Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืออนุศาสนาจารย์ว่าด้วยวาทศิลป์

คู่มืออนุศาสนาจารย์ว่าด้วยวาทศิลป์

Published by ตำราเรียน, 2020-04-29 02:57:07

Description: คู่มืออนุศาสนาจารย์ว่าด้วยวาทศิลป์

Search

Read the Text Version

๔๐ (๓ ) ตงคำถามIVงทา้ ทาย เพอ่ี จูงให้คนา^งสนใจต่อบญหา ขอเสนอ แนวคดิ ของเขา คนพขดอาจสจรุปเรอื่ งพีเ่ ขาพขดโดยการตงคำลาม เขน่ ‘‘อะไรจะเกิดแก่ชาติลิาหากชาตขิ อง เรามีประเทศคินเข่ายดครองแบบทาส ? ” (๔ ) คำพดู ทมพลัง ประโยคสุดทายของการพูดย่อมมีคณุ คา่ อยา่ งมหาศาล ถาหาก คนพดู รจก เชิคาพดู ทมะพเ ล0ง๔~เนต0ว๔ของม0น๔เอง (๕ ) การทยากรฌ์ คนพูดอาจสรำงทลงํ แนวคดิ ของเขาใหเ้ กดิ แก่คนพงโดยการ พยากรณ์ฅลพจ่ี ะเกดิ ขนในอนาคต

บทท*4 ๖ การพูด ในสิถาบนวาทศาสิตรที กุ สิถาบน ศาสิตราจารยืลูส้ ิอนมกจะต^บญหาถามนกเรยี นของเขาว่า การทดในขมุ นฺมขนนน การเตรียมเนอเร่อี งก'บการทด อะไรจะมคี วามสิาคญมาก กวา่ ก่น ? \" การพูดสิาคญมากกว่า ” นบศ้ กึ บาสิ'วนใหญม่ กํ ให้คำตอบเซน่ น ขอนนบว่าเบนความจริง เพราะในการศกึ บาวชิ าวาทคาสิตรี เมีอนกศึกบาเตรยี มการพดู ม'กจะปรากฎว่าเนอเรอี งทเขาเตรยี มนน มก่ ดีกวา่ เวลาท่เี ขาพดู จรงิ ๆ อย่าง'ไรก็ด เนอเรีองท่ีด้ การพดู ทด้ย่อมมความสาิ คํญที่งสอิ งประการ เพราะคนพดู มีข่าวสิาคญและเขากเสินอขา่ วของเขา อย่างมีประสทิ ธิลล บVนการทด กรรมวิธกี ารพดู จะเกิดมปี ระสิทฬิลย่อมเที่ยวเนองก'บ้องคประกอบ ๒ ประการ ประการ ที่หนงไดแ้ ก่ “ ทรรศนะ” ประการทส่ี อิ ง “โสติ ” ๑. ทรรสนะ (\\ารช31) คนพดู แสิดงบุคลกิ ภาพของเขาให้ปรากฎแกค่ นพงในด้านการ แต่งกาย การแสดิ งออกทางใบหนา การเคลอิ น่ไหวของมือ ลกบณะการยนื และยนื ๆ ๒. โสต (^ งสแ01?) เสียงทค่ี นพดู เปลง่ ออกมามคี วามสาิ คญมากท่สี ิด เพราะเสยงม อทธิพลต่อการสริ ีางความตรีงตราทางอารมณใ์ ห้เกดิ แก่คนพง เหตุนคนพูดตองพูดทกุ คำพดู ให้ ข'ดเจนลูกตองตามฐานกรณข์ องภาบา ความแว่วเบาและนาหนกเสยี งตองกลมกลืนกบเ้ รอี 'งทกำล็งพูด โนชว่ งนน ๆ

อ งค ้ป ร ะ ก อ บ ก าร ห ูด สงิ ท่ีควบคจุ่มการทข่ดว่าจะมประสิทธผิ ลมากนฮ่ ยเพยงใดฃนอยข่กํบ ๑. สถานการณ์ (*1*116 รแซ3ไ!0ฑ) สถิ านการณ์ท่เี บน “ แบบทางการ” กบ “ แบบ มใิ ช่ทางการ ” มอี ทิ ธิพลต่อการทขดของนก่ พขดมาก สถิ านการณแบบทางการบ'งคั บํ คนทIดI ให้แสดง ความเคลอื่ นไหวของมอื นอยกวา่ ปกติ เมอ่ึ ๒๐ มกราคม ๑๙๖๕' สนิ ทรพจนทประธานาธบิ ด อนิ ดอน บ.ี จอหน้ สนิ กล่าวกบประชาขนอเมรกิ าในวนกระทำพิธีปฏิญาณตนเข่าดำรงตำแหน่ง นก ขา่ วทุกคนไดต้ งขอสงิ เกตวา่ ลีลาการพูดและทา่ ทางทป่ี ระธานาธบิ ดี อินดอน บ. จอหนสนิ แสดงใน วนพ้แตกตา่ งก'บยามที่ตอบสมิ ภา'ษณข์ องนํกหนง่ ลั ีอพิมพ ทงนเพราะสถานการณวนนนเบนสถาน- การณ์แบบทางการ ส่วนในสิถานการณ์แบบมิใช่ทางการคนทดขเคลือ่ นไหวรา่ งกายไปมาสะิ ดวก แสดงกรยิ าท่าทางไดโ้ ดยเสร อๆปุ กรณ์ ทใี่ ข้ในการทดข่ กมสี ่วนในการควบคจมุ การทฃดเชน่ กํน่ เช่น คนทขดไมส่ าิ มารถ เคลื่อนไหวร่างกายหา่ งไปจากไมโครโฟนเลยี ง การจดํ การกบเครืองประกอบการพูดประเภทโสิต ทรรคุนะ กเบนบญหาสาิ หร'บคนพูดเขน่ เดยี วกน่ นอกไปจากนีถใหากวา่ คนทงมีจำนวนมาก คนพูด จำต9องใช้เลยี งดไมาก ทำให้สำเนยี งพดู ขาดลลี าของการสนิ ทนา ๒. คนพฃิ ดุ (ฑ16 ร?631?6ะ) การเตรยื มการทุก1 ประการทีคนทขดกระทำมอี ิทธิพลต่อ การพดู ของเขามากทสุด ถาหากคนพดู มกี ารเตรยี มการอยา่ งดเี ลศิ มีแนวความคิดอนมคี ุณค่าทจะ เสนอแก่คนพง คนพดู จะเกดความมนใจในตวํ เอง ยามพดู เขายอ่ มสามารถแสดงออกอย่างเสรีทีง่ ทางกายภาพและทางเลยี งทขด ในทางตรงกนข่ามถาคนทฃ่ ดขาดการเตรียมการที่ดี เขาจะขาดความ เชอมนในตนเอง ประหม่า ชาดอารมณใ์ นการพดู ลลี าการพดู จะชาดชวิต จะดำเนินไปอยา่ ง เนอี ย ๆเ นอกไปขจากนีเลียงพดทีไ่ มเ่ หมาะสม เชน่ เลียงแหบเครอื เลยี งทเี่ ปล่งออกมาไมถ่ ขกตาม ฐานกรณ4 ของภาษา เชIน ออกเ^สิยงค0าวIา แ จ*ร* ง 1) เบ๘ น! * เ จ^ง ? ?ห^รอ* * ทราบ )) 6เชาบ ก๘ด^ บ‘เุคลีกภาพทาขงกายภาพดอี รฺปรา่ งขาดความสิง่าผา่ เ6เยกด้ ี ลีวนแต่มีอทิ ธิพลต่อการทขดท่งี-สิน คนทข่ ด ควรแกไ้ ขขอ่ บกพร่องทกุ อยา่ งเลยี กอ่ นทจะไปปรากฎกายพูดในชุมนุมขน .

กระบวนการการพดู ทดยี อ่ มสิรไงความสำเร็จอยา่ งสิงสุดให้แกน่ กํ พดู จากการวิจฒลงาน ของนกพูดทกุ สิมยํ ปรากฎวา่ น'กพดู ท่ปี ระสบิ ความรงุ่ โรจนได้อาศไหล'กตอ่ ไปนใี นการพดู ของเขา ทกุ ครง ๑. รกษาความสนใจไว้กบํ วต่ ถุประสงคน์ เิ สษ ฬัพูดสู้ประสบิ ฝลื สำเร็จรู้วา่ การ ตอบสินองทเขาต่องการนน เขาจะไดร้ บจากคนพงกบการงดเวนองค์ประกอบอีน ๆ ท่ีจูงความสินใจ ของคนพงไปจากว่ตลุประสงิ คพ่ เศษของการพูด ฉะนนในการพดู คนพูดควรงดเวนการกระทำทจี ะ ดงความสินใจของคนพงในเรอื งทีกำล,งพดู อยู่ เขน่ การเอาดนิ สอิ มาถือหมนุ ไปหมนุ มา ยกมอื ขน ถจู มูกเบนระยะ ๆ เพราะวา่ การกระทำเขน่ ว่านํ้ คนพงจะหนํ ไปสนิ ใจกํบพถตู กิ รรมของคนพูดมาก กว่าจะสินใจในเสียงและเรองราวทเี ขากำล'งพ้ ดู ๒. ทขด,ในช่วงเสยงทีคนพง'ไดย้ นิ และ'ใช้สำเนยงภาษา'ให้ชํดเจน□ กฃตอง คน พงตองการไดย้ นิ ทๆกุ คำพขดทคนพขดได้พขด ' เพราะฉะนน คนพขดตไงใชเ้ สยี งให้เพยี งพอทคนพงได้ยิน กนทไถง นอกไปจากนคำพฃดทฯุกคำตองออกเสียงไดถ้ขกต่องขดเจน นอกจากคนพงจะไม่เขา่ ใจแลไ ค่าของคนพูดเองในทรรศนะของคนพงจะประมาณค่าตากว่าที่ควร ๓. ร่วมแนวความคิดกบคนนง คนพดู ถา่ ยทอดความคิดของเขาและความรู้สกิ ให้ แกค่ นพง เทอี ว่าจะได้เกิดการตอบสนิ องในรูปของกระบวนการ “รบ” จากคนพง แนวคดิ และความ รสู้ ิกของคนพดู ท“ ส ิง ’ ให้แก่คนพง คนพงจะ“ ร'บ” เอาไว้ได้มากทีสดิ กในเมือคนพดู แสดิ งความสนิ ใจในเรืองทคี นพูดพูดต่บคนพงแบบการสินทนาสวิ นตไ คิดตอ่ กไคนพงดไยสิายตา ทกุ คน ๔. ความปรารถนาทจี ะรว่ มแนวคดิ เรืองใดท่คี นพูดจะพูด เรืองนนคนพดู ตอ่ งมื ความสนใจอย่างแท้จริง ยามพูดก,บคนพงคนพูดต่องแสดงความสนใจความกระดิอรอร่นในเรองทพี ูต ให้เบนทีปรากฎแก่คนพง คนพงจะส่งเั กตเหน้ เองในเรอื งน กบท่ีงจะตอบสินองตอ่ พถูคกิ รรมของ คนพดู อีกดไย

๕. การติดต่อทางสายตา คนา^งทจุ่ กุ คนควรจะเกดิ ความรฃิ ส้ กว่าคนพขดกขำลงํ ฃพดิอยูก่ บ ความเขาใจเอาเองว่าคนพขดกำลงิ พขดกบตนอยฃ่ การตดิ ตอ่ ทางฮายตานกระทำตลอดเวลาในการพขต ๖ . พฃํ ด6เ!นท? ว©งทานองการสนทนา จ'ระ*งอยขIูการฃพดจก0บ^ก์ ล1 ุ่ม-ชนน&นน่ เส' ยขง่ทพขูดต9อ^ งด0ง^ พอควรเพอใหด้ นพงทจกคนไดย้ นิ กนทํวถง แตท่ ํวงทำนองเสยี งและลลาการพฃดต่องไมใ่ ข่อยฃใ่ น ลห!้ บณะการตะโกนกบคนพง หากตองอยู่ ในพว่ งทำนองและลลี าแบบการสนทนากนระหว่างต่ว่ต่อตร กิริยาอาการตลอดทงสหี นํา้ ทแ่ี สดงออกกตองอยใู่ นสภาพแบบสนทนาเขน่ เดยี รกบํ ๗. มชุ่่งุ ตรงต่อคนพง คนพฃดต่องชาบชงตลอดเวลาว่าในขณะนนเขากำลีงพฃดกบคนพง การพูดต่องมงุ่ ตรงต่อคนพง มใื ข่มไแต่ยืนอ่านต่น่ฉบบอย่างเดียวโดยไมไ่ ด้คำนิงเรอื งอืนใด ๙ . ร*กษาแนวตดิ ให้ก*าวไปฃ*างหนาตลอดเวลา จากท?)บฎทางวชิ าจติ วิทยาเรา ข ๙ . สร*างแนวตดิ ให เ้ ด ่น ชดํ แนวคดิ เพยี งประการเดียวหรอื สองประการยอ่ มมคี ณุ คา่ มากกว่าแนวคดิ ทเสนอคนพงพรอิ มต่นหลายแนวคดิ ในการพูดคนพูดตอ่ งอธบิ ายทกุ แงท่ กุ มมุ ให้คน พงเหนวา่ แนวคดิ ของเขามความสำค่ญยง พูด'ให้คนพงเหน้ คุณคา่ และ'จุดเด่น การทจะทำเขน่ นยอ่ ม ขน1 อยฯูก่ บการเตรยมการ กบความชาญฉลาดในการพขด เหตจน่ ํค้ ขนพ่ ดต่องเนนเสยี งในจจดฺ ทคี วรเนน เพอให้เขาใจความสาคญ่ เคลีอนไหวมอื หรือบางพีอาจหยุดนดิ หนอ่ ยก่อนทจะเสนอแนวคิดต่อไป ๑๐. ปรุงแตง่ แนวตดิ หลกสำคญของกระบวนการการพูด คือ การรํกบาใหค้ นพง ตดิ ตามพงเรองราวทพ•ฃ่ดู ตลอดเวลา รธิ ิหนงในการรกบ~าความสนใจของค1นพงให้คงอยขก่ คํ อ 1 การ เปลยนพว่ งทำนองลลี าการพขดการ’เคลีอนไหว ทา่ ทางสงดงกล่าวนิตอ่ งเปลยนตลอดเวลา เมอื กงจๆดุ ” สำคญตองพูดเนนให1้หนกํ แน่นเพอ,ใหค้ นพงเหนอยา่ งอย่างจรงิ ห่วงทำนอพำเสียง และท่าทางท เปลยนไปนเบนการปรุงแต่งแนวคดิ ของคนพูดได้ดีทสุด

๔๕ 0๑. แสดงบุคลกิ ภาพใ น แบบทก่ี ่อประสทิ ธิผลมากท่สี ุต การตดสนิ บุคลกภาพ ของแตล่ ะบคุ คล เราใชพ้ ฤติกรรมและทา่ ทีทบี คุ คลแตล่ ะคนแสดงออกกบคนอีน อรสิ ติ อเตล้ํ เคย กลา่ วไว้ว่า “บุคลกิ ภาพของคนพดมีอำนาจจงใจคนพง่ี มากทสี ิต” ในการพดนนเราตดสนิ บคุ ลิกภาพ ฯ ขฃ จ่ ขํ จ ของคนพดจากลกษณะทกประการของคนพด นบจากการเดนิ ขนเวทกี ารปรากฏกายตอ่ หนาคนพง ขๆ ข ■ การแต่งกาย ความประหมา่ จ',งหวะและห่วงทำนองเสยี ง ฯลฯ นํกพูดแตล่ ะคนมแี บบบคุ ลกิ ภาพของ ตนเอง ฉะนน นกพดู ควรปรไ]ปรงุ และสริ าิ งสิรรคบุคลิกภาพในรปู ทีกอ่ ให้เกิดคุณค่าแกต่ ว่ เองให้ มากทสี ดิ เพี่อใชว้ ินาทีแรกทเี ขาปรากฎกายตอ่ หนำคนพง สิริางความประทบใจแกค่ นพง ระเบยบวธิ ีการพดู ระเบยี บวิธีการพขดเท่าทสี ิอนกนในสถิ านํนต่าง ๆ' มขอี ย่ ๔ ระเบียบวิธดี ว้ ยกน ไดแ้ ก่ การพขด โดยการเตรยี มตว่ พข่ ดจากก^ารอ่านต^นฉบบ พขดจากการท่องจำ และพขดโดยปราศจากการเตรยี มตํว นกพดจะใชร้ ะเบยี บวธิ ีใดนน ขนอย่กไ]นกํ พดเองว่าจะใช้ระเบียบวธิ ใี ดจงจะเหมาะสมิ กบความ ข เน^อเร4องทจะพดู สิถฯานกข ารณ์ ๙ สิามารถของตน ๑. การพูดโดยทารเตรยมตา (2x16ก!!วอ!'&060118 5[)631?1ฑ8) กอนการพดู คนพูด คดเลือกเรือง คนหาเนอหา แนวคิดวางระเบียบแนวคิดโดยการวางลำดไ]ขนตอนแนวคดิ ขนแรกและ การเตรยี มการพขดเบนเคร่อื งขบอกว่าเขาจะพฃดอะไร แสดงออกในการพข ดโดยวิธใี ด การเตรียมการน คนพขดจะทำโดยการบ'นทีกหรือไมบ่ ํนทกี กได้ แต่การบนทกี นนดกี วา่ การไมน่ นํ ทีก เพราะว่าเบน การแน่นอนทสจํ ดิ ท1วา่ ค” นพข ดอาจไมส่ ามารถจดจำเรองราว ขอเทจจริง ลำคบ'ขนตอนแนวคิด สถิ ิดิ ทุกประการของเรืองทเตรียมไว้พูด การบนทกี ช่วยใหค้ นพดู มีโอกาสิทบทวนเนอหาของเรืองไดท้ กุ ครงทเขาตอ่ งการจะทบทวน ในการพดจรงิ น^คนพดไม่ควรลอื บไวทีกทีจดทำไว้ลว่ งหนำให้คนพง ขข เห็น เพราะคนพงชอบพงนกพดล้พดปากเปล่ามากกว่าพดจากการดนนํ ทีก เพราะเมอื่ คนพดมว ฃขฃ ขฃ ข ไปตูบนทีกเขาจะสิญเสยิ การติดตอ่ ทางตาจากคนพงเบนการ แสดิ งความขาดความเชอมนในดว้ เองให้ ปรากฎออกมาอย่างเดน่ ชด่ ใช่แต่เทา่ นไวคำพดู อาจขาดนำหนํกและหว่ งทีซงเริาใจคนพีง่ อกี ด้วย การพขดโดยอาตย่ บน่ ทีกมํกจะดง้ ความสนิ ใจของคนพงออกไปจากเร่ืองทกี ำลงพง ส่ว'นก' า'รพข ดโดย ปราศจากใ!น,ทกนน ยอ่ มมีพลไในการสรื ไงให้ฐขพั งเกิดความตรงฅราวา่ คนพฃดรเขรอึ่ ขงทพํ ดอย่าง

(๑) การเตรยมบนั ทกิ บน่ ทึกของคนพดู มใิ ชส่ ำเนาโครงเรืองทค่ี นพดู เตรยี มเอา ไว้ แตใ่ นบนทึกนนจะประกอบดไยลำด'บขนตอนแนวคดิ ทจี่ ะเสนอต่อคนพง โดยทํวไปมไไเขียนไว้ เพียงคำเดยี วหรอื สองคำเพอื ชว่ ยความจำ บ่นทึกทด่ี ีควรทำดไยกระดาษการดี แขงเพราะใช้สะดวก บนมุมกระดาษการดี ควรเขียนเลขกำกบบอกแลน่ ไว้ เช่น ๑—'๒—๓—๔ ฯลฯ (๒) การใชบ้ ันทกเวลาพูด เมอคนพูดกำวขนี ไปยนบนทยึ นพูด ควรวางกระดาษ บนทึกไว้บนโต๊ะ หรอถอื ไว้ในมอื ในล่กษณะทไม่เกะกะ เมอต่องการจะใช้กระดาษบ่นทกึ คนพูด / นดู ่โดยการอา่ นตนฉบบ (ฬ31111301-1^1: ร!)6ฟ่*1ฉ8) การพูดแบบน คนพดู เขยี น ขไความทพูดไวใ้ นรูปอ่นสมบรู ณ์ แลวอ่านขอความทเขียนตอ่ คนพง จากการวเคราะหเรืองน จะ เห็นได้วา่ การพูดแบบน์มืประโยชนแ์ ก่คนพดู ผ้เู ขียวชาญ สว่ นคนพูดทไึ ม่เขียวชาญจะไมไ่ ดป้ ระโยชน์ จากการพขดแบบน์ การพฃดโดยการอา่ นต่นฉบบ จะขาดคๆณุ คา่ ในดานการติดตอ่ กบคนพง ขาดลลี า อนมชวติ เลยี งไม่เหมือนการพดู นอกไปจากนคนพงส่วนใหญ่ไมช่ อบการพดู แบบนอกี เช่นกน เพราะคนพงถอื วา่ คนพดู ไมเ่ ขาใจสอ่ งแท้ในเรอื งทพูด แม้บคุ ลกิ ภาพของคนพดู เองกปรากฎแก่ คนพงไม่สมบูรณ์ เน์องจากตนฉบบบไตว่ เั ขาไว้ ประโยชน์ของการพดู โดยการอ่านตนฉบบอยู่ทึ คนพูดสามารถพูดไดถ้ ูกตอ่ งในเรอื งน์น ๆ เรืองนนบวา่ เบนสงสำคํญสำหร่บผ้นู ำทางการเมืองและวงการธรุ กจิ เพราะว่าภาษาพดู ทเึ ขียนไว้ อยา่ งสมบรู ณ์แบบย่อมสามารถเขยนได้ไพเราะสละสลวย มืนาหนกคำมากกว่าการพดู ปากเปล่า การพูดโดยการอา่ นตไฉบ่บช่วยทำใหค้ นพูดเกิดความปลอดภย โดยไมต่ อ่ งพูดลดิ พลาดตนฉบ'่บการพูด เนืองจากสมบรู ณ์แบบอยู่แลไ จงพรือมทึจะพิมพเ์ ผยแพร่ได้ เมอพีมพเผยแพร่ในหนไสือพมิ พ์ ขอี เลียงคนพูดยอ่ มเบนทรึ ู้จ'ก ใช่แต่เท่านนฅนฉบบห็สมบูรณย์ ่อมเกดิ ความสะดวกในการตคุทอน เพีอ่ให้เหมาะฝีมกบํ เวลา เจไหนไทสี่ ถานวี ทยุ เจาหนำทส่ี ถานโี ทรทศํ น์ ย่อมสะดวกในการตรวจ ตนฉบบ กอ่ นอนญาตใหพ้ ดู

กอ่ นการเขยี นด้นฉบบ คนพูดเตรียมจดทาโครงเรอื ง ครนวางโครงเรืองได้สมบรู ณแ์ ล8ว คนพดู จงเขยี นตนฉบบการพูด เขียนลงไปทุกคำพูดดุจเดยี วกบพดู กํบเพีอน ๆ เมอื เขียนด้นฉบํบจบ แลว ตนฉบบนนยง่ ไมถื ือวา่ เบนตนฉบบทสี่ มบูรณ์ คงเบนเพยี งร่างครงแรกเทา่ นน คนพูดตองอ่าน ทบทวนร่างของเขาหลาย ๆ คร้ํง แก้ไขสำนวน นา่ หนก่ คำ รปู ประโยค โดยละเอียดจนเกดิ ความ แนใ่ จว่าสิงทเขยนไว้นน่ ถกู ดอ้ งกว้)ขอความทเี่ ขาตองการพดู ทุกประการ แมจ้ ะแก้ไขปรบปร1ุงหลายครง จนคนพข่ดเกิดความพงี พอใจในตนฉบบํ ของเขาแลวกตาม คนพดกควรจะทดสอบด้นฉบบของเขาเบนครงสดทำย โดยการอ่านตนฉบบให้ยร้ ่วมคณะหรือเพอน บางคนพง หากหาคนพงไม่ไดค้ วรอา่ นออกเสยี งด้ง ๆ สำพํงคนเดียว การทดสอบนจะชว่ ยใหก้ าร ^V1 ^ 9^ ‘น' ๙ เมอื ได้ตนฉบํบพฃดขสมิ บรณ์ตามความปรารถนาแลว คนพขดควรพมิ พตี นฉน่บ กระดาบ พิมพดวรเบนกระดาษหนา ระวงิ อยา่ ใหม้ ีคำ^ดพลาดปรากฎ ตนฉบบพิมพควรสะอาด เนอเรอง ควรพมี พเบนตอนสน ๆ ขอความแต่ละตอนตองจบในหนา่ เดยี ว ไมค่ วรตอ่ 'ไป'หนา่ อืน ริมกระดาษ ชายมอื ควรเวนว่างไว้ ๓ น่ว พมิ พีเลยหนา่ ทุกหน่าตามสำดบ่ หมายเลขบนขอบขวาดานบน เที่อ บองก,นการหลุดควรใชล้ วดเยบกระดาบ เยบต่นฉ่ บบรวมกน เวลาอ่านดน้ ฉน่บคนพขดุ ต่องอา่ นตนฉบบ,โดย1ใช้เสียงเหมอื นกบเสียงพข่ด ถืงแม้วา่ คนพฃด่ เขียนขอความดว้ ยคำของตนเอง แตก่ ไม่แนว่ า่ เขาจะอ่านออกเสียงดุจเสียงพดู ธรรมดา ฉะนน เขา ควรพยายามแสดงพฤตกิ รรมทุกประการ นบจากใบหนา่ ท่าทาง เสยี ง ให้กลมกลนื กบเรี่องท่ีอา่ น เน่องจากคนพขดู ไม่ไดอ้ า่ นสำพ่งเพยี งคนเดยี ว แตเ่ ขาพขดใหค้ นพขงไดพ้ ง ่ คนพูดจงึ ไมค่ วรอยา่ งยง ทจะ1ชด้นฉบบ'ให้สง หรือกมหนา่ ลงอ่านตนฉบบเพียงอย่างเดียว การชดุ โดยการอ่านดน้ ฉบบน ขาดคณุ ค่าทางการตดิ ตอ่ ด้วยสายตากบคนพงไป แตค่ น พูดอาจแก้ไขขอบกพร่องน่ได้เหมอื นกนกลา่ วคอเวลาตนพดู หยุดหายใจ และกอ่ นทจ่ี ะอา่ นขอความ ตอ่ ไป คนพดู ควรเงยหนาขนมองดคู นพง แลวจงึ อ่านตอ่ ไป การกระทำเช่นน สำหรบคนเรมื ด้น ฝกื หดใหม่ ๆ น่นนน่ ว่ า่ ยากมาก แต่เม่อี รเื ก ฝนมาก ๆ แลว ความชำนาญยอ่ มเกดิ ขนี จนเบนพฤติกรรม ท่ีเกิดขนี โดยอต่ โนม่ต

๓ . 'ผดจากการทอ่ งจ ำ (]ฬ61ฑ01126ฟ้ ร!)63๒ฑฐ) ถาจะกลา่ วไ,หถกู ทอ่ งแลว การพูด แบบนเกดิ จากการท่องจำถว)้ ยคำทเขยี นไว้เบนทน่ ฉบบสมบรู ณ์ หรือท่องจำคำต่อคำบน่ เอง ถาจะ วเิ คราะหค้ ณุ ค่าทางวาทศาสตรี การพูดแบบนมคี ณุ ค่าบ่อย เพราะมิใช่การพดู แตม่ า ''ท่อง คำ พขดุ ทที่ อ่ งจำไว้ได้ ให้คนพงไดพ้ งอีกครงื หนง การพฃุดแบบนนื กพฃดุ ไม่นิยมใช้กิน เพราะเบนรากฐาน ทที่ ำใหค้ นพขุดเกดิ ความก'งวลใจและความเคร^ ่งเครยี ดมากเกนิ ไป คนพขดุ ไมแ่ น่ใจว่าเขาจะจดจำ คำพูดไท่ทุกถอยคำหรอื เปลา่ ถาหากเกิดพลงพลาดหลงลืมกลางคน คนพดู จะเกิดอกอ'ก ประหมา่ กบที่งไม่รจู้ ะแกไ้ ขโดยวิธใี ดอีกทว่ ย ฅลดีของการพดู แบบนีชว่ ยให้คนพูดติดตอ่ ทางสายตากิบคนพง แสดงทา่ ทางไดเ้ หมาะสมดื ๔. หดู โดอปราสจ์ ากการเตรียมตว ร!)63เ?1ฑ8) การชุดแบบนีถงแมว้ า่ จะมีน'กพขุ่ ดุ ใช้กนบอ่ ยพอควร แต่ระเบียบการพขุดโดยไมม่ กี ารเตรยี มตว่ น มกเบนการพขุดท่มี ีประสทิ ธ-ิ ผลบ่อยที่สจํ ดุ เพราะน'กพขดุ ส่วนมากไมส่ ามารถพขดุ ได้ตรงเบาหมาย การพูดโดยไม่มีการเตรียมต่วเกดิ ขี่นเพราะคนใดคนหนงไดร้ บเชิญให้ขนี พดู โดยกระท'น- ห*น แม้ว่าผู้ร'บเชญิ จะตกใจบ่างในเวลานน แตเ่ ขากจ้ ำใจลกุ ขนี อนี พดู ตอ่ ชุมนมุ ซน คนเราเชา่ ไป ในการประชมุ เขาควรรู้วตลปุ ระสงคของการประชมุ นน เมอี ถกู เชิญใหพ้ ูด เขากอาจพดู ได้ดีเพราะ ทราบวตลุประสงิ คของการประชมุ มาก่อนแลว คนที่ถูกเชญิ ให้พูดเรืองทีเ่ ขาเข่ียวชาญ เขายอ่ ม สามารถพดู เรอื งนนไดด้ ี แต่ถห้หากว่าเบนเรืองชิงเขาไม่ชำนาญแทว่ เบนการสมควรอยา่ งยงทีเ่ ขา ควรบอกคนเชญิ วา่ เขาไมส่ ามารถพูดเรืองนนได้เลย เพราะไม่มีความรอบรู้ เนืองจากวา่ การพดู แบบปราศจากการเตรียมต่วน มก่ เกิดข่ีนได้เสมอในการชมุ นุมกจิ - กรรมอยา่ งใดอย่างหนง เชน่ งานสง่ สรรค งานพธิ สี มรส จงึ เบนการสมควรจะทราบแนวการเตรยี ม 6าเนการชุด'ฯเVวิก?*ไจะเ๘บ!นปเ ระ^เย^ชน^ เนยามท^ถ^กู เซ^ญ^ไดยกระทนหน^ า,นการซจมฺ นจมทค่ี นพขดถขกเชญิ ®ให้ทขดโดยไมม่ กี ารเตร^ียมตวมาก่อน คนพขดดวรฝง็ เกตขอ ความทคนอนพขุดก่อนหนาเขา แทว่ อาศย่ ค้ วามฯร้ ความจดเจนทมอี ยข่เบนิ ว่ตถจ ุตบใ่ นกขารพด ถาหาก วา่ ผฃถ้ กข เช®ญิ เคยมีความรขเกยิ วก^บการพฃดุ ใจนขจ มุ ์นุมชน เคยมีความจดเจนในเรองการวเิ คราะหค้ นพง การทำโครงเรอื ง การพ'ฌนาเนอเรือง เคยกลา่ วปราศร'ยก่ บกลมุ่ ชนมาแท่ว ยอ่ มเบึนของง่ายทจะพดู ไดอ้ ย่างดีเม0ี ถูกเชิญ1ในฉ่บพล'นทนํ ใด

๔๙ คนพฃุดโดยปราศจากการเตรียมตไจะมองเหน้ หไขว)้ เรือ่ งในขรปโครงย่อ เขาใจว'ตถ้ จ่ ประสงิ คพเิ ศ'ษของการพดู ครงนน คิดหาตไอย่าง หรอื คำคม สภิ าษิต เพอนำมากลา่ วนำ รวบรวม เหตุผลและตไอยา่ ง หาขอยตุ ิ ก่อนการพดุ เขาจะพยายามสิงบระงบความกระวนกระวายใจ ทำ จติ ใจใหส้ ิบาย ระงบํ ลวามตนเตนโดยการหายใจเขาชา ๆ หลาย ๆ ครง พอเรมพูดเขาจะเพง่ พินิจ แต่เพยงเฉพาะเรอื งทกำลไพฃุดขอิยเ่ ทา่ นน การรวมจติ ใจเพ่งพินิจแต่เรอื งพฃํ ดเข่นนิ ทำให้เขาสิามารถ ควบคุมความตนเตนของตนเองได้ การวางระเบยี บเนิอเรีอ่ งพดู คนพูดตองวางระเบียบ,ให้1พรว้มด8วยองค ๓ ประการของการ พขดุ ในช‘เุมจนมุ ขน แต่ในลกษฌะย่อสวิ น คือ การกล่าวนำเนอิ เรือ่ ง ข่อยจิุติหรือการสริ จิปุ กจญุ ิ ®แจท่ี ใช้ ในการ,พดแบ'บนคอ 44ความงา่ ย,, หมายความวา่ มแี นวคดเพยงแนวคิดเดยี ว ตวอย่าง ๑ หรอ ษ ประการข การสริ ปุ ท4 ส&นิ เพราะฉะนนโครงสริ ไงง่าย ๆ ดไต่อไปน จึงเบนหลํกการทถกู ต่องกบ วตถุประสิงคดื ีท่ีสิด (๑) กล่าวแนวคดิ และเหตุผล (๒) กลา่ วแนวคดิ และแสิดงต่วอย่าง (๓) กลา่ วหลกการ อธิบายหล'โเการนิน1ให้สิมพ่ ํนธกบํ สถิ านการณ'์ บจจบุ น จิ (๔) ยกตไอย่างและขวเ้ สินอแนะทไี ดจ้ ากตไอย่าง (๕') กล่าวบญหาและให้แนวการแกไ้ ข การพูดแบบโม่เตรียมต่วนิ มขี อ่ แนะนำสิาหรบคนพูดทีถ่ กู เขญ่ในฉบํ พลนํ ดไนี “......ควร ใชแ้ นวคิดประการแรกทผดุ ขนในดวงจติ ต่องพฒนาแนวคดิ ในรปู ที่สนิ และง่าย กล่าวสิรุปแนว คิดทเี่ สนิ อทนํ ทเี มอื อธิบาย ยกต'วอย่าง อไงเหตผุ ลจบแลไไม่ต่องมไพะวงกบแนวคิดอน การรูว้ ่าจะ จบเมอไร มีความส0ิ าคญเทา่ กบการรู้วา่ จะเรืม่ ตนการพดู แบบใด.........” การผก'ชอมการพดู การพฃุดไมว่ า่ จะเบนการพขดุ แบบมีบนทกี หรอี ปราศจากบ'นทีก คนพขุดควรผกขอ่ มกอ่ นการ พขดุ จริงทจิุกครง นวพ้ ขุดบางคนม^ีความเหนวา่ การพ^ดุ ทเตรยี มการไวเ้ รียบรวย้ เ^พอเสินอแกค่ นพงจะ ได้ขอว่าเตรียมการดีแล,ว ก้ต่อเมอคนพูดใชเ้ วลาเงยี บสงิ บคนเดียว ครนุ่ คิดเรองราวทจะพดู จน

กระท^เรอื งนนป์ รากฎขนจติ ใจอยา่ งแจ่มข,ด แตว่ า่ จากการวจิ ยํ ในทางปฎบิ ตํ ปรากฎผลทางวจิ ่ยว่า การพดู ไมอ่ าจปรบี ปรงุ ให้ดีขนไดเ้ พยี งการสงบจิตใจ แตก่ ารพูดนนตองใชค้ วามจดเจนทางเพทนาการ และกลามเนอ โดยเหตนุ ก่อนการพูดคนพูดจึงต่องทก่ี พดู จริง\" อย่างนอยหนงหร,อสองครง สำหรบ คนพูดท่กี ำลไเรมตห้เท่ีกทิดการพดู ในทช่ี ุมนุมขนใหม่ ๆ การท่กี พูดจริง ๆ หลายครงยอมมปี ระโยขน แก่เขาอยา่ งมหาศาล การท่ีกขอมทำใหค้ นพูดเขาใจเนอเรืองเกิดความขำนาญในการใช้ลลี าขอ-ง คำพูด คล่องแคลว่ ก่บการใช้อปุ กรณการพูดทุกอย่าง นอกจากนผลท่ีเกิดจากการท่กี ซอมกคอ คนพูด เกิดความสบายใจ มคี วามเชอื มีน,ในตนเองเตมที่ พอถงเวลาพดู จริง เขาย่อมพูดได้อย่างดเลิศ ระเบยี บวิธีการท่ีกข*อมการพดู นนมี'หลกํ ใหญ่อยู่ ๒ ประการ คือ หล่กทางโสต ก่บหลํก ทางทรรศนะ ๑ . ทางโสต คนพดู พยายามทีก่ ทดิ การ,ใชเ้ สยี ง'ให้ถกต่องตามฐานกรณ ไํ ของภาษา จไหวะและท่วงลลี าการพูด ถาคนพูดมีเครองบนทกึ เสยี งทินทกเสียงการขอมพูดแลว่ นำมาเบดพงดู จะข่วยให้เขาทราบความจริงวา่ จุดบกพรองของเขามีอะไรบาง จะไดแ้ กไ้ ขจดุ บกพรอ่ งเหล่านน ๒. ทางทรรสนะ คนพดู ล่งเกตการเคลอนไหว การแสดงออกทางใบหนา การใชม้ อ ทา่ ยน ตลอดจนการแตง่ กาย ในการทกี่ 1ขอมตอ่ หนากระจกแงา จะไดเ้ หน้ ท่าทางของตนเองโดย ตลอด ลา่ หากเบนไปได้ควรหาเที่อนมานงํ ดเู วลาท่กี พดู แล่วขอใหเ้ พอนวิจารณ์ การผกื หดํ การฬดู โดยการเตรยี มฅํว การทก่ี ทิดการพูดแบบการเตรียมตว่ มีวตถุประสงคือยู ๒ ประการควยกน ประการที่หนง ทำให้คนพูดตุนเคยกบแนวความคืดหล่ก่ แนวความคืดรอง ประการทสี่ อง เพอี ปรีบปรงุ แกไ้ ขวธิ ี การพูดเทอื ให้บรรลตุ ลสมบูรณ์ทสดุ สงสำคญํ ทคี่ นพดู ต่องถอไว้เบนสตู รก้คือการจดจำวํตถุประสงคืพิเศษของการพูดคร1งนนวา่ คออะไร แนวความคดิ หล่กแั นวความคดิ รองทใ่ี ช้ฝนื บํ สนนุ แนวความคดิ หล่ก ตลอดจนลำดบํ ขนตอน การเสนอแนวความคดิ เทือใหค้ นพูดเกิดความสามารถในการจดจำโครงการพูดทตระเตรยมไว้อยา่ ง ดเี ลิศ ขอแนะนำแนวการทก่ี การพดู ดงต่อไปน

เ^™*\"1แ ฒ ๑. สงบใ จ อา่ นตนฉบบทแี่ กไ้ -ขไว้อยา่ งสมบูรณ์แล้ว การอา่ นควรอา่ นซา่ ๆ เขาใจแนวคดทกุ ขนตอนอย่างละเอยี ดแจ่มแจง จากจุดหนงถึงอกี จุดหนง อา่ นตนฉบบเรอยไปจน กระท''งจบ ๒. ผืกยนพูด ยนโดยต^ใจวา่ กำลไมคี นพงเบนจำนวนมากกำลไพงอยู่ อ่านตนฉบบ ดง่ ั ๆ ออกเสียงหนก เสียงเบาให้เหมอนการพูดจรงิ ๆ แม้ว่าบางตอนอ่านผ่ดไปก้อยา่ ยอ่ นกล้บไป อ่านใหม่ อ่านไปจนจบ ๓. ผกี พูดโดยไมมลึ น้ ฉบบ่ หลไจากจิ!กอ่านลน้ ฉบบจบแลว้ ลำดบตอ่ ไปวางลน้ ฉย่บ ลง แลว้ 1เกพูดจนจบ ๔. *ส3กษาตผนฉบ!บ/ อ*ก1ค4ร}ง การฒขนะน!^เพ^อตรวจสอบดวู Iา การฝ^]กพดู 6เ.นขน?) นน^ ไดล้ ้มหริอขามแนวคดใดบาง ๕. ยนอ่านตนฉบบครํง้ ท่สี อง อ่านลน้ ฉบบซ่า ๆ คดแนวความคดิ ทอี ่านผา่ นไปทุก ขนตอน อา่ นเหมอนการพขดจริงในชๆมุ นๆมชน อา่ นเรือยไปจนจบลน้ ฉบบ คนพ'^ง'(5ไเหเกด๖ต.ามฬแฃนดวจครดิง■•ท‘ฝซ่ วคารงาเ^วนนV,ไ-เVV,บวVนการจ!ิ กพขดโดยปราศจากตว้!ฉบบ พขดเทอื สราื งจติ นาการของ หลไจากทวางแนวความคดิ ไว้เรียบรอยแลว้ ก่อนการพูดจรงิ ในชมุ นุมขน คนพดู ควร จ!ิ กกน่ กริ ิยาท่าทาง การเคลอื นไหวบนเวที การใซ้ทว่ งท่านองและลลี าเสยี ง 1เกกน่ การแสดงแนวคดิ อนทรงพลไในการสรางความประทบใจแกค่ นพงในรูปล้กบณะกริ ยิ าต่าง ๆ ลน้ การ'จิ!กก่นเท่านน ทมีส่วนสรไงคนพูดให้ประสบความสาเรจในการพูด หล!เการผิกฝน หล'กการจ!ิ กกน่ การขพดทีจ่ ะสรไงประสิทฬลิ ให้แกค่ นพขด ควรมลี ำด'บขน์ตอนดไน ๑. ผืกฝนเมอ'ไร การจิ!กกน่ ครงิ แ์ รกควรกระทำอย่างนอยลว่ งหนไการพดู จริงลองลามล้น คนพดู จำตอ่ งมเี วลาบนทีกจดุ ออ่ นอนควรแกไ้ ขเทือปรบํ ปรงุ ใหด้ ฃน ลน้ สุดท่ายกอ่ นหนาการพูดจรงิ หนงวน ควรจ!ิ กก่นล้วยเช่นเดยี วลน้

๒. จะผกึ อะไร การพดู น^มอี งค๙ประกอบสำคญํ 61 สวํ น คอ กล่าวนำ เนอเรอง และการสรปุ ในการ1 เก ปนคนพูดตองร ืเก ปนหง 61 ส่วน ฑงนเพีอ่ ด วู า่ ระเบยี บแนวคดิ ท ีวางไว้ เมือ พดจริงแล่วจะเหมาะสมหรือไม่ เมือเหนว่าควรวางระเบียบใหมก่ วางระเบียบแนวคดิ เสยี ใหม่ กบหง ทดสอบขด่ วา่ โครงเรอง'ของตนหขดจบตามเวลาพก่ี ำหนดไว้หรอื เปลา่ การพ่ีกปนนนี อกจากรเื กปนการพขูด แล่ว ตอง1เกปนการใช้ไมโครโฟน อๆปุ กรณการหขด รืเกการแสดงทา่ ทาง ลลี าเสียงพขดู ๓. จะผกื ฝนทีไ่ ,หน สถานพ่ีชง้ จะใช้สำหรบการ1เกปนการพดู ควรเบนสถานทีอน ปราศจากสงรบกวนทกุ ประการ หองพี่ใช้รืเกปนควรเบนหองขนาดเดยี วกบหองประชุมพี่คนพดู จะ ไปพดู (ถาหากว่าทำได)้ จนกลายเบนการพขดู ทสมบขรณแบบ ฃอเสนอแนะ คนพขดู ไม่ควรพข่ ูด^ ทจุกสงี ทๆกุ อย่างแบบพี่เขาได้พก่ี ปนพข ดู มาแลว่ อยา่ งขาชอง หรือแม้วา่ จะ จดจำแนวคิด ระเบยี บ ขนตอน ได้ทุกประการกตามในเวลาพูดจรงิ ควรล่งเกตปฎกิ ริ ิยาจากคนพง แลว่ เสน^อการพข ดฃองเขาใหส้ อดคลอ่ งกบสถานการณในเวลานน อยา่ ถือวา่ 11กปนมาอยา่ งไร กพขด ไปเชน่ นนทกุ ประการ.

บททึ ๗ การติดต่อทางทรรศนะ คนพงเกดิ ความตรงี ตรามิใขเ่ พยี งการได้ยินเทา่ นน แตจ่ ากการเหนทางจํกษุอีกทางหนง ดว้ ย-ล,ก,ษณะทางกายภาพ ท่ายน พฤตกิ รรม ของคนพูด'ชว่ ยส่งเสริม,ให้เรอื งราวพ'ี พดู เกิดประสทิ ธิลล มากยิงขน ในทางตรงข่ามถาหากคุณสมบตํ ิดง้ กล่าวไมด่ ีแลว ยอ่ มทำใหค้ ณุ ค่าของการพดู ลดลงไป เข่นเตยวกน คนพูดบางครงอาจไม่ทราบเรือ่ งน เพราะว่าเบนการยากลำหรบตว่ เขาทีจ่ ะเข่าใจ อย่างไรกดพ?)ติกรรมทางกายภาพทุกประการนน สามารถควบคมุ และปรงุ แตง่ ให้เกิดผลในการ สง่ เสริมค่าของการพดู และคนพดู ได้ ถาหากคนพดู ร้จู กกรรมวธิ ปรบปรงุ แก้ไข ลกษณะกายภาพ คนทกุ คนสรไงแนวคดิ เกยี วกบตไคนอนโดยอาค่ยบคุ ลกิ ภาพของคนนนเบนหอ,กในการ ประมาณคา่ ขอ่ ยจุติของความคิดนนอาจถฃก อาจวิด อจาจยุติธรรมิจ หรอื ไม่ยิ ตุ ิธรรมกได้ อยา่ ง'ไรกดี เราทจุ่กคนสวนตกอฃยิ ่ในสายตาหรือการสงเกตของคนอนี ตลอดเวลา สำหรบคนพฃดใๆนชจุมน์ มุ ชนนน สายตาทาุกขคํ่ของคนพงคอื กรรมกา/รวฃิตดสินต่วเขา เพราะฉะน2น คนพขดจงควรระว'งอยา่ งยงในเรอ่ื ง ล'กษณะทางกายภาพต่อไปน ๑. ความสะ์ อาด ทกุ สงพีปรากฎแกส่ ายตาของคนพงตองสะอาดเรยี บรอี ย ผมหวีเรยี บ ใ'จรบดหเ‘รฯนยาบเกสถยงงเหท'±มา^ Vด]เมจIดหลวเลม็บจนน้ํวตมกีอลตง-V]ดเปIกรเสอมอขเVข-/อตเทร'±ดี^า เรยี รบองเท'±า^เ'สคอวรนสอวกมกคบI ทกง ^คาง‘*ท-3^เเกสงุดตแอลงะเบขนดสจนีท■‘'งมขนรี สเงนายวมาวสวขจง^บ/ ๒. การแตง่ กาย การแต่งกายควรใหเ้ หมาะกบโอกาสการพดคราวนน ตองตดให้ ข่ เหมาะสมกบรา่ งกายสวมใส'สบาย เคร่ืองประดบถาจะประด้บด้องไม่มากจนเกนิ ความพอดไี ป

๔๔ ท7าย4 น ลกษณะท่ายนของคนพูดย่อมช่วยสริ ไงความตรึงตราให้กไ]คนพงได้มาก วธิ ที่เขายนื ล่กษฌะการตงต่วตรง ท่าของศีรษะ ไหล่ ทรวงอกและแขน ลว่ นเบนส่วนของการติดต่อทาง ทรรศนะทไสนิ ลไษณะรา่ งกายทีดีทำให้คนพูดเกดิ ความเชอิ ม่นในตไเอง ๑. ทา่ ยืน รา่ งกายตรงแตไ่ มใ่ ช่ในลกษณะแขงทอื ท่าทางไมส่ อ่ ความเครง่ เครยี ด หรีอประหมา่ ไม่ยนหลง่ โคง หรอี กายโนมไปขางหนา ทา่ ยืนทีดตี องเบน “ ท่ายืนทีไดต้ ราชู ระหวา่ งการยนื ตรงกบการยนื ท่กตามสบิ าย,' ศอี ไม่ตรงแบบทหารยนื ตรง ไม่ยนื พกตามสิบาย ยามยืน อยใู่ นลไาษณะเช่นว่านิ คนพูดจะมีลกษณะตนื ตว่ และยืนตรงตลอดเวลา กล่ามเนอเตรียมพรีอมจะ ปฎบิ ต่ งาน กล่าวอกี นยหนง คนพดู อยู่ ในลไาษณะพรอมแลวทีจะแสิดงแนวตดิ ของเขาอยา่ งเสิรื ๒. เทา การวางเทไยอ่ มมฝี ืลตอ่ การพดู ของคนพดู เหมีอนกน การยนื แบบสินเทา่ ชิด ตดิ กนเบนการแสดิ งให้คนพงเขาใจวา่ คนพดู ระมดระวไตว่ มากหรือยืนแขงทีอมากไป ล่นเทา่ ห่าง จากกนมาก แสดิ งวา่ ขาดการสินใจ การยนื ท่ดี ีศอี การยืนแบบเทา่ ทีง่ สิองห่างจากกนเล่กนอย คนพูด ส่วนมากมกนยิ มการยนื แบบเท่าทง่ สิองอยู่ในระตบแนวเดียวกน บางคนนยิ มยืนเท่าขางหนงกาวไป ขไงหนไหรอื เหลอื่ มลำขไงหนิงไปเลกนไย ๓. หล,ง ทรวงอก ไหล่ ส่วนของร่างกายควรตงตรง หลไตรง ช่วงไหลผ่ ายสงิ ่าย่าเผย ไม่งองุม หรือยืนไหลห่ อ่ ทรวงอกผายตลอดเวลา ๔. ศรี ษะ เวลาพูดศรี ษะตองตงตรงอย่าใหเ้ อนไปขางหนาิ หรือเอียงไปทางขายหรือ ขวา คางอยา่ เชดิ มาก ทา่ 'ของศรี ษะควรต้งํ ตรงแบบธรรมดา เพราะคนพดู จะสะิ ดวกในการมอง ใบหนไคนพงทกุ คนไดง้ ่าย

พฤตกรรม คำว่า “พฤตกิ รรม” ในทนี ืหมายถึง :‘ท่าทางและการเคลือ่ นไหว'’ ของคนพดู ยามทีเขา ท่าทางออกมาทรอมกบคำทขดไดต้ ามธรรมชาติ คน ๆI เดียวกนนแหละถาหากไปปรากฏ^ ต่อชรมุ านมุ ชน พฃดู กบกลๆ่มคนพงเขาจะเกดิ ความอดอด ประหม่าขนมาทนที โดยเหตจ่นุ ํ้ คนผกการพขํูดใหม่ จำติอง เขาใจคณุ ค่าและธรรมชาตขิ องพรเตกิ รรมทางกายภาพ และปรบปรุงสรางสรรคพร]ติกรรมกายภาพ ของเขาท1กุ ประการให้ปรากฎ■“ในรขปดเี ลศิ เทีฮผลไนการพขูดตอ่ ช1ุมนจิมชน ลิกษณะทสำตญิ 'ของพร]ติกรรม ดอี การแสดงทางใบหนา การเคล่ือนไหวของร่างกาย และท่าทางของคืรบะ มอื แขน ลำตวิ ๑. การแสด'เทาง1ใบหนำ (?ปอี 1 2x^683๒11) ใบหนำคือกระจกเงาทชี ่วยไห้คนพง มองเหนความหมายของคำพดู ทคี นพดู ต่อคนพง เช่น ความแจ่มใสของดวงตาทีแสดงออกให้เหน็ วา่ เบน ความผาสุก เปลอื กตาปรอื แสดงความเศร่า เผยอควแสดงวา่ กำลงิ ใช้ความติด ใบหนำทแี สดงความ ตว่ ต่นี สนใจ เบนมิตร มอี ทิ ธพิ ลพลไเรืยกร่องความสนใจของคนพงมากกว่าใบหนำเฉย ๆ ในนยํ ตรง กนขามใบหนำ ทีแสดงความเบนฒรั ูกมผื ลเบนการปลกู ความเบนศตรูใหเ้ กดิ แก่คนพงเชน่ เดยี วกน ๒. การเคลื่อนไหวทางกาย (ธ0(น1ุ ? ^๐เ10ก) โดยกฎธรรมดาแลไเวต่ ถุทเี คลือนไหว ย่อมดีงดขดความสนใจมากกวา่ ว'ตราุ!ทีอย่นขํง โดๆยเหตุนการเคลื่อนไหวของคนพขูดในบรเิ วณทียนื พขูดย่อม ชเร่วียยกใรห่อค้ งนใหพ8้เเง/กติดิดคตวาามมแสนนวตใจิดมไาดกส้ กะวดา่ วกการยยาืนมนท^ํงคเบนนพขรูดขปเคิ^บลนอเนพไยี หงวทนา่ &นเดยี วความกเคารรียเคดลขอ่ือนงกไหลาวมอเนน”เอหจมะาละดสลมง เนืองจากเขาไดป้ ลอ่ ยพลงิ ทีสะสมไว้อออกมา จึงเบนผลช่วยใหเ้ ขาลืมความเคร่งเครยี ดของอารมณ สามารถแสดงแนวติดออกมาทางวาจาอย่างคล่องแคลว่ เสรี การเคลอื่ นไหวของคนพขดู ช่ว''ยใหค้ นพขดู แสดิ งความขร้ฝ็กของเขาเกยวกบเนอเรองทกำลไพขด--คนพง ตวเอง และเบนการเพมนาหนกความ หนกแน่น จริงจง โหแั กค่ ำพด ปฏิกริ ิยาทางกายภาพของคนพดช่วยเรง่ เราิ อารมณคนพง

(๑ ) คารเดินขนและลงเวท การเดินของคนพดู สรืางความตรึงตราในฐานะที่ เขาเบนบคุ คลใหเ้ กดิ แกค่ นพง อตราการยา่ งเทไเดินเบนองคประกอบทีจ่ ะแสดงบทบาทสำค'ญในเรอง น เช่น การเดินเร็ว แสดงวา่ กำลไมอี ารมณว์ าวนุ่ เดินชา้ แสดงใหท้ ราบกงึ ความไม่มความตงใจใน การทด การเปลยนแปลงอตราการเดินแสดงใหเ้ หนกึงอารมณ์' ความร้สกและภาวะทางจติ ของคน จ ]ุ ข ิ การเดนิ ของคนพขดุ ควรเดนิ ในอตราความเร็วปานกลาง ไม่ขาเกนิ ไป ไม่รวดเรวึ มากเกินไป ระยะ ทางระหว\\ างก1/าวเท4-า/ควรยาวเทเาก^บเท1*-า/ 6.๒ เวลาเดนควรวางทIา6.เหด หล0ง-/ต*งร-/ตรงทรวงอกงุ้มๆฯเเป^?ขณา์ ง หนาเล็กนอย คนทดกำหนดดระย ทางจากทีน5งอย่ไปกงึ เวทพี ดู เดนิ ไปยงเวทีเบนเสนตรง เมอไป กงึ บนเวทแี ลว ควรหยจุดุ นงเล็กนอย มองดจ]ุใบหนไคนพ่ีงให้ทวท้ จุกุ คนแลวจงึ เรึมตว!้ พจเุุด ครนึ พจุเด,จบ แลวหยดุ เลกนอยอีกเขน่ กน ตอ่ จากนนจงเดินลงจากเวทีไปน^ยไเกไอฑเขาจดไว้ใหต้ ามเดม '(๒ ) การเคลอนไหวบนเวท การเคล่ือนไหวของคนพขดุ บนเวทีจะเคลอื นไหวมาก นอยไดเ้ พยี งไร ขอนขนอยฃิกุ่ บสถานท่ี โอกาส และคนพง ถาเวทแี คบคนพจ]ุ ดเคลอนไหวไม่ได้โดย เสรี การพขุดยกยอ่ ง ณ โอกาสทางการ คนพจุ]ดุ เคลอ่ื นไหวไดเ้ ล็กนอยี การพขดกบองค6การสมาคม จำตองใช้พบตุ กิ รรมการเคลอนไหวมาก ลาคนพงเบนประเภทบญญาขน ปกตคิ นพวกนตอํ้ งการพง เนอหาหรอื สาระของเรอื ง คนพขดจงจำตอิ งเคลอ่ื นไหวเพียงเล็กนอย พขดุ กบเดกนกเรยี นระดบิ ชน มธยมปลาย ตอิ งใชพ้ บตุ กิ รรมมากเพอี ควบคุมความสนใจของคนพงประเภทนเอาไว้ อนึง การเคลือ่ นไหวนตอิ งทำให้มีเหตุฝืล หรอื กลา่ วอีกนยํ หนงเหมาะสมกบดงิ หวะและ เนอเรือง,ชงกำดิงพฃุด เชน่ หยิบเครองอจุ ปุ กรร/การพจุ]ุด การเดินไปยง่ กระดานเพี่อหยบิ ซอล6คเขียนบน กระดานดำ พร)ติกรรมทางกายภาพทีแ่ สดงออกมากติองให้มขี วี ติ มีพดิงและสมบรู ณ์ อยา่ แสดงออก มาอยา่ งเล่อื นลอยปราศจากเหตุผล (๓ ) การไข้ทยนพVดุ ทย่ี ืนพจุ]ุดมีไว้เพ่อี วางบํนทกี ของคนพจุ]ุด มใิ ชม่ ไวเ้ พอยนเอาอก พง‘ ' ค เนเวลาพขุด การว.าง. แ■ ขฯน*เว' บนปท''ย81นพจุ] ดุ เ6*บ1 นระยะๆI 61เนระหว1างพจุ]ุด นVบว• า๘เบ! นการเคล^ อน-V.เหวทป \"ด* ของคนพดู แตถ่ าหากคนพูดวางแขนไว้ตลอดเวลา จะทำให้เกิดความจำเจแก่คนพงได้ ทีย่ นื พูดช่วย ให้คนพูดเกดิ ความเชอื มํนในตนเอง คนพดู จึงไม่ควรยืนนงกบ ณ จุดใดจดุ หนงในทยี่ ืนพดู นน แนว ปฏบ1)ที่ดีกคือคนพดู ควรยนื หา่ งทยี่ นื ชดุ พอควรและเคล่อื นไหวในบรเิ วณน3นเบนครึงคราว

ทาทาง ท1าทาง ( เค^ อการเคล^อน -เVหI วสIวน6เ)ดสIวนหน4 งของราI งกายเพ4อถาI ย.ทอดความหมาย หรอ เพี่มพลไความจริงส่งให้แกค่ วามหมายพ่พี ดู ” บ่อยครงื พีส่ ุดพีค่ ำวา่ “ทา่ ทาง” น หมายเพยี งการ เคลอนไหวของมอและแขน แต่ ในทนมไิ ด้จำกดขอบเขตเพียงสองประการนี วตถุประสงค6ของ ทา่ ทางทุกอย่างกเพ่ีอแสดงให้เกดิ ความเขอมนในคำพุ.ดพค่ี นพดได้พด คนพดุ จะแสดงทา่ ทางไดท้ าง จิ ข ฃ ฃ ่ฃ ่ ศรี ษะ ลำตํว แขนและมือ ๑. ศรี ษะ นกพดู พ่มี ความจริงส่งกบการพูดของเขานน ปรากฏว่าตลอดเวลาการพดู ของเขา ทา่ ศรี ษะมิได้อยขุทาเดยว ศรษะเคลอื นเกอิ บตลอดเวลา เช่น หนไปเมือคนพขดุ ่ มองดขส่ ว่ น ตา่ ง ๆ ของคนพง ศรี ษะอาจเอนไปขางหนาหรือเอนมาทางหสง่ ทงนขนก,บแนวคิด และอารมณ์ พีก่ ำสง่ แสดงออกมาทางวาจาตลอดเวลาการพดู คนพูดสราื งความตรงื ตรากบคนพงโดยการมองคนพง ๒. ลำต ว การเคลอนไหวของลำตวํ ล่วนใหญ่เกดิ จากชว่ งไหล่ กบทรวงอก ชว่ งไหล่ อาจอกขน หอ่ ลง โนห้เไปขำงหนำ หรือผายมาขำงหสง่ ทงนขนกบเรอื งราวของคนพดู เชน่ ตอน กล่าวถงเรืองทกอ่ ความประหลาดใจอย่างสงู ชว่ งไหล่มกยกสูงขน ทรวงอกกเช่นเดียวล่นอาจอยู่ ใน สก่ ษณะยกขน ตำ ขยาย หอ่ ต,ว เชน่ ทรวงอกพ่ผี ายหรอื ขยายต่ว้ แสดงถงความตงใจ ความกลา่ ความสุข ทรวงอกห่อแสดงความหวาดกล'ว ไรค้ วามสุข ๓. มอและแฃน สำ หรบคนพูดแส่วมอื และแขนเบนอวยํ วะ ใช้แสดงท่าทางมาก สดุพ ี่ พ ี่ ท่าทางของมือและแขนอาจวิเคราะห6ลงไปได้วา่ มือยู่ ๓ ส่งหวะดวยล่น ดอี (๑ ) จงหวะเตรยม (^103013) ทา่ นมอื และแขนเครือนออกไปในทา่ เตรียม พรือมเพอี แสดงท่าทลูกตอง โดยขอํ มอจะนำการเคลอื นไหว เวลาเดยี วลน่ ขํอศอกจะอยู่ ในรปู โคง้ (๒ ) จงหวะต (รถ:0!^) เบนการเครอื นไหวพ่ีได้ส่งหวะกลมกลืนกบคำพดู เพีอ แสดงใหเ้ หนถงความจริงส่งของคำพูด (๓ ) จงหวะกลบ (1?6ณ1ฑ) เบนท่าทางพม่ี อื และแขนกลบมาอยใู่ นท่าปกติ หส่งจากไดแสดงท่าส่งหวะตเรยบรอยแลว โดยปกติแส่วส่งหวะนมอและแขนจะหอ่ ยตามสบายขำง ลำตไ!ของคนพุด

๙๙ การใช้ท่าทางมอ.และแขนใน ๓ จไหวะดไกล่าวขา่ งตนน ขอโปรดดูแผนผไจากข่อความ ดไตอ่ ไปน “ ผูก้ ลาหาญเหลา่ น คอวรี ขนของชาต.ิ ............................. ” ไ * ไ' . (เตรยี ม) (ตี) (กลบ) แบบษองทา่ ทาง โดยปกตแิ ลวํ ทา่ ทางแบ่งออกเบนแบบ ๔ แบบ ตอี ย้ํา ข บรรยาย และเสนอแนะ ๑. ทา่ อา (201^10) เบนท่าแสดงใหค้ นพข่ห้นนาหนกของคำพูดวลี และประโยค ว่ามคี วามสำคญมาก ท่านโดยปกติมกใช้มอี ตีลง 1®. ท*าช^ (.แ 0 0 ^ 6 ).■ ค^อการขทวต^งขอ4งส-ง๒4สงห4นง^หร^อขแนวทาง ท*1ศทาง และพนท4 เข่น คนพดู เมอ่ื กลา่ วลีงประเทศสหรฐอเมรกิ า ประเทศไทย กขใี หค้ นพงดูวา่ ประเทศสหรฐอเมรกิ า ประเทศไทยอยู่ ณ ที่ใดบนแผนทโลก ลำหากว่าวตถุท่จี ะบอกไมม่ ีอยูใ่ นห้องประขมุ คนพูดต่อง ใช้จินตนาการทางคำพดู ข ให้คนพงเขา่ ใจได้ เขน่ บอกว่าทางขา่ ยมีอเขาคือนครเบอรล์ ินตะวนออก ทางขวามอี เบนเขตนครเบอร์ลินตะวนตก ทา่ บรรยาย (063011^6) การบรรยายเบนการสรางคนพงใหเ้ กดิ “ภาพพจน” ๓. ขนในใจ เขน่ อธิบายลงี วตถุอย่างหนงอยา่ งใด คนพดู ตอ่ งแสดงการเคลีอนไหวของมอี เพอกลา่ วลีง ความสงู ความกว่าง ความหนาของวตถนุ น ๔. แบบเสน์ อแนะ (ร118263เ^6) ทา่ แบบเสนอแนะเบนการเบดเผยใหค้ นพงทราบ ทรรศนคติ แนวคิด ปฏกิ ิรยิ าต่อเรอ์ งราว สถานการณ ของคนพูด ทา่ ทางเหลา่ นเกดิ จากบุคลิกภาพ และจนิ ตนาการของคนพดู เข่น คนพดู แสดงการเห้นพองโดยการยกมีอ แสดงการหา้ มโดยการขุผามีอ

ท!มอ การแสดงท่าทางโดยมอนน มอื ย' ฅ แบบดว้ ยกน ๑. ทาหงายมือ ท่านอุงมืออาจเคลอื นไหวไปในทศิ ทางตา่ งๆ ตว่ อย่าง เชน่ ตำรวจ จราจรยกผ่าํ มีอชตรงเบนสญี ล'1กษณ'์ หามรถหยดุ กวกมือแสดงให้รถวงผ่านไปไค้ การใช้มอื นคนพูด อาจใชม้ ือแสดงความคดิ ตามความปรารถนาได้ ๒. ทา่ กำมือ ท่ากำมือน่ืโดยทวไ้ ปแสดงให้เหน็ ความหนกแนน่ คนพูดมกใชก้ บคน พงทไมใ่ ชบ่ ญญาซน หรอื ในนอ่ งประชมุ ใหญ่ ๆ ๓. ก าร0เชนรช1 การข^นวคนพดู เซเพ4อช^สง0๒. ^สงหน4ง เซนI ท4ดงซซองปร1ะเทศบน แผนท ขวดลุ อนึง การใชท้ า่ ทางทงหมดดง้ กล่าวมาแลว มืฃอบเขตน่บจากช่วงไหล่จนถึงสะเอว จง สไเกตไวด้ ว้ ยวา่ การใช้ทา่ ทางน ทกุ ทา่ เคลือนจากศูนยก่ ลางของรา่ งกายคนพูด แต่ในบางครงทา่ ตี คนพูดบางคนกใช1้ทา่ ตีเขา,หาตว เช่น การแสดงทา่ ตใี นประโยคทว่ี า่ “นคือความเซอี่ ม”นอน'ซอ่ื สตย ทสุดของฃาพเจา” หลกํ การ,ไชท้ ่าทาง เนอ่ื งจากว่าทา่ ทางมือทิ ธิพลต่อคำพูดซองคนพูดมาก คนพูดผ้ปู รารถนาความรุง่ โรจน่ืใน วาทศิลไ]จงควรปรบปรงุ ทา่ ทางซองเซา หลกของการใชท้ ่าทางทดมี ืด้งต่อไปน (๑) ทา่ ทางตอ่ งกลมกลืนกบความหมายของคำพูด (๒) ทา่ ทางด้องไดจ้ ํงหวะ (๓) การใชท้ ่าทางตองใช้หลายแบบ เที่อรกบาความสนใจของคนพงให้มคื วามตอ่ เนือ่ งกน (๔) การใชม้ อื และแขนจะมืผลตี ถาหากวา่ ขอศอกห่างจากร่างกายสีหานว (๕) การใชท้ า่ ทางตองปรบปรงุ ใหเ้ หมาะกบขนาดของคนพง (๖) ทา่ ทางควรผสมผสานกบการเคลือนไหว หลกการทงหมดนจะกอ่ ใหเ้ กดิ คณุ ค่ากตอ่ เมื่อคนพดู ผกผ่นจนกระท่งการเคลอนไหวและ การแสดงทา่ ทางเกดิ ซนเองโดยอ่ตโนมํตยามทเ่ ซาพูดจรงิ ในชุมนมุ ซน

ขฬท61 ๘ การพูดอธิบายขอเท็จจริง การพดู แบบอธบิ ายขไ)เฑจจริง เบนการชดุ เพีอ่ ถา่ ยทอดความรู้ เสนอขอเทจจริงและ แนวความคดเพอ่ 0เหI/คนพ0เ/งเก•เดความเขา เจแจเ่มแจ4/'ง๑เนเรอง เดเรองหนง .การพูดแบบน^แตกตIางIก/บ การพูดแบบจูงใจ เพราะไม่ใชเ่ บนการพูดพ่พี ยายามสรืางรปู แนวความคดิ อย่างใดอย่างหนงแก่คนพง เบนเพยี งความพยายามนำแนวคิดมาเสนอเท่านน หล*กการทูดอธิบายบอเทจจรงิ การพขดแบบอธิบายชอ่ เทจจรงิ ถาหากคนพฃดตอ่ งกฃารจะ่ พดใหม้ ีประโยขนหํ รอื คนพง เช่าใจไต้ การพูด1ของเขาตองมรี ากฐานอย่ตู บ่ ความถกู ตอง ความแจ่มขด น่าสน่ ใจ และเชา่ ใจ ขดเจน ๑. ความถูกต1อง ( ^00111-307 ) เรืองราวทุกอย่างนนแมว้ า่ จะประกอบดวยช่อเทจจริง มากหลายพี่ไดร้ บการสไเกตและรายงานไว้อยา่ งถกู ตองแล,วกตาม แตเ่ รืองราวนนอาจเบนเรอื งราว พี่ไม่ถกู ต่องกไต้ ดํงนนคนพูดจงึ ต่องประมาณคา่ การสงเกตของเขา คนควาจากแหล่งข่าวพี่เขอื รึ!อไต้ จนแน่ใจวา่ เขามชี อ่ เท็จจริงพีส่ ำคญ0พี่สาุดในการพฃตของเขา เรอื งราวพี่นำมาพฃด่ ตไ)งเบนขไ)มข่ลบจจจ่บุ น คนพูดวเิ คราะหขไ)เทจ็ จริงต่าง ๆ ดวยความมใี จกว่างขวาง ทรรคนคตเิ บนกลางเช่นน แมว้ า่ ใน บางครืงยากแกก่ ารปฎิบตํ ก็ตามพี แต่ควรค่าแกก่ ารนำเพญอยา่ งยิง เนองจากว่าคนพดู ไม่สามารถ เสนอขไ)เทจ็ จรงิ ทจ ุกประการได้ในการพขดตามเวลาพ่กี ำหนดไว้ คนพฃ่ดจึงต่องเลอื กสรรคหาเอาแต่ ชอ่ มขลพสี่®ำคญพ่สี จ่ ดุ เทา่ นนมาเสนอ คำพขดทจะมผี ลควรอขยิก่ บช่อเทจจรงิ ไม่ใชเ่ พียงการเสนอความ คิดเหนของคนชดุ คนชดุ จงึ ไม่ควรเลือกเอาแตช่ อ่ เทจจริงพตี่ นเหนตว่ ยมาเสนอแลวหลกี เลี่ยงไม่เสนอ ช่อเทจจริงพค่ี ่ดคานช่อเทจจริงพ่เี สนอตอ่ งตรงกบหไใจหรือแกนของเรอื งพ่พี ูดอย่างแทจ้ รงิ

๒. ความแจม่ ชดิ (016&111688) การท่ีคนพขดจะพฃ่ดเรอื ~ง1ใด'ได้แจ่ม'ช*ตนน ย่อม'ขนIอย^่ กบความสามารถของเขาในการเลอื กเรือง การกำหนดวตถุประสงค์พิเศษ การแบง่ แยกเนอเรอง ออกเบนส่วนตา่ ง ๆ การจ'ดระเบยี บส่วนตา่ ง ๆ ให้เบนโครงสราื งอนเหมาะสม การพฒิ นาแต่ละส่วน และการแสดงถงความสมพนธระหว่างสว่ นต่าง ๆ การจ,ดระเบียบวตถุดิบของเนอเรือง กล่าวไดว้ า่ เบนความจำเบนประการแรกของความแจม่ ช่ด เพราะว่าความแจม่ ขดนิต่องการบทนยิ าม การอธบิ าย ตวอยา่ งทแสดงออกเบน^ภาษาง่าย ๆ' แตถ่ฃิกต่อง 1โดยเหตจุนิ คนพข่ดตอ่ งกลา่ วบทนยิ ามต่วยภาษางา่ ย ๆ1 คำอธบิ ายควรกล่าวแตเ่ นอหาของเรอื ง ตว่ อยา่ งทียกมาประกอบต่องเบนตว่ ัอยา่ งทสนบฝน็ ุนคำอธิบาย ทีก่ ลา่ วมาแต่วใหเ้ ดน่ 'ช่ด แนวความคดหลกทต่ี อ่ งการไหค้ นพงจดจำได้ตอ่ งกส่าวย้ําไนตอนขนสรปุ ความสนใจ ( 111161681) แม้วา่ จิตใจของมนษุ ยท์ กุ คนจะสนใจก'บประสบการณ์ ๓. ใหม่ ๆ แตค่ นพดู ก็,ไม่สามารถพิงธรรมชาติความปรารถนาทีจะบีประสบการณใ์ หม่ ๆ ขอนได้ คนพูดตอ่ งวางแผนสราื งความสนใจของคนพงให้เกิดขนดวย โครงฝร็ าื งการพูดทวี่ างระเบยี บไว้ อยา่ งดเี ยยมนน ไมเ่ พียงแตม่ งุ่ ในดานความแจม่ ขดอย่างเดียว หากตองมงุ่ สรืางจุดสนใจของคนพง อกี ตว่ ย โดยปกตแิ ลวความสนใจบีลกษณะไมค่ งท่อี ยไู่ ดน้ าน บีแนวนำวเปล่ยี นไปในทศิ ทางต่าง ๆ ได้ง่าย แต่ถาอาศํยความขาญฉลาดในการวางลำดบแนวคดิ การจ่ดระเบียบแนวคิด คนพงจะเกดิ ความสนใจต่อเบีองกนํ ในเรืองทีคนพูดนำเสนอแก่ต่วเขา คำอธิบายของคนพดู จะบขี วี ิตขีวากเพราะ เขายดึ หล'กสรืางความสนใจไว้เบนแนวทาง ดำอธบิ ายของเขาตอ่ งปร'บปรุงให้เขากบความต่องการ และรตื ถปุ ระสงคของคนพิง ๔. ความเขา่ ใจชดเจน ( ?6181)601176 ) คนพิงไมอ่ าจเขาใจเรีอ่ งราวทีค่ นพูด เสนอได้ ถาหากวา่ เรืองราวน้นํ ไมบ่ ขี ไอีเท’ีจ'จรงิ ท-่ี จะ'ชว่ ย'ให้คนพงิ เขาใจ เพราะฉะนนิ หนทางที่ จะพดู ใหค้ นพงเกิดความเขาใจจงต่องอาศยํ อ่ งคป์ ระกอบตอ่ ไปนเิ ขาชว่ ย (๑ ) ทรรศนะใเองคนทู9) คนพูดควรบอกให้คนพงทราบวา่ เขากำส่งกล่าวอธิบาย เรองนในทรรศนะใด เช่น บญหาเรอื งการควบคมุ ยาเสพติด คนพูดต่องบอกกบคนพิงว่าเขาจะกลา่ ว ^ถงบญหาเร^องนม*1๒ ทรรศนะต๒. ร.ค1อ ทางกฎหมายหรอศลธรรม (๒ ) สว่ นอันเหมาะ?เม การพดู แต่ละครืง์คนพดู ควรอธิบายแนวคิดหรือองค์ ป!ระกอบของเร^อ. ง61เหมเว.ล.า.อ-?ธบ.ายเท1ากVน ทงนเพ^อ๑เห^ ความกระจ1างของฃแต|ละแนวค^ด ๚เม1ดเช!อ*ธ'บาย เรืองหนงเสียมากแส่วอธบิ ายอกี เรอื งหนิงเพียงสรปุ

๖๒ (๓ ) มาดรฐานการตัดสินใจ เมอมแี นวคด ๒ ประการตองเปรยี บเทยี บกน ควรใชม้ าตรฐานเดียวกนเบนหลกในการตด่ สนิ ไมค่ วรใชห้ ล,กการต่างกน เพราะเมอใช้หล,กการ ตา่ งกนแลว ผลล,พธิยอ่ มไดไ้ มเ่ หมือนก่น อุปสรรคบองการอธิบาย ในการพดู อธิบายใหค้ นพงทราบขอเทจี จริง มีอปุ สรรคอย่หู ลายประการทีบองกนมืให้คน พงเกดิ ความเขาใจเท่าทีคนพูดตองการ ความเขไใจเรอื งนยอ่ มชว่ ยใหก้ ารวางแผนการพดู มคณุ คา่ ตอ่ คนพงมากขน อนํ อุปสรรคของการอธบิ ายนนได้แก่ ๑. การบาดครามรู้ การทคี นพดู ขาดความรอบรู้ในเรอื งทเขาชดุ ย่อมเบนอุปสรรค อนสำคญ่ ยงททำให้คนพงไม่ยอมริบเรืองราวทเขาพดู เบนอํนขาด ๒. ครามปบชอนบองเรอง เรองราวทช่บข้ อนยอ่ มยากกว่าการเขาใจเรองราว ทงี า่ ย ๆ และธรรมดา ดไนน คนพูดจงควรลดเรอื งยุ่งยากลงมาพดู ในระดบทคี นพงเขาใจได้ง่าย ซึ่ง จะกระทำได้โดยการอธบิ ายและยกต่วอยา่ งประกอบแบบง่าย ๆ ทงใช้ภาษาสาม,ญ งดเวนการใช้ ภาษาวขาการ ๓. ครามไมส่ น์ ใจ แม้ว่าคนพดู จะได้วางระเบยบการพูดไวแลวอยา่ งดเี ลศิ เพยงใด กตาม แตถ่ าหากว่าคนพงแสดงอาการไมส่ นใจในเรอื งทเี ขากำลไพงอยแู่ ลไ ผลการพดู ของเขาก ไรค้ ุณคา่ ฉะนนค์ นพูดตองพยายามจดสรรเรอื งราวของเขาใหเ้ ขากบความตองการในชีวติ ประจำวน่ ของคนพง ๔. ฃด่ แมง่ กบดลิทธาด้งํ เคิม แนวคิดใดทกุ ประการทขดแยงตอ่ ความเขอม,นดงเดิม ของคนพงแลไ ยอ่ มยากทจี ะให้คนพงรบพงแนวคดิ นน ๆ คนพูดควรเสนอให้คนพงเห้นในแนว คณุ คา่ ทางสง่ คมของเรืองราวทตี นเสนอ งดเว่นกล่าวโจมดีแนวคิดด^เดมิ ของคนพง ๔. แนรคดิ ลิวน ๆ เบนทนี า่ สไเกตวา่ เรืองราวใด ๆ กตามทีไม่เกยี่ วกบความหวไ ในอนาคตเรืองราวนน ๆ คนพงม,กขาดความสนใจพง เพราะฉะนน์ จากผลทางปฎิบ้ตจํงปรากฏ ว่าทฤษฎนี นมืคนสนใจมากกว่าขอเทจ็ จริง ภาวะทางมายาการน่าสขุ ใจมากกวา่ ความจรงิ คนพูด จงตองเสนอเรอื งของเขาในรูปลกิ ษณะทกี ระตุนพลไข,บทางเจตจำนง และแนวทางใหม่ ๆ ใหเ้ กิด แกค่ นพง

๖๓ 7 ประเภทการพดู อธิบายนอ็ เทจจริง การพูดอธบิ ายขอเทจจริง (1๔01-11181176 ร06601168 ) นมิใชเ่ บนเพยี งเรอ่ื งขอเทจจริง เท่านน แตย่ ไมเี รอื่ งการหนไท่อี ีกควย คนพดู ย่อมวางเบาหมายเพอ่ี สถานการณพ์ เิ ศษ การพูดแบบน แสดงออกในโอกาสต่าง ๆ หลายแบบ เพราะแบบการพดู ข้นํ กบโอกาส ฉะนน ในทน่ี จะขอกล่าว ถงึ แบบการพูดในโอกาสพีใขก้ นทวํ ไปดไต่!)ไปน ©- การสอน (๒81100110118) การสอนเบนการพูดทคนพูดหรอิ คนสอนตงสมมตฐิ าน เอาไว้ก่อนแลไวา่ คนพง่ี มีความรใู้ นเรื่องทส่ี อนนํอยหริอไม่มมี าก่อนเลย การพูดแบบนจึงติองมีประมวล แนวทางการสอนหรอิ คำอธิบายรายละเอียดของเรอ่ื งที่จะสอน (๑) คำอธบาย วตถุประสงคข์ องการพดู ควรกำหนดลงในขอบเขตและให้ง่าย พอทจะอธิบายได้จบภายในเวลาทีก่ ำหนดเอาไว้ ติวอย่างต่อไปนเบนติวอย่างการวางแนวการจด ระเบียบการพูด ๑. ลกษณะฃองเรือ่ ง ก. กลา่ วบทนยิ ามในความหมายของวตถุประสงค์มูลฐาน ข. การวิเคราะหเ้ พอสร่างเนอเรอ่ื ง ค. คำอธิบายย่อถึงฒทจะเกดิ ๒. ความติองการเพอี่ การปฎบิ ต่ ก. อุปกรณ์อนจำเบน * ข. เครอ่ื งมี!)ที'จำเบน ค. เคาเงอน (000๔110118) พเิ ศษ ขนสำค'ญในการปฎิบต ๓. ก. ขนทหนงิ (๑) เคร่อื งมีอและอปุ กรณ์ (๒) การกระทำทจะลงมอี ปฎิบํต ((ขกไ)) เบหโรต!รโุฝย\"ล็ าขยอเVรงอกงากรกาโรรกะทระำท0า ก. ขนท่สี อง ฯลฯ

ขเน^-ฑ•เสามนอธบายถงรายละเอยดวIาจะลงมอบIฎบ0^ฅ*จ^รงทละขนเคยวธ 6ไเด ลจะเก^ด ขนมามีอะไรบาง (๒) การสาธก การสาธติ คือการพดู อธบิ ายถึงกระบวนการในขนตอนของกระบวน การปฎิบํติทุก'ขนตามลำตบ โดยปกติแลไขนนม์ กใชอ้ ุปกรณโ์ สตทรรศนศกึ ษาประกอบการชดุ หรือ การสอน หรอื สูส้ อนอาจแสดงสาธติ ประกอบกไต้ เขน่ การสอนทา่ กายบรหิ าร คนสอนอาจฉาย ทา่ กายบริหารใหค้ นพงดูจากเครืองสไลด์ หรือคนสอบอาจแสดงท่าใหด้ กู ไต้ (๓) การอธบายรายละเอยด การอธิบายรายละเอยี ดนอาจปรากฎในรปู ของ ก. บทน'จยาม ขะน/น^เ๔บ1นขะน?อ-ธ*บายเกยวกบการหนVาท‘ง ^ลกษณะภาพ ต^วอยIาง เพอชให้คนพงเข่าใจบญึ๋ หาสำคญํ โดยละเอียดถถึ วึ น ข. การบรรยายโดยระบบ ใขก้ บการอธบิ ายการใชก้ ลจกรประเภทใด ประเภทหนงื เข่น เคร่ืองปรบิ อากาศ เครอื งจกรดเี ซล การอธบิ ายประเภทนมุ่งใหเ้ ห็่นรายละเอยด ของการทำงานแต่ละสว่ นของเครอื งกลจกรนน ๆ ๒. การรายงาน (^6?01:เ8) การรายงานมลี กษณะเดน่ ชดอยู่ ๒ ประการ คอ ประการ ท่ีหนง์ เสนอแนวตดิ และขอ่ เท็จจริงใหม่ ๆ ประการทสองคนพดู มีความรบิ ผิดชอบในการเสนอแนวตดิ ของเขาตอ่ คนพง ในรายงานนนคนพงทราบว่าอะไรไตเ้ กดชนแลว ไมใ่ ช่ทราบวา่ อะไรกำลไจะ เกิดขนหรือควรจะเกิดขน ในทนจะกลา่ วถึงประเภทรายงานเทา่ ทีมีปรากฎใชก้ นมาก (ร)) รายงานสุนทรพจน การรายงานแบบนเบนการรายงานเกยวกบสนุ ทรพจน หรอื ดำบรรยายของคนพดู ในรายงานจะกลา่ วถงึ ช่ีอเรอื งท่ีบรรยาย เวลาบรรยาย สถานที โอกาส ทกล่าวสนุ ทรพจนว์ า่ กล่าวเนืองในงานอะไร สรุปหไฃอสำดญํ ของสนุ ทรพจนไ์ วโ้ ดยครบถวน ( ๒ ) ร า ย ง า น บ ท ล ะ ค ร เบนการรายงานละครที่แสดงโดยเปรยบเทยบการแสดง กบเรืองอน รายงานถึงจฺดเนนื ของเร่อื ง บทบาทของตไแสดงทุกตไ แบบเครอื งแตง่ กาย ดนตรี ป1ระก1อบเโนอม เร่อง (๓ ) รายงานบทความ คอื การรายงานบทความสารคคืท่เี ขียนลงทมี พเผยแพร่ ทางวารสารรายเคอื น รายบกษ รายส'ใ]ดาห และหนไสอพมิ พรายวน รายงานประเภทนก์ ล่าวถงึ

ขอคนเขยี น ข่ีอเรื่อง ขีอ่ 'วารสารที่ทีม'พบทความ ฉบบที'ลงทมี พ่ี (วนทเทา่ ไร เดอนอะไร) เนอหา ของเร่อื ง คนเขยี นรายงานอาจแสดงแนวคดิ เหนล่วนตไวจิ ารณ์บทความทีเ่ ขาเขียนรายงานด้วยกได้ (๔ ) รายงานหนังสอ รายงานหน'งสอื นิคนขพดรายงานใหค้ นพงทราบถงง'านเดน่ ของคนเขียนขี่งกลา่ วถงข่ีอหน'งสั อี ขอี่ คนแต่ง ประเภทหนไสึอ (นวนิยายหรือสารคดี) เนอเรือ่ ง ในการชุดเกียวก'บรายงานหนไสอื นิ คนพดู ตห)้ งกล่าวลงเรอื งราวเทยี่ วกบประวํตลว่ นต'วของคนเขยี น ดว้ ย และหรอื มกบวจิ ารณใ์ หค้ นพงทราบด้วยวา่ หนํงสอื เล่มนน คนเขียนขใี่ หค้ นอา่ นได้แนวขวี ทศนิ อยา่ งไร คนเขยี นร'กษาเบาหมายของการเขียนตรงกบวตถุวิล่ยของเรอื่ งหรือไม่ (/ ๕)\\ รายงานการส0ารวจ รายงานการส๐าิ รวจนมข&นตอนการด0าเน^นงานเบ๘น!ข^น ๆ •3 ก. จดทำประมวลคำถาม คำถามท่ีจะล่งไปให้คนตอบเพอ่ี ผลในการสำรวจ เรือ่ งใดเร่อื งหนงิ นน ควรจดทำโดยละเอยี ดทกุ แง่ทกุ มมุ เพอ่ี ให้ไดข้ ีอมลู อนถกู ตองสมบูรณ์ตามที่ ตองการทกุ ประการ ข. ระเบยบวธิ ซี ไาถาม ระเบียบวธิ ชี งใชใ้ นการนอิ าจเบนการตรวจสอบ การแยกประเภท การจดนบ การวด ขีอมูลเท่ยี วกบํ ีรสนิยม แนวคดิ ของประชาชน อาจไดร้ บจาก การชกถามประชาชนโดยตรง ค. การดำเนนิ การซไาถาม ในการดำเนินการชกถาม คนชกถามตองเหน และได้ยนิ เรอื งนนจรงิ ๆ เขาตองทราบว่าเขาเหนอะไร ไดย้ นิ อะไร ง. การรายงานขอมล ผลการดน้ ควาและคำตอบท่ีได้จากการชกถามตองจด ข ทำรายงานทนทใี นแบบท่ีถกู ตอง ค. การจดระเบยนรายงาน ในการเสนอรายงาน คนพดู วางแผนการพดู รายงานของเขาเพอให้เหมาะสมกบคนพงและวต่ ถปุ ระสงคทเี ศ'ษ โดยทว่ ไปแล่วในการชดุ รายงาน ของเขาจะมสี ่วนสำคํญ ๔ ประการ คือ ค. ๑ อธิบายถงลกษณะและว่ตถปุ ระสงคํของการสอบสวนคนควาิ ค. '๒ สรปุ ผลการคนควิาและขอยุติในรปู ย่อ

ค. ๓ อธิบายถึงระเบียบวิธีทใี ขใ้ นการคห้เควาเรืองน ค. ๔ กล่าวถึงลลการคนควาโดยละเอยี ด (๖ ) รายงานทางเทคนคิ รายงานทางเทคนิคเบนรายงานทรี วบรวมผลการสำรวจ นว้วเองแตร่ วมถึงขอมูลทงี หลายทีรวบรวมไว้จากการทดสอบและการทดลองดวย การทดสอบและการ ทดลองมรี ากฐานอยู่กบการวเิ คราะหฃํอบญหาทตี 5องการจะแก้ และการคนหาระเบยบวิธทดทสุด ในการคนควาและ1หา1ขอแก้ไข ในรายงานทางเทคนคิ น มอี งคประกอบทไี ม่ควรละเลยอยู่ ๒ ประการ ก. ความต่องการ ผ้รู ายงานทางเทคนิคทดี ีต่องมคี วามเชยี วขาฃในเรืองท รายงาน มีคว่ ามรอบรทู้ างวทิ ยาคาสตรืเทียงพอเทือการส่งเกตอยา่ งถกู ตอ่ ง มความสามารถในการ วิเคราะหสงทสี ง่ เกต สามารถทำการตดสนิ เบนี ขไห!้ๆติได้อยา่ งถขกต่อง กล่าวอีกนย่ หนงคนทจี ะ รายงานทางเทคนิคต่องเบนคนทีปราศจากอคตทิ ุกประการ ข. หลไามูลฐาน ในการพูดรายงานทางเทคนคิ คนพดู ควรใข้หลกมลู ฐาน ฅ'อ\"1เปเน^ เบ'ปนแนวทาง*1๒ การพูดรายงาน ข. ๑ การสงามเวลาและความทยายามของคมทง คนพขดตอ่ งวางแผนการ กล่าวบรรยายขอสรุป และตว่ อย่างประกอบในรปุ ทีข'ดเจน ใชภ้ าษาพดโดยภาษาธรรมดา พยายาม จ 'ข ข งดใขภ้ าษาทางเทคนคิ ภาพทปี รากฎทางเครืองโสตมีความเขาใจขดคนพงเขาใจงา่ ย ข. ๒ ตอบสมองความตอ้ งการของคมทง กล่าวให้คนพงทราบเฉพาะเรอง สำคญ่ ทีนา่ สนใจเท่านน ข. ต รักบาการรายงามใตต้ รงกบั วัตถๆปุ ระสงค์ คนพขดเสนอผลการคนควา ขอยุติแก่คนพง อย่ากลา่ วถึงความตดิ เหน้ ส่วนต่ว ความรู้สก และความจดเจนของตนเองใน รายงาน ข. ๔ ใชภ้ าบาใต้กVกต้อง อยา่ ใช้คำพขดกำกวม หรอื ภาษาทีคนพงไดพ้ ง แลไเกิดฃไ)บญหา ข. ๕ แปลความหมายข้อมลดบิ ขอเทจี จริงและขอมลดิบตา่ ง ๆ นนไม่ ข ข' ทำให้ลนพงเกดิ ความเขาใจได้ คนพูดรายงานควรอธบิ ายความหมายของขอมลู เหลา่ นนต่อคนพงดวย

นอกไปจากการรายงานประเภทตา่ ง ๆ ต่งกล่าวมาแลวนยง่ ้มีการรายงานทคี วรทราบอกี ๓ ประการควยกน (ต ) การรายงานของคณะกรรมการ องคก์ ารบางองคการมอบ,ใหค้ ณะกรรม- การจ,ดทำขอเสนอแนวการแก้ไขบญหาขํอไดขอหนงึ คณะกรรมการทไี ดร้ บมอบหมาย รายงาน ผลการวจิ ยการตรวจสอบและขวต้ กลงใจในการแกไ้ ขบญี หา (๒ ) รายงานตามระยะเวลากำหนด เบนการรายงานในช่วงเวลาทกี ำหนดไว้ ทุกชว่ งเวลา เช่น รายงานรอบ ๓ เดือน ๖ เดอื น (ต )) รายงานความก้าวหนา้ ในรอบ ๖ เดือน หรอ ๑ บ หํวหนำงาน หรือ องคการจะจ่ดทำรายงานให้หน่วยเหนือ หรือประชาชนทว้ไปไดท้ ราบผลการปฏิบํตงานอนกา้ วหนำ ของหน่วยงานของตน ๓. การบรรยาย (^(ะณ^ร) การบรรยาย ดอื การพูดอธิบายช่อเทจจรงิ อนมีรากฐาน อยู่กบความรอบรแู้ ละความจว้]เจนของคนพดู โดยทํวไปแกว้ ในการบรรยายนน คนพดู มขี อสมมติฐาน อยวู่ ่าคนพงมความเช่าใจเลกนอํ ยในเรอื งทเี ขาบรรยาย คนพงปรารถนาจะขยายขอบเขตความรอบรู้ ของเขาให้กวางขวางยงข้นํ ไปอกี ตามปกติ ในการบรรยายนน คนพขดมจ่ ุง่ หมายใหค้ นพงเกิดความ เขาใจกวางขวาง เขาทำหนาทีเ'สนอขอเทจจรงิ แนวค1ดิ 'แต่กมใี นบางโอกาสเชน่ กน คนทฃ่ด มุ่งพูดเพอเรืยกฬง้ ชก่ จูงใจคนพงให้สราื งแนวคิดตามทีคนพูดกล่าวมากบ้ เกิดความปรารถนาสนใจ ตดิ ตามการบรรยายคราวตอ่ ไป ฉะนน หลกในการบรรยายจงึ มีอยู่ ๒ ประการ (ต ) การอธบายขอเท็จจรง คนพดู มิใชม่ ีหนืาทเี ทียงนำเสนอขอเทจจริงเท่านน หากแตว่ า่ เขายไมหี นำทอี ธบิ ายขอเทจจรงิ แกค่ นพงอกี ดวย การเขาใจเกี่ยวกบความสมพนธ์ของ ขอเทจจริงทงี หลายมีความสำคญมากว่าต่วชอ่ เทจจริงแท้ ๆ ในการวางแผนการบรรยาย คนพดู ตอง กำหนดขอบเขตทเี ศษของการบรรยายลงไปอยา่ งชดเจน ช่อเทจจริง ทีคนความาได้ตองจดวาง ระเบยี บไว้เบนหมวดหม‘บิ่ ชอ่ เทจ^จริงควรอธบิ ายใหถ้ ขกตองตามกาล สถานที อาการการเกดิ ขนของ ช่อเทจจรงิ คนพูดตองบรรยายช ใหเ้ ห็นความสำคญของชอ่ เท้จจริงนน ๆโดยละเอยี ด (๒ ) การอธบายแนวคด แนวคดิ เบนเรอื งนามธรรมดอื ไม่มตี ่วตนปรากฎให้ คนพงเหน็ ทางโสตประสาท จึงเบนการยากทจี ะอธบิ ายให้คนพงเชา่ ใจไดโ้ ดยง่ายแบบเดียวกบ

ก. กลา่ วบทนิยามอย่างกวาง ๆ ข. กำเนิด ทมี่ า ประวํตของแนวคดิ นน ๆ ค. ลกษ■ ณะเด่น คณุ ดา่ ของแนวคดิ ง. การเปรยี บเทียบ และข9อข็ดแยงกบแนวคิดอนื ๆ จ. ต'วอย่างท่ีแนวความคิดแสดงออกในพฤตกิ รรมประจำวนของคนในสํงคม มขี อควรจดจำประการหนงว่า ในการกลา่ วถึงบทนยิ าม ควรกลา่ วเทียง “ทรรศนะเดยี ว” การเตรยี มการพตู อธิบายขไ)เทจจรงิ หลกการว่าด่วยการตดิ ต่อทางวาจา ถอึ วา่ เบนรากฐาน’ของการพูดอธิบาย1ขอเท็จ'จรีง แด่ หลกการทางเทคนิคทจะกล่าวต่อไปนกยอ่ มมสี ว่ นสำค'ญในการชว่ ยให้คนพดู ไค้ปรบปรงุ เรองราวของ เขาใหเ้ หมาะแกค่ นพง ๒. จด,จำ'ขอเท็จ'จรงิ หรีอแนวคิดทเ่ี 1หม0ี นกํนิ 60. เขาใจดีถงึ ความสมพนธระหวา่ งขอเทจ่ี จรงิ แนวคิดประการหนงกบขอเทจ็ จรงิ ประการอน ๔. แยกประเภทแนวคิดออกไปเบนประเภท ๕'. เขาใจความสมพนธ์ขฝ็งขอเทจี่ จรงิ กบสถานการณท์ ีแ่ ทรกแซงหรอี เทย่ี วข!เงกน ๖. ประยกุ ตขอเท่ีจจรงิ ใหเ้ ขากบสถานการณใ์ หม่ กบสิงเกดดวู ่าเหมาะสมหรีอไม่ ๗. ระวงขอเทจจริง แนวคดิ บคุ คลอนี ตว่ เอง ในด่านทเี่ ท่ยี วคํบขอเทีจ่ จรงิ นิน คุ ๘. เขาใจขาบขงเรีองความสมพนธร์ ะหวา่ งขอเทจจริง แนวคดิ ในดานผลหรีอโครงสรีาง ๙. จดจำแนวคิด ขอเทจจรงิ ไวเ้ ทอี นำมาอรบิ าย ยกตวํ อยา่ งประกอบกล่าวขาอีกครง.

บทที ๙ การพูดจูงใจ การพูดจงู ใจคอตลิ ปการสรางความประพฤติ โดยใช้เหตกุ ารณีทีเ่ กดิ ขน การใช้เหตผุ ล และการเสนอแนะ ใหส้ อดคลองกบความเชอมน ความรส้ ่กความจดเจนและพลไจงใจของคนพง เ๔บ!นความจรงอยู่บางในขอท^ ว่า ในบางคร^งบางคราว กาขรใหข้ อเท^ จ่็ จรงิ อย่างแจม่ ขแจงในกรณใี ด กรณหนง อาจลดความจำเบนในการจูงใจคนพงลงบาง แต่อย่าง'ไรกด มไาปรากฎวา่ ขอเทจจรงิ ทคนพ่งํ ทราบมกไม่สมบูรณี นอกจากนขอเทจจรงิ ทีท่ ราบกนมกจะขาดพลไทีจ่ ะกระ?ชน้ ให้คนพง เกิดความเชอ้ หริอกระทำอย่างใดอยา่ งหนง เพราะฉะนน คนพดู จงู ใจจึงไม่เพยี งแต่พิจารณาบญหา เท่านน แต่เขาจำต^งพจิ ารณาบคุ คลผ้เกยวของกบบญหานนอกี ดวย คนพดจงใจตอ่ งการใหค้ นพง ร ิ” ข ” ขข ตดิ และลงมีอกระทำในแนวทางทเขาตองการ การจะทำเขน่ นี่คนพูดตอ่ งใชเ้ หตุผล เบนรากฐาน ฮนนสนุนแนวติดของเขา เพอบรรลุวตลุประสงค์ท่ีตองการ การจูงใจใชล้ กขณะทางตรรกคาสตรนอยกว่าหลกทางจิตวทิ ยา ที่งนเพราะเหตวุ ่าข่อเสนอ ทางเหตุผลเบนเรือ่ งนามธรรมและใช้กบความจรงิ อนเปล่ียนแปลงไมไ่ ด้ สว่ นข่อเสนอต่อความรู้สึก และอารมณเี บนเรือ่ งรูปธรรมหรอิ เกยวกบบคุ คล กอ่ ใหเ้ กดิ สมรรถภาพในการเปล่ียนแปลงทาง ทรรคนคติ และพฤตกิ รรมของบคุ คลต่าง ๆได้ หลกวขิ าจิตวิทยายุคบจจบุ นยนยนว่า ความเฃ่ีอมนและ กมมนตภาพหรือการกระทำของคนทุกคนเกิดจากพลงํ ทางจิตวทิ ยามากกว่าเหตผุ ลทางตรรกคาสตริ ครามสำคญฃองการจงู !ใฃ ข*4งเบ๔!นผล๑เหVกมานรจุขงูย*ใตจVอเกงปิด1ขรVบนปเพ1รรงุ าตVะววเอ่ามงกนVบขุ ทย&เงผสข*รญิ;างหรนปู 1ากกาบ่ รบกรญะหท0าาแ^ขลนะมสา6ถ.เหา.นมกณารณทีม. เาดกมหจคลวาายมขแอตงกขต่ว'าิตง ก่นในเรอิ งความปรารถนา แนวความติดการต่ดส่นใจ ณ ทีน่ นจะเกดิ ความขดแยง่ ขน้ํ ความ ขดแย่งน่ีแหละสร,างความจำเบนในเรอื งการจขิ งใจให้เกิดขน คนพขดจขงใจตองใชค้ วามสามารถทาง

๗๐ วาทคลิ ใ] ทำลายอุเบกขาความวางเฉยในจติ ของคนพง พดู ให้คนพงเกดิ ความปรารถนา และมความ สนใจกลา่ วอีกน่ยหนึง การจขงุ ใจคือกำเนดิ แหง่ ความกไวหน่าของสง่ คม เพราะเหตๆุวา่ กา^รจขงใจ^น กอ่ ให้เกดิ แนวคิดใหม่ โครงการให^ ม่ รขปแห่งการร่วมมือใหม่ ^ การจขงํ ใจมอื ท*ธิพลต่อคนอน เพอ ให้เขายอมรบความรบ่ คดิ ขอบ เปลยนความไมส่ นใจ ความไม่เชอ ใหเ้ กดิ เบนพลไอนมหาศาลใน การกระทำ โดยอาศ'ยครรลองแห่งความรข๚ุ ก และอารมณของคนพงเบนพลไดลจติ แบบการทIIดจฃิ งใจ การพขดขจุงใจนน” เมอื กล่าวถงึ วตถๆปู \"ระสงคห์ ลกมขลของคนพขดแลว แบง่ ออกเบน ๓ ประการ • . การบูดเทือให้เกิดความเชอ (ร{16815108 10 0001)'1อ06) การพดู แบบนคนพดู ตอ่ งการใหค้ นพงยอมรบํ แนวคดิ แนวปฎบิ ตํ หรอิ หลกการแกบ้ ญ่ หา การพูดเพอให้เกดิ ความเชอน มไใช้เพอสร่างอทิ ธพิ ลต่อมติมหาขน เบน่ ทีน่ า่ ส่งเกตว่า คนพงจะเกดิ ศรทธาความเชอในคำพด ข่ ของคนพขด ก”ตอ่ เมอคำพข่ดนน^ เบน่ ทสนใจสำหรบคนพง กลา่ วคือคนพงใช^้วาทศลิ ใ]สร่างจจดุ ความ แสกนIคใจน'1ใพปหง้/ดเ้ กเนดิ ร'ขขปน.ทๆฃเสมิบนรจอณกิทจ่ สาดกนคนพขดตอ่ งอาศํยหฒตั รรกศาสตร่เสนอแนะขอเที่จจริงอนโตแ้ ยงไม่ได้ ๒. การพฃิ ดเทือให้ลงม’ ือกระทำ (ร{)68ผ๐8\" เ0 &เ:น!สห\";) การพขดประเภทน คนพดู พยายามเปลยนแนวคดิ ความเชอ ทรรศนคคิเก่าของคนพง สรา่ งคนพงให้เกิดแนวคดิ ใหมแ่ ลไ ปฎิบตํ ตามแนวความคิดใหมท่ ่เี กิดขน การบูดเทอื ลรา่ งพลงดลจติ (ร1ว631ห08 1๐ 1081)116) การพูดชนดิ นมเื บาหมาย ๓. หฒทั ่ีต่องการจะเร่าอารมณคนพง ใหค้ นพงเกดิ พลไดลจติ เชอี่ มน่ หรอิ เหนคณุ ค่าในเร่ีองใดเรี่องหนง คนพข ดทำห^นไที่ปฯลกอารมพคนพงท่อี ขยใ่’ นส^ภาพเฉ่ีอยชาเฉย ๆ* ไ๙มส่ นใจ ใหเ้ ปลีย่ นเบน่ กระคือรอิ รน สนใจขาบชง เกิดความตริงตรา ในเร่ีองทคนพฃดพขดใหพ้ ง เหน้ จริงคลอยตามไปทๆุกประการ ทารชจง’ใ-จ' โดยเหด1ผด ’ ข่

ลไนเบนความจริงทุกประการ เพราะฉะนน คนพดู จูงใจจึงจำเบนตองเสนอแนวคิดของเขาโดยหลก เหตผุ ล วางรากฐานคำเสนอเรอ่ี งราว (^11016๐18110๐) ไว้กบหล'1กฐาน (&V๒6ฑ06) อนถกู ตอง คำเสนอเร่ีองราวคืออะไร ‘ คาเสนอเรองราว คอื ระเบียบวิธกี ารสรไงความเฃี่อมํน และ การสรไงขอ่ อไง ( 51816016๐1 ) อนถูกตองตามหลกตรรกศาสตร์ ” จากบทนิยามนจะเหนไดว้ ่า คำเสนอเรอื งราวเรม์ ตนจากขอเทจจรงิ อนทราบกนดอี ยู่แลว และดำเนนิ เรือยไปบนวิถีแหง่ เหตุผลจน บรรลขุ อยตุ ิ (00๐0๒810๐) ข่อเทจจรงิ ในคำเสนอเรอื่ งราวเรยื กวา่ “ หล*กฐาน’' การหาเหตผุ ล ตามหลVก๙ฐ\"านทมอฃยIิเ^รยกวIา แ61ลพสขิจน^ (1.เ1(616ฑ06)\\ กระบวนการการ ๑เขVหลกVฐ๗*านและ6เลท■สขจ^น๙ เรยิ กว่า “การพสิข ฺจเนน’ (?100*) ผลของการพสิขจน์ยอ่ มเบนความจริงอนสามารถทดสอบได้ จาก ขไความดไกลา่ วน^ ิจะเห00็น-Vไ1 ^ดว้ I ่า คำเสนอเรองราว เบนระเบยี บวิธกี ารแสดงความสมพนิ ธระหวา่ ง แนวความคดิ ทงหลาย ที่คนพดู เสนอแก่คนพง คำเสนอเรือ่ งราวอนถูกตองทุกเรอ่ื ง ประกอบดํวยญตติ ชงในความหมายนได้แก่— ๑ . เรื่องราวแหง่ การพิสูจน์ หรือหลไฐานอนสมพนธกไ]ญ'ตติ ไอ. กระบวนการการพสิ จู น์ ๑ . ข่อยตุ ิ เพราะฉะนน จึงกลา่ วได้วา่ การเสนอเรืองราวนน แบง่ ออกเบน ๑. การวิเคราะห์ ไดแ้ กก่ ารศึกษาญตติ และเร่อื งอนเทยี่ วกบญตติ ๒. หล*กฐาน คอื การศึกษาขอ่ มขลอนแนน่ อน มิใช่ข่อมขลเทีจ่ ผ. ตรรกตาสตร์ การศึกษาระเบียบวธิ กี ารหาเหตุผลอนํ ถกู ตอง เที่อจงู ใจคนพง ญตติ ญตติ คอื อะไร ? คำวา่ “ญ*ตต”ิ (?เโ01)081110๐) คอื ขอความประโยคหน์ง ซึงคนพดู ตองการใหค้ นพงเห็นพิองร่วมกบต'วเขาในเรืองทเี่ ขาเสนอแก่คนพง เชน่ ญํตคิว่า “ชาติไทยจะแบง่ แยกมVไI ดV ') ) หรอ 1 (ล0ท^ ร^ คอมม^ วน‘^ ส๔ม เบ๘ \\นปIฏ^ บ0ไก/ ษ๙ ก^บระบอบปI ระชาธ^ ปIVIเตย5*

คำพูดทเ่ี บนญตติ ไม่ควรจะใช้คำพูดทม่ี ืความหมายมากกว่าหนงความหมายกบทีง่ ไม่ควร แนวค^ ดดงเด'ะ*มทมอยIู ลาเรากลบมาพจิ ารณากงประเภทของญตติ เราจะเหน้ ว่าตามหลกตรรกศาสตรืญตดิอาจ อยใู่ นประเภทต่อไปน ๑. กล?าวล4งฃอ1ท^จจ^รง ญ^ต*ฅ*ป1ระเภทนนเบ^น^เดVทง ^จ^รง1) และ (Iเท*0จ เช1น ญ®ต*ต* ว่า “ การเดินทางโดยเครอี่ งบนิ เบนการเดินทางอนปลอดภยทส่ี ดุ ” หรอญตดวิ ่า “ เสยี จอแจในเมอง ทำลายหูของประขาชนในเมือง ” คนเสนอญตํ ดหิ รอคนพูดอาศ่ย้ “ความจรง” หรอ “ความเที่จ” ของเหตกุ ารณ สถานการณ,์ในอดติ บจจุบน มาประกอบการพดู ของเขา ๒. กลา่ ?ลงคุณค่า คนเสนอญตดแิ บบนจะเสนอความคิดเหน้ ของเขาตอ่ คนพงว่า เขา ขอบหรอไม่ขอบเกยวกบเรืองราว สลาบน วถิ ขี ่วิต ฯลฯ คนพูดเนํนความต่อง้ การของเขาตรง “การ เหน็ ดวย ” หรือ “ไม่เหน็ ดวย ” ในคณุ ค่าของสงี ตา่ ง ๆ ท่นี ำเสนอแกค่ นพง ๓. กล่าวลงนโอบาย ญตคปิ ระเภทนคิอ การนำเสนอเรองที่ “ ควรทำ” หรือ “ไม่ควรทำ ” คนพดู มงุ่ ฅลอนาคตกบท2งจะเนนหนกเรอื งขิอเทจจริงกบคุณค่าของสงี ที่เขานำเสนอ ในการเสนอญตํ ดิแบบน มขื อควรสํงเกตประการหนงว่า ในญตดจิ ะมืคำวา่ “ควร” หรือ “ไม่ควร” เข่นญตตวิ ่า “ รฐับาลควรสร5างโรงเรยี นใหเ้ พยี งพอ เพอเบนการบองกนมืให้เจาของโรงเรียน ราษฎรเรยกเกบเงนกนเปล่าจากด้ปู กครองน'กเรียน หลง่ จากเสนอญตํ ติอนกระจ่างขดแลว่ คนพูดตองดำเบินการต่อไปเพอพิสูจนํใหค้ นพงมื ความเข่าใจเหน้ พองต่อไปวา่ ญตตท่ีคนชดุ เสนอนนถูกตอง คนพดู จะทำไดเ้ ข่นนกโดยการศกษา เหตุฒทกุ ประการอนเท่ยี วกไ]บญหา พจิ ารณาขอขดแยงทกุ ขอ่ ในญตตเลอื กสรรค์ข่อเทีจ่ จรงิ หาเหตุฝืล ท่ถี ที ี่สุดนำมาเสนอแก่คนพง เพอจงใจคนพงตามแนวทตี่ นตองการ

การจงู Iจโคยเรำอารมณ อนวา่ การพูดตง,ใจ'จะเกดิ ผลอย่างแท้'จรงิ 'ได้ คำพูดจงู ใจตไงเบนคำพูดทเี ร8าอารมณ์ ปลุก อารมณค์ นพงให้ตืนด่ว เพราะฉะนน คนพฃดค่ วฃรพดเราอารมณ์คนพง ให้คำพขดของเขามรี ากฐ8®าน อฃยิ ่ลิบฑรรศนคติ และเบาหมายชวี ิตของคนพง ต'วอยา่ งคำพฃดจงใฯจอนเดๆ่นทสดุ ในวงการนกพขดกคือ วาทะของดานีล เวบฝเี ตอร, อบราอม ลินคอลน, แฟ่รงกลนิ ด.ี โรสเวลท ในธรรมชาติของ มนจษุ ยเ์ รา อารมณ์เบนพล'ง้อนทรงพลานจิ ุภาพมากทสีจดุ ในชีวติ มนจุษย์ จริงอขย่ละคนเจิชีอเหตุผิ ลตาม หลไไตรรกศาลตริ แดค่ วามเซีอ่ จะแปรฒเบนการกระทำได้กเพราะอารมณ์ จากทลษุ ฎีจติ วทิ ยาบรสิ ทธเราพบความจรงิ ประการหนึง่ ว่า ทีม่ าหรือดน่ กำเนิดอนแท้จริง แห่งพฤIติกรรมท่งี หลายของมนจิ ษุ ยเ์ กิดจาก “พลงิ ขบทางอารมณ์,, มใิ ช่เกดิ จากอะไรทีไ่ หน มนจิุษย์ เรามซี ุดอปุ กรณท์ างสมองสำหรบประกอบพลตุ ิกรรมบางอย่างฉนใด มนุษยก์ มีอปุ กรณ์ทางอารมณ์ เพอประกอบพลุติกรรมฉนน่ึนเหมีอนกน อปุ กรณ์ทางสมองคอแนวนิาวทจ่ี ะสมตสิ ทาง ตา หู จมูก ลน กาย แนว'นิาวท'ี่ จะเขา,ใจเรื่องราวด่าง ๆ และแนวนิาวทจ่ี ะกระทำอะไร ๆ สว่ นอปุ กรณทาง อารมณค์ ือแนวนาิ วทจี่ ะรูส้ ึก และมปี ฎกิ ริ ยิ าในแนวทางใดทางหนง มนษุ ยจ์ ะแสดงพลุตกิ รรมในรปู ของอารมณท์ นที เมือเขาถขูกเริาในลกษณะอ'นถฃกู ตอง เชน่ นกการเมอื งสามารถใชว้ าทศลิ ปพขด จข่ งใจประชาซนให้ประชาชนคนพงคำพฃดของเขาเเกิดพฤตจกิ รรมกสุ่มซนขน อะไรทำให้คนเกิดความตองการที่จะเช่ีอและทจ่ี ะกระทำ ใ คำตอบในเรอื งน่ึไมใ่ ชเ่ บน คำตอบที่จะหาไดอ้ ยา่ งงา่ ย ๆ แดจ่ ากกระบวนการการลองถูกและลองติด จากการทดสอบหลาย ๆ คร่ืงในการจขงใจคนอื่น เราไดฒ้ ลพิ ธประการหน่งึ วา่ คนจะทำทนํ ทีถาหากเขา^ไดร้ บพลิงดลใจ ตรงกไเบาหมายของต'วเขา ในนไ)ตรงกํนชีามสึงเรืาจะลมเหลว ลำ-หากว่าสงึ เราน,น ๆ ไมต่ รงหรอ ไม่ปลุกพล'งดลใจของเขาใหค้ ืนขน เพราะฉะนน บญหาสำค'ญยงในการพดู จงู ใจ กคอ คนพดู ตองเลือกเบาหมายใหต้ รงหรอื เหมาะสมลิบเรื่องทจ่ี ะพฃดฃจงใจคนพงของเขา เรืองท่ีเขาจึงจะเบนทน่า สนใจและปลกุ เราอารมณคนพงให้คลอยตามเขาได้อยา่ งง่ายดาย ครนอารมณคนฅนื ฅวแลว คนพ* จะเกดิ ทรรศนคติหรอื สร8างพลุติกรรมในรูปท่ีคนพูดปรารถนา

๗๔ การจูง(ใจโดยบุคลกิ ภาท อทิ ธิพลของการพขดนอกจากจะเอิตเพราะความสาิ มารถทางวาทตลิ ใ] พขดเร่งเรา่ อารมณ คนพง จนคนพงเกดความตรงตรา มที รรศนคติ หรือ สรา่ งพบตุ กิ รรมตามเรืองทไดพ้ งแลว สิงที สิรา่ งอิทธิพลเหนอื คนพงอกี ประการหนง ซง่ี มีความสิาค่ญมากเข่นเดยี วกบวาทตลิ ใ] สิงนกคอื “บจุคลกิ ภาพของคนพขด” นนื เอง บาคุ ลกิ ภาพ อธิ ย'าศํย ช่อื เสียง ลกบณะกายภาพ ของคนพงยอ่ มมี อิทธพิ ลเหนือคนพงในระตบสงิ ทเี ดียว ๓ หากวา่ ลกษณะดง่ กลา่ วนมื ีสว่ นติงดูด ผลจะก่อความ ประทบใจแกค่ นพง แตถิ ไหากลว!้ บณะบุคลกภๅพอยู่ในลว!้ ษณะผลกดนคนพง คนพงจะเอิดความ ร้,ู สกเฉย ๆ หรือไมย่ อมรบคนพดู ณ วนิ าทแี รกทพี บเหนเขา เพลโต เคยบอกไว้ว่า “คนติได้รบเกยี รติและช่อื เสยี งสำหรบความตขิ องเขา อธํ ยาติย ของเขามีอิทธิพลอยา่ งมหาศาล เหนอื บคคลท่ีงหลายท่ไี ด้อนิ เขาพด ” เรืองนืน ๆ คนพงจะเช่ือถือเขามาก นืาหนกเรอื งท่ีเขาจะชุดจะมีอทิ ธิพลติ คนพงมแี นวนำวยอม เซ4อเรฟองท*1พแง/อยเูแ^ลว' ตลอดเวลา อธสิ ติ อเตลิ ชื่แจงไวอ้ ยา่ งซดเจนทเี ติยววา่ “ เวลาพดู กบคนพง คนพูดควรใซ้บุคลกิ ภาพ ของเซาเสนื อตวิ แกค่ นพงใหม้ ากทสี ิต” “ คนพูดสเู้ สินอขอ่ เทจจธิงก1บ้อภปราย เรอื งทเี่ ขาเสนิ อแกค่ นพงอย่างชือ่ สติ ยส์ จิ ธิตใจ ยอ่ มไดร้ บความนบถอื จากคนพง น่กพูดผ้แสดิ งความคดิ เห็นอยา่ งเบดเผยตรง'ไปตรงมา กลายนี ย่น ความเชื่อม่นซองตนเอง นกพขด่ แบบนมีบจคุ ลิกภาพเหนอื คนพงไดเ้ บนอยา่ งมาก นก1พฃดฃฝ่ ื มอี ทิ ธพิ ล เหนอื คนพง ยอ่ มมดี วามรู้เรอื งที่พูดอย่างติยีง มีความจดเจนและการติดลนิ ่ใจติ จะแสิดงคณุ สมิ บตํ ประจำตวแ้ หลา่ นของเขาให้ปรากฎออกมาในรปู ลก'ษณะการวางระเบียบแนวความติดอยา่ งกระจ่างซด และการพฌนาวํตถจต่ ิบอนจะนำมาประกอบการพขด่ ” อธิสิตอเติลอธิบายคๆณุ ลกบณะขของนกพด่ ทต่ี ิ โดยสรป 1

บ1 ุคลิกภาพทดของน่กพขํ ุดคือ การพขุดดวยบรรยากาศความเข่อมน่ ในตนเอง และเขาใจ แจม่ แจงในทกุ เรองทคนพดู แตน่ กพดู ตไงพูดดไยลไษณะอาการถอ่ มตนออ่ นนอ่ มตอ่ คนพง อย่า แสดงอาการโออวดในความรอบรู้ของตนต่อคนพง เพราะพโ]ติการณ์ดไกล่าวนย่อมทำลายอทิ ธิพล การพดู จงู ใจของเขาลงจนหมดสน การแนะ การแนะคืออะไร ? “ การแนะคือการเสนอสิงใดสงหนงทเ่ี รง่ เร่า หรือปลกุ ความคดิ ของคนอนี่ ให้เกิดขน,’ กฎของการแนะบอกเราไว้ว่าแนวคิดแห่งการกระทำทุกอย่างจะมผี ลเบนการ กระทำไดก้ ต่อเมอไม่ถขกขดขวางโดยแนวคดิ หรือการกระทำทตี่ รงกนขา่ ม ตไอย่างเข่นเมอ่ื เราเหน็ คนอนหาว เรามกจะอยากหาวตามดไย แตเ่ พราะเราเกิดความคิดขนไดว้ า่ การหาวตอ่ หนาคนอนี่ เบนมรรยาทไมส่ ๆุภาพสำๆหรบสภุ าพซน ในการพๆดุ ๆจ]งใจนนพลไของการแนะอยข่ตรงขอ่ ®สำคญทว่ี ่า “ความเฉลยี วฉลาดในการใช้วาทศลา]” รปู ทวิ ไปของการแนะกได้แก่ 9. การออกคำสง บางเวลาการออกคำส'งนน ถไรจู้ กใช้อย่างฉลาดเฉลยี วแลไ ย่อม มีอำนาจจงู ใจโดยตรงทเี ดยี ว \\ การบอรไ]ง คนพๆดุ] อาจไดร้ บผลในรขปู การกระทำของตนโดยการขอร,อง การ 10. ขอรองนมอี ทิ ธพิ ลขจงโจมากกว่าการออกคำสิง ทงน กเพราะเหนวา่ คนพงสามารถรกษาสิกดศร ของตนเองไว้ได้ อย่างไรกดี มีข่อน่าสไเกตประการหนงวา่ การออกคำสํงก็ดี การขอร่องกดี ทงี่ ส์ อง ประการน ไม่อาจทำให้คนเกิด “ความเชือ” ในเรืองใดเรอื งหนง เพราะความเขอ่ นำไปสู่ พลคุ กิ รรมสร่างสรรค การแนะจะมีอิทธิพลและประสบผลสำเรจื กต่อเมอื่ คนพงยอมร่บการแนะทนที โดย ไมม่ ีการวิพาก'ษวจิ ารณ๙ การแนะจะปราศจากการวพิ ากษ'์ วิจารณ์จากคนพง ตองเบนการแนะทคี่ น พดู ใชว้ าทศิลไ] เรง่ เร่าใหค้ นพงเกิดอารมณต์ อบสนองการแนะ

คราวนหากหวนกลบมาพิจารณาแบบการแนะ เราจะพบว่าการแนะมีอยู่ ๒ แบบดว?)กน ๑. การแนะทางตรง เบนการแนะทป่ี ลุกความเสิกของคนพงใหต้ นตว ๒. การแนะทางอ*อม การแนะแบบนเบ่น็ การแนะที่คนพงไมเ่ กดิ ความรสู้ ึกตาม คนพดู อนง ในเร่อี งเกยวกบการแนะน มีข็อควรพิจารณาดํงตอ่ ไปน ๑. องคป์ ระกอบการแนะ ( ?ส0เ018 0เ รซ2863บ0ฑ ) ไดแ้ ก่ ก. คนตกอยู่ ในอิทธิพลการแนะไดง้ ่าย เมอี เขาอยู่ในทา่ มกลางกลุ่มฃนทกำลงพง คนพดู อยู่ ข. ขอแนะนนจะได้รบการยอมรบจากคนพงโดยรวดเรว็ ถาหากว่าเรอื งนนตรงก่บ นิสย ความรสู้ กึ ความปรารถนา และความเชือของคนพง ค. คนได้รบการสึกษานอํ ย ตกอขยใ่ นอำนาจการแนะได้ง^่าย ง. บคุ ลกิ ภาพและทรรศนคฅิของคนพูด มผลต่อการแนะทเขาแนะแก่คนพง จ. ถาหากว่าคนแนะเบนบคุ คลที่นบถอ และไว้วางใจแลวไซร้ คำเลนอแนะ ของเขาจะมีอิทธพิ ลสงิ มาก ฉ. การแนะทีท่ า่ ซา ๆ มฒี เทมี่ ขํ้น ๒. ระเบยี บวิบีฬิเศษ๚องการแนะ ( ร!)60131 1ฬ611)0ป้3 0* ร118868เ1011 ) ในการ แนะนน์ มีระเบยี บวธิ ีทน่ี ํกพดู ลู้มีข่อี เสยึ งนำมาใซ้แสวิ ไดล้ ลดมี าก ในท่ีน'จะ1ขอนำมากลา่ ว'ไวเ้ พอิ เบนตว่ ่อย่างในการปฎิบต่ และสกึ ษา ก. การสรไงความเบนอนิ หนงอินเดยวกบคนพง ( 71)6 “ Vก&” ^1)1)103011 ) คนพดู ใซส้ ริ รพนามวา่ “ เรา” หรือ “ พวกเรา” เพอให้คนพงเกดิ ความรู้สกิ ร่วมเบนคนเดียวกบ คนพูด สิรา้ งให้คนพงเขาใจว่าทุกคนอยู่ในฐานะร่วมกน่ ในเรอ็ งท่คี นพูดเสนิ อแนะ ข. วธิ ฅอบร*บ ( 7116 “ ไโ68 1^681)0116” ) ระเบียบวิธีน เบนการแนะทางออม ท่ีพยายามหลกี เลียงการโต้แยงก่บคนพง, คนพูลเสินอเรืองราวของเขากบคนพง โดยให้คนพงยอม ร้บเลียก่อนในวนิ าทแี รก เมี่อคนพงยอมรบ้ ีแล1ว คนพขุดจะพขุด่ จขง่ ใจให้คนพงเหน้ พองกบ่ การแนะ ของเขาตอ่ ไปโดยไม่ยาก

๗๗ ค. ระเบยบวธสี ฑงค่า ( ไโ116 1ผ8 ๐? 1ง0^108 ^611)0(1 ) คนพูดทำให้คนพง เกดิ ความเขือมนว่า1ขอเสนอของเขาเทา่ นนมีคุณคา่ โดยการเปรียบเทยี บให้เห็นว่าขอเสนออน ๆ นน ค่อยคุณค่าและมซื อ่ บกพรอ่ งมากกว่าของเขา ง. การทาทาย ( 1116 01๗16086 ) ในบางคราวการทำทายอาจเบนแรง่ยํวยุ คนพงให้ลงมือกระทำตามคำแนะของคนพดู แต่อาจเบนไปไดท้ ี่การทใทายจะทำให้คนพงปฏิเสธ แนวคิดของคนพดู เซ่นเดฟี กน จากระเบยบวธิ ีค่งกล่าวขางคน่ เรามขื อควรค่งเกตประการห'แงว่า การแนะจะเกดิ ผลลํา้ ค่าแกก่ ารพดู จะตองเบนการแนะที่คนพดู ใชว้ าทศลิ ใ]เลีอกสรรคค่อยคำและฝญื ญลํกบณอ์ นเขา นำเสนอแก่คนพงเพอปลกุ อารมณคนพงให้ตนี่ คว่ แค่วลงมือปฎบิ ํตในแนวทางทคี นพูดตองการจะ สรางใหเ้ กดิ ขน บอยตุ ิ คนพดู จูงใจทดนน ตองเบนคนมมื าตรฐานทางศลี ธรรมในระดบสงู เซ่นเบนคนซีอ่ สตค่ สจุ รติ รกค่จจธรรม เบนคนยุตธิ รรม คนพดู ประมาณค่าคนพง ในเวลาเดียวกนคนพงกยอ่ มประมาณ คา่ คนพูดเซ่นเดยี วกน จริยธรรม บคุ ลกิ ภาพ ความเขาใจมนุบยธรรมของคนพดู ลวนเบนพล่ง มหาศาลในการสร่างคำพูดใหเ้ กดิ มหิทธานภุ าพมหาศาลในการจงู ใจคนพง ลินคอค่นเคยกล่าวไว้ว่า “ค่าหากวา่ ท่านปรารถนาจะชนะคนในแนวทางของท่าน ท่านตองทำให้เขาเกดิ ความ เซอ่ มนเสยี ก่อนว่า ท่านเบนมิตรที่แทจ้ รงิ ของเขา” แม้อเมอร6ชนเองกกล่าวย้าํ เรีองนไวเ้ ซน่ กนวา่ “ การจะเบนมติ รทดี ีของคน ศีอการทำตนให้เบึนแบบเดียวกบเขา ”

บททึ ค๐ การทูด่ในโอกาสทเิ ฟษ้ การพขดในโอกาสพิเศษ เบนลกษพะการพขดอไกำหนดขนในโอกาสต่าง ๆ1เขน่ ในพธิ ี มงคลสมรส งานเลยงฉลองทระสึก งานแสดงความยินดในการเลอื นยศ ฯลฯ การพขดใน่โอกาสเข่น กล่าวมานมีลกษณะจำกดอยูก่ บเวลา สถานทและเหตกุ ารณ การพูดในโอกาสพิเศษน วตถุประสงค ทไไปของการพขดอาจมรุ่งอย่างใด^อยา่ งหนงในดาน การใหข้ ่อเทจจรงิ .การจ^งใจ การสรางพลไ ดลจติ การใหค้ วามสนกุ สนานรินเรงิ หรอิ รวมเอาว่ตถุประสงคทง ๔ ประการเขา่ ดไยกน แตเ่ มือ วจิ โ)กนโดยทํวไปแลว วตถุประสงคในดานการสรางพลไดลจิต การใหค้ วามสนุกสนานรินเรงิ มคี วามส0าคญมากกวา่ เพ่ีอน เพราะในการพูดเนองในโอกาสพเิ ศษนน คนพูดมกุ จะมงุ่ ให้เกดิ ความ สนุกสนานรนิ เริง และมุง่ สรางบรรยากาศ แหง่ มืตรไมตริแกค่ นพง ลไไษณะหวใป หลกการพดู ในชุมนมุ ชนชงกลา่ วอธบิ ายมาแลไในบทตน ๆ ทง์หมด สามารถใช้ได้กบ การพูดในโอกาสพิเศษไดท้ ุกประการ อย่างไรคดี หลกการพีจ่ ะกลา่ วตอ่ ไปน ลือวา่ มืความสำคญ มากกวา่ หลก่ การอน ๆ จิงไดน้ ำมาอธบิ ายไว้ ๑. อารมณ์ (]ฬ00(]) งานรินเรงิ ทุกอย่างลไนมบี รรยากาศหรอิ ความรู้สกึ เบนพิเศษ ไมช่ าแบบกน่ เลย เพราะเหตุวา่ ทกุ คนลู้เข่ารว่ มงาน แต่ละคนลว่ นคาดหมายวา่ จะไดร้ บบรรยากาศ นนตามลกษพะของงาน เพราะฉะนน คนพดู พ่ไี ด้รบิ เชญใหพ้ ดู ในงาน ควรพี่จะพูดสร่างบรรยากาศ ของงานให้เด่นขนมา อย่าให้คนพงพี่ร่วมอยู่ในงานเกดิ ความกดิ หวไ ๒. เนอเรอง (1ฬ816ผ่81) เนอหาของเร่อื งพน่ี ำมาพูดตไงสอดคล่องกบงาน เขน่ ไม่นำเริองเศรามาพูดในงานมงคลสมรส ในงานเลยงสง่ สรรคไม่ควรนำเรอิ งทจะสรา่ งรอยราิ วใน มวลมิตรมาพดู งานสดดุ ีทหารยา่ นศึกไม่ควรนำเรอิ งความเลวรา่ ยของสงครามมาพดู

๗ *' ๓ . โครง4ส5! รางบองเรอื ง (ร*™0*016) โครงเรี่องคว1รวาง'ไว้,ให้-งา่ ยที่สๆุด เทอื ให้ คนพงตดิ ตามเรอื งราวทพดไดส้ ะดวก และเกิดความเขาใจทนํ ที เมอื ได้พงคำพดแนวติดทนำเสนอ ๔. ภาษา (1.31180386) เนองจากวา่ การพดู ในโอกาสพเิ ศษ สว่ นใหญ่มุ่งสรืางความ สน1ุกสนานรนเริง กบพลไดลจิตใหเ้ กดิ ขนแกค่ นลขรู้ ว่ มงาน่จ เหตุนขภาษาพุด่ ทดี นพฃ่ดุ ใช้ ตองเบน ภาษาง่าย และมีภาพพจน อย่าใชถ้ อยคำแสลงหรอื ภาษาหยาบคาย ๕. เวลา ( 10116 ) ช่วงเวลาทีใช้'ในการพดุ ควรใส'ใจเบนช่อพิเศษ เวลานน ฃ่ คนพงตองการความสนกุ สนานรา่ เรงิ จากดนตรี หรือจากการรบประทานอาหารกนมากกวา่ พงคนพดู คนพูดจงควรพดู ใหส้ น แต่เนอหาทกุ อย่างได้ครบถวนทุกประการ ๖. ลลี าการพดู (061^617) คนพูดควรจะแสดงความเบนผู้เข่ยี วชาญในวาทศลใ] ของตนใหป้ รากฎแกค่ นพง พดู ดไยลีลาการพดู อวฌ้ ีนาหนก อาการจรงิ จไกระตอิ รือรน เชือมนใน ตนเอง ใชบ้ ุคลิกภาพของตนให้เบนทีตรงื ตราประทีบใจคนพงมากทสี ุดเท่าทจี ะทำได้ ประเภทการพูด ถงแมว้ ่าการพฃุดุ ในโอกาสพิเศษ จะมีลกํ ษณะทํวไปเหมอื นกํนกตาม แต่การพขุดแต่ละอย่าง กมีลกษณะพิเศษเฉพาะเรอื งในโอกาสแตล่ ะอยา่ งไม่เหมอื นก่น ถาหากจะแยกประเภทการพูดใน โอกาสพเิ ศษออกไปแลไ จะเห้นไดว้ ่ามีการพดู สำคญํ อยู่ ๓ ประการควยกน ๑. การทดแลดงความยินลี ( ร?6601168 0* 0๐01า1ร7 ) ,0๒. การพูดฬฝมิ ระฝืก เ 55660เโ1 .๐*โ0๐10111.61110โ,3*101’1) ๓. การพดู เทอความรนเรง ( 31)66011 0* 20*61*310111611*) การพดู แสดงความยนิ ด การพขดุ ในโอกาสเช่นน แสดงออกในขรปของการพฃ่ ดุ แนะนำบจิ คุ คล การพขดุ ตอนรบ การ ประกาศ การพูดอำลา การพดู ในงานมอบเหรียญตรา หรอื รางวล

' ๙0 ๑. การ'ผฃ่ดแนะนำบ1คคล ( 1ฑ1?0ส์1101:10ฑ ร1)660”1168) การพขด่ แนะนำ คอ การพด1) แนะนำ “คนพขด” แก่คนพง การพขด่ แบบนมีล่กษณะการหนำทแหง่ การพดฃอยฃู่ '๒ ประการดวยกน ประการทหนง เราใจคนพงใหเ้ กิดความกระหายทจะพงคนพฃด่ ประการทสอง ทำใหค้ นพดข กกลระา่ วหคาอยคทนจพะพงขตด5กอบงกคานรพทงราบ’เกร4อารงพทด5ค1แนนพขะดนจำะจพขงดเทใ่านกเว่บลเบาเนดสยี วะกพนานเข่อมโคยนงพคฃนด่ เพอดขงเกกบดิ คคนวพามงกเขลา่ ่าดใวนยกลา่นร แสดงแนวคิดของเขากบคนพงทมดี วามสนใจ การพขุดแนะน^ำต่วคนพขดุ น ควรจะส’ น แต่มคี วามสมบฃิ รณในต่วอยา่ งเหมาะสม เนอหาของ การพขุดแนะนำต่วคนพขดนน บ1ุคคลลข้ทำหนำทพขดุ แนะนำ จำตอ่ งทราบโดยละเอยี ดเกยวก,บขีวประวํต ความจดเจน ความสำเรจ ของคนพดู แลว่ นำมากลา่ วโดยสรปุ กบคนพง ลา่ หากว่าคนพูดเบนบคุ คล ทค่ี นพงรฃิ จู้ กดอี ขยิ ู่แลไในเกียรตคิ จ่ณุ ควรกล่าวถึงจจุดเด่นในขวี ิตของคนพขดุ เพยี งสองสามเรอื ง กน็ บ วI า่ เพยี งพอแล่ว ^ในทางตรงกVน่ ขVา่ มหากคนพขุดเบนคนใ* หม1ส่ 0ำหรVบื คนพ(1ง คน9หข-/ท้๐ ำหน4^ำท‘ฯ แนะน0 ำควร ใหร้ ายละเอยี ดเกยวกบคนพขุดมากพอควร ทง่ี น ตอ่ งอยขุ1ในลก'ษณะการพขุด “รวบร'ด” และ “ได้ ความสมบุรณ ” ขิ พขุดแบบอ4น กๆ1ารข^พนุดดแอนนะก1นารำตพข่วดุ ค้ แนนพะข่ดนทำคดวีนรนม^ีดไทน^าง.ท—ดีทส1ดุ ควรมกี ารวางโครงการพฃุ่ดเขน่ เดยี วกบการ ก. ป^ระวํต1ส่ว\"นต่วฃองคนพขดุ ข. เนอเรืองทคนพขดุ จะพฃดุ่ ค. ความสมพนธร์ ะหวา่ งหว่ ข่อเรอื งต่บคนพง ง. ความรอบรข้,ูของคนพขุดในเรืองทจะพขุด จ. การแนะนำตวคนพด สจํ ดทาย๙กไดอ้ นขงอสใำนคกิญ\"าทจรนสบํ่ ดอก๙กคขออดคนนแพฃนุดะนนนำไมค่คนวพขรุดพขแดนเระโือนงำทอคานจบพขอดกจ' ใะนพขตดอเสนยตเอนง ตอนกลางหรอื ตอน ๒. การประกาส์ ( ^๐00นถ061116ถ18 ) การพขดุ ประกาศ^เบนการพ'ขดุ สน ๆ เกยวกบ เหตุการลณ่ รอื เรอื งราวอนมา่ นมาแลว่ ไม่นานนก เหตุการณบจจบุ 3น หรือทจะเกิดขนในอนาคต หลก การพขดุ ประกาศมจ ่งุ ให้ขอ่ เทจจรงิ แตก่ แฝงหล่กการจขุง^ใจไวด้ ว่ ย ทงน เพีอเร่งเ^ราให้คนพงหรือผขิ ้เข่า รว่ มขมุ นมุ สนบสนนุ กจิ การทกระทำ การพดู ประกาศทดตี ่องมลี ่กิ,ซณะดงตอ่ 'ใปน *

ก. บอกล*ก1ษ'ณะ1ของงาน วตถุประสงด ขอของงานอย่างขํดเจน ข. กลา่ วถงึ เวลา และสถานที่จะทำ ค. บอกวา่ งานนใครวางแผนดำเนินงาน ใครอำนวยการ ผเู้ ขาร่วมมใี ครบาง ง. อธิบายถึงคุณค่าของงาน จ. กลา่ วถึงกิจกรรมอน ๆ ทเี่ ท่ียว'ของกบงาน ( ถาหากมี) 0,. การพดู ต1อนรบ ( ร1)6601168 0เ ^6100016 ) ในการชุดต้อนร่บ คนพดู ตองพูด ให้คนพงเกดิ ความรู้เทีย่ วกนิ ผ'ู้ ถูกแนะ,นำอย่าง3ช่ดเ,จน แผนการพดู ตอนรบควรมีลำดบดํงน .— ก. บอก'ชอี บุคคล สมาคมหรือกลมุ่ ผูด้ ำเนินการตอนรบ ข. บอกขอบคุ คลผู้ไดร้ บการตอ้ นรบ ค. การต้อนรํบกระทำเนอื งมา'จากสาเหตอุ ะไร ง. บอกวตถุประสงคข์ องการจดงานต้อนรบ จ. ความสำเรจื อนยงใหญใ่ นชีวิตของผ้ไู ดร้ บการต้อนร่บ ๔. การพดู ตอบ ( 1161)1? *0 8 ผ 6๒01116 ) ในบางครงคราวคนทไดร้ ่บการตอนรบิ อาจตอบเพยี งการยมริบอย่างแช่มชนี และกลา่ วว่า “ ขอบคณุ มาก ” เทา่ นกเพยี งพอ ถาหากว่า งานน1ฌคี นชมุ นมุ ตน้ ไมผ่ ู้มากนิกิ แต่ ในงานขนาดใหญ่ คนพงยอ่ มเกดิ ความปรารถนาทีจ่ ะทราบ วI า คนท ไดร้ บการตอนรบจะมความ9รสู^ กอย! าง■ ๒บางเกยวกบการตอนรบทฯ * ' ' ' ^ I๒^ กระท0 าลง-V เปI I จาเบน0 ( ^ 1 ^ 0 ^ ' ‘ช -่ V อย่างยงท่คี นได้รบ่ การตอ้ นรบ จะต้องกล่าวตอบเบนทางการ การพดู ตอบจงควรแสดงออกในรูปของ ก. แสดงความเบนอนหนงอนเดียวกบบคุ คลหรือ คณะบคุ คลท่ีให้การต้อนรบิ ข. แสดงความพงี พอใจอยา่ งแท้จรงิ ในเกียรตที่ตนไดร้ บจากผ้ใู ห้การต้อนรบ ค. แสดงความขอบคุณต่อบุคคล องคก์ าร สถาบํน ชุมนมุ ขน ทตี่ ้ดการต้อนริบ ง. แสดงความหว่งในความรว่ มมอี และไมตรจี ิต ในโอกาสต่อไปอีก ๔. การพดู ไ.ฬการมอบของขว่ญหรือรางว่ล ( ร{)6601168 ?168611^1011 ) วต่ ถุ ประสงค์การพูดเนองในโอกาสเช่นน กเพอสรางพลไดลใจให้เกดิ ขนแก่คนพงเพีอเอาแบบอย่างใน ดานอธํ ยาศยํ และความสำเรจื ของผรู้ บรางว่ล คำพดู ควรใหเ้ หมาะรางวลท่ีจะมอบ ผูร้ บ กบโอกาส

โดยปกตคิ ำพูด ณ โอกาสเชน่ นึเบนการพดู แกส่ ไู้ ด้รบกตี าม แต่กควรคำนึงถงคนพงทกุ คนสู้เขา รIวมชมุ นุมนะน/ ดVวย เหตนุ ^แบบฉบบการพดู ^จง๘ควรเ]บน ก. บอกว่า ทำไมจงมอบรางวไ)ให้ ข. สรรเสรญิ ความสำเรีจ'ของสรู้ บ ค. แสดงความพงพอเจของคนพดู เองเนการมอบรางวลอนเบนสญญลกษณ เกยรต- ศกด ง. บรรยายความหมายของรางวไ) แลไมอบให้แกฝ่ ขืรบ ๖. การนูดตอบ'ในการรบรางวล่ (^006]ทุ3ฑ06 ร!)660*168 ) โดยปกติสรู้ บของขว่ญ หรอื รางวไ) มกจะกล่าวตอบเพี่อสำแดงความขอบคณุ การกล่าวตอบไมค่ วรพดู นานไปกว่าเวลาของ การพูดของคนมอบ แนวการตอบท่ดี ีควรมล่ ่กษณะดํงนึ. — ก. แสดงความพอใจในรางวไทไ่ี ด้รบ ข. สรรเสรญิ สู้ให้ในพว่ งทำนองอไเถูกตไง ค. ใหเ้ กยี รตแิ ก่สู้ร่วมงานของตน ชงมสี ว่ นชว่ ยใหไ้ ดร้ บรางวไ ง. แสดงความร้สู ิกอยา่ งเบดพยวา่ รางวไทไดร้ บมีความหมายแก่เขามากเพยี งใด ในเวลากลา่ วตอบ สรู้ บรางวไจไงมองสู้มอบรางวไตลอดเวลา สำหรบ่ ฃนบประเพณีของ ซาวตะว่นตกน3น ถอกนวา่ ถไรางวไท่ีได้รบบรรจหุ บี และห่อไวเ้ รียบร่อย สูร้ บรางวไเมือมารบ แลว่ เวลากลา่ วตอบควรเบดห่อรางวไ แสดงให้คนพงเห็นวา่ รางวไทไดร้ บนนคีออะไร ๗. การทฃิ ุกอ้าลา (?ะน:6 ร!)660*16ร) การพขดุ อำลาเบนการพขดุ เนืองในโอกาสยาย จา^กชจมุ นจิุมขนแห”ง่ หนง ไปอยขู่ใน1 ชVมุ นไมุ ขนอน ยายตำแหนง่ หนไหพี ีนจากหนไทตามวาระ การพช่ ดุ เนอื งในโอกาสน- คนพข ดุ ควรกล่าวถง.- ก. องค,การ สถาบน ชๆมุ น1ุม’ขน กระทรวง กรม กอง แลนก ทเขาทำงานอยฃิู่ มีความหมายต่อชวี ติ เขามาก เขาจะจดจำไปขวขวติ ข. ขอบคณุ ในไมตรีจติ และความร่วมมีอหีไดร้ บจากคนอน ค. บอกแลนการในอนาคตวา่ ตนจะทำอะไรต่อไป ง. ขอใหท้ กุ คนชว่ ยรไษาสมพนธไมตรีอนดไี วก้ ่บเขาเช่นเดมิ จ. อวยพรใหค้ วามรุง่ โรจน่ ความสขุ แก่ทกุ คน แลไอำลาพวกเขา

การพดู นอมระลก การพดู นิอมระลกี น่ื คือ การพูดยกย่องสรรเสริญเกยี รตคิ ณุ วีรกรรม ในอดีตของบคุ คล หรอสถาบน เช่นกลา่ วสดดุ ใี นวีรกรรมของสมเดจพระนเรศวรมหาราช พระบ1ิ ยมหาราช พระเจา ตากสินมหาราช สพู้ ดู ในโอกาสเช่นกลา่ วน ควรเตรียมการพดู โดยการศกึ ษาเหตุการณ์ในวรี กรรม นนๆโดยละเอยี ด แล่วนำมากล่าวแกค่ นพง พรอมพงชีให้คนพงเห'นดวี ยว่า เราควรเลยี นแบบ ชวี ตี อนเบนอมตะของท่านเหล่านน อนง ก.ก*ารกพฃาุดรนพอดู มเรน4ะ,อลงกี ใ'นนี ว1นํล่าคหราบกรจอะแบบง่ ปเชร,่นะเภวทบนอ่ คอรกบไรปอแบลกว่ ารไเปดลว้แียกนก่ แาปรพล*งดุ การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทย วนสหประชาชาติ วนชาติ วนเฉลิมพระชนมพ์ รรษา ฃ. การพขดในวนพิธเช่ารบฅํนเหน่ง เช่น การเช่ารบตำแหนง่ ของประธานา ธิบด,ีของสหริฐอเมริกา สเู้ ช่าดำรงตำแหน่งนจะพดู กบประชาชน หล'งจากประกอบพธิ ปี ฏญิ ญาณ ตนเรียบรอยแลว่ ค. การพดเนอ่ งในพธจิ บการศกษา เช่น พระบาทสมเด้จพระเจาอยห่ วํ ทรง ประทานโอวาทแก่ฝสื ำเรจการศึกษาจากมหาวิทยาลย่ ตา่ ง ๆ เนองในโอกาสพระราชทานปรญิ ญาบตร ง. การพูดเนๆอฝๆนการเพบดอาค'ุ าพรอนุสู*าวรย 6 เน1การพเบดอนุสาว^ุ ๙รย๙ก่ ^ล สถานพทุ ก่อสร่างของทางราชการกดี ี สู้เบนประธานจะกล่าวปราศร'ยเน่ืองในโอกาสนนทกุ ครง การพดู ใน โอกาสนคนพูดจะกล่าวลงี ประว'ตความเบนมา บุคคลสู้เกยวช่อง กรรมวิธกี ารดำเนนิ งาน การฬดู เทอื ความรืนเรงิ การพดู เท่อความรนี เรงิ สว่ นใหญเ่ บนงานเลยี งทจดขนเน่อื งในการพบปะลง่ สรรคของ สมาชกิ สมาคมตา่ ง ๆ หรีอเนอื่ งในงานมงคลสมรส ในงานดไกลา่ วน่มื ขี ไจควรพิจารณาตง่ ตั อ่ ไปน่ื.— ก. พธกร เดยปกตถอกนวา ฟ้ทจะทาหนาทพธกรเดด ตองเบนคนมอารมณ๔* ^ * ^ 9^ ~I 0 ^1 5 ^ / *3 เ 0 9 ^ ‘ญ ่ -V I 9 ^ ๘1 ^ ๙ ชินเชา่ กํบคนไดท้ กุ ประเภท ใบหนาร่าเริงแจ่มใส ฃ่ ข. รายการ พธิ ีกรรบฝดื ชอบในการดำเนนิ การใหโ้ ปรแกรมหรอี รายการในงาน เลียงที่วางไวด้ ำเนนิ ไปดวยความเรียบรอยทกุ ประการ

ค. การจดทนี งํ การจดใหค้ นทีร่ บเชิญเขไท่นี 'ง ควรจดใหแ้ ขกทกุ คนสามารถ เหน้ ตไคนพูดท่ีเชญิ มาพดู ในงานเลยงได้สะดวก โดยปกติแลไมกจดท่นี งเบนรบู หวิ ที. หรอ ตไ ยู. ถาไ1มIจVดแบบ*5ทเ เว^าน๘ก'^นยมจ‘^ด๘เบ! นรปู 1ส^ เหล^ ยม บางคร^ง๘ก’จ0ด-/ เบ๘\\น0ไ-เต&;ะยาว คนท^ เบ๘!นพธกรม^กจะน0ง^ตรง กลาง ณ หวิ โตะ๊ โดยมืคนพูดสำคญอยู่ทางขวามือของเขา คนพูดอืน ๆ มกอย่ทู างซไยมอื ง. ลำดบการพดุ การพูดเรมตนจากคนพูด ผ้มู คี วามสำคญนไยสดุ ไป ไปหาคน ทขดฃ ่ ผม้ คี วามสไคญ®มากทีส่ จิ ุดของงานเลยงในวนนน จ. เรองทีนำมาพุด นกพดู ท่ไี ดร้ บเชิญมาพูดในงานควรวางแผนให้เรืองท่ีตนจะ ทขุ่ดเบนเรืองเบาสมอง แทรกความขบขนเบนระยะ เทอื สรไงบรรยากาศความสๆขุ ารมณ์ใหแ้ กแ่ ขก ท่มี าในงาน.

I บทท ล (ร) การอภิปรายและการประชุม สไดมมนุษยนมใิ ชม่ สี ่กษณะเบนเชงิ เทย่ี ว แตม่ ลี กษณะเชงิ ช่อน มีบญหาสง่ คมมากหลายที่ ทาทายวฒุ บญญาของมนษุ ย์ให้แกไ้ ข เมือใดมบี ญหาเกดิ ขน เมอ่ี นนเราจะพบกรรมวิธีประการหน์ง ทๆส!*ง''คมมนุษย^'น* ยมดเข5^61เนการแก9 /บ4 *ญหา กรรม•ว* ธ• 4 นะน/''*คอ ((การอภ**ปIราย)) (,0180ซ3310ฑ) ต^วอยIางเขIน องคการสหประชาชาติ อนุญาต,ให'้ ชาติสมาชิกอภปิ รายแลกเปลยนชอ่ มูลแนวความคดิ เทอี่ แก้ไข บญหาทสมพนธีกบชาติตา่ ง ๆ ท,วโลก วงการธรุ กจิ ก้ด นกวชิ าชพี ทุกสาชากต้ ิ ใช้เวลาจำนวนมาก คเนการปIร-ะชุม แลกเปเลปยนทรรศนะ รวบรวมชอมลู อ*ภ*ปIรายหาขV้อตVดส-ๆน6เจ1ท^ดๆทเ^สุด61เนบ4-ญหาทพเก'*ด^ชน การอภปิ รายจะเบนระเบยี บวธิ แี ก้บญหา,ท่ีดท่สี ุดนน ชนอย่กู บองคประกอบ ๓ ประการ ๑ . สมาชิกทกุ คนทมี สี ่วนรว่ มพจิ ารณาแก้บญหาเรื่องนน ๆ ตอ่ งเบนคนมีจิตใจกว,าง เหน แกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวม พรอ่ มทจะรบแนวความคดิ ใหม่ ๆ และสนบสนนุ ชอ่ เสนอแนะทไดอ้ ภิปราย 1กนแส่ว ๒. บญหาทกุ แงท่ กุ มมุ ต่องนำมาอภิปรายกนโดยละเอียด ๓. สู้รว่ มอภปิ รายมุง่ มนแสวงหาชอ่ แกไ้ ขทีด่ ที่สุด โดยคดเลอื กกลนกรองจากชอ่ เสนอ ชองแต่ละคน การอภิปรายแตกต่างจากการพูดในชุมนมุ ขน ตรงชอ่ ที ี่วา่ ทุกคนสรู้ ่วมในการอภปิ ราย แลกเปลยื นแนวความคิดชองกนและกนกบสมาชกิ ชองกล่มุ ทุกคน แทนทจี ะพยายามใหค้ นพงเหน ดวยกบแนวคดิ ของตนเพียงคนเดยวเท่าน2น ส่วนคนพูดในชมุ นุมชน ทราบก่อนแน่นอนแลววา่ เขาจะจงู ใจคนพงให้เหนดวยกบการพูดของตนโดยวธิ ีใด แบบการอภิปราย การอภิปรายอาจมสี ก่ ้ษณะแตกตา่ งกน อาจเบนการอภิปรายสว่ นบุคคล ส่วนชมุ นุมชน เบนทางการหรอไม่เบนทางการ อยา่ ง'ไรกด้ ี การอภปิ รายทปรากฎในส่งคมนน ไดแ้ สดงออกในรป ตง่ ต่อ'ไปน.์ —

®. การสนทนา ( 7116 018๒806 ) การสินทนาคือการอภปิ รายเรอื งใดเรืองหนงโดย บคุ คล ๒ คน การอภปิ รายรูปน จะมีประธานหรือไม'มกี ได้ ในการอภปิ รายทางโทรทศน ถามี ประธาน ประธานจะเบนผแู้ นะนำตว่ ผูอ้ ภิปราย และบญหาทจะอภปิ รายกน และชกี ถามบญหา ต่าง ๆ ผู้อภิปรายจะแถลงแนวคดิ ของตน ต่อผพู้ งผขู้ ม เนนให้เขาใจถงขอสาิ คญํ ท'ี ตนกำลงอภิปราย ก่อนจบประธานจะกลา่ วแสดิ งความขอบคุณผ้อู ภปิ รายทกุ คน หรือผู้อภิปรายจะกล่าวขอบคุณแก่กน และกนกได้ ในฐานะทีไ่ ด้มีโอกาสมิ าสินทนารว่ มกนในบญหานน ๆ ๒. การอภปิ รายโตะ๊ กลม ( 7*16 1๒1111(1 78ผ6 ) การอภปิ รายทนํยมก่นมากทาง โทรทศ'น คือการอภิปรายโต๊ะกลม ผอู้ ภิ,ปราย'จะมีประมาณ ๓—๙ คน นงํ สนทนาแบบกนเองใน ฑ่ รปู วงกลมหรอื ครงื วงกลม ประธานเบนผูก้ ล่าวเบดและบดการอภปิ ราย ผู้อภิปรายกล่าวอภปิ ราย ตามทรรศนะของตน ๓ . การอภิปรายเบนคณะ ( 7116 ?8๐61) การอภิปรายแบบน เบนการอภปิ รายแบบ มี ใข่ทางการ ปฎิปตกนท่ามกลางผูเ้ ขาพงการอภิปราย 1ผู้เขาอภปิ รายแตล่ ะคนไดร้ บเซญในฐานะ เบนผู้มปี ระสบิ การณ์ เชยวชาญทางวิชาการ และประธานกมกจะชํกถามในบญหาท่ีผนู้ นเชยวชาญ องคป์ ระกอบการอภปิ รายนขนอยู่กบ ก. เวลาทอี่ ภิปราย ข. ล่ก'ษณะของบญหา ค. ความเชียวชาญของผอู้ ภิปราย การอภิปรายเบนคณะแบบน มกนิยมกนวา่ ผอู้ ภปิ รายไมค่ วรเกิน ๔ คน นํงหนหนำ ไปทางผู้พง ประธานอาจนงํ ตรงกลางหรอื ทางดานใดดานหนงกได้ ชกถามบญหาแก่ผรู้ ว่ มอภปิ ราย ผู้อภิปรายจะแสดงแนวคดิ ของตนเพือชว่ ยใหผ้ พู้ งเขาใจบญหานนจนแจ่มแจง ๔. การอภปิ รายแบบวิสปนา (7116 (วอแจชแุ ?) การอภิปรายลก'ษณะน กคือ การ อภิปรายแบบเบนคณะนนํ เอง แตว่ ่าการอภิปรายแบบวสิ ิชนาน มีการเชญิ ผู้เช่ียวชาญ © คน หรอื มากกว่า ๑ คนเขามานงํ รว่ มคณะควย ทำหนำทอธบิ ายใหข้ อเทีจจรงื เรืองทคี ณะผอู้ ภปิ รายชกถาม ๕. การอภิปรายมหาคณะ (7เ16 53(1111)08111๓) คอการอภิปรายทกุ คนเบนึ ผ้เู ชยวชาญ ผอู้ ภปิ รายแต่ละคนไดเ้ ตรยี มการพูดของตนมาพดู กบ่ คนพงไว้ลว่ งหนำแล'ว ประธานทำหนำทแนะนำ ผ้อู ภปิ ราย บญหาท่อี ภิปราย วตทุประสิงค์ของการจดอภปิ รายขน และช, *กถามบ'ญหาแกผ่ ้อู ภปิ ราย

ทละคน สู้อภิปรายอาจอภิปรายบญหาทอภปิ รายทุกแง่ทุกมมุ โดยละเอียด หรอื เพียงแง่ใดแงห่ นงตาม ทรรศนะของตน คำอภปิ รายของเขาอาจเหนควย หรอไมเ่ หนดวยก่บทรรศนะของสู้อภิปรายคนอน ๆ ท่ีได้ การประชมุ ระเนยบวิธการอภปิ รายทใชก้ นมากท่สี ุดในโลกธุรกิจและวงการวิขาขพี ก็คอ “ การ ประชุม” ( 0011*61-61106 ) การประชุมมลกษณะเด่นอย่ท เบนการอภิปรายกลมุ่ เลก ๆ ไมม่ สิ ขู้ ง่นงํ พง การประชมุ สู้เขช้ประชมุ มิไดเ้ ตรียมคำทดู ทจ่ี ะมากลา่ วไว้ล่วงหนำ เนืนการอภปิ รายมิใข่ทางการ สมาชิกทีเ่ ขไประขุมอยูภ่ ายใต้การแนะของส้นู ำในการประขุม แนบการประชมุ ทปรากฎในวงการ ทงหลายไดแ้ กก่ ารประชุมในรปู ลก'ษณะของ.— ๑. การประชมุ ทางวิชาการ (10*01-๓81101131 0011*61-61106) การประชมุ แบบนสมาชิก ส้เู ขำประชมุ ทกุ คนนำความรอบรู้ ประสบการณท์ ม่ี อี ยู่เพอปรบปรงุ ระบบแนวตดิ หรือการทำงานของ สมาชกิ ทุกคนให้ทํฒนาการมากยงขนตามลำดบํ เบาหมายของการประชมุ ทางวขิ าการมิได้อย่ทก่ี าร แสวงหาขํอีแกบ้ ญหา ๒. การประชมุ ผีกฝน (?13๒๒8 000*61006) การประชุมแบบนสู้นำในการประชุม สง่ สอนอบรมสเู้ ขาประชมุ ต^ระเบยบวธิ ีการปฎบิ ต่ งานอยา่ งใดอย่างหนึง เข่นการ11กงานบองกน สาธารณกย่ การ1เก,บองก'นหํ มบ่ าน ในการประชมุ เข่นน ถาสมมติวา่ มบี ญหาทจ่ี ะตอ้ งแก้ ส้นู ำ การผกฝนจะเนนหนไให้สู้เขไผกฝนทราบวา่ วิธีการแก้บญหานนมีกรรมวิธีหรอื ขนตอนในการแก้ บญหาโดยวธิ ีใดบาง ระเนยบวธิ ในการฝืกฝนแกบ้ ญหาทด่ี ี เทา่ ทใ่ี ช้กนในการผกฝนแบบนี กต้ อิ การสมมติ ให้สเู้ ขไประชุมลงมอี ปฎปิ ตงานจรงิ โดยการตง้ บญหาให้ และกำหนดเวลาการแก'้ บญห'าโว้ ๓. การประชุมแกบ้ ญหา (?10ผ6111—80๒๒8 000*616006) การอภิปรายกลมุ่ ทสี่ ำต้ญ และปฎบิ ํตกนเบนประจำคอ การประชมุ แก้บญหา สู้เขำประชมุ ทุ่มเทความรู้ สติบญญาขว่ ยกนขบติด แก้ไขบํ่ญหาพเี กดิ ขนในวงธุรกจิ ของตน การประขุมแก้บญหาเบนการประขมุ ในลก'ษณะของ.— ก. การปIร1ะชมุ ผ'1า่ ยอ0านวยการ (’ร13** IVโ661๒2 ) เ๘บ]นกาจรป1ระชมุ ของเจ•า/หน*า/ท-เ ขนสข่ิงระดบ ค๚ู้อำนวยการ ประธานกรรมการคขู้จดการ

ประการหน4งก๙คอข. 2 กกาาร^รปตงรคะณชุมะกครณรมะกการรรขม^นการ (0เพ040อ1พ๗จ1า1ร6พ6าแ\\1ก6V6เ1ข๒'เฯร8อ)ง^วนิธ'น^สะ-ๆดวปกเร-ใะนธกาานรแแลกะบ้ คฃณหะา กรรมการทีไดร้ 'บเลอื กตงหรอแตง่ ตง ประขมุ อภปิ รายหาขอแกไข เมอตกลงก,นประการใดแลว ก็หารายงานสรุปผลการประขุมรายงานเสนอ ผมู้ อื ำนาจแก้ไขตอ่ ไป ค. การประชุมกลุ่ม ( 8ซ22 ร65810ถ ) เบนการประขุมทีแต่ละกลมุ่ จะมสมาขิก ผ้เู ขาประขุมไม่เภิน ๖ คน พรอี มกไ]ประธานกลุม่ ประธานแต่ละฺ กลุ่มจะเบนผขู้ แจงล,กบณะของ บญหาผู้เขไประขุมอภิปรายหาขํฮแก้ไขและขํอเสนอแนะ เมือเสรจการประขุมกลุ่มแลร ทกุ กลมุ่ เขไประขุมใหญ่กน่ ประธานในทประขมุ ใหญจ่ ะใหแ้ ตล่ ะกลุม่ รายงานมตแิ ละข5อเสนอแนะ ของ ทแ*5เตด^ล่ท-5ะเสกฺดลุ่มต่อทีประขุมใหญ่ ประการสุดทไยประธานจะเสนอให้ทปี ระขุมใหญล่ งมตหิ าขไแก้บฃหา ง. การประชมุ กล0นกรอง ( 6๗ 0—5101๗08 00๗616006 ) การประขุมแบบน คอ การประขุมทีเอาการประขมุ วขิ าการกไ]การประขุมแก้บญหาเขำรวมกน่ วตถปุ ระสงคหลํก.กเพอ แสวงหาแนวคดิ ใหม้ ากทีสุดเทา่ ทีจะแสวงหาได้ เพอี่ นำมาเบนแนวทางในการแก้ไขบญหาทเกดขน ผ้เู ขำประขุมเลา่ กล้ ืวนแต่เบนผู้เขยี วขาญในสาขาตา่ ง ๆ ลไนเบนบคุ คลขนระดไ]สมองทงสน องศ์ประกอบการอภปิ ราย การอภิปรายกลจมุ่่ จะก่อประสิทธผิ ลในระดไ]ลขงุ ส่า ดุ จำเบนอย่างยงทผีข่ท้ ำการอภปิ รายรขฺจ่ ก ความรบผิดขอบกบไมอ่ คติ ผูเ้ ขไร่วมอภิปรายตไงรบทราบบญหาอย่างถูกติอง และรูจ้ กการรว่ มมือดี แผนการอภิปรายตอิ งวางไวโ้ ดยรอบคอบ มลื ำดไ]ขนตอน ไม่ยุ่งยาก เรองทเกยวกไ]บญหาทกุ เรอง ต!ิ ]งนำมาอภิปรายกนในทีประขุม ผูอ้ ภิปรายและผ้เู ขารว่ มการอภปิ ราย ตอิ งเตรียมติวอยา่ งสมบูรณ์ ในการอภิปรายนน มืองคประกอบทีควรพจิ ารณา ติงตอ่ ไปน.— ๑. การเลือกบญหา ( 36๒01102 1116 ?10บ1601 ) บ๋ึญหาทจะนำมาอภิปรายกไเ ควร ไดร้ ไ]การคดเลอื กอยา่ งละเอยี ดรอบคอบทสด มเิ ข่นนนแลไเวลาทเี สยิ ไปในการอภปิ รายกไเ จะเสย ไปเปล่าไร้ประโยขนํ ข่อพิจารณาทจำเบนประการแรกก็คอื บญห่ านนตอ่ งมืดวามสำคญํ ่อยา่ งแห้จริง ต่อกลุ่มขน กลุ่มขนกำลไใผหาคำตอบเพอเบนแนวทางปฎิบํตอนถกู ตไง ผเู้ ขำอภิปรายมเื วลาพอ ควรคกื บาหาขไเท็จจริงเกยวกไ]บญหาดไย

๒. การตืกษาบญี หา ( ?๒-3ร1ฑ8 1116 ?[0ผ601 ) สเู้ ขไรว่ มอภิปรายตว)้ งศกึ ษาหาขอ เทจจริง ขอมลู บญหาท่ีจะอภปิ รายลว่ งหนำ เพ่อี ช่วยเหลอื 'ใหค้ ณะอภปิ รายโต'้ ขอฒุทดี่ ี ม‘ิ ใช่ อภปิ รายโดยอาศโเวาทะโดยปราศจากความรบมดิ ขอบใด ๆ แม้ส้นู ำการอภปิ รายเอง กจำตองศึกษา สมาชิกส้เู ขไอภปิ รายทกุ คนอย่างทถ่ี วน ศึกษาพนฐานความสนใจ ๓. การเตรยี มระเบยี บวาระ (ร*๗?๒2 ๒6 ?1๐1ว16111) สทู้ ำหรือส้เู รยี กการประขมุ มีหนำทีเ่ ตรยี มการจ,ดทำระเบียบวาระ และสง่ ระเบียบวาระให้แกท่ ุกคน สจู้ ะเขาร่วมประขุมอภปิ ราย ระเบยี บวาระจะบอกลำดบสกู้ ล่าวอภิปราย เวลาทก่ี ำหนดใหแ้ ตล่ ะคนจะไดท้ ราบขอบเขตและความ รบมิดชอบของตนแต่ละคน นอกจากนสนู้ ำการอภปิ รายกจะสามารถควบคมุ การดำเนินการอภปิ ราย ให้ดำเนนิ ไปตามระเบยี บวาระ ไม่ออกนอกบญ่ี หาอกี ดวํ ย ตวํ อย่างระเบยี บวาระ การประขุมเรอื ง.....................................................................เวลาประขมุ ............................ ว่ตถุประสงค ๑ ....................................................................................................................................................................................................................................... ... ......................................... ๒ ....................................... ........................... .................... เ า ............................ ............. ๔ ......................................................................................................................... ........................ . . . 1 . , . . . ......................................................... ๕',........ .................................................................................... ฯลฯ อนง สูน้ ำการอภิปรายเองกี่ควรจะจดทำโครงแนวบญหาการอภิปรายของตนไว้ดวํ ย ตํว์อย่าง ๑. ทำไมเราจึงอภปิ รายบญหาน ก. บญหานเก่ียวของกบ่ เราอยา่ งไร ข. ตอ่ งการมาตรการแก้ไขรบี ดว่ นหรอื ไม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook