โอ โอ กอ - อา - สอ กาด โอ - กาด แบบท่ี ๒ ออ - โอ โอ กอ - อา - กา - กา - สอ กาด โอ - กาด อ้างอิงเพิ่มเติม : ก�ำ ชยั ทองหล่อ. (๒๕๓๗). หลกั ภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : รวมสาสน์ . ค่มู ือการเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะห์สูก่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA 57
การเขยี นสะกดค�ำ ทม่ี ตี ัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา การเขยี นสะกดค�ำ ใหถ้ กู ตอ้ งจะสะกดคำ�ตามรปู ตวั อกั ษรทป่ี ระกอบกนั เปน็ คำ� โดยสะกด เรียงจากรูปตัวอกั ษรทปี่ รากฏอยูใ่ นค�ำ นน้ั ๆ ซึง่ แตกตา่ งจากการอา่ นสะกดค�ำ เชน่ กรณเี ปน็ คำ�พยางคเ์ ดยี วให้เขยี นสะกดคำ� ดงั นี้ เลข เขียนสะกดว่า สระเอ - ลอ ลิง - ขอ ไข่ บาป เขียนสะกดวา่ บอ ใบไม้ - สระอา - ปอ ปลา เชญิ เขยี นสะกดว่า สระเอ - ชอ ช้าง - สระอิ - ญอ หญิง เขต เขยี นสะกดว่า สระเอ - ขอ ไข่ - ตอ เตา่ กรณีเปน็ คำ�ที่มีมากกว่า ๑ พยางค์ใหเ้ ขยี นสะกดค�ำ ดังน้ี สุนขั เขียนสะกดวา่ สอ เสอื สระอุ นอ หนู ไมห้ นั อากาศ ขอ ไข่ เคารพ เขียนสะกดวา่ สระเอ คอ ควาย สระอา รอ เรอื พอ พาน อาหาร เขียนสะกดว่า ออ อ่าง สระอา หอ หีบ สระอา รอ เรือ โอกาส เขยี นสะกดว่า สระโอ ออ อ่าง กอ ไก่ สระอา สอ เสือ หมายเหตุ ความแตกต่างระหว่างการอา่ นสะกดคำ�กับการเขียนสะกดค�ำ มดี ังต่อไปน้ี การอ่านสะกดคำ� เน้นที่เสียงตัวอักษรของพยัญชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต์ ทป่ี ระกอบกนั เปน็ ค�ำ การเขียนสะกดคำ� เน้นเรียงตามรูปตัวอักษรท่ีปรากฏทั้งพยัญชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยกุ ตท์ ีป่ ระกอบกนั เปน็ คำ�นั้น 58 คู่มอื การเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะห์สู่การพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA
การแจกลกู สะกดคำ�ที่มีอกั ษรควบ ค�ำ ควบกล้ํา แบง่ ตามลกั ษณะการออกเสียงได้ ๒ ประเภท คือ อักษรควบแท้ และอักษร ควบไม่แท้ ๑. อักษรควบแท้ คือ อักษรควบท่ีออกเสียงพยัญชนะทั้ง ๒ ตัว ควบกล้ํากัน มี ๑๕ ลักษณะ คือ พยัญชนะตน้ ตวั แรกเป็น ก ข ค ต ป ผ พ ควบกับ ร หรอื ล หรือ ว ดังตอ่ ไปน้ี พยญั ชนะตน้ ตวั แรก กขคตปพผ พยัญชนะควบ ร รรรรรร- พยัญชนะควบ ล ลลล- ลลล พยญั ชนะควบ ว ววว- - - - คำ�ที่พยญั ชนะต้นควบกับ ร มี ๖ ลักษณะ คอื กร ขร คร ตร ปร และ พร ดังนี้ กร เช่น ไกร กรอง กราย กรดี แกร่ง ขร เชน่ ขรวั ขรขุ ระ ขรบิ คร เชน่ ใคร ครบ ครนั ครา้ ม ครวั ครอง ครอบ ตร เช่น ตรอง ตริ ตรี ตรง ตรงึ ตระ ปร เช่น ปราณ เปรม เปราะ ประปราย พร เชน่ พรวน พรงิ้ พรุง่ พราย เพรง พริก คำ�ที่พยัญชนะต้นควบกับ ล มี ๖ ลักษณะ คือ กล ขล คล ปล พล และ ผล ดังน้ี กล เชน่ กลํ้า กลนื กลม กลอง กล่อม กลาด เกลา เกลียว เกล่ือน ขล เช่น ขลาด เขลา โขลง โขลน ขลัง ขลิบ คล เชน่ คลํา้ คลาด คลาย คลอ้ ย คลัง ปล เช่น ปลา เปลย้ี ปล้มื ปลัก ปลวก ปลอบ พล เช่น พลุ เพลิง พลาด พลดั ผล เช่น ผลาญ ผลุง ผลุบ เผลอ เผล่ เผล้ ค่มู ือการเรยี นการสอนการอ่านคิดวิเคราะห์สู่การพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 59
ค�ำ ทพี่ ยญั ชนะต้นควบกบั ว มี ๓ ลักษณะ คอื กว ขว และ คว ดังนี้ กว เชน่ กวาด กวกั ไกว แกวง่ กวาง เกวยี น ขว เชน่ ขวา ขวาน ขวิด ขวกั ไขว่ ขวนขวาย คว เชน่ ควาน ความ ควาย ควกั คว้าง ควัน ๒. อักษรควบไม่แท้ คือ อักษรควบที่ออกเสียงแต่พยัญชนะต้นตัวหน้าตัวเดียวบ้าง ออกเสยี งกลายเป็นตวั อ่ืนไปบา้ ง มี ๒ ลกั ษณะ ดงั นี้ ๒.๑ คำ�ที่มีพยัญชนะต้นควบกับ ร แต่ไม่ออกเสียง /ร/ ได้แก่ พยัญชนะ จร ซร ศร สร เชน่ จรงิ อา่ นว่า จงิ ไซร ้ อ่านวา่ ไซ้ เศรา้ อา่ นว่า เสา้ สรอ้ ย อ่านว่า ส้อย ศร ี อา่ นว่า สี ศรทั ธา อ่านวา่ สดั - ทา เศรษฐ ี อา่ นวา่ เสด - ถี อาศรม อ่านว่า อา - สม เสริม อา่ นว่า เสมิ สรา้ ง อา่ นวา่ สา้ ง สระ อา่ นว่า สะ สรง อ่านว่า สง สรา่ ง อา่ นว่า ส่าง เสร็จ อ่านว่า เสด็ ประเสรฐิ อ่านว่า ปฺระ - เสิด ก�ำ สรวล อ่านว่า กำ� - สวน 60 คมู่ อื การเรียนการสอนการอ่านคิดวเิ คราะห์ส่กู ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
๒.๒ ค�ำ ท่มี พี ยัญชนะตน้ ท ควบกับ ร แลว้ ออกเสียงเปน็ /ซ/ มีทัง้ หมด ๑๘ ค�ำ นอกเหนือจากนี้ คำ� ทร ควบกล้ํากันท่ีเป็นคำ�ยืมจากภาษาบาลีสันสกฤต จะออกเสียง /ทร/ เช่น อนิ ทรา จนั ทรา นทิ รา เปน็ ตน้ ทรง อา่ นว่า ซง ทราบ อา่ นว่า ซาบ ทราม อ่านว่า ซาม ทราย อ่านว่า ซาย แทรก อา่ นวา่ แซก ทรุด อ่านวา่ ซุด โทรม อา่ นวา่ โซม ทรวง อ่านว่า ซวง ทรพั ย ์ อ่านวา่ ซับ ไทร อา่ นว่า ไซ มัทร ี อา่ นวา่ มดั - ซี อนิ ทร ี อา่ นว่า อิน - ซี อินทรีย์ อ่านวา่ อนิ - ซี นนทร ี อ่านว่า นน - ซี พุทรา อ่านวา่ พุด - ซา ฉะเชิงเทรา อ่านวา่ ฉะ - เชงิ - เซา เทรดิ อา่ นว่า เซดิ ทรวด อ่านว่า ซวด คมู่ อื การเรยี นการสอนการอ่านคดิ วเิ คราะห์สู่การพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA 61
หรืออาจใชบ้ ทร้อยกรอง กาพยย์ านี ๑๑ ค�ำ ควบกล้าํ ไมแ่ ท้ ให้นักเรยี นฝกึ อ่านและเขียน เพ่อื ชว่ ยจ�ำ ดังน้ ี ทรวดทรงทราบทรามทราย ทรดุ โทรมหมายนกอนิ ทรี มัทรีอนิ ทรยี ์ม ี เทริดนนทรพี ทุ ราเพรา ทรวงไทรทรพั ย์แทรกวดั โทรมนสั ย*์ ฉะเชงิ เทรา ตวั ทร เหล่านเี้ รา ออกส�ำ เนียงเป็นเสียง ซ (กำ�ชัย ทองหลอ่ ) * คำ�นี้ ไมม่ ีใชใ้ นภาษาไทยแลว้ การสอนอา่ นสะกดคำ�ทีม่ ีอักษรควบ การสอนอ่านสะกดคำ�ที่มีอักษรควบมีหลายวิธี ครูควรเลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่งในการสอน เมอื่ นกั เรยี นจดจ�ำ รปู และเสยี งของตวั อกั ษรไดแ้ ลว้ นกั เรยี นสามารถเรยี นรกู้ ารอา่ นและการเขยี น ไปพร้อม ๆ กนั ได้ แต่ครคู วรสอนให้นกั เรียนอา่ นกอ่ น แลว้ จึงเรม่ิ ฝกึ การเขยี นสะกดคำ� ๑. การสอนอ่านและเขียนคำ�ท่ีมีอักษรควบแท้ สอนอ่านได้ ๒ แบบ คือ อ่านเรียง ตวั อักษรทปี่ รากฏ และอ่านออกเสียงตัวควบพรอ้ มกัน ดังนี้ ๑.๑ การสอนอา่ นค�ำ ท่มี อี กั ษรควบแท้ สอนอา่ นเรยี งตัวอกั ษรทป่ี รากฏ แลว้ ใหอ้ า่ นเปน็ เสียงเดียว ดงั ตัวอย่าง ตัวอย่างท่ี ๑ การอา่ นค�ำ ท่ีพยญั ชนะต้นควบกบั ร และไม่มตี วั สะกด ไกร สะกดว่า กอ - รอ - ไอ ไกรฺ ขรวั สะกดว่า ขอ - รอ - อัว ขรฺ ัว ครู สะกดวา่ คอ - รอ - อู คฺรู ตรี สะกดว่า ตอ - รอ - อี ตรฺ ี ประ สะกดวา่ ปอ - รอ - อะ ปรฺ ะ พระ สะกดวา่ พอ - รอ - อะ พรฺ ะ 62 คูม่ ือการเรยี นการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะหส์ ่กู ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
ตวั อย่างท่ี ๒ การอา่ นค�ำ ที่พยัญชนะตน้ ควบกบั ร และมตี วั สะกด กราบ สะกดวา่ กอ - รอ - อา - บอ กฺราบ ขรมึ สะกดว่า ขอ - รอ - อึ - มอ ขรฺ มึ เครียด สะกดว่า คอ - รอ - เอยี - ดอ เคฺรียด ตรวจ สะกดว่า ตอ - รอ - อัว - จอ ตฺรวจ ตัวอยา่ งที่ ๓ การอา่ นคำ�ที่พยัญชนะตน้ ควบกบั ล และไมม่ ีตวั สะกด ไกล สะกดว่า กอ - ลอ - ไอ ไกฺล คละ สะกดว่า คอ - ลอ - อะ คลฺ ะ ปลา สะกดว่า ปอ - ลอ - อา ปฺลา พล ุ สะกดวา่ พอ - ลอ - อุ พฺลุ ตัวอยา่ งที่ ๔ การอา่ นคำ�ท่ีพยัญชนะตน้ ควบกับ ล และมตี วั สะกด กลอง สะกดวา่ กอ - ลอ - ออ - งอ กลฺ อง โขลง สะกดวา่ ขอ - ลอ - โอ - งอ โขฺลง คลาน สะกดวา่ คอ - ลอ - อา - นอ คลฺ าน ปลวก สะกดว่า ปอ - ลอ - อัว - กอ ปฺลวก เพลนิ สะกดว่า พอ - ลอ - เออ - นอ เพฺลนิ ผลกั สะกดวา่ ผอ - ลอ - อะ - กอ ผฺลกั ตัวอย่างที่ ๕ การอ่านค�ำ ทพ่ี ยัญชนะต้นควบกบั ว และไมม่ ีตวั สะกด กวา สะกดวา่ กอ - วอ - อา กฺวา ขวา สะกดว่า ขอ - วอ - อา ขวฺ า ตวั อย่างที่ ๖ การอา่ นคำ�ทีพ่ ยัญชนะตน้ ควบกบั ว และมีตัวสะกด กวาง สะกดว่า กอ - วอ - อา - งอ กวฺ าง แขวน สะกดวา่ ขอ - วอ - แอ - นอ แขฺวน ควาย สะกดวา่ คอ - วอ - อา - ยอ ควฺ าย คู่มือการเรียนการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะห์สู่การพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 63
๑.๒ การสอนอา่ นคำ�ที่มีอกั ษรควบแทโ้ ดยการแจกลกู เมื่อนักเรียนฝึกอ่านคำ�ท่ีมีอักษรควบจนเข้าใจแล้ว ครูควรให้นักเรียนฝึกอ่าน เพมิ่ เติม โดยการแจกลกู ดงั นี้ ตวั อยา่ งที่ ๑ การอ่านแจกลกู คำ�ที่มอี ักษรควบแทแ้ บบไม่มตี วั สะกด สระ อา (-า) สระ อี ( -ี ) สระอู ( -ู ) กร กรา กรี กรฺ ู ขร ขรา ขรี ขฺรู คร ครา คร ี คฺรู ตร ตรา ตรี ตฺรู ปร ปรา ปรี ปรฺ ู พร พรา พร ี พรฺ ู ตวั อย่างที่ ๒ การอา่ นแจกลกู คำ�ท่ีมอี กั ษรควบแท้แบบมีตัวสะกด อกั ษรควบ สระ ตวั สะกด อา่ นว่า อา ง ปฺราง อา บ ปรฺ าบ ปร เอีย บ เปฺรยี บ โอ ด โปรฺ ด แอ ง แปฺรง ๑.๓ การเขยี นสะกดคำ�ทีม่ อี กั ษรควบแท้ การสอนเขียนสะกดคำ�ท่ีมีอักษรควบแท้ครูจะต้องฝึกให้นักเรียนสะกดคำ� ให้คลอ่ งกอ่ น โดยใชว้ ธิ กี ารสะกดแบบเรียงตามล�ำ ดับตัวอักษร ดงั น้ี 64 คูม่ อื การเรียนการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะห์สกู่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
ตวั อย่างท่ี ๑ การเขียนสะกดคำ�ทมี่ อี กั ษรควบแท้แบบไม่มีตวั สะกด ไกร เขยี นสะกดวา่ สระไอไม้มลาย กอ ไก่ รอ เรอื ขรัว เขยี นสะกดว่า ขอ ไข่ รอ เรือ สระอัว คร ู เขียนสะกดวา่ คอ ควาย รอ เรอื สระอู ตร ี เขียนสะกดว่า ตอ เต่า รอ เรือ สระอี ประ เขยี นสะกดว่า ปอ ปลา รอ เรอื สระอะ พระ เขยี นสะกดว่า พอ พาน รอ เรือ สระอะ ตัวอยา่ งที่ ๒ การเขยี นสะกดคำ�ท่ีมอี กั ษรควบแท้แบบมีตวั สะกด พราว เขยี นสะกดวา่ พอ พาน รอ เรือ สระอา วอ แหวน กราบ เขยี นสะกดวา่ กอ ไก่ รอ เรอื สระอา บอ ใบไม้ กรวย เขยี นสะกดว่า กอ ไก่ รอ เรอื วอ แหวน ยอ ยกั ษ์ คราด เขียนสะกดวา่ คอ ควาย รอ เรอื สระอา ดอ เดก็ กรีด เขยี นสะกดว่า กอ ไก่ รอ เรอื สระอี ดอ เด็ก ๑.๔ การผนั วรรณยกุ ต์ การผนั เสยี งวรรณยกุ ตค์ �ำ ทมี่ อี กั ษรควบแทใ้ ชห้ ลกั การเดยี วกนั กบั การผนั เสยี ง วรรณยุกต์ของค�ำ ทีม่ พี ยญั ชนะตน้ ตัวเดียว โดยยดึ กฎการผันวรรณยกุ ต์ของพยัญชนะตน้ ตัวแรก ไม่ใช่ตวั ทม่ี าควบ ดังตาราง เสยี งวรรณยุกต์ คำ� สามญั เอก ( -่ ) โท ( -้ ) ตรี ( -๊ ) จัตวา ( -๋ ) พยัญชนะตน้ อักษรกลาง กรา กรา่ กรา้ กร๊า กร๋า พยญั ชนะตน้ อกั ษรตาํ่ เครือง - เคร่ือง เครอ้ื ง - พยญั ชนะต้นอกั ษรสงู - ขวา่ ง ขว้าง ขวาง คู่มอื การเรยี นการสอนการอ่านคิดวิเคราะห์สูก่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA 65
๒. การสอนอา่ นและเขียนคำ�ที่มอี ักษรควบไม่แท้ ๒.๑ การสะกดคำ�เพื่ออา่ นคำ�ทีม่ อี ักษรควบไม่แท้ ๒.๑.๑ การสะกดค�ำ ทค่ี วบกับ ร แต่ไม่ออกเสยี ง /ร/ จรงิ สะกดวา่ จอ - รอ - อิ - งอ จงิ ไซร ้ สะกดวา่ ซอ - รอ - ไอ - ไม้โท ไซ้ หรือ ซอ - รอ - ไอ - ไซ - ไม้โท ไซ้ เศรา้ สะกดวา่ สอ - รอ - เอา - ไมโ้ ท เส้า หรือ สอ - รอ - เอา - เสา - ไมโ้ ท เส้า สร้อย สะกดว่า สอ - รอ - ออ - ยอ - สอย - ไมโ้ ท ส้อย ๒.๑.๒ การสอนอ่านและเขยี นคำ�ท่ีมพี ยัญชนะ ท ควบกับ ร แล้วออกเสียง เปน็ /ซ/ ใหน้ ักเรียนทอ่ งจำ�คำ�ทงั้ ๑๘ คำ� ๒.๒ การสะกดค�ำ เพอ่ื เขียนใหส้ ะกดแบบเรยี งตามล�ำ ดับตวั อกั ษร ดังนี้ จริง เขยี นสะกดวา่ จอ จาน รอ เรือ สระอิ งอ งู ศร ี เขียนสะกดว่า สอ ศาลา รอ เรอื สระอี สร้าง เขียนสะกดว่า สอ เสอื รอ เรอื สระอา งอ งู ไมโ้ ท 66 คู่มือการเรียนการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะห์สูก่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
การแจกลูกสะกดคำ�ท่มี อี กั ษรน�ำ อักษรนำ� คอื พยัญชนะตน้ ๒ ตวั เรียงกนั ประสมสระเด่ยี ว แตอ่ อกเสยี งเป็น ๒ พยางค์ คอื พยางคต์ น้ เหมอื นมสี ระประสมอยู่ พยางคท์ ี่ ๒ ออกเสยี งตามสระประสมอยู่ และพยางคท์ ่ี ๒ น ้ี ถา้ เปน็ อักษรเดยี่ ว ต้องออกเสียงวรรณยกุ ตแ์ ละผนั ตามตวั หน้าดว้ ย เชน่ แสม อา่ น สะ - แหม เว้นแตต่ ัว ห น�ำ อกั ษรเดยี่ ว หรอื ตวั อ น�ำ ตัว ย ไม่ต้องออกเสียง ห และ อ เป็นแตอ่ อกเสยี งและ ผนั ตวั หลงั ตามตวั หและตวั อเทา่ นน้ั เชน่ หงอหญา้ ไหนอยา่ อยู่เปน็ ตน้ ถา้ ตวั หนา้ เปน็ อกั ษรตาํ่ กด็ ี หรือตัวหลังไม่ใช่อักษรเดี่ยวก็ดี ก็ไม่เปลี่ยนแปลงเสียงวรรณยุกต์ ปรากฏแต่รูปเป็นอักษรนำ� เท่านัน้ แตอ่ า่ นอย่างเดียวกับคำ�เรียงพยางค์ เชน่ พยาธิ อ่าน พะ - ยา - ท ิ มธั ยม อ่าน มัด - ทะ - ยม เปน็ ต้น นอกจากนั้น หนังสือหลักภาษาไทย : เร่ืองท่ีครูภาษาไทยต้องรู้ อธิบายว่า อักษรนำ� คอื พยญั ชนะตวั ทหี่ นง่ึ มอี ทิ ธพิ ลนำ�เสยี งวรรณยกุ ตข์ องพยญั ชนะตวั ทต่ี ามมา พยญั ชนะตวั ทหี่ นง่ึ จะเป็นอักษรสูงหรอื อักษรกลาง สว่ นพยญั ชนะตวั ท่ีตามมาเปน็ อกั ษรต่าํ เดย่ี วเท่าน้นั การอ่านออกเสียงคำ�ที่มีอักษรนำ�ทำ�ได้ ๒ แบบ คือ อ่านออกเสียงเป็นพยางค์เดียว และอา่ นออกเสียงเป็นค�ำ ๒ พยางค์ ประเภทของค�ำ ท่มี ีอกั ษรนำ� คำ�ท่ีมีอักษรนำ� แบ่งตามหลกั การอา่ นออกเสยี งได้ ดงั น้ี ๑. ค�ำ ทมี่ อี กั ษรน�ำ ทอี่ า่ นออกเสยี งเปน็ พยางคเ์ ดยี ว เมอื่ ห น�ำ อกั ษรตาํ่ เดยี่ ว หรอื อ น�ำ ย เสยี งวรรณยกุ ต์ของพยางค์ ตามเสียง ตัว ห หรอื อ ท่ีนำ� แตไ่ ม่ออกเสยี งตัว ห หรือ อ ดังน้ี ๑.๑ อ น�ำ ย มี ๔ ค�ำ คือ อย่า อยู่ อยา่ ง อยาก ๑.๒ ห น�ำ อักษรตาํ่ เดี่ยว อักษรต่าํ เดย่ี ว ได้แก่ ง ญ น ม ย ร ล ว คู่มอื การเรียนการสอนการอา่ นคิดวิเคราะห์สู่การพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 67
ค�ำ ท่ีมี ห น�ำ อกั ษรต่าํ เดย่ี ว ไดแ้ ก่ ห นำ� ง เช่น เหงา หงอน หงอก หงิก แหงน ห นำ� ญ เช่น หญิง หญ้า ใหญ่ ห น�ำ น เช่น หนู แหน หนี หนา หน้า เหนือ ไหน หนอน หนอง หนาว หนาม หนอ่ ย หนัก ห นำ� ม เชน่ หมู หมู่ หมา หมี หมวก หมอ หม้อ หมอน เหมน็ หมอก หมอบ แหม หมาย ห น�ำ ย เชน่ หยุด แหย แหย่ หยอก หยอด เหยย่ี ว หยกิ หยัก หยาม หยี ห นำ� ร เชน่ หรี่ หรอก หรูหรา ห นำ� ล เช่น ไหล แหละ โหล หลาย หลา หลวง หลอ หล่อ หลับ หลาน หลอก หลดุ หลงใหล ห นำ� ว เชน่ หวี หวาน หว่าน ไหว ไหว้ หวงั หวัด แหวน แหวก ๒. ค�ำ ทม่ี อี กั ษรน�ำ ทอ่ี า่ นออกเสยี งเปน็ ๒ พยางค์ พยางคแ์ รกออกเสยี งพยญั ชนะตวั ท่ี ๑ ประสมกับ สระอะ ครึ่งเสียง พยางค์หลังออกเสียงพยัญชนะตัวท่ี ๒ ประสมกับสระ และพยญั ชนะสะกด ตามทปี่ รากฏ สว่ นวรรณยกุ ต์ ออกเสยี งตามพยญั ชนะตวั ที่ ๑ ลกั ษณะคลา้ ยกบั มี ห น�ำ อยู่ และออกเสยี งเหมือน ห น�ำ ดงั น้ี ๒.๑ อักษรสงู นำ�อักษรต่ําเด่ยี ว อกั ษรสูง ไดแ้ ก่ ข ฉ ถ ผ ฝ ส นำ�อักษรต่าํ เดีย่ ว ไดแ้ ก่ ง ณ น ม ย ร ล ว 68 คมู่ ือการเรยี นการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะห์สู่การพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA
ค�ำ อักษรสงู นำ�อักษรต่ําเดีย่ ว ได้แก่ ข น�ำ ณ เช่น ขณะ ข นำ� น เช่น ขนม ขนนุ ข นำ� ม เช่น ขมวด เขม็ง ขมีขมนั ข นำ� ย เช่น ขยะ ขยบั ขยัน ขยำ� ขยํา้ ขย้ี เขยบิ เขยอื้ น โขยง ฉ น�ำ ง เช่น ฉงน ฉ นำ� น เช่น ไฉน ฉนวน ฉ น�ำ ม เช่น ฉมวก ฉมัง ฉ นำ� ล เชน่ ฉลาด ฉลาม ฉลอง เฉลย ฉลู ฉลาก ถ นำ� น เช่น ถนน ถนัด ถวาย เถลไถล ผ น�ำ ง เช่น ผงก ผงะ ผงาด ผ น�ำ น เช่น ผนงั ผนึก แผนก ผ น�ำ ย เช่น ผยอง เผยอ ผ น�ำ ล เชน่ ผลติ ผ นำ� ว เช่น ผวา ฝ นำ� ร เชน่ ฝรั่ง หญ้าฝร่ัน ส น�ำ ง เชน่ สง่า สงบ สงวน ส นำ� น เช่น สนกุ สนาน สนาม เสนอ ส นำ� ม เช่น สมดุ สมาน เสมอ สมอง สมยุ สมอ ส น�ำ ย เช่น สยาย แสยะ สยาม ส นำ� ร เช่น สระ ส นำ� ล เช่น สลาย สลับ สลาก สลวั สลดิ ส นำ� ว เชน่ สวาย สวิง คูม่ ือการเรยี นการสอนการอ่านคดิ วเิ คราะหส์ กู่ ารพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 69
๒.๒ อกั ษรกลาง น�ำ อักษรตํ่าเดี่ยว อกั ษรกลาง ได้แก่ ก จ ต บ ป อ น�ำ อักษร ตํ่าเด่ยี ว ได้แก่ ง น ร ล ว คำ�อกั ษรกลางน�ำ อักษรต่าํ เด่ียว ไดแ้ ก่ ก นำ� น เชน่ กนก จ นำ� ม เช่น จมกู จ นำ� ร เชน่ จรวด จ นำ� ว เช่น จวกั ต น�ำ น เช่น ตนุ โตนด ต น�ำ ล เชน่ ตลก ตลบั ตลาด ตลงิ่ เตลดิ ต นำ� ว เช่น ตวาด ป น�ำ ร เชน่ ปรอด ปรอท ป น�ำ ล เช่น ปลดั อ น�ำ ง เชน่ องนุ่ อ น�ำ น เช่น อนาถ อ น�ำ ร เช่น อรอ่ ย 70 คมู่ อื การเรียนการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะหส์ ูก่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
การร้เู รอ่ื งการอ่านตามแนว PISA Reading Literacy based on PISA สันติวฒั น์ จันทร์ใด ๑ นาทพงศ์ หนูสวัสด์ิ ๒ การรเู้ รื่องการอ่าน การรู้หนังสือ (literacy) หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการใช้ภาษาทั้งการอ่าน การเขยี น และการคิดคำ�นวณ ในระดับท่สี ามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ไดจ้ ริงในชีวิตประจำ�วนั และ ในบริบทอื่นเพ่ือตอบสนองความต้องการส่วนบุคคล และสังคม (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๕; Alberta Education, 2010; Good, 1973; United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization, 2005) การรเู้ รอ่ื งการอา่ น (reading literacy) เปน็ องคป์ ระกอบหนง่ึ ของการรหู้ นงั สอื สามารถ สังเคราะห์ความหมายตามคำ�นิยามของโครงการประเมินการรู้เร่ืองการอ่านระดับนานาชาติ ได้ดงั นี้ การรู้เร่ืองการอ่าน หมายถึง ความสามารถในการทำ�ความเข้าใจ นำ�ผลการอ่านไปใช้ และสะท้อนความคิดเกี่ยวกับเนื้อหาและรูปแบบของบทอ่านอย่างสอดคล้องกับเป้าหมายของ บทอา่ นแต่ละประเภท วัตถุประสงคก์ ารอ่าน และสถานการณ์ในการอา่ น เพือ่ ใหส้ ามารถนำ�ผล การอา่ นไปใชใ้ หบ้ รรลเุ ปา้ หมายในการพฒั นาความรู้ ศกั ยภาพ การมปี ฏสิ มั พนั ธใ์ นสงั คม โรงเรยี น และชีวิตประจ�ำ วนั มีความเพลดิ เพลิน และมคี วามรักและผกู พนั กบั การอ่าน (Mullis, Martin & Sainbury, 2015; National Assessment of Educational Progress, 2013; Organisation for Economic Co-operation and Development, 2013) ๑ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝ่ายมัธยม ๒ อาจารยป์ ระจำ�กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝา่ ยมัธยม คู่มือการเรียนการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะหส์ ู่การพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA 71
โครงการประเมนิ การรเู้ รอ่ื งการอ่านระดับนานาชาตมิ ีหลายหน่วยงานท่ดี �ำ เนนิ การ เชน่ National Assessment of Educational Progress หรือ NAEP หน่วยงานจดั สอบวัดการอา่ น เพื่อความเข้าใจของประเทศสหรัฐอเมริกา Progress in International Reading Literacy Study หรอื PIRLS ซงึ่ เปน็ หน่วยงานทจี่ ัดการสอบวดั ระดบั การร้เู รอื่ งการอา่ นระดับนานาชาติ ส�ำ หรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ สว่ นโปรแกรมการประเมนิ ทคี่ นไทยรจู้ กั กนั ดเี พราะไดเ้ ปน็ ส่วนหนง่ึ ในการเข้าร่วมทดสอบ คอื Programme for International Student Assessment หรอื PISA เอกสารฉบับน้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ืออธิบายกรอบโครงสร้างการประเมินการรู้เรื่องการอ่าน ตามแนว PISA ปคี ริสต์ศกั ราช ๒๐๑๘ โดยมปี ระเด็นในการนำ�เสนอ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. นิยามการรู้เร่อื งการอ่าน ๒. สถานการณก์ ารอา่ น ๓. ประเภทบทอ่าน ๔. รปู แบบถ้อยความ ๕. สมรรถนะการอา่ น ๖. รปู แบบการตอบค�ำ ถาม ๗. การใหค้ ะแนน นิยามการรูเ้ ร่ืองการอ่าน การรู้เรอื่ งการอ่าน หมายถงึ ความเขา้ ใจ การใช้ การประเมิน การสะท้อน และความรัก และผูกพันกับการอ่านในถ้อยความที่ได้อ่าน เพ่ือไปบรรลุเป้าหมายของแต่ละคน เพ่ือพัฒนา ความรู้และศักยภาพของตนเอง และมสี ว่ นร่วมในกระบวนการของสังคม๓ นยิ ามการรเู้ รอ่ื งการอา่ นของ PISA 2018 มคี วามแตกตา่ งจาก PISA 2015 อยู่ ๒ ประการ คอื ๓ ต้นฉบบั ภาษาองั กฤษ มดี ังน้ี Reading literacy is understanding, using, evaluating, reflecting on and engaging with texts, in order to achieve one’s goals, to develop one’s knowledge and potential, and to participate in society. (Organisation for Economic Co-operation and Development OECD, 2018) 72 คู่มอื การเรียนการสอนการอ่านคิดวเิ คราะหส์ ูก่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA
๑. PISA 2018 ตัดคำ�วา่ written texts ออก เหลือเพียงคำ�วา่ text ซึ่งแสดงใหเ้ หน็ วา่ มกี ารขยายขอบเขตของรปู แบบบทอา่ นใหก้ วา้ งขวางขน้ึ กวา่ เดมิ จากแตก่ อ่ นทร่ี ะบวุ า่ เปน็ บทอา่ น ที่เป็นลายลักษณ์อักษรแต่ปัจจุบันจะเป็นบทอ่านรูปแบบใดก็ได้และในส่ือหลากหลายประเภท มากขึ้น เช่น อนิ เทอรเ์ น็ต โซเชียลมเี ดยี เป็นตน้ ๒. PISA 2018 เตมิ สมรรถนะส�ำ คญั เขา้ มาอกี ประการหนงึ่ คอื การประเมนิ (evaluating) ท้ังนี้น่าจะหมายความถึง ความสามารถของบุคคลในการประเมินส่ือท่ีอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ทง้ั นเ้ี พราะโลกปจั จบุ นั มสี อื่ ปรากฏอยเู่ ปน็ จ�ำ นวนมาก การพจิ ารณา การคดั เลอื กสอ่ื จงึ มคี วามส�ำ คญั เป็นอยา่ งยิ่ง สถานการณ์การอา่ น แบบทดสอบการรูเ้ ร่อื งการอ่านของ PISA ประกอบดว้ ยบทอา่ นส้ัน ๆ ให้นกั เรียนอ่าน แต่ละบทอ่านมีคำ�ถามประมาณ ๓ - ๕ ข้อ ให้นกั เรียนตอบหลังจากอา่ นบทอา่ นจบแล้ว บทอา่ น ท่ีนำ�มาใช้ในแบบทดสอบจำ�แนกตามสถานการณ์การอ่านที่บทอ่านน้ันปรากฏอยู่ หรือบทอ่านน้ัน มเี นื้อหาเก่ียวขอ้ งอยกู่ ับสถานการณ์นั้น ๆ สถานการณ์การอ่านที่ PISA ใช้เป็นเกณฑ์ในการเลือกบทอ่านมาใช้ทำ�แบบทดสอบ มี ๔ สถานการณ์ แตล่ ะสถานการณม์ ีลกั ษณะ ดงั น้ี สถานการณ์ ลักษณะ ๑. สว่ นตวั บทอา่ นท่ีขนึ้ อย่กู ับความสนใจของผู้อ่านเปน็ หลกั โดยมากมกั เปน็ บทอ่านประเภทบันเทิงคดี มีเน้ือหาสาระเบาสมอง เป็นการอ่าน เพ่ือความเพลิดเพลิน หรือรับประสบการณ์ใหม่ทางวรรณกรรม อย่างไรก็ตามอาจมผี ูอ้ ่านบางรายมคี วามสนใจท่ีหลากหลาย และ กว้างขวางกว่าน้ีก็เป็นได้ บทอ่านในสถานการณ์น้ีจึงขึ้นอยู่กับ ความสนใจของผู้อ่านเปน็ หลกั ค่มู ือการเรยี นการสอนการอ่านคดิ วิเคราะห์สกู่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA 73
สถานการณ์ ลักษณะ ๒. สาธารณะ บทอา่ นในสถานการณส์ าธารณะ มเี นอ้ื หาเกยี่ วขอ้ งกบั บคุ คลทว่ั ไป ในสังคม เป็นเรื่องท่ีทุกคนควรรู้ เป็นข้อมูลท่ีสามารถเปิดเผยต่อ ๓. การศึกษา สาธารณชนได้ และมจี ดุ ประสงคเ์ พอื่ เปน็ การประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ในบทอ่านเปน็ หลกั ๔. การงานอาชีพ บทอ่านประเภทนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริบทของการศึกษาเป็น สำ�คัญ อาจเป็นข้อมูลเชิงกว้างหรือเชิงลึกเกี่ยวกับวิชาใดวิชาหน่ึง เปน็ ส�ำ คญั ในบรบิ ทของการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานบทอา่ นในสถานการณ ์ การศกึ ษาคือบทอา่ นทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรียนร้ใู นกลมุ่ สาระต่าง ๆ บทอ่านที่มุ่งให้ข้อมูลเพื่อให้ผู้อ่านสามารถกระท�ำ การบางอย่างได้ อยา่ งถกู ต้อง มลี กั ษณะเปน็ คำ�แนะนำ�วิธกี ารทำ�งาน หรือมเี นอ้ื หา เกยี่ วขอ้ งกับการประกอบอาชพี การงานต่าง ๆ ประเภทบทอา่ น บทอ่านในยุคปัจจุบันมีหลากหลายประเภท อาจจัดจำ�แนกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ๒ ประเภท คอื บทอา่ นทเ่ี ป็นบันเทิงคดี และบทอา่ นทีเ่ ป็นสารคดี บทอ่านบันเทิงคดี เป็นบทอ่านท่ีมีความมุ่งหมายเพ่ือให้ความเพลิดเพลินบันเทิงใจ แก่ผู้อา่ น ผู้อ่านมักจะสนกุ สนานไปกบั เนื้อเรื่องและการใชภ้ าษาของบทอา่ น ตลอดจนเช่อื มโยง เหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านเข้ากับประสบการณ์เดิมของตนเอง เพราะบทอ่านเหล่าน้ีท�ำ ให้ผู้อ่าน ไดเ้ ผชญิ สถานการณ์หรือมคี วามรสู้ ึกรว่ มไปกับผ้เู ขียน บทอ่านสารคดี เป็นบทอ่านท่ีมีหลากหลายประเภทโดยใช้ข้อมูลในแต่ละสาขาวิชา ทั้งวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา บทอ่านแต่ละประเภทจะมีรูปแบบการเขียน ทีแ่ ตกต่างกนั ผ้อู า่ นตอ้ งวเิ คราะห์ทั้งเน้ือหาและวิธกี ารเขียนบทอา่ น 74 ค่มู อื การเรียนการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะหส์ กู่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
ประเภทบทอ่านมีความสัมพันธ์กับสถานการณ์การอ่าน สามารถวิเคราะห์ได้ดังตาราง ตอ่ ไปนี้ สถานการณก์ ารอ่าน สว่ นตวั สาธารณะ การงานอาชพี การศกึ ษา ประเภทบทอา่ น - จดหมาย - ประกาศ - วธิ ที �ำ /คู่มอื - ตำ�ราเรยี น - ไปรษณยี ์ - กฎระเบียบ - ตาราง - แผนผัง อิเลก็ ทรอนกิ ส์ - สาระ/มติ การท�ำ งาน - แผนที่ - นวนิยาย ท่ปี ระชมุ - ก�ำ หนดการ - ตาราง - ชีวประวตั ิ - ข่าว - บนั ทึก - กราฟ - ความรู้ ขา่ วสาร (สง่ิ พมิ พ์/ ขอ้ ความ - บล็อกสว่ นบุคคล ออนไลน์) - รายงาน - เรอื่ งสน้ั - นวนิยาย - กวีนพิ นธ์ - บทละคร - สารคดเี ฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ - ความเรียงเชงิ อธิบาย - การแสดงความคดิ เหน็ และการโนม้ นา้ ว - บทอ่านเกีย่ วกบั ขัน้ ตอนการท�ำ ส่งิ ใดสิง่ หนึง่ คู่มอื การเรียนการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะหส์ กู่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 75
รูปแบบถ้อยความ ถอ้ ยความ คอื ลกั ษณะ รปู แบบการเขยี นทป่ี รากฏในบทอา่ นทนี่ ำ�มาใชเ้ ปน็ แบบทดสอบ PISA มี ๓ ลักษณะ และมีรายละเอียด ดงั น้ี รปู แบบ ลักษณะ ต่อเนอื่ ง ถ้อยความต่อเน่ือง เป็นลักษณะการเขียนที่มีเน้ือหาต่อเน่ืองกันตลอด ตั้งแต่ต้นจนจบ ผู้อ่านต้องอ่านจากจุดเร่ิมต้นเรื่อยไปจนถึงจุดสุดท้าย ของข้อความจึงจะได้เน้ือหาท่ีสมบูรณ์ครบถ้วน รูปแบบการเขียน แบบตอ่ เนอ่ื งมักใชก้ ับบทอ่านทีเ่ ล่าเหตุการณ์ หรอื ใหข้ อ้ มูลเปน็ หลัก ไม่ตอ่ เนื่อง ถอ้ ยความไมต่ อ่ เนอ่ื ง เปน็ ลกั ษณะการเขยี นทมี่ กี ารออกแบบและจดั วาง เนื้อหาแบบไม่ต่อเนื่องกัน ผู้อ่านสามารถเลือกอ่านจากจุดใดก่อนก็ได ้ ตามความสนใจหรือตามวัตถุประสงค์ แต่ต้องอ่านข้อมูลทั้งหมด ในบทอ่านจึงจะสามารถเข้าใจเนอ้ื หาสาระไดอ้ ยา่ งชัดเจน ผสมผสาน ถ้อยความผสมผสาน เป็นการเขียนบทอ่านที่ใช้การเขียนแบบต่อเนื่อง ผสมกับการเขียนไม่ต่อเน่ือง ในบทอ่านบทเดียวจะมีรูปแบบถ้อยความ ทงั้ ๒ ถอ้ ยความปรากฏอยู่ การท�ำ ความเขา้ ใจบทอา่ นตอ้ งอา่ นถอ้ ยความ ตอ่ เนื่องและไม่ต่อเนือ่ งดว้ ยเพ่ือใหไ้ ด้ใจความสมบูรณ์ สมรรถนะการอา่ น สมรรถนะการอ่าน หมายถึง กระบวนการทางสมองของผู้อ่านท่ีใช้ในระหว่างการอ่าน เพื่อทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในบทอ่าน สมรรถนะการอ่านตามแนว PISA แบ่งเป็น ๓ สมรรถนะ ไดแ้ ก่ ๑. เขา้ ถงึ ข้อมูล (locate information) ๒. เขา้ ใจ (understand) ๓. ประเมนิ และสะท้อน (evaluate and reflect) 76 คูม่ อื การเรยี นการสอนการอ่านคิดวิเคราะห์ส่กู ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
สมรรถนะการอ่านท้งั ๓ ประการ มีรายละเอียด ดงั น้ี สมรรถนะ นิยาม สมรรถนะยอ่ ย พฤติกรรมบ่งชี้ เข้าถึงข้อมูล ผู้อา่ นสามารถระบุสาระหรอื ๑. เขา้ ถึงและค้นคืน - บ่งช้ีตำ�แหน่งของ ข้อมูลเฉพาะของเรื่องที่ได้ ขอ้ มลู ในบทอ่าน ขอ้ มูลในบทอ่าน อา่ นออกมาได้ โดยคน้ หา คำ� ๒. ค้นหาและเลอื ก - คน้ หาความคดิ วลี ประโยค ทตี่ ้องการอยา่ ง ขอ้ มูลท่ีเกีย่ วขอ้ ง เฉพาะ เฉพาะเจาะจง โดยใช้ข้อมูล - ค้นหาคำ�ศัพท์ ท่ีปรากฏในบทอ่านอย่าง หรอื กลมุ่ ค�ำ ตรงไปตรงมาไม่ต้องอาศัย - บง่ ชี้ฉากของเรือ่ ง ความรปู้ ระกอบนอกบทอา่ น (เวลา และสถานที่) - ค้นหาประโยค ใจความส�ำ คญั หรือความคดิ หลกั ของบทอ่าน (เมื่อมีประโยค หรอื ข้อความ ปรากฏอยา่ ง ชัดเจนในบทอา่ น) คูม่ อื การเรียนการสอนการอ่านคิดวเิ คราะห์สกู่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA 77
สมรรถนะ นยิ าม สมรรถนะยอ่ ย พฤติกรรมบง่ ชี้ เข้าใจ ผู้อ่านสามารถเช่ือมโยง ๑. เขา้ ใจ - วิเคราะหเ์ จตนา จดั ระบบ อธบิ ายเนอื้ หาสาระ ความหมาย ของผู้ส่งสาร จากบทอ่าน ความสัมพันธ์ ตามตัวอกั ษร - วเิ คราะห/์ เชิงเหตุผลของประโยคใน ๒. บูรณาการ เชือ่ มโยงความ บทอา่ น เลอื กค�ำ เชอ่ื มประโยค อนุมาน สรุป สัมพนั ธ์ของ เพ่ือแสดงความเป็นเหตุ บทอา่ น ประโยค เปน็ ผลและเปรยี บเทยี บขอ้ มลู - วเิ คราะห์ ขยายความคิดจากการอ่าน แนวคิดหลัก ไปสู่ความเข้าใจท่ีสมบูรณ์ - ตีความ แปลความ ร ะ บุ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ สิ่งทอ่ี ่าน สาระส�ำ คัญของบทอ่าน - เปรียบเทียบ ความแตกต่าง และหาข้อความ สนับสนนุ - ขยายความคดิ จากการอา่ น เบื้องต้นแล้วท�ำ ให้ สมบรู ณ์ - เรียงล�ำ ดบั ความ สัมพันธก์ อ่ นหลงั 78 คมู่ ือการเรียนการสอนการอ่านคดิ วเิ คราะห์สกู่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
สมรรถนะ นิยาม สมรรถนะยอ่ ย พฤตกิ รรมบ่งช้ี ประเมนิ และสะทอ้ น ผู้ อ่ า น ส า ม า ร ถ แ ส ด ง ๑. ประเมินคณุ ภาพ - ให้ความเหน็ หรือ ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหา และความ โตแ้ ย้งจากมุมมอง และกลวิธีการเขียน ดว้ ยการ น่าเชือ่ ถอื ของ ของตน แสดงหลักฐานจากบทอ่าน บทอ่าน - คาดคะเนความ เพื่อสนับสนุนทัศนะของตน ๒. สะท้อนความคิด เป็นไปได้ของ วพิ ากษ์ วจิ ารณแ์ ละพจิ ารณา ต่อเนอ้ื หา เหตกุ ารณท์ ่จี ะ ความน่าเชื่อถือ ประโยชน์ และรปู แบบ เกิดขน้ึ ในเรื่อง คุณค่าของเร่ืองทอี่ ่าน ของบทอ่าน - ตดั สินความ ๓. สืบคน้ และ นา่ เช่ือถอื ของ จดั การกับ ขอ้ เสนอแนะ ความไม่สอดคล้อง ของผูเ้ ขียนในการ ของบทอ่าน โน้มนา้ วความคิด ของผอู้ า่ น - อธิบายเกีย่ วกับ อิทธพิ ลของภาษา เช่น การเปรยี บเทียบ น้ำ� เสยี งของ บทอา่ น คู่มือการเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะห์ส่กู ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA 79
ตัวอย่างแบบทดสอบ PISA จำ�แนกตามสมรรถนะการอา่ น๔ เข้าถงึ ข้อมลู ค�ำ ถามท่ี ๒ : ทะเลสาบชาด ประมาณปใี ด ทก่ี ราฟในรูปที่ ๑ เรมิ่ ตน้ .............................................................. เข้าใจ ค�ำ ถามท่ี ๓ : ทะเลสาบชาด ทำ�ไมผู้เขยี นจึงเลอื กท่ีจะเริ่มต้นกราฟ ณ จุดน้ี ? ................................................................................................. ................................................................................................. ประเมินและสะท้อน คำ�ถามท่ี ๒ : ไขห้ วัด เราสามารถดูเนื้อหาของบทความ (กล่าวถึงอะไร) เราสามารถดรู ปู แบบ (วธิ ีทนี่ �ำ เสนอ) คุณวนี สั ต้องการให้รปู แบบของเอกสารดูเป็นกนั เอง ในขณะเดยี วกันต้องการเชญิ ชวนพนักงานดว้ ย ทา่ นคดิ ว่า เธอประสบความสำ�เร็จหรือไม่ จงอธบิ าย โดยอ้างถงึ รายละเอียดของการจัดวางข้อความ แบบวิธกี ารเขยี น การวางภาพ หรือลายเสน้ ตา่ ง ๆ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ๔ ตวั อย่างข้อสอบที่ปรากฏในเอกสารฉบับนี้ คดั ลอกจากเอกสารเผยแพร่ของ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (๒๕๖๑). ตวั อย่างข้อสอบการประเมนิ ผลนานาชาติ PISA การอ่าน. กรุงเทพมหานคร : สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.). 80 ค่มู ือการเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะหส์ ู่การพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
รปู แบบการตอบค�ำ ถาม แบบทดสอบการรู้เร่ืองการอา่ น PISA มรี ูปแบบการตอบคำ�ถาม ๔ รปู แบบ ดังตวั อย่าง ต่อไปนี้ ๑. แบบเลือกตอบธรรมดาหลายตัวเลือก รูปแบบการตอบค�ำ ถามนี้จะมีตัวเลือกหลาย ตัวเลือกเพื่อใหผ้ เู้ ข้าทดสอบเลือกค�ำ ตอบทีถ่ ูกตอ้ ง จำ�นวนตัวเลอื กอย่รู ะหวา่ ง ๓ - ๖ ตัวเลอื ก คำ�ถามท่ี ๕ : ทะเลสาบชาด ใหน้ �ำ ขอ้ มูลจากรปู ๑ และรปู ๒ มารวมกนั เพือ่ ตอบคำ�ถามนี้ การสาบสญู ของแรด ฮปิ โปโปเตมัส และววั ป่า ในภาพศลิ ปะบนหินแหง่ ซาฮารา เกดิ ขนึ้ เมอื่ ใด ๑. ตอนเรมิ่ ต้นของยุคน�ำ้ แขง็ ซึ่งใกลก้ ับยคุ ปัจจบุ ันที่สดุ ๒. ช่วงกลางของยคุ เมือ่ ทะเลสาบชาดมีระดบั สูงสดุ ๓. หลงั จากระดับของทะเลสาบชาดต�ำ่ ลงนานกว่าพันปี ๔. เม่ือตอนตน้ ของช่วงเวลาที่ทะเลสาบแห้งไป ๒. แบบเลือกตอบเชงิ ซ้อน ในข้อสอบใหญ่ ๑ ขอ้ จะมีขอ้ สอบยอ่ ย ประมาณ ๓ - ๕ ขอ้ ซ้อนอยใู่ นข้อใหญ่ จึงเรยี กรปู แบบการตอบคำ�ถามน้วี า่ แบบเลอื กตอบเชิงซอ้ น “ภาค “ภาค “ไมอ่ ยู่ ไมอ่ ยู่ แรงงาน แรงงาน ในภาค ในกลุ่ม มีการ ตกงาน” แรงงาน” ใด ๆ จา้ งงาน” พนักงานเสิร์ฟไมเ่ ต็มเวลา อายุ ๓๕ ปี นกั ธรุ กิจหญิง อายุ ๔๓ ปี ท�ำงาน ๖๐ ชั่วโมง/สปั ดาห์ นกั ศึกษาเต็มเวลา อายุ ๒๑ ปี ชาย อายุ ๒๘ ปี เพงิ่ ขายรา้ นไป และก�ำลงั หางานท�ำ หญงิ อายุ ๕๕ ปี ไม่เคยท�ำงาน หรือไมต่ ้องการท�ำงานนอกบา้ น คุณยา่ อายุ ๘๐ ปี ยงั ท�ำงานในร้านขายของทีบ่ า้ นตนเอง ๓. แบบเติมคำ�ตอบแบบปิด ผู้เข้าสอบต้องเขียนคำ�ตอบตามท่ีโจทย์ถาม ลักษณะ การตอบเป็นการเตมิ คำ�ตอบแบบส้นั และมีค�ำ ตอบทีถ่ กู ตอ้ งแน่นอน ค�ำ ถามที่ ๒ : แรงงาน ประชากรในวยั แรงงานทไี่ มอ่ ยใู่ นภาคแรงงานมีเทา่ ไร (ใหเ้ ขียนจ�ำ นวนประชากร ไม่ใช่ร้อยละของประชากร) ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ คู่มอื การเรยี นการสอนการอ่านคิดวเิ คราะห์ส่กู ารพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 81
๔. แบบเตมิ ค�ำ ตอบแบบเปดิ ผเู้ ขา้ สอบตอ้ งตอบค�ำ ถามและแสดงความคดิ เหน็ ทส่ี มั พนั ธ์ กับคำ�ตอบ คำ�ถามท่ี ๓ : รอยพน่ สีบนก�ำ แพง นักเรยี นเห็นด้วยกับจดหมายฉบบั ใด จงอธบิ ายโดยใชค้ �ำ พดู ของนกั เรียนเอง ................................................................................................. ................................................................................................. การใหค้ ะแนน PISA รายงานคะแนนการทำ�แบบทดสอบการรู้เร่ืองการอ่านเป็นระดับ ในแต่ละระดับ จะมีคำ�อธิบายเชิงคุณภาพประกอบ การคำ�นวณระดับคะแนนมีความซับซ้อนและใช้วิธีการ ทางสถติ ิ อย่างไรก็ตาม เมือ่ พจิ ารณาแบบทดสอบเป็นรายข้อแลว้ จะพบว่า มีการให้คะแนนอย ู่ ๓ รูปแบบ ซึง่ สัมพันธก์ ับรูปแบบการตอบค�ำ ถาม ดังน้ี รูปแบบการตอบคำ�ถาม คะแนนเต็ม การให้คะแนน ไมม่ คี ะแนน เลอื กตอบหลายตัวเลือก ✓ ใหค้ ะแนนบางสว่ น ✓ เลอื กตอบหลายตวั เลอื ก ✓ ✓ เลอื กตอบเชิงซ้อน ✓ - ✓ เติมค�ำ ตอบแบบปดิ ✓ ✓ ✓ เตมิ ค�ำ ตอบแบบเปิด - ✓ การพฒั นาแบบทดสอบเพอ่ื ประเมนิ การรเู้ รอ่ื งการอา่ นตามแนว PISA ควรยดึ หลกั การวา่ แบบทดสอบ ๑ ฉบับ ต้องครอบคลุมสถานการณ์การอ่านท้ัง ๔ สถานการณ์ และรูปแบบ ถ้อยความของบทอ่านใน ๔ สถานการณ์น้ันต้องมีทั้งแบบต่อเนื่อง ไม่ต่อเน่ือง และผสมผสาน เมื่อลงมือเขยี นขอ้ คำ�ถามในแตล่ ะบทอา่ น ข้อคำ�ถามควรครอบคลุมสมรรถนะท้ัง ๓ สมรรถนะ คือ เข้าถึงข้อมลู เขา้ ใจ ประเมินและสะท้อน สว่ นรูปแบบการตอบคำ�ถามต้องใหม้ ีทั้ง ๔ รูปแบบ ในแบบทดสอบ ๑ ฉบบั 82 คู่มอื การเรียนการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะห์สูก่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
ตวั อยา่ งแบบฝกึ การอ่านตามแนว PISA บทอา่ นที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๓ คะแนน) อา่ นบทอา่ นตอ่ ไปนี้ และตอบคำ�ถาม ข้อ ๑ - ๒ คมู่ อื การเรียนการสอนการอ่านคดิ วิเคราะหส์ กู่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 83
๑. วิธกี ารของใคร ลดสารตกคา้ งในผักไดน้ ้อยท่สี ุด (๑ คะแนน) ก. นดิ ใช้เกลือปน่ ๑/๒ ช้อนโต๊ะ ผสมน�้ำ ๒ ลิตร แชท่ ้งิ ไว้ ๑๐ นาที แลว้ ล้างด้วยน�้ำสะอาด ข. หนอ่ ยใชด้ า่ งทบั ทมิ ครง่ึ ชอ้ นชา ผสมนำ้� ๔ ลติ ร แชท่ งิ้ ไว้ ๑๐ นาที แลว้ ลา้ งดว้ ยนำ�้ สะอาด ค. น้อยใชน้ ้�ำสม้ สายชคู รึ่งชอ้ นโต๊ะ ผสมนำ�้ ๔ ลิตร แชท่ ง้ิ ไว้ ๑๐ นาที แล้วลา้ งดว้ ยนำ้� สะอาด ง. โหน่งใช้เบกกิ้งโซดา ๑ ชอ้ นโตะ๊ ผสมน�้ำอุน่ ๒๐ ลิตร แช่ท้ิงไว้ ๑๕ นาที แล้วล้างดว้ ย น�้ำสะอาด ค�ำตอบถูก (๑ คะแนน) ค. น้อยใช้นำ�้ สม้ สายชคู ร่งึ ชอ้ นโตะ๊ ผสมนำ�้ ๔ ลติ ร แชท่ ิ้งไว้ ๑๐ นาที แล้วล้างด้วยน้ำ� สะอาด ไม่มคี ะแนน ค�ำตอบอน่ื ๆ สมรรถนะ : เข้าใจ รปู แบบค�ำตอบ : เลอื กตอบ 84 คู่มือการเรียนการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะห์ส่กู ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
๒. เอกซ้อื กะหล่ำ� ปลมี าจากตลาด ๑ หวั จากนั้นน�ำมาล้างด้วยการเปิดนำ�้ ไหลผา่ น วธิ ที เี่ อกใช้ ช่วยลดสารฆา่ แมลงทไ่ี ด้ผลหรอื ไม่ ให้ระบเุ หตผุ ลประกอบ (๒ คะแนน) ........................................................................................................................................... คะแนนเต็ม (๒ คะแนน) ระบุค�ำตอบว่า “ได้ผล” หรือ “ไม่ได้ผล” พร้อมทั้งระบุเหตุผลประกอบค�ำตอบท่ีเก่ียวข้องกับ วิธกี ารลา้ งโดยการเปดิ นำ�้ ไหลผา่ นทีถ่ ูกตอ้ ง เช่น ไดผ้ ล - ถา้ เดด็ หรอื ตดั ผกั กะหลำ่� ปลอี อกเปน็ ใบ ๆ เพราะการเปดิ ใหน้ ำ�้ ไหลผา่ นใบผกั หลาย ๆ ครง้ั ชว่ ยให้ ลดสารตกคา้ งได้ ๕๔ - ๖๓% ไมไ่ ด้ผล - ถา้ ลา้ งทง้ั หวั โดยไมเ่ ดด็ หรอื ตดั ผกั ออกเปน็ ใบ ๆ เพราะการใชน้ ำ�้ ไหลผา่ นจะไดผ้ ลดี ตอ้ งลา้ งผกั เป็นใบ ๆ กะหล่�ำปลีเป็นผักหัวที่ใบซ้อนกันเป็นช้ัน ๆ แน่น ๆ ถ้าไม่เด็ดออกเป็นใบ ๆ ก่อนเปิด นำ�้ ไหลผา่ น ใบดา้ นในจะไม่โดนนำ้� ท�ำให้ไม่สามารถลา้ งสารตกค้างออกได้ ไม่มคี ะแนน - ไมต่ อบค�ำถามว่า “ไดผ้ ล” หรอื “ไม่ไดผ้ ล” - ตอบค�ำถามท่ีไมส่ นับสนนุ หรอื ไมส่ อดคล้องกับค�ำตอบว่า “ได้ผล” หรอื “ไม่ไดผ้ ล” - ตอบค�ำถามไมเ่ กยี่ วข้องกบั วิธกี ารล้างโดยการเปิดน้ำ� ไหลผ่าน สมรรถนะ : ประเมนิ และสะท้อน รปู แบบค�ำตอบ : เติมค�ำตอบแบบเปิด คู่มือการเรยี นการสอนการอ่านคดิ วิเคราะห์สู่การพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA 85
บทอ่านท่ี ๒ (คะแนนเตม็ ๕ คะแนน) อา่ นบทอ่านตอ่ ไปน้ี และตอบคำ�ถาม ข้อ ๓ - ๖ ขอ้ มลู จาก : กองยาแผนไทยและสมนุ ไพร กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๓. ในปี ค.ศ. ๒๐๐๕ ข้าวจีเอ็มโอไม่ส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไปประเทศใดบ้าง (๑ คะแนน) ก. ฝรั่งเศส ค. ออสเตรีย ข. เยอรมนี ง. ออสเตรเลีย ค�ำตอบถูก (๑ คะแนน) ข้อ ง. ออสเตรเลีย ไม่มคี ะแนน ค�ำตอบอ่ืน ๆ สมรรถนะ : เข้าถงึ ขอ้ มูล รปู แบบค�ำตอบ : เลือกตอบ 86 คูม่ อื การเรยี นการสอนการอ่านคิดวิเคราะห์ส่กู ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA
๔. ขา้ วโพดสขี าวถูกปนเปื้อนจากขา้ วโพดจเี อม็ โอ ในปี ค.ศ. ใด (๑ คะแนน) ............................................................................................................................................ คะแนนเตม็ (๑ คะแนน) ปี ค.ศ. ๒๐๑๓ ไม่มคี ะแนน - ไม่มคี �ำตอบ สมรรถนะ : เขา้ ถึงข้อมูล รปู แบบค�ำตอบ : เตมิ ค�ำตอบแบบปดิ ๕. สาระส�ำคัญของบทอ่านน้คี ืออะไร (๑ คะแนน) ....................................................................................................................................... คะแนนเตม็ (๑ คะแนน) ระบุค�ำตอบเกี่ยวกบั ผลกระทบทเ่ี กดิ จากการปนเป้อื นทางพนั ธุกรรม ไมม่ คี ะแนน - ตอบค�ำตอบอื่นทไ่ี มเ่ ก่ียวกับผลกระทบทีเ่ กิดจากการปนเปื้อนทางพันธุกรรม - ไม่มีค�ำตอบ สมรรถนะ : เข้าใจ รูปแบบค�ำตอบ : เติมค�ำตอบแบบปดิ คมู่ ือการเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะห์ส่กู ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 87
๖. ถ้าจังหวัดของนักเรยี นปลกู ขา้ วโพดทีไ่ ดจ้ ากการตัดต่อพันธกุ รรม ใน พ.ศ. ๒๕๕๕ นักเรียน คิดวา่ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ จะมีขา้ วโพดทป่ี นเปือ้ นพนั ธกุ รรมหรือไม่ เพราะอะไร (๒ คะแนน) ............................................................................................................................................ คะแนนเต็ม (๒ คะแนน) ระบุค�ำตอบว่า “มกี ารปนเปือ้ น” และระบเุ หตผุ ลเก่ยี วกบั การปนเปื้อนทางพันธุกรรม เชน่ - มกี ารปนเปอ้ื น เพราะจากขอ้ มลู การปนเปอ้ื นของขา้ วสาลใี นรฐั โอเรกอน มกี ารปนเปอ้ื นมากกวา่ ๘ ปี นับจากปีทป่ี ลูก - ในการปลูกข้าวโพดซึ่งเป็นพืชประเภทเดียวกัน อาจมีการปนเปื้อนทางพันธุกรรมได้ในระยะ เวลา ๘ ปี - ฯลฯ ได้คะแนน ๑ คะแนน เม่อื ระบุวา่ “มีการปนเป้อื น” เท่าน้นั หรือระบุเหตผุ ลประกอบแต่ไม่ได้ระบวุ ่า “มีการปนเปือ้ น” หรอื “ไมม่ มี กี ารเปอื้ น” ไมม่ ีคะแนน - ตอบค�ำตอบอ่นื ทไ่ี มเ่ กย่ี วข้อง - ไมม่ ีค�ำตอบ สมรรถนะ : ประเมนิ และสะทอ้ น รูปแบบค�ำตอบ : เตมิ ค�ำตอบแบบเปิด 88 คู่มอื การเรยี นการสอนการอา่ นคิดวิเคราะห์สกู่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
บทอ่านท่ี ๓ (คะแนนเต็ม ๓ คะแนน) อา่ นบทอา่ นตอ่ ไปน้ี และตอบคำ�ถาม ข้อ ๗ - ๘ คมู่ อื การเรยี นการสอนการอา่ นคิดวิเคราะหส์ ู่การพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA 89
๗. ผลไม้ชนิดใดมีสารต้านอนุมูลอิสระไม่ถึง 12000 TE/100 g ระบุให้ครบทุกชนิด (๑ คะแนน) ............................................................................................................................................ คะแนนเต็ม (๑ คะแนน) แครนเบอรร์ ี่สด บลูเบอร์ร่ีสด แบล็กเบอรร์ ่ี และแอปเปิล ไมม่ ีคะแนน - ตอบไม่ครบ ๔ ชนดิ - ระบุค�ำตอบอ่นื ๆ - ไม่มีค�ำตอบ สมรรถนะ : เขา้ ถึงขอ้ มลู รูปแบบค�ำตอบ : เติมค�ำตอบแบบปดิ 90 คมู่ ือการเรยี นการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะห์สู่การพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
๘. ถ้านักเรียนต้องการเมนูอาหารที่เพิ่มสารต้านอนุมูลอิสระมากท่ีสุด ควรเลือกเมนู A หรือเมนู B เพราะเหตุใด (๒ คะแนน) เมนู A : ข้าวซอ้ มมือหอมมะลิแดง ผดั กะเพรากุ้ง แอปเปิล เมนู B : ข้าวกลอ้ งงอกหอมมะลิแดง ผดั กะเพราไก่ บลูเบอรร์ สี่ ด ............................................................................................................................................ คะแนนเต็ม (๒ คะแนน) ระบคุ �ำตอบวา่ เลอื กเมนู A หรอื B และระบเุ หตผุ ลเกยี่ วกบั จ�ำนวนสารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระทมี่ มี ากกวา่ เชน่ - ควรเลือกเมนู B เพราะ ข้าว และ ผัก ในเมนู A และ B มีสารต้านอนุมูลอิสระเท่ากัน แตผ่ ลไมใ้ นเมนู B มสี ารตา้ นอนุมลู อสิ ระมากกว่าผลไม้ในเมนู A - อาจเลือกเมนู A หรือ B ก็ได้ ข้ึนอยู่กับปริมาณของอาหารในเมนูนั้น ๆ ปริมาณมากกว่า จะมีสารตา้ นอนุมลู อิสระมากกวา่ ไมม่ คี ะแนน - ระบุค�ำตอบอ่นื ๆ ทไี่ มเ่ กย่ี วข้อง - ไมม่ คี �ำตอบ สมรรถนะ : ประเมนิ และสะท้อน รปู แบบค�ำตอบ : เตมิ ค�ำตอบแบบเปิด คู่มือการเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะหส์ กู่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 91
บทอา่ นที่ ๔ (คะแนนเต็ม ๕ คะแนน) อ่านบทอา่ นต่อไปนี้ และตอบคำ�ถาม ข้อ ๙ - ๑๑ 92 คมู่ ือการเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะหส์ ู่การพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
๙. การปรงุ อาหารส�ำหรับเดก็ ทารก ควรระวังเรือ่ งอะไรบา้ ง (๑ คะแนน) ............................................................................................................................................ คะแนนเต็ม (๑ คะแนน) การใช้น้ำ� สะอาดในการปรงุ อาหาร และไมเ่ ก็บอาหารไวค้ ้างมอื้ ไม่มีคะแนน - ระบคุ �ำตอบอื่น ๆ ทไี่ มเ่ กยี่ วข้อง - ไมม่ ีค�ำตอบ สมรรถนะ : เขา้ ถงึ ข้อมลู รูปแบบค�ำตอบ : เติมค�ำตอบแบบปดิ ๑๐. ในกรณีที่เกิดอาการท้องเสียและปวดท้องหลังรับประทานปลาลวกจากร้านอาหารท่ีอยู ่ ตดิ กบั บอ่ บ�ำบดั นำ�้ เสยี ของชมุ ชน นกั เรยี นจะสนั นษิ ฐานวา่ อาการดงั กลา่ วเกดิ จากสาเหตใุ ด (๒ คะแนน) ........................................................................................................................................... คะแนนเต็ม (๒ คะแนน) ระบุค�ำตอบเกยี่ วกับสาเหตขุ องอาการ เช่น - ปลาลวกไม่สกุ พอ ท�ำให้ยงั มกี ารปนเปือ้ นของเชือ้ แบคทีเรีย ไวรัส หรือไข่พยาธหิ รอื ตวั ออ่ น - ปลาหรอื น�้ำที่ใช้ประกอบอาหารหรอื ล้างภาชนะมีการปนเป้ือนของสารเคมี - การรับประทานอาหารหรอื น้�ำที่มีการปนเป้อื นของสารพิษจากพชื และสัตว์ ไมม่ คี ะแนน - ระบุค�ำตอบอื่น ๆ ทไ่ี มเ่ ก่ียวขอ้ ง - ไม่มีค�ำตอบ สมรรถนะ : ประเมินและสะทอ้ น รูปแบบค�ำตอบ : เตมิ ค�ำตอบแบบเปดิ คู่มือการเรยี นการสอนการอ่านคดิ วิเคราะห์สูก่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA 93
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152