๔๗
๔๘
๔๙
๕๐
๕๑
๕๒
๕๓ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล ชอ่ื .......................................... นามสกลุ ........................................... ชัน้ ...............เลขที่........... คำชแ้ี จง ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องทตี่ รง กับระดบั คะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเหน็ 2 การยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ 3 การทำงานตามหนา้ ท่ที ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 4 ความมนี ้ำใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ดมี าก ชว่ งคะแนน ดี พอใช้ 14 – 15 ปรับปรงุ 11 – 13 8 - 10 ตำ่ กว่า 8 ลงชอ่ื ..............................................................ผ้ปู ระเมิน () ............../............./.............
๕๔ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ คำชี้แจง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนมนระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรง กบั ระดับคะแนน ลำ ช่ือ – สกุล พฤติกรรมของผู้เรียน รวม การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมนี ้ำใจ การมสี ่วน 15 ดบั สมาชิกในกลุ่ม ความคดิ เห็น ฟงั คนอ่ืน ตามไ ด ้ รั บ รว่ มในการ คะแนน ที่ มอบหมาย ปรับปรุง ผลงานกลุ่ม 321321321321321 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั ระดับคุณภาพ เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ดมี าก ดี ชว่ งคะแนน พอใช้ ปรบั ปรงุ 14 – 15 11 – 13 8 - 10 ต่ำกวา่ 8
๕๕ ลงชือ่ ..............................................................ผ้ปู ระเมนิ () ............../............./.............
๕๖ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนใบงาน ประเด็นการประเมิน ดีมาก (4) คะแนน ปรบั ปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) 1. ผลงานตรงตาม มีความสอดคล้อง มคี วามสอดคล้อง มีความสอดคลอ้ ง ไมม่ ีความ จดุ ประสงค์ กบั บทเรียนทุก กับบทเรยี นเป็น กับบทเรียนบาง สอดคล้องกบั ประเด็น สว่ นใหญ่ ประเด็น บทเรยี น 2. ผลงานมีความ มีความถูกต้อง มีความถูกตอ้ ง มคี วามถูกตอ้ ง ไมม่ ีความถูกต้อง ถกู ต้อง ครบถว้ น สมบูรณ์ เปน็ ส่วนใหญ่ บางประเดน็ 3. ผลงานมคี วามเปน็ มีความเปน็ ระเบียบ มีความเปน็ คอ่ นข้างเป็น ไมม่ ีความเป็น ระเบียบเรียบร้อย เรยี บรอ้ ย ไม่มี ระเบยี บเรียบรอ้ ย ระเบยี บเรียบรอ้ ย ระเบียบเรยี บร้อย ข้อบกพร่อง มขี ้อบกพร่อง มขี ้อบกพร่องบาง เล็กนอ้ ย ประเด็น 4. การสง่ งานตรงต่อ ส่งงานตามเวลาท่ี ส่งงานลา่ ช้ากวา่ สง่ งานล่าชา้ กวา่ ส่งงานลา่ ช้ากว่า เวลา กำหนด กำหนด 1-2 วนั กำหนด 3-5 วัน กำหนดเกนิ 5 วนั ระดบั คุณภาพ : ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) เกณฑ์การประเมิน : มผี ลการประเมินในระดับดีขึ้นไป จงึ ผ่านเกณฑ์การประเมิน
๕๗ เกณฑ์การให้คะแนนสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น พติกรรมบ่งชี้ คะแนน 1. ความสามารถใน การส่ือสาร ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) 2. ความสามารถใน การคดิ มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน ไมม่ ีความสามารถ 3. ความสามารถใน การส่อื สาร ชดั เจน การสอ่ื สาร การสื่อสาร ในการส่ือสาร การแก้ปัญหา ดีมาก ชดั เจนดี 4. ความสามารถใน การใชท้ ักษะชีวติ มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน สามารถในการคิด ไมม่ ีความสามารถ 5. ความสามารถใน การคิด พจิ ารณา การคิด พจิ ารณา และพจิ ารณาได้ ในการคิด การใช้เทคโนโลยี ตอ่ เหตุการณ์ต่าง ๆ ตอ่ เหตุการณต์ า่ ง ดีเยี่ยม ๆ ไดด้ ี มีความสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน ไม่มีความสามารถ การแก้ปัญหา การแกป้ ัญหา การแกป้ ัญหาและ ในการแกป้ ัญหา วิเคราะหป์ ญั หาดี วิเคราะห์ปญั หาดี วเิ คราะห์ปญั หา และวเิ คราะห์ มาก มาก ปัญหา มีความสามารถใน มีความสามารถใน มีความสามารถใน ไม่มีความสามารถ การใช้ทักษะชีวติ การใช้ทักษะชวี ิต การใช้ทักษะชวี ติ ในการใชท้ ักษะ ช่วยเหลือตนเอง ช่วยเหลือตนเอง ชวี ิต และคนรอบข้างดี และคนรอบขา้ งดี มาก มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน ไม่มีความสามารถ การใชเ้ ทคโนโลยี การใชเ้ ทคโนโลยี การใชเ้ ทคโนโลยี ในการใช้ คน้ หาความรู้ใน คน้ หาความรู้ใน ค้นหาความรใู้ น เทคโนโลยี เรือ่ งทีเ่ รยี นไดด้ ีมาก เรือ่ งท่เี รยี นไดด้ ี เร่ืองท่ีเรียน ระดับคุณภาพ : ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) เกณฑ์การประเมิน : มผี ลการประเมินในระดบั ดีขน้ึ ไป จึงผ่านเกณฑ์การประเมนิ
๕๘ แบบประเมินทักษะและกระบวนการ ชอ่ื .......................................... นามสกลุ ........................................... ชน้ั ...............เลขท่ี........... คำชแ้ี จง ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ลงในชอ่ งท่ตี รง กบั ระดับคะแนน ท่ี รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 54 3 21 1 ทักษะการอา่ น(Reading) 2 ทกั ษะการเขียน(Writing) 3 ทักษะด้านการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการ แกป้ ญั หา(Criticalthinkingandproblemsolving) 4 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม(Creativityand innovation) 5 ทกั ษะด้านความร่วมมือการทำงานเปน็ ทมี และภาวะผูน้ ำ (Collaboration , teamwork and leadership) 6 ทักษะดา้ นการสื่อสารสารสนเทศและรเู้ ท่าทนั ส่อื (Communication information and media literacy) 7 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สื่อสาร (Computing) 8 ทักษะการเรยี นรู้ (LearningSkills) 9 ภาวะผู้นำ (Leadership) รวม ระดับคุณภาพ : ดมี าก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) เกณฑ์การประเมนิ : มีผลการประเมนิ ในระดบั ปานกลางข้ึนไป จงึ ผ่านเกณฑ์การประเมิน
๕๙ พตกิ รรมบ่งชี้ ดมี าก (5) คะแนน ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1. ทักษะการอ่าน มีความสามารถใน มีความสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ ไมม่ ี (Reading) การอา่ นอยา่ งดี ในการอ่านอย่าง ในการอ่านและ ในการอ่านและ ความสามารถ เยีย่ มและมีความ ดแี ละมีความ มีความเข้าใจ มีความเขา้ ใจไม่ ในการอ่าน เข้าใจดมี าก เขา้ ใจดี คอ่ นข้างดแี ละ ดเี ทา่ ท่คี วร เขา้ ใจได้ 2. ทกั ษะการเขียน มคี วามสามารถใน มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ ไมม่ ี (Writing) การการเขียน ในการการเขยี น ในการการเขียน ในการการเขียน ความสามารถ อย่างยอดเยยี่ ม ใช้ อยา่ งยอดเยย่ี ม อยา่ งยอดเยย่ี ม อยา่ งยอดเย่ียม ในการเขียน คำได้เหมาะสมดี ใช้คำได้ ใช้คำได้ค่อนขา้ ง ใช้คำได้ไม่ดี มาก เหมาะสมดี ดีและเข้าใจได้ เท่าทค่ี วร 3. ทักษะด้านการคิด มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถ มีความสามารถ มีความสามารถ ในมี อยา่ งมีวิจารณญาณ การคดิ อยา่ งมี ในการคิดอย่าง ในการคดิ อย่าง ในการคดิ อยา่ ง ความสามารถ และทกั ษะในการ วจิ ารณญาณและ มีวิจารณญาณ มีวจิ ารณญาณ มวี ิจารณญาณ ในการคดิ อย่าง แกป้ ญั หา (Critical ทกั ษะในการ และทกั ษะใน และทกั ษะใน และทักษะใน มีวจิ ารณญาณ thinking and แก้ปัญหาอย่าง การแก้ปัญหา การแกป้ ัญหา การแก้ปัญหาไม่ และทกั ษะใน problem solving) ถกู ต้องเหมาะสมดี อย่างถูกต้อง คอ่ นข้างดี ดเี ทา่ ทค่ี วร การแก้ปัญหา มาก เหมาะสมดี 4. ทกั ษะด้านการ มีความสามารถใน มีความสามารถ มีความสามารถ มีความสามารถ ในมี สรา้ งสรรคแ์ ละ การสร้างสรรค์ ในการ ในการ ในการ ความสามารถ นวตั กรรม และนวัตกรรม มี สร้างสรรค์และ สรา้ งสรรคแ์ ละ สรา้ งสรรคแ์ ละ ในการ (Creativity and ความสวยงาม นวตั กรรม มี นวตั กรรม มี นวัตกรรม มี สร้างสรรค์และ innovation) ทนทานดีมาก ความสวยงาม ความสวยงาม ความสวยงาม นวัตกรรม ทนทานดี ทนทาน ทนทานไม่ดี ค่อนข้างดี เทา่ ที่ควร
๖๐ พติกรรมบ่งชี้ ดมี าก (5) ดี (4) คะแนน พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) มีความสามารถใน มีความสามารถ ปานกลาง (3) มีความสามารถ ไมม่ ี 5. ทักษะด้านความ การร่วมมือ การ ในการร่วมมือ มีความสามารถ ในการรว่ มมือ ความสามารถ ร่วมมือ การทำงาน ทำงานเปน็ ทีม การทำงานเปน็ ในการร่วมมือ การทำงานเป็น ในการร่วมมือ เป็นทีม และภาวะ และภาวะผ้นู ำ ทีม และภาวะ การทำงานเป็น ทีม และภาวะ การทำงานเปน็ ผู้นำ(Collaboration รู้จักทำหน้าท่ีของ ผู้นำ รจู้ กั ทำ ทมี และภาวะ ผูน้ ำ รจู้ กั ทำ ทีม และภาวะ , teamwork and ตนเองและ หน้าท่ีของ ผูน้ ำ ร้จู กั ทำ หนา้ ท่ีของ ผนู้ ำ leadership) ช่วยเหลือกนั ดี ตนเองและ หนา้ ทขี่ อง ตนเองและ มาก ช่วยเหลอื กนั ดี ตนเองและ ช่วยเหลือกันไม่ ไมม่ ี 6. ทักษะดา้ น การ ช่วยเหลอื กนั ดีเทา่ ทคี่ วร ความสามารถ สือ่ สาร สารสนเทศ มีความสามารถใน มคี วามสามารถ ค่อนข้างดี มีความสามารถ ในการสอ่ื สาร และรเู้ ทา่ ทนั ส่ือ การสอ่ื สาร ในการสื่อสาร มคี วามสามารถ ในการสอื่ สาร สารสนเทศ และ (Communication สารสนเทศและ สารสนเทศและ ในการสอ่ื สาร สารสนเทศและ รู้เท่าทนั ส่ือ information and รูเ้ ท่าทนั สือ่ รู้เทา่ ทันสือ่ สารสนเทศและ รูเ้ ทา่ ทันสือ่ media literacy) สามารถวิเคราะห์ สามารถ รเู้ ทา่ ทันสื่อ สามารถ ไมม่ ี ความนา่ เชื่อถือ วเิ คราะห์ความ สามารถ วิเคราะห์ความ ความสามารถ 7. ทกั ษะด้าน ของส่ือโฆษณาได้ นา่ เชอ่ื ถอื ของ วเิ คราะห์ความ น่าเช่ือถือของ ในดา้ น คอมพิวเตอร์ และ ดมี าก สอ่ื โฆษณาไดด้ ี นา่ เชือ่ ถือของ สื่อโฆษณาไมด่ ี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี สอ่ื โฆษณา เทา่ ทคี่ วร และเทคโนโลยี สารสนเทศและการ มีความสามารถใช้ มีความสามารถ คอ่ นข้างดี มคี วามสามารถ สารสนเทศและ สือ่ สาร คอมพวิ เตอร์ และ ใช้คอมพวิ เตอร์ มีความสามารถ ใช้คอมพิวเตอร์ การสอ่ื สาร (Computing) เทคโนโลยี และเทคโนโลยี ใช้คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศและ สารสนเทศและ และเทคโนโลยี สารสนเทศและ การสอ่ื สาร เพื่อ การสื่อสาร เพื่อ สารสนเทศและ การส่ือสาร เพื่อ หาข้อมูลในเรอื่ งท่ี หาข้อมูลในเรอื่ ง การสื่อสาร เพ่ือ หาข้อมูลในเรือ่ ง เรยี นไดด้ ีมาก ท่ีเรียนไดด้ ี หาขอ้ มลู ในเรื่อง ท่ีเรยี นไมด่ ี ท่ีเรยี นค่อนข้าง เท่าท่คี วร ดี
๖๑ พติกรรมบ่งชี้ ดีมาก (5) ดี (4) คะแนน พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) 8. ทกั ษะการเรยี นรู้ ปานกลาง (3) มคี วามสามารถ ไมม่ ี (Learning Skills) มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถ มีความสามารถ ในการเรยี นรู้ ความสามารถ ในการเรียนรู้ คดิ ตอ่ ยอดและ ในการเรียนรู้ 9. ภาวะผู้นำ การเรียนรู้ คดิ ต่อ ในการเรยี นรู้ คดิ ตอ่ ยอดและ พฒั นาไม่ดี (Leadership) พัฒนาค่อนขา้ ง เท่าทค่ี วร ไมม่ ภี าวะความ ยอดและพัฒนาได้ คดิ ต่อยอดและ ดี มคี วามสามารถ เปน็ ผูน้ ำ มคี วามสามารถ ในการเปน็ ผู้นำ ดมี าก พัฒนาไดด้ ี ในการเปน็ ผูน้ ำ ไม่ดเี ท่าที่ควร ค่อนข้างดี มีความสามารถใน มคี วามสามารถ การเปน็ ผู้นำอย่าง ในการเป็นผ้นู ำ ชัดเจนดเี ยยี่ ม อยา่ งชัดเจนดี ระดบั คุณภาพ : ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1) เกณฑ์การประเมิน : มีผลการประเมนิ ในระดบั ปานกลางข้ึนไป จงึ ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน
๖๒
๖๓ แผนการจดั การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวชิ าสังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๐ เรื่อง สถาบนั การเงนิ เวลา ๔ ชวั่ โมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็นของการรว่ มมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก ตัวชี้วัด ส ๓.๑ ม.๑/๑ วิเคราะห์บทบาทหน้าที่และความแตกตา่ งของสถาบันการเงินแต่ละประเภท และธนาคารกลาง ๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรดู้ า้ นความรู้ (K) - นักเรียนสามารถวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละ ประเภทและธนาคารกลางได้อยา่ งถูกต้อง - เชื่อมโยงการหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทุน ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผบู้ ริโภคและสถาบันการเงิน ด้านทักษะ (P) - นักเรียนสามารถอภิปรายบทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละ ประเภทและธนาคารกลางได้อยา่ งเหมาะสม ด้านจติ พสิ ัย (A) - นักเรียนเห็นความสำคัญและประโยชน์ของบทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบัน การเงินแต่ละประเภทและธนาคารกลางท่ีมใี นบทเรียน
๖๔ ๓. สาระสำคัญ ผู้ผลิตผู้บริโภคสถาบันการเงินและธนาคารกลางล้วนมีบทบาทสำคัญอีกทั้งมีความสัมพันธ์ ระหว่างกนั ในระบบเศรษฐกิจ ๔. สาระการเรยี นรู้ ๑. อธิบายความหมาย ประเภทและความสำคัญของสถาบนั การเงนิ ทีม่ ตี ่อระบบเศรษฐกิจได้ ๒. อภิปรายบทบาทหนา้ ที่และความสำคัญของธนาคารกลางได้อยา่ งเหมาะสม ๓. เชื่อมโยงการหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทุน ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผ้ผู ลติ ผู้บริโภคและสถาบนั การเงนิ ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เฉพาะที่เกดิ ในหน่วยการเรียนรนู้ ี้) ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๖. ทักษะของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 (3R 8C + 2L) (จดุ เนน้ สกู่ ารพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน) ทักษะการอ่าน (Reading) ทักษะการ เขยี น (Writing) ทกั ษะการ คิดคำนวณ (Arithmetic) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking and problem solving) ทักษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Creativity and innovation) ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผ้นู ำ (Collaboration , teamwork and leadership) ทักษะด้านความเขา้ ใจตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding) ทักษะด้าน การสื่อสาร สารสนเทศ และร้เู ท่าทันสอื่ (Communication information and media literacy)
๖๕ ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Computing) ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทกั ษะการเปลี่ยนแปลง (Change) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Skills) ภาวะผูน้ ำ (Leadership) ๗. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน ( หลักฐาน / ร่องรอยแสดงความรู้ ) - ใบงาน - แบบทดสอบเกบ็ คะแนน - รายงานสำรวจ ๘. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ชัว่ โมงท่ี ๑-๔ (ใชร้ ปู แบบการเรียนรู้ รูปแบบเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ ศนู ย์กลางใหผ้ ู้เรยี นไดส้ ร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง) ขั้นท่ี ๑ กระตนุ้ ความสนใจ ครูเล่าข่าวเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของสถาบันการเงินที่มีการโฆษณาให้ดอกเบี้ยเงินฝาก ประเภทต่าง ๆ สูงขึ้นหรือการปล่อยเงินกู้ให้ผู้ประกอบการแล้วให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็น โดยตอบคำถามต่อไปน้ีใครเป็นผ้ไู ด้รบั ประโยชนก์ ิจกรรรมในข่าวมีผลดีต่อเศรษฐกิจอย่างไร ขน้ั ท่ี ๒ สำรวจค้นหา ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตผู้บริโภคและ สถาบันการเงินจากหนังสือเรียนหนังสือค้นคว้าเพิ่มเติมหรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศในประเด็นสำคัญ ดงั นี้ ๑) การหารายได้ ๒) รายจ่าย ๓) การออมการลงทุน ข้นั ที่ ๓ อธิบายความรู้ สมาชิกแต่ละกลุ่มนำความรู้ที่ได้จากการศึกษามาเล่าสู่กันฟังและช่วยกันอธิบายประเด็น สำคัญของความสมั พันธ์ระหว่างผูผ้ ลิตผู้บริโภคและสถาบนั การเงิน ขน้ั ที่ ๔ ขยายความเขา้ ใจ สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมมือกันทำใบงาน เรื่อง วงเวียนธุรกิจ โดยนำความรู้เกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหวา่ งผู้ผลิตผบู้ ริโภคและสถาบนั การเงินมาเป็นพ้นื ฐานในการตอบคำถาม
๖๖ ข้ันที่ ๕ ตรวจสอบผล ครูสุ่มเรียกนักเรียน ๒-๓ กลุ่มออกมาเฉลยคำตอบในใบงานเรื่อง วงเวียนธุรกิจ และให้ กล่มุ อืน่ ทมี่ ีผลงานแตกตา่ งกันน้ำเสนอเพิม่ เติมครูตรวจสอบความถูกต้องและรว่ มกันสรปุ สาระสำคัญ ๙. สอ่ื การสอน ๑. สื่อการสอนในรูปแบบ “power point” ๒. ตวั อยา่ งขา่ ว ๓. ใบงาน ๑๐. แหลง่ เรยี นรู้ในหรอื นอกสถานท่ี สอ่ื สารสนเทศและหอ้ งสมุด
๖๗ ๑๑. การวัดและประเมินผล ช้นิ งาน /ภาระงาน วธิ ีวดั เครื่องมอื วัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑก์ ารประเมิน ใบงาน คะแนน เร่อื งวงเวียนธรุ กิจ ตรวจใบงาน ตอบคำถาม คะแนน๑๖-๒๐ =ดีมาก ตอบถกู ตอ้ งตามใบ คะแนน๑๑-๑๕ =ดี งานที่ทำ คะแนน๖-๑๐ =พอใช้ คะแนน๐-๕ =ปรบั ปรุง ผา่ นเกณฑใ์ นระดบั ดขี นึ้ ไป
๖๘ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธีวัด เครอ่ื งมอื วดั เกณฑ์การให้ เกณฑ์การประเมนิ คะแนน หรือสงิ่ ทีต่ อ้ งการจะ ประเมิน ๑.ตอบคำถามภาพจาก สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกต ตารางเกณฑ์การให้ ผ่านเกณฑต์ ้งั แต่ระดับดีขน้ึ คะแนนพฤตกิ รรม ไป หวั ขอ้ ท่คี รกู ำหนดให้ พฤตกิ รรมการ การเรียนรู้ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดบั ดีขน้ึ ทำงานรายบุคคล คะแนนพฤติกรรม ไป การปฏิบตั ิงาน ๒.นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกต รว่ มกันศึกษาความรู้เร่ือง พฤติกรรมการ ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ทำงานกลมุ่ ผู้ผลิตผบู้ รโิ ภคและสถาบัน การเงิน ๓.สมาชิกแตล่ ะกลุ่มนำ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต ตารางเกณฑ์การให้ ผ่านเกณฑต์ ัง้ แตร่ ะดับดขี น้ึ คะแนนพฤติกรรม ไป ความร้ทู ีไ่ ด้จากการศกึ ษา พฤติกรรมการ การปฏิบัติงาน มาเล่าสกู่ ันฟงั และชว่ ยกัน ทำงานกลุ่ม ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑต์ ง้ั แตร่ ะดับดขี ึ้น คะแนนพฤติกรรม ไป อธิบายประเดน็ สำคัญ การปฏิบัติงาน แบบสังเกต ผา่ นเกณฑต์ ัง้ แต่ระดับดีขึ้น ๔. สมาชกิ แตล่ ะกลุม่ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต พฤตกิ รรมการ ไป ทำงานกลุม่ รว่ มมอื กนั ทำใบงานเรื่อง พฤติกรรมการ วงเวยี นธรุ กิจ ทำงานกลมุ่ ๕.นกั เรยี นรว่ มกนั สรุป สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกต สาระสำคญั พฤตกิ รรมการ ทำงานกลุ่ม
๖๙ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน วิธวี ดั เคร่อื งมือวดั เกณฑ์การให้ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ๑.ความสามารถในการ สังเกต แบบสังเกต ผ่านเกณฑต์ ง้ั แต่ระดบั ปาน ส่อื สาร พฤตกิ รรมการ ตารางใหค้ ะแนน กลางขน้ึ ไป ทำงานรายบคุ คล สมรรถนะสำคญั ๒.ความสามารถในการคิด สงั เกต แบบประเมนิ ใบ ผเู้ รียน ผา่ นเกณฑต์ ้งั แต่ระดับปาน งาน ตารางให้คะแนน กลางขน้ึ ไป ๓.ความสามารถในการ สังเกต สมรรถนะสำคัญ แก้ปัญหา แบบสงั เกต ผู้เรียน ผ่านเกณฑต์ ง้ั แตร่ ะดับปาน พฤตกิ รรมการ ตารางใหค้ ะแนน กลางขนึ้ ไป ๔.ความสามารถในการใช้ สังเกต ทำงานรายบุคคล สมรรถนะสำคัญ ทกั ษะชีวติ แบบสังเกต ผู้เรียน ผา่ นเกณฑต์ ้ังแตร่ ะดบั ปาน พฤติกรรมการ ตารางให้คะแนน กลางขนึ้ ไป ทำงานรายบคุ คล สมรรถนะสำคญั ผ้เู รยี น
๗๐ ทักษะของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ วธิ ีวัด เครอ่ื งมือวดั เกณฑก์ ารให้ เกณฑก์ ารประเมิน ๒๑ แบบประเมินด้าน คะแนน ๑.ทกั ษะการอ่าน(Reading) สงั เกต ทักษะและ กระบวนการ ตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดบั ปาน ๒.ทักษะการเขียน(Writing) สงั เกต แบบประเมินด้าน คะแนนทกั ษะของ กลางขึ้นไป ๓.ทักษะด้านการคิดอย่างมี สังเกต ทกั ษะและ วจิ ารณญาณและทกั ษะในการ กระบวนการ ผเู้ รยี นในศตวรรษ แก้ปญั หา(Criticalthinking and problem solving) แบบประเมนิ ดา้ น ท่๒ี ๑ ๔.ทักษะดา้ นความรว่ มมอื สังเกต ทกั ษะและ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะ กระบวนการ ตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑ์ตั้งแต่ระดับปาน ผนู้ ำ(Collaboration, teamwork แบบประเมนิ ด้าน คะแนนทกั ษะของ กลางขน้ึ ไป and leadership) ทกั ษะและ ๕.ทักษะด้านการสอื่ สาร สังเกต กระบวนการ ผู้เรียนในศตวรรษ สารสนเทศและรู้เท่าทนั สอ่ื (Communication ท่๒ี ๑ information and media literacy) ตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑต์ ้งั แตร่ ะดับปาน ๖.ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning สังเกต Skills) คะแนนทักษะของ กลางขน้ึ ไป ผู้เรยี นในศตวรรษ ที่๒๑ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑต์ ง้ั แตร่ ะดบั ปาน คะแนนทักษะของ กลางขึ้นไป ผูเ้ รยี นในศตวรรษ ท่ี๒๑ แบบประเมนิ ด้าน ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑ์ตงั้ แต่ระดับปาน ทกั ษะและ คะแนนทกั ษะของ กลางขน้ึ ไป กระบวนการ ผู้เรยี นในศตวรรษ ท๒ี่ ๑ แบบประเมนิ ด้าน ตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑต์ ัง้ แตร่ ะดบั ปาน ทกั ษะและ คะแนนทกั ษะของ กลางขึ้นไป กระบวนการ ผ้เู รียนในศตวรรษ ที่๒๑
๗๑ ทกั ษะของผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี วิธวี ัด เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑ์การประเมิน ๒๑ แบบประเมนิ ด้าน คะแนน ๗.ภาวะผนู้ ำ (Leadership) สงั เกต ทกั ษะและ กระบวนการ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑ์ต้งั แตร่ ะดบั ปาน คะแนนทักษะของ กลางข้นึ ไป ผเู้ รยี นในศตวรรษ ท่๒ี ๑ ๑๒. กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ๑๓. บันทึกผลหลังการสอน สรุปผลการเรยี นการสอน นกั เรยี นทัง้ หมดจำนวน.....................คน
๗๒ จุดประสงค์การเรยี นรู้ข้อท่ี จำนวนนกั เรยี นทผี่ ่าน จำนวนนักเรยี นทไี่ ม่ผ่าน 1 จำนวนคน รอ้ ยละ จำนวนคน ร้อยละ 2 3 ๑๔. ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ๑๕. ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................. ................... ลงชอื่ ........................................................................ () ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ....................................... ลงชื่อ................................................................ หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ () ลงช่อื .......................................................... รองผอู้ ำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ (………………………………………..)
๗๓ ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศึกษา ได้ทำการตรวจแผนการเรียนรู้ของ....................................................แลว้ มีความคิดเหน็ ดังนี้ ๔. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ที่ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๕. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป ๖. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. .. ลงช่ือ............................................................................................... ( ………………………………………………… ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น………………………………………………………….
๗๔
๗๕
๗๖ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล ชอ่ื .......................................... นามสกลุ ........................................... ชั้น...............เลขท่ี........... คำชแ้ี จง ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ลงในช่องทตี่ รง กับระดบั คะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเหน็ 2 การยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ 3 การทำงานตามหนา้ ท่ที ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 4 ความมนี ้ำใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ดมี าก ชว่ งคะแนน ดี พอใช้ 14 – 15 ปรับปรงุ 11 – 13 8 - 10 ตำ่ กว่า 8 ลงชอ่ื ..............................................................ผ้ปู ระเมิน () ............../............./.............
๗๗ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ คำชี้แจง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนมนระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรง กบั ระดับคะแนน ลำ ช่ือ – สกุล พฤติกรรมของผู้เรียน รวม การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมนี ้ำใจ การมสี ่วน 15 ดบั สมาชิกในกลุ่ม ความคดิ เห็น ฟงั คนอ่ืน ตามไ ด ้ รั บ รว่ มในการ คะแนน ที่ มอบหมาย ปรับปรุง ผลงานกลุ่ม 321321321321321 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั ระดับคุณภาพ เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ดมี าก ดี ชว่ งคะแนน พอใช้ ปรบั ปรงุ 14 – 15 11 – 13 8 - 10 ต่ำกวา่ 8
๗๘ ลงชือ่ ..............................................................ผ้ปู ระเมนิ () ............../............./.............
๗๙ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนใบงาน ประเด็นการประเมิน ดีมาก (4) คะแนน ปรบั ปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) 1. ผลงานตรงตาม มีความสอดคล้อง มคี วามสอดคล้อง มีความสอดคลอ้ ง ไมม่ ีความ จดุ ประสงค์ กบั บทเรียนทุก กับบทเรยี นเป็น กับบทเรียนบาง สอดคล้องกบั ประเด็น ส่วนใหญ่ ประเด็น บทเรยี น 2. ผลงานมีความ มีความถูกต้อง มคี วามถูกต้อง มคี วามถูกตอ้ ง ไมม่ ีความถูกต้อง ถกู ต้อง ครบถว้ น สมบูรณ์ เปน็ ส่วนใหญ่ บางประเดน็ 3. ผลงานมคี วามเปน็ มีความเปน็ ระเบียบ มีความเปน็ คอ่ นข้างเป็น ไมม่ ีความเป็น ระเบียบเรียบร้อย เรยี บรอ้ ย ไม่มี ระเบียบเรียบรอ้ ย ระเบยี บเรียบรอ้ ย ระเบียบเรยี บร้อย ข้อบกพร่อง มขี อ้ บกพร่อง มขี ้อบกพร่องบาง เลก็ นอ้ ย ประเด็น 4. การสง่ งานตรงต่อ ส่งงานตามเวลาที่ ส่งงานลา่ ช้ากวา่ สง่ งานล่าชา้ กวา่ ส่งงานลา่ ช้ากว่า เวลา กำหนด กำหนด 1-2 วนั กำหนด 3-5 วัน กำหนดเกนิ 5 วนั ระดบั คุณภาพ : ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1) เกณฑ์การประเมิน : มผี ลการประเมินในระดับดีขน้ึ ไป จึงผ่านเกณฑ์การประเมิน
๘๐ เกณฑ์การให้คะแนนสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น พตกิ รรมบ่งช้ี คะแนน 1. ความสามารถใน การสื่อสาร ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) 2. ความสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน ไม่มีความสามารถ การคดิ การสื่อสาร ชัดเจน การสื่อสาร การส่ือสาร ในการสือ่ สาร 3. ความสามารถใน การแก้ปัญหา ดีมาก ชัดเจนดี 4. ความสามารถใน มีความสามารถใน มีความสามารถใน สามารถในการคดิ ไมม่ ีความสามารถ การใช้ทกั ษะชีวิต การคิด พจิ ารณา การคดิ พิจารณา และพจิ ารณาได้ ในการคดิ ต่อเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ต่อเหตกุ ารณ์ต่าง ดเี ยยี่ ม ๆ ได้ดี มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน ไม่มีความสามารถ การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา การแกป้ ัญหาและ ในการแกป้ ัญหา วิเคราะหป์ ัญหาดี วิเคราะหป์ ัญหาดี วเิ คราะห์ปญั หา และวเิ คราะห์ มาก มาก ปญั หา มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน ไม่มีความสามารถ การใชท้ กั ษะชีวิต การใชท้ กั ษะชวี ิต การใชท้ ักษะชีวติ ในการใช้ทักษะ ชว่ ยเหลอื ตนเอง ช่วยเหลือตนเอง ชวี ติ และคนรอบขา้ งดี และคนรอบข้างดี มาก ระดบั คุณภาพ : ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1) เกณฑ์การประเมนิ : มผี ลการประเมินในระดับดีขน้ึ ไป จึงผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
๘๑ แบบประเมนิ ทักษะและกระบวนการ ชื่อ .......................................... นามสกลุ ........................................... ชน้ั ...............เลขท่ี........... คำช้ีแจง ให้ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ลงในชอ่ งท่ตี รง กับระดบั คะแนน ที่ รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 54 3 21 1 ทักษะการอ่าน(Reading) 2 ทกั ษะการเขียน(Writing) 3 ทักษะดา้ นการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการ แกป้ ญั หา(Criticalthinkingandproblemsolving) 4 ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือการทำงานเป็นทมี และภาวะผูน้ ำ (Collaboration , teamwork and leadership) 5 ทักษะดา้ นการส่อื สารสารสนเทศและร้เู ท่าทันสือ่ (Communication information and media literacy) 6 ทกั ษะการเรียนรู้ (LearningSkills) 7 ภาวะผนู้ ำ (Leadership) รวม ระดับคุณภาพ : ดมี าก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) เกณฑ์การประเมนิ : มีผลการประเมนิ ในระดบั ปานกลางขึ้นไป จึงผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน
๘๒ พตกิ รรมบ่งชี้ ดีมาก (5) คะแนน ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) 1. ทักษะการอา่ น มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ ไมม่ ี (Reading) การอา่ นอย่างดี ในการอ่านอยา่ ง ในการอ่านและ ในการอ่านและ ความสามารถ เยีย่ มและมีความ ดีและมีความ มีความเขา้ ใจ มคี วามเข้าใจไม่ ในการอ่าน เข้าใจดมี าก เขา้ ใจดี คอ่ นข้างดีและ ดเี ทา่ ทคี่ วร เข้าใจได้ 2. ทักษะการเขียน มีความสามารถใน มคี วามสามารถ มคี วามสามารถ มคี วามสามารถ ไมม่ ี (Writing) การการเขียน ในการการเขยี น ในการการเขียน ในการการเขยี น ความสามารถ อยา่ งยอดเย่ยี ม ใช้ อย่างยอดเยย่ี ม อย่างยอดเย่ยี ม อยา่ งยอดเยี่ยม ในการเขยี น คำไดเ้ หมาะสมดี ใช้คำได้ ใชค้ ำได้ค่อนขา้ ง ใช้คำได้ไมด่ ี มาก เหมาะสมดี ดแี ละเขา้ ใจได้ เทา่ ท่คี วร 3. ทกั ษะด้านการคดิ มีความสามารถใน มีความสามารถ มีความสามารถ มีความสามารถ ในมี อยา่ งมวี ิจารณญาณ การคิดอยา่ งมี ในการคิดอยา่ ง ในการคิดอย่าง ในการคดิ อยา่ ง ความสามารถ และทักษะในการ วจิ ารณญาณและ มีวจิ ารณญาณ มีวจิ ารณญาณ มีวิจารณญาณ ในการคดิ อยา่ ง แกป้ ัญหา (Critical ทกั ษะในการ และทกั ษะใน และทักษะใน และทกั ษะใน มวี จิ ารณญาณ thinking and แกป้ ญั หาอยา่ ง การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา การแก้ปัญหาไม่ และทักษะใน problem solving) ถูกต้องเหมาะสมดี อยา่ งถูกต้อง คอ่ นข้างดี ดเี ทา่ ที่ควร การแกป้ ัญหา มาก เหมาะสมดี 4. ทกั ษะด้านความ มีความสามารถใน มีความสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ ไมม่ ี ร่วมมือ การทำงาน การร่วมมอื การ ในการร่วมมือ ในการร่วมมือ ในการรว่ มมือ ความสามารถ เป็นทมี และภาวะ ทำงานเป็นทีม การทำงานเปน็ การทำงานเปน็ การทำงานเป็น ในการร่วมมือ ผนู้ ำ(Collaboration และภาวะผนู้ ำ ทมี และภาวะ ทีม และภาวะ ทมี และภาวะ การทำงานเปน็ , teamwork and ร้จู ักทำหนา้ ท่ีของ ผู้นำ ร้จู ักทำ ผูน้ ำ รู้จักทำ ผนู้ ำ รู้จกั ทำ ทีม และภาวะ leadership) ตนเองและ หนา้ ท่ขี อง หน้าท่ีของ หนา้ ท่ีของ ผู้นำ ชว่ ยเหลอื กนั ดี ตนเองและ ตนเองและ ตนเองและ มาก ชว่ ยเหลือกันดี ชว่ ยเหลอื กนั ช่วยเหลอื กนั ไม่ คอ่ นข้างดี ดีเท่าที่ควร
๘๓ พตกิ รรมบ่งช้ี ดมี าก (5) ดี (4) คะแนน พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) 5. ทักษะด้าน การ ปานกลาง (3) มีความสามารถ ไมม่ ี สือ่ สาร สารสนเทศ มีความสามารถใน มคี วามสามารถ มคี วามสามารถ ในการสือ่ สาร ความสามารถ และรู้เทา่ ทันสื่อ ในการสอื่ สาร สารสนเทศและ ในการส่ือสาร (Communication การส่ือสาร ในการส่อื สาร สารสนเทศและ รู้เทา่ ทนั ส่ือ สารสนเทศ และ information and รู้เท่าทนั ส่ือ สามารถ รเู้ ทา่ ทันสือ่ media literacy) สารสนเทศและ สารสนเทศและ สามารถ วเิ คราะห์ความ วิเคราะหค์ วาม นา่ เช่ือถอื ของ ไมม่ ี 6. ทกั ษะการเรียนรู้ ร้เู ท่าทนั สือ่ รูเ้ ทา่ ทนั สื่อ น่าเชอื่ ถอื ของ สอ่ื โฆษณาไม่ดี ความสามารถ (Learning Skills) ส่ือโฆษณา เทา่ ที่ควร ในการเรียนรู้ สามารถวเิ คราะห์ สามารถ ค่อนข้างดี มีความสามารถ 7. ภาวะผนู้ ำ มคี วามสามารถ ในการเรียนรู้ ไมม่ ีภาวะความ (Leadership) ความน่าเช่อื ถือ วิเคราะหค์ วาม ในการเรียนรู้ คดิ ตอ่ ยอดและ เปน็ ผูน้ ำ คิดตอ่ ยอดและ พฒั นาไมด่ ี ของสื่อโฆษณาได้ น่าเช่ือถือของ พัฒนาค่อนขา้ ง เท่าทค่ี วร ดี มีความสามารถ ดีมาก ส่อื โฆษณาได้ดี มีความสามารถ ในการเป็นผนู้ ำ ในการเป็นผนู้ ำ ไม่ดเี ท่าที่ควร มีความสามารถใน มีความสามารถ ค่อนข้างดี การเรยี นรู้ คดิ ต่อ ในการเรยี นรู้ ยอดและพัฒนาได้ คิดตอ่ ยอดและ ดมี าก พัฒนาได้ดี มีความสามารถใน มีความสามารถ การเปน็ ผู้นำอยา่ ง ในการเปน็ ผู้นำ ชดั เจนดีเย่ียม อย่างชดั เจนดี ระดบั คุณภาพ : ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) เกณฑ์การประเมนิ : มผี ลการประเมนิ ในระดบั ปานกลางขึ้นไป จงึ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน
๘๔
๘๕ แผนการจัดการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวิชาสงั คมศกึ ษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑๑ เรอื่ ง เศรษฐกิจประเทศไทย เวลา ๓ ชวั่ โมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเปน็ ของการร่วมมอื กนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ตวั ชี้วดั ส ๓.๒ ม.๑/๒ ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัยกันและการแข่งขันกันทาง เศรษฐกจิ ในประเทศ ส ๓.๑ ม.๑/๔ อภปิ รายผลของการมีกฎหมายเก่ยี วกบั ทรัพย์สินทางปัญญา ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรดู้ ้านความรู้ (K) - นักเรียนสรุปการยกตัวอย่างทีส่ ะท้อนให้เห็นการพึง่ พาอาศยั และการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ ในประเทศไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง - นกั เรยี นสามารถสรุปผลของการมกี ฎหมายเกี่ยวกับทรพั ยส์ ินทางปญั ญาได้ ด้านทกั ษะ (P) - นกั เรียนนำเสนอการพ่ึงพาอาศยั และการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ ในประเทศได้อยา่ งถูกต้อง - นกั เรยี นสามารถอภปิ รายผลของการมกี ฎหมายเก่ยี วกบั ทรัพย์สนิ ทางปัญญาได้ ดา้ นจิตพสิ ัย (A) - นักเรียนเห็นประโยชน์ของการยกตัวอย่างการพึ่งพาอาศัยและการแข่งขันทางเศรษฐกิจใน ประเทศ - นักเรียนเลง็ เห็นถงึ ความสำคัญของการอภปิ รายผลของการมกี ฎหมายเกยี่ วกับทรัพย์สินทาง ปญั ญา
๘๖ ๓. สาระสำคัญ ลักษณะทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทยมที ั้งการพ่ึงพาอาศัยกันและการแขง่ ขันกัน ๔. สาระการเรยี นรู้ ๑. วิเคราะหแ์ ละเช่ือมโยงการพง่ึ พาอาศัยและการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ ในประเทศได้ ๒. สรุปยกตัวอยา่ งท่ีสะท้อนใหเ้ ห็นการพึ่งพาอาศัยกันและกันการแขง่ ขนั กันทางเศรษฐกิจใน ประเทศ ๓. วิเคราะห์ปญั หาเศรษฐกิจในชุมชนประเทศและเสนอแนวทางแก้ไข ๔. สรปุ ผลของการมกี ฎหมายเก่ียวกบั ทรพั ย์สนิ ทางปัญญาได้ ๕. อธิบายความหมายและความสำคัญของทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายที่เกี่ยวกับ การคุม้ ครองทรัพย์สนิ ทางปัญญาพอสังเขปได้ ๖. ตัวอย่างการละเมิดแหง่ ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (เฉพาะท่ีเกิดในหน่วยการเรยี นรู้น้ี) ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๖. ทกั ษะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C + 2L) (จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น) ทักษะการอา่ น (Reading) ทกั ษะการ เขยี น (Writing) ทกั ษะการ คิดคำนวณ (Arithmetic) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking and problem solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and innovation) ทกั ษะด้านความรว่ มมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration , teamwork
๘๗ and leadership) ทักษะด้านความเขา้ ใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural understanding) ทักษะดา้ น การส่อื สาร สารสนเทศ และร้เู ท่าทันส่อื (Communication information and media literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing) ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทักษะการเปลย่ี นแปลง (Change) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ภาวะผนู้ ำ (Leadership) ๗. ชน้ิ งานหรือภาระงาน ( หลกั ฐาน / ร่องรอยแสดงความรู้ ) - ใบงาน - แบบทดสอบเก็บคะแนน - รายงานสำรวจ ๘. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่วั โมงที่ ๑-๒ (ใชร้ ปู แบบการเรียนรู้ รปู แบบการเรยี นรตู้ ามวฎั จกั รการเรยี นร้แู บบ 4MAT) ข้นั ที่ ๑ สร้างคณุ ค่าและประสบการณข์ องสิง่ ท่ีเรียน ครูใหน้ ักเรียนผลัดกนั แสดงความคิดเห็นถงึ อาชีพท่สี ำคัญทีส่ ุดของชาวไทยในปจั จุบันทส่ี ่งผลดี ตอ่ เศรษฐกจิ ของไทยซ่ึงนักเรียนสามารถตอบไดห้ ลากหลายเชน่ - อาชีพเกษตรกรรม - อาชพี อุตสาหกรรม - อาชีพนักบิน - อาชีพมคั คุเทศก์ - อาชพี คา้ ขาย ข้นั ท่ี ๒ วเิ คราะห์ประสบการณ์ นกั เรียนแต่ละคนแสดงเหตุผลวา่ ทำไมนกั เรียนจึงคดิ วา่ อาชีพทน่ี ักเรียนนำเสนอใน ขั้นที่ ๑ นั้นสำคัญที่สุดนักเรียนร่วมกันอภิปรายแล้วช่วยกันเขียนเป็นผังมโนทัศน์บนกระดานหน้า ช้ันเรียน
๘๘ ขน้ั ท่ี ๓ ปรบั ประสบการณ์เปน็ ความคิดรวบยอด ๑. ครนู ำภาพกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทยในดา้ นตา่ งๆมาใหน้ ักเรยี นดู ๒. ครใู หน้ ักเรียนรว่ มกนั สรุปเป็นความคดิ รวบยอดถงึ ลักษณะทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทย ข้ันที่ ๔ พัฒนาความคิดรวบยอด ๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจกลุ่มละ ๖-๘ คนร่วมกันศึกษาความรู้เรื่องเศรษฐกิจ ของประเทศไทยจากหนงั สือเรยี นหนังสือคน้ คว้าเพ่ิมเตมิ และแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศในหวั ข้อตอ่ ไปน้ี ๑) ลักษณะทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ๒) การพึ่งพาอาศัยและการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจแล้วบันทึกความรู้ที่ได้จาก การศกึ ษาลงในสมุด ๒. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั สรปุ ประเด็นความรู้ตามหัวขอ้ ทีไ่ ดศ้ ึกษา ขั้นท่ี ๕ ลงมอื ปฏบิ ตั จิ ากกรอบความคดิ ทกี่ ำหนด ๑. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มมอื กนั ทำใบงานท่ี ๑ เรอื่ งลักษณะทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทย ๒. นักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบในใบงานที่ ๑ โดยมีครูเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้องช่ัวโมงท่ี ๒ ขน้ั ที่ ๖ สรา้ งชิ้นงานเพื่อสะทอ้ นความเปน็ ตนเอง ครูให้นักเรียนจัดทำสมุดภาพกิจกรรมแสดงถึงลักษณะทางเศรษฐกิจของประเทศไทยพร้อม เขยี นคำบรรยายใต้ภาพทีแ่ สดงถงึ การพึ่งพาอาศัยและการแขง่ ขันกนั ทางเศรษฐกิจ ขัน้ ที่ ๗ วิเคราะห์คุณค่าและประยุกตใ์ ช้ สมาชิกแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ผลงานสมุดภาพกิจกรรมแสดงถึงลักษณะทางเศรษฐกิจของ ประเทศไทยที่กลมุ่ รบั ผิดชอบช่วยกนั ปรับปรงุ แกไ้ ขและพัฒนาให้ดีขน้ึ ขน้ั ท่ี ๘ แลกเปล่ยี นประสบการณเ์ รยี นรกู้ บั ผู้อน่ื ๑. ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละกล่มุ นำเสนอผลงานโดยปฏบิ ตั ดิ งั นี้ กลมุ่ ที่ ๑ เสนอผลงาน กล่มุ ที่ ๒ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ กลมุ่ ท่ี ๒ เสนอผลงาน กลุ่มที่ ๓ เสนอแนะเพ่ิมเติม กลุ่มท่ี ๓ เสนอผลงาน กลุ่มที่ ๔ เสนอแนะเพม่ิ เติม กลุ่มท่ี ๔ เสนอผลงาน กลุ่มท่ี ๕ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ กลุ่มที่ ๕ เสนอผลงาน กลมุ่ ที่ ๑ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ๒. ครูตรวจสอบความถูกตอ้ งในการนำเสนอผลงานและการเสนอแนะเพิม่ เติมของแต่ละกล่มุ ๓. ครแู ละนกั เรียนชว่ ยกนั สรุปลักษณะทางเศรษฐกิจของประเทศไทยการพ่ึงพาอาศัยกันและ การแขง่ ขันกันทางเศรษฐกิจ
๘๙ ช่วั โมงท่ี ๓ (รูปแบบการเรยี นรูผ้ เู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลางการเรยี นรู้ (student-center) ขั้นท่ี ๑ นำเข้าสูบ่ ทเรียน ๑. ครูนำข่าวเกี่ยวกับการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญามาเล่าให้นักเรียนฟัง เช่น ตำรวจจับ ผู้ขายซีดเี ถอ่ื น ๒. ครูให้นกั เรียนวิเคราะห์ขา่ วโดยการตอบคำถามดังนี้ - การกระทำของบุคคลในขา่ วเปน็ การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือไม่ - การกระทำดังกล่าวมผี ลเสยี อยา่ งไร ๓. ครูอธบิ ายเชอ่ื มโยงให้นักเรยี นเห็นความสำคัญของทรัพย์สินทางปัญญา ขน้ั ที่ ๒ สอน ๑. ครูอธิบายความรู้ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจเกย่ี วกบั หัวข้อตอ่ ไปน้ี - ความหมายและความสำคญั ของทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา - ประเภทของทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา - กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาและตัวอย่างการละเมิด ทรพั ยส์ ินทางปญั ญาแต่ละประเภท ๒. ครูให้นักเรยี นแบง่ กลุ่มกลมุ่ ละ ๔-๖ คนร่วมกนั ศกึ ษาความรู้เรื่องทรัพย์สินทางปัญญาจาก หนังสือเรียนหนังสือค้นคว้าเพิ่มเติมและแหล่งข้อมูลสารสนเทศแล้วร่วมกันอภิปรายสรุปประเด็น สำคญั ของเรือ่ งท่ศี กึ ษาลงในสมุด ๓. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำใบงานที่ ๒ เรื่องทรัพย์สินทางปัญญาโดยให้สมาชิกแต่ละคน ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี - สมาชิกคนท่ี ๑ เขยี นคำตอบขอ้ ๑ ลงในใบงานแล้วส่งใบงานไปยงั สมาชกิ คนท่ี ๒ - สมาชิกคนที่ ๒ อ่านคำตอบของสมาชิกคนที่ ๑ ถ้ายังไม่ถูกต้องสมบูรณ์ให้เขียน เพิ่มเติมจากนน้ั เขยี นคำตอบขอ้ ๒ แล้วสง่ ใบงานไปยังสมาชิกคนท่ี ๓ - สมาชิกคนที่ ๓ อ่านคำตอบของสมาชิกคนที่ ๒ ถ้ายังไม่ถูกต้องสมบูรณ์ให้เขียน เพ่มิ เติมจากนั้นเขยี นคำตอบข้อ ๓ แลว้ สง่ ใบงานไปยังสมาชิกคนที่ ๔ - สมาชิกคนที่ ๔ อ่านคำตอบของสมาชิกคนที่ ๓ ถ้ายังไม่ถูกต้องสมบูรณ์ให้เขียน เพ่ิมเติมจากนั้นเขียนคำตอบข้อ ๔ แลว้ ส่งใบงานไปยงั สมาชิกคนท่ี ๑ สมาชกิ ทุกคนในแตล่ ะกลุ่มจะได้ มีโอกาสเขยี นคำตอบหมนุ เวยี นไปคนละ ๓ ขอ้ จนเสร็จ ๔. ครูและนกั เรยี นชว่ ยกันเฉลยคำตอบในใบงานที่ ๒ ขัน้ ที่ ๓ สรปุ นักเรยี นร่วมกนั สรุปความรู้เรอื่ งกฎหมายเก่ียวกับทรัพย์สินทางปญั ญา
๙๐ ๙. ส่อื การสอน ๑. ส่อื การสอนในรูปแบบ “power point” ๒. บตั รภาพ ๓. หนงั สือเรยี นเศรษฐศาสตร์ ม.๑ ๔. ใบงาน ๕. ตวั อยา่ งข่าว ๑๐. แหลง่ เรยี นรใู้ นหรอื นอกสถานที่ สอ่ื สารสนเทศและหอ้ งสมุด
๙๑ ๑๑. การวัดและประเมินผล ช้ินงาน /ภาระงาน วธิ วี ัด เครอ่ื งมือวดั เกณฑก์ ารให้ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ๑.ใบงานที่ ๑ เรื่อง ตรวจใบงานที่ ๑ ใบงาน ตอบคำถาม คะแนน๑๖-๒๐ =ดีมาก ลกั ษณะเศรษฐกิจประเทศ ไทย ตอบถกู ตอ้ งตามใบ คะแนน๑๑-๑๕ =ดี งานท่ีทำ คะแนน๖-๑๐ =พอใช้ คะแนน๐-๕ =ปรับปรงุ ผา่ นเกณฑ์ในระดับดีขึน้ ไป ๒.ใบงานที่ ๒ เรอื่ ง ตรวจใบงานที่ ๒ ใบงาน ตอบคำถาม คะแนน๑๖-๒๐ =ดีมาก กฎหมายคุ้มคองทรัพยส์ ิน ทางปญั ญา ตอบถูกตอ้ งตามใบ คะแนน๑๑-๑๕ =ดี งานที่ทำ คะแนน๖-๑๐ =พอใช้ คะแนน๐-๕ =ปรบั ปรุง ผา่ นเกณฑ์ในระดับดขี ึ้นไป
๙๒ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ วี ดั เครอื่ งมือวัด เกณฑ์การให้ เกณฑ์การประเมนิ คะแนน หรอื สิ่งทต่ี ้องการจะ ประเมนิ ๑.ตอบคำถามเรือ่ งอาชพี สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑต์ งั้ แตร่ ะดับดีข้ึน คะแนนพฤติกรรม ไป ทส่ี ำคัญท่สี ดุ ของชาวไทย พฤติกรรมการ การเรียนรู้ ในปจั จุบนั และส่งผลดตี อ่ ทำงานรายบคุ คล เศรษฐกิจของไทย ๒.นักเรียนร่วมกนั สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต ตารางเกณฑ์การให้ ผ่านเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดบั ดีขึ้น คะแนนพฤติกรรม ไป อภิปรายแล้วช่วยกนั เขียน พฤติกรรมการ การเรียนรู้ เปน็ ผงั มโนทศั น์บน ทำงานรายบุคคล กระดาน ๓.นกั เรียนรว่ มกันสรปุ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต ตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดบั ดขี ้ึน คะแนนพฤติกรรม ไป เป็นความคิดรวบยอดถงึ พฤตกิ รรมการ การเรยี นรู้ ลกั ษณะทางเศรษฐกิจของ ทำงานรายบคุ คล ประเทศไทย ๔. นักเรยี นรว่ มกันศึกษา สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต แบบสงั เกต ผ่านเกณฑต์ งั้ แตร่ ะดบั ดีขึ้น พฤติกรรมการ ไป ความรเู้ ร่ืองเศรษฐกิจของ พฤตกิ รรมการ ทำงานกลุ่ม ประเทศไทยจากหนังสอื ทำงานกล่มุ เรียนหนงั สอื คน้ ควา้ เพิม่ เตมิ และแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ ๕.นักเรียนจัดทำสมดุ ภาพ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต แบบสงั เกต ผ่านเกณฑต์ ง้ั แตร่ ะดบั ดขี นึ้ พฤตกิ รรมการ ไป กิจกรรมแสดงถึงลกั ษณะ พฤตกิ รรมการ ทำงานกลมุ่ ทางเศรษฐกิจของประเทศ ทำงานกลมุ่ ไทยพร้อมเขยี นคำบรรยาย ใตภ้ าพท่ีแสดงถงึ การพ่ึงพา อาศัยและการแขง่ ขนั กัน ทางเศรษฐกจิ
๙๓ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธีวดั เครอื่ งมือวัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน หรือสงิ่ ทีต่ ้องการจะ ประเมนิ ๖.สมาชกิ แต่ละกลุม่ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกต ตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑต์ ั้งแต่ระดับดขี น้ึ คะแนนพฤติกรรม ไป วเิ คราะห์ผลงานสมดุ ภาพ พฤตกิ รรมการ การทำงานกลุ่ม กิจกรรมแสดงถึงลักษณะ ทำงานกลุ่ม ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ ไทยทกี่ ลุม่ รับผดิ ชอบ ช่วยกนั ปรับปรงุ แกไ้ ขและ พัฒนาให้ดีข้นึ ๗.ครใู หน้ กั เรียนแต่ละ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑต์ ัง้ แตร่ ะดบั ดีข้ึน คะแนนพฤติกรรม ไป กลมุ่ นำเสนอผลงาน พฤติกรรมการ การทำงานกลุม่ ทำงานกลุ่ม ๘.นกั เรียนชว่ ยกันสรปุ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกต แบบสงั เกต ผา่ นเกณฑต์ ้ังแต่ระดบั ดขี ึ้น ลกั ษณะทางเศรษฐกิจของ สงั เกตพฤตกิ รรม พฤติกรรมการ พฤตกิ รรมการ ไป ประเทศไทยการพ่งึ พา ทำงานกลุ่ม ทำงานกล่มุ อาศยั กันและการแขง่ ขัน ผ่านเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดับดีขึ้น กันทางเศรษฐกิจ ไป ๙.นกั เรียนวิเคราะห์ข่าว เกีย่ วกับการละเมดิ ทรัพยส์ ินทางปัญญา
๙๔ จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ วี ดั เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑ์การประเมนิ คะแนน หรอื สิ่งท่ีตอ้ งการจะ ประเมนิ ๑๐. นักเรยี นรว่ มกนั ศึกษา สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑต์ ้งั แต่ระดับดขี น้ึ คะแนนพฤติกรรม ไป ความรู้เรอ่ื งทรัพย์สินทาง พฤตกิ รรมการ การทำงานกลุ่ม ปญั ญาจากหนงั สอื เรยี น ทำงานกลุ่ม หนังสือค้นคว้าเพมิ่ เติม และแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ ๑๑. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ทำ สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑต์ งั้ แตร่ ะดบั ดขี ้ึน คะแนนพฤติกรรม ไป ใบงานที่ ๒ เรือ่ งทรัพย์สนิ พฤตกิ รรมการ การทำงานกล่มุ ทางปัญญา ทำงานกลมุ่ ๑๒. นักเรยี นรว่ มกนั สรุป สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต แบบสงั เกต ผ่านเกณฑต์ ง้ั แต่ระดบั ดขี ึ้น ความร้เู รือ่ งกฎหมาย พฤติกรรมการ พฤตกิ รรมการ ไป เกยี่ วกบั ทรพั ยส์ ินทาง ทำงานกล่มุ ทำงานกลุม่ ปญั ญา
๙๕ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน วธิ วี ดั เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน ๑.ความสามารถในการ สงั เกต แบบสังเกต ผ่านเกณฑต์ ้ังแตร่ ะดับปาน สอื่ สาร พฤตกิ รรมการ ตารางใหค้ ะแนน กลางข้ึนไป ทำงานรายบุคคล สมรรถนะสำคญั ๒.ความสามารถในการคดิ สงั เกต แบบประเมนิ ใบ ผูเ้ รยี น ผา่ นเกณฑต์ ้ังแตร่ ะดับปาน งาน ตารางใหค้ ะแนน กลางขน้ึ ไป ๓.ความสามารถในการ สังเกต สมรรถนะสำคญั แก้ปัญหา แบบสงั เกต ผู้เรียน ผ่านเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดับปาน พฤติกรรมการ ตารางให้คะแนน กลางขึน้ ไป ๔.ความสามารถในการใช้ สงั เกต ทำงานรายบุคคล สมรรถนะสำคญั ทกั ษะชวี ิต แบบสงั เกต ผ้เู รียน ผ่านเกณฑต์ ้ังแต่ระดับปาน พฤตกิ รรมการ ตารางใหค้ ะแนน กลางข้นึ ไป ๕.ความสามารถในการใช้ สังเกต ทำงานรายบุคคล สมรรถนะสำคญั เทคโนโลยี แบบสังเกต ผเู้ รยี น ผ่านเกณฑต์ ัง้ แต่ระดบั ปาน พฤติกรรมการ ตารางให้คะแนน กลางขน้ึ ไป ทำงานรายบคุ คล สมรรถนะสำคญั ผเู้ รียน
๙๖ ทักษะของผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี วิธีวดั เครอื่ งมอื วัด เกณฑ์การให้ เกณฑก์ ารประเมิน ๒๑ แบบประเมินด้าน คะแนน ๑.ทักษะการอา่ น(Reading) สงั เกต ทกั ษะและ กระบวนการ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดบั ปาน แบบประเมนิ ดา้ น คะแนนทกั ษะของ กลางขนึ้ ไป ทกั ษะและ กระบวนการ ผเู้ รียนในศตวรรษ แบบประเมินดา้ น ท๒่ี ๑ ทักษะและ ๒.ทกั ษะการเขียน(Writing) สงั เกต กระบวนการ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑ์ตั้งแต่ระดับปาน แบบประเมินด้าน คะแนนทกั ษะของ กลางข้นึ ไป ทักษะและ กระบวนการ ผูเ้ รียนในศตวรรษ แบบประเมินด้าน ท๒่ี ๑ ทักษะและ ๓.ทักษะด้านการคดิ อยา่ งมี สงั เกต กระบวนการ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑต์ ้งั แตร่ ะดับปาน วิจารณญาณและทักษะในการ แก้ปัญหา (Critical thinking คะแนนทักษะของ กลางขึ้นไป and problem solving) ๔.ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ สังเกต ผู้เรียนในศตวรรษ และนวัตกรรม (Creativity and innovation) ที่๒๑ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑต์ ง้ั แตร่ ะดบั ปาน คะแนนทกั ษะของ กลางขึน้ ไป ผู้เรยี นในศตวรรษ ที่๒๑ ๕.ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ สงั เกต ตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑ์ตงั้ แต่ระดับปาน การทำงานเปน็ ทมี และภาวะ สงั เกต ผูน้ ำ(Collaboration, คะแนนทักษะของ กลางขึ้นไป teamwork and leadership) ผู้เรยี นในศตวรรษ ๖.ทักษะด้านการสอื่ สาร สารสนเทศและรูเ้ ท่าทันสือ่ ที่๒๑ (Communication information and แบบประเมินดา้ น ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑต์ ัง้ แตร่ ะดบั ปาน media literacy) ทักษะและ คะแนนทกั ษะของ กลางขึ้นไป กระบวนการ ผเู้ รียนในศตวรรษ ท๒ี่ ๑
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117