Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาการอยู่ไฟ

ภูมิปัญญาการอยู่ไฟ

Published by sakulsueb_9, 2020-05-13 03:14:21

Description: ภูมิปัญญาการอยู่ไฟ

Keywords: ภูมิปัญญา,การอยู่ไฟ

Search

Read the Text Version

ข การประชุมสมั มนาวิชาการระดบั ชาติ “เวทวี ิจัยศลิ ปะและวัฒนธรรมศึกษา” ครง้ั ท่ี 2 สารจากอธิการบดมี หาวทิ ยาลัยมหาสารคาม งานด้านการวิจัยเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคล่ือนและการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ในนวัตกรรม ทางวชิ าการใหม้ คี วามเขม้ แขง็ เปน็ หวั ใจสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาการเรยี นการสอน เปน็ แนวทางในการแกไ้ ข ปญั หาใหก้ ับสงั คมไดอ้ ยา่ งย่งั ยืน และเพิม่ ศกั ยาภาพในการแขง่ ขนั ของประเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการพัฒนางานวิจัยอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ซึ่งได้มีการจัดท�ำยุทธศาสตร์และนโยบายด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้อง ต่อยุทธศาตร์ชาติกับนโยบายการวิจัยของชาติและยุทธศาตร์การพัฒนาประเทศ โดยมุ่งเน้นให้เป็น มหาวทิ ยาลยั วจิ ยั เพอ่ื พฒั นาสงั คม สง่ เสรมิ การสรา้ งผลงานวจิ ยั ใหส้ ามารถนำ� ไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในเชงิ เศรษฐกจิ สังคม และสาธารณะในระดบั ชุมชน และระดบั ปรเทศ เสรมิ สรา้ งกระบวนการผลิตบณั ฑติ ที่มคี ณุ ภาพ ออกสู่สังคม สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นและท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมให้มีความโดเด่น ตลอดจนสร้าง ภาคีเครือข่ายความร่วมมือดา้ นงานวจิ ยั ระหว่างบคุ ลากรท้งั ภายในและภายนอกมหาวิทยาลยั ท้ายสุดในนามมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ใคร่ขอขอบคุณองค์ปาฐกถา ผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน ขอช่ืนชมกับผู้น�ำเสนอผลงานทุกท่าน และขอบคุณทุกท่านที่เข้าร่วมการประชุมสัมมนาวิชาการฯ “เวทีวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมศึกษา” ตลอดจนขอขอบคุณคณะกรรมการจัดการประชุมสัมนา ทางวิชาการฯ ที่ได้ช่วยกันด�ำเนินงานให้ส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะได้รับทราบ ความกา้ วหน้าทางวิชาการที่เป็นประโยชน์และสามารถน�ำไปใชใ้ นอนาคตต่อไป (รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล) ผ้รู ักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 23 สิงหาคม 2562

การประชุมสัมมนาวชิ าการระดบั ชาติ “เวทวี ิจัยศลิ ปะและวฒั นธรรมศึกษา” คร้ังที่ 2 ค สารจากผ้อู ำ� นวยการสถาบนั วจิ ัยศลิ ปะและวัฒนธรรมอสี าน มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ในนามคณะกรรมการจัดการประชุมวิชาการระดับชาติ ภายใต้หัวข้อ “เวทีวิจัยศิลปะและ วัฒนธรรมศกึ ษา” ครั้งท่ี 2 สถาบนั วิจยั ศิลปะและวัฒนธรรมอสี าน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีความ ภาคภูมิใจที่ได้ด�ำเนินการจัดประชุมสัมมนาทางวิชาการในครั้งนี้ โดยมุ่งหวังให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ เป็นเวทีน�ำเสนอผลงาน ทั้งประเภทบรรยายและโปสเตอร์ เพ่ือน�ำ องคค์ วามรู้ไปสู่การพฒั นาท้องถน่ิ และประเทศให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น การจดั ประชมุ สัมมนาวชิ าการคร้ังน้ี ประกอบด้วย การปาฐกถาพิเศษจากผู้ทรงคณุ วุฒิ การน�ำ เสนอผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ ซงึ่ รวมท้งั หมด 67 เรือ่ ง แบง่ เป็น 3 กลุ่มสาขา ได้แก่ กลมุ่ ศลิ ปะและ วฒั นธรรมศกึ ษา กลุ่มวรรณกรรมกับสงั คม และกลมุ่ ภาษาและจารกึ ศกึ ษา ซึง่ เป็นผลงานของอาจารย์ นักวจิ ัย นิสิต และนักศกึ ษาของมหาวิทยาลยั มหาสารคาม รวมทั้งนกั วิจัยจากทว่ั ประเทศ คณะกรรมการจัดการประชุมสัมมนาวิชาการ และสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ในฐานะผรู้ บั ผดิ ชอบในการประชมุ สมั มนาฯ ดงั กลา่ ว ใครข่ อขอบคณุ ทกุ ทา่ น ที่ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการจัดงานครั้งนี้ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ทุกท่านจะช่วยกันสร้างสรรค์ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการที่มีคุณค่า อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาความรู้ ของสังคมและประเทศชาติอยา่ งยั่งยนื ตอ่ ไป (รองศาสตราจารย์ ดร.ปฐม หงษ์สุวรรณ) ผอู้ ำ� นวยการสถาบันวิจัยศิลปะและวฒั นธรรมอีสาน มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม 23 สงิ หาคม 2562

ง การประชมุ สมั มนาวชิ าการระดับชาติ “เวทวี จิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรมศกึ ษา” คร้ังที่ 2 ผู้ทรงคณุ วุฒิพิจารณาผลงาน มหาวิทยาลยั มหาสารคาม มหาวิทยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. ปฐม หงษ์สวุ รรณ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. ศภุ ชยั สงิ หย์ ะบศุ ย์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. พิทกั ษ์ นอ้ ยวงั คลงั มหาวิทยาลยั ขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร. ประยรู วงศจ์ ันทา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. นิยม วงศพ์ งษค์ า มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. นติ ยา วรรณกิตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. อดศิ ักด์ิ สงิ หส์ โี ว มหาวทิ ยาลยั มหิดล รองศาสตราจารยว์ ณี า วีสเพ็ญ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ธนายุส ธนธติ ิ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรุ ินทร์ เปลง่ ดสี กุล มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. กนกพร รตั นสธุ รี ะกลุ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สมชาติ มณีโชติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ราชันย์ นลิ วรรณาภา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. บญั ญตั ิ สาลี มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. คมกริช การนิ ทร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ปัทมาวดี ชาญสวุ รรณ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ซิสกิ กา วรรณจันทร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. โฆสติ แพงสรอ้ ย มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ศาตรา เหล่าอรรคะ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร‭ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สทิ ธิศกั ดิ์ จาปาแดง มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. กงั วล คัชชิมา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สุพัตรา บวั ที มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สมยั วรรณอุดร มหาวิทยาลยั ศิลปากร ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ธวชั ชยั ชมศิริ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม อาจารย์ ดร. อเุ ทน วงษ์สถิต มหาวทิ ยาลยั กาฬสินธุ์ อาจารย์ ดร. อรรถวิท ศิลาน้อย มหาวิทยาลยั มหาสารคาม อาจารยม์ ลั ลกิ า นาจันทอง อาจารยจ์ รี กาญจน์ เตม็ พรสิน ปกโดย : สถิตย์ เจ็กมา เจา้ ของ : สถาบันวจิ ัยศิลปะและวฒั นธรรมอสี าน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ถนนนครสวรรค์ ตาบลตลาด อาเภอเมือง จงั หวัดมหาสารคาม 44000 โทรศัพท์/โทรสาร 0-4372-1686 เวบ็ ไซต์ : http://www.rinac.msu.ac.th  บทความวิชาการและบทความวจิ ัยทกุ เรื่องไดร้ บั การพจิ ารณากล่นั กรองโดยผทู้ รงคุณวฒุ ิ (Peer review) จากภายนอกและภายในมหาวิทยาลยั  บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตาราง ทีล่ งตพี ิมพ์ในวารสารเปน็ ความคดิ เหน็ ส่วนตัวของผเู้ ขียน กองบรรณาธกิ าร ไม่จาเปน็ ตอ้ งเหน็ ด้วยเสมอไป และไมม่ สี ่วนรบั ผดิ ชอบใด ๆ ถือเปน็ ความรับผดิ ชอบของผเู้ ขียนแตเ่ พยี งผเู้ ดียว

การประชุมสัมมนาวิชาการระดบั ชาติ “เวทีวจิ ยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมศกึ ษา” ครง้ั ท่ี 2 ด ด สารบญั หนา้ สารจากอธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม .......................................................................................................................... ข สารจากผอู้ านวยการสถาบันวิจยั ศลิ ปะและวัฒนธรรมอสี าน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ...................................................... ค ผทู้ รงคณุ วุฒิพิจารณาผลงาน .................................................................................................................................................. ง กาหนดการประชุมสมั มนาวิชาการ .......................................................................................................................................... ฉ กาหนดการนาเสนอผลงาน ...................................................................................................................................................... ช บทความนาเสนอผลงานประเภทบรรยาย (Oral Presentation) 1 กลุม่ ศิลปะและวัฒนธรรมศึกษา 8 13 บทสารวจสถานการณแ์ ละการอนรุ กั ษห์ มอลากลอนสนิ ไซ ตาบลโนนฆ้อง อาเภอบ้านฝาง จังหวดั ขอนแกน่ ........................ โดย สภุ าภรณ์ คานวณดี 18 สุนทรชยั ชอบยศ 28 สุรชัย ทาระคุณ 37 “บญุ ซาฮะ” อิทธิพลทางความเช่ือทม่ี ตี ่อการดาเนินชวี ติ ของชาวอีสาน .................................................................................. 45 โดย ดฐิ พงศ์ ประเสรฐิ ไพฑูรย์ ยโสธารา ศริ ภิ าประภากร สาเรงิ อินทยุง การฟอ้ นราอันศักดสิ์ ทิ ธ์บิ รู ณาการสูก่ ารแสดงราอัปสรามรดกการรา่ ยราแถบอีสาน ................................................................ โดย ภสั สร มิ่งไธสง ยโสธารา ศริ ิภาประภากร สรุ ิยา คลงั ฤทธ์ิ สาเรงิ อินทยุง เคร่อื งมือดักจบั สัตว์ : อัตลักษณท์ างวัฒนธรรมไทบรู .............................................................................................................. โดย มานิตย์ โศกค้อ พระพุทธรูปสกลุ ช่างเมืองอุบลราชธานี : ความสัมพนั ธ์ทางประวตั ิศาสตร์และศลิ ปกรรมทอ้ งถน่ิ ............................................ โดย ปกรณ์ ปุกหุต จริ วัฒน์ ต้งั จิตรเจริญ การพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ละส่งเสรมิ สัมมาชีพของหมบู่ า้ นรกั ษาศลี 5 ในจังหวัดศรสี ะเกษ ......................................................... โดย สุทศั น์ ประทมุ แก้ว พระกญั จน์ แสงรุ่ง พระพรสวรรค์ ใจตรง พระมหาธงชยั ธรรมทวี แนวทางการอนรุ กั ษ์ภูมปิ ญั ญาพนื้ บ้านของชมุ ชนหมทู่ ี่ 1- 8 ตาบลหญา้ ปลอ้ ง อาเภอเมือง จังหวดั ศรสี ะเกษ ...................... โดย ธันยพงศ์ สารรัตน์ โพธ์พิ งศ์ ฉัตรนันทภรณ์ เจษฎา สขุ สนิท

ท การประชมุ สัมมนาวชิ าการระดับชาติ “เวทีวิจัยศลิ ปะและวฒั นธรรมศึกษา” คร้ังท่ี 2 ท หนา้ สารบัญ (ต่อ) “ตานานมหาสักขาดโลก” พุทธทานายของกล่มุ ชาตพิ นั ธุ์ไท ................................................................................................. 295 โดย จตุพร เพชรบูรณ์ 303 “แซนสน๊อป” พิธีกรรมไหว้ครบู รมครูช่างตีปะเกอื มเงินโบราณ : กรณีศึกษาครปู ่วน เจยี วทอง ปราชญท์ อ้ งถ่นิ 312 จงั หวัดสรุ นิ ทร์ ....................................................................................................................................................................... 320 326 โดย กฤษนนั ท์ แสงมาศ 335 ยโสธารา ศิรภิ าประภากร 347 สุพัตรา วะยะลุน 355 สาเรงิ อนิ ทยุง 364 สุรยิ า คลังฤทธิ์ 374 การศึกษาเปรยี บเทยี บบททาขวัญไทยกับบททาขวญั เขมร .................................................................................................... โดย ศุภชยั จงั ศิรวิ ทิ ยากร 379 อาหารโรงครัวหลวง : จดหมายเหตุบนั ทึกวฒั นธรรมการกนิ ................................................................................................ โดย ยุวเรศ วทุ ธีรพล จารึกฐานพระพุทธรปู : คลังพพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาตหิ ริภญุ ไชย จงั หวดั ลาพนู ................................................................... โดย วชรพร องั กูรชัชชยั ความเชื่อวา่ ด้วยพน้ื ที่ศกั ดสิ์ ทิ ธใ์ิ นตานานอุรงั คธาตุ ............................................................................................................... โดย ชาญยทุ ธ สอนจนั ทร์ ร้อยเรยี งใบลาน สืบสานวฒั นธรรมท้องถ่นิ : ภูมิปัญญาในการสรา้ งและการอนรุ ักษค์ มั ภรี ์ใบลาน วดั นากว้าว ตาบลปา่ ตนั อาเภอแมท่ ะ จังหวดั ลาปาง .............................................................................................................................. โดย ตลุ าภรณ์ แสนปรน ชา้ งกบั ผลติ ภณั ฑ์ทางความเชอื่ ทม่ี ตี อ่ ชนกลมุ่ ชาวไทยกยู จงั หวดั สรุ ินทร์ ............................................................................... โดย ยโสธารา ศิรภิ าประภากร แซนพนม : ภูมปิ ัญญาเขมรโบราณมิตคิ วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งคนสงิ่ ศกั ดิ์สทิ ธิ์ และสิ่งแวดล้อม กรณชี ุมชนรอบเขาพนมรงุ้ ..... โดย สรุ ิยา คลังฤทธ์ิ ยโสธารา ศิรภิ าประภากร ภสั สร ม่ิงไธสง ดฐิ พงศ์ ประเสริฐไพฑูรย์ แซนพนม พธิ กี รรมบูชาภเู ขาของกลุ่มชาวไทยเขมรบ้านตะโก อาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ รี มั ย์ ......................................... โดย สาเริง อนิ ทยงุ ยโสธารา ศิริภาประภากร สุริยา คลงั ฤทธิ์ “จวมกรูกาเนิด”มรดกทางวฒั นธรรมท่ีกาลังเลอื นหายมรดกภมู ปิ ญั ญาของชาวไทยเขมร .................................................... โดย พระวชั ระ เกดิ สบาย ยโสธารา ศิริภาประภากร สาเริง อนิ ทยุง สรุ ยิ า คลังฤทธ์ิ

การประชมุ สัมมนาวิชาการระดับชาติ “เวทวี จิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรมศึกษา” คร้งั ท่ี 2 ธ ธ หนา้ สารบัญ (ต่อ) “พิธแี ซนกะโมย๊ ” กบั การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยบ์ นรากฐานทางวฒั นธรรมของกลุ่มชนชาวไทยกยู จงั หวัดสรุ ินทร์ .......... 383 โดย ทติ ยาวดี อินทรางกูล ยโสธารา ศริ ภิ าประภากร 389 สาเริง อินทยุง สุริยา คลังฤทธิ์ 395 402 “จวมกร”ู สญั ลกั ษณเ์ ชื่อมต่ออานาจวญิ ญาณศักดส์ิ ิทธ์ิของชาวไทยเขมรกบั การพฒั นาให้เปน็ ผลติ ผลทางความเชอื่ ท่ยี ง่ั ยนื 408 บา้ นตะโก ตาบลโคกยา่ ง อาเภอประโคนชัย จังหวัดบรุ ีรมั ย์ ................................................................................................ โดย สพุ ตั รา วะยะลนุ ยโสธารา ศิรภิ าประภากร สาเรงิ อนิ ทยงุ สรุ ยิ า คลงั ฤทธ์ิ การศกึ ษาประเพณโี ฎนตา ของกลมุ่ ชาวไทยเชื้อสายเขมรสรุ ินทรก์ บั การบูรณาการลงสหู่ ลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนเมอื งสรุ นิ ทร์ จังหวัดสุรินทร์ .................................................................................................................................... โดย ฉัตราภรณ์ จนั ทรแ์ จม่ ธารี ยโสธารา ศริ ิภาประภากร การรักษาภาษากวยและวัฒนธรรมลงสกู่ ารเรยี นรเู้ ชงิ สรา้ งสรรค์ ....................................................................................... โดย พระครูโสภณธรรมรังสี ยโสธารา ศิริภาประภากร การศกึ ษาความเชือ่ ทางไสยศาสตรก์ ับพระพทุ ธศาสนาและคณุ คา่ ของวรรณคดไี ทยทมี่ ีอิทธพิ ลต่อสังคมไทยในวรรณคดี เรอื่ งขนุ ช้าง-ขุนแผน ........................................................................................................................................................... โดย พระรชต มาตรสอน พระมหาโกสน สมอนา สามเณรจามกิ ร สจั จาสังข์ บทความนาเสนอผลงานประเภทโปสเตอร์ (Poster Presentation) 417 425 การอนรุ กั ษ์และสืบสานประเพณตี านกว๋ ยสลากชลอม โดยชมุ ชนมสี ว่ นร่วม เพอื่ เสริมสรา้ งการท่องเทย่ี วชมุ ชน อาเภอทา่ ปลา จังหวดั อตุ รดติ ถ์ .......................................................................................................................................... 432 436 โดย พนมพร สารสิทธิยศ 445 การศกึ ษาวิจยั และวิเคราะหผ์ ลงานภาพพมิ พค์ อมพวิ เตอร์กราฟกิ เชงิ สนุ ทรีศาสตรเ์ ร่อื ง นึกถึงอาจารยถ์ วลั ย์ .................. โดย อภนิ นั ท์ ปานเพชร กระบวนการจดั การเรียนรู้ ดนตรศี กึ ษา สู่ระดับปรญิ ญาตรีโรงเรยี นศิลปะดนตรีแหง่ ชาติ สาธารณรฐั ประชาธิปไตย ประชาชนลาว .................................................................................................................................................................... โดย ปฐมพงษ์ ธรรมลังกา ภูมิปัญญาการอยไู่ ฟ : กรณศี กึ ษาในหมู่บ้านหลา่ ยใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จงั หวัดพะเยา ........................................... โดย อรทัย สุขจะ๊ การศกึ ษาการสร้างคาสแลงในแฟนเพจอจี นั .................................................................................................................... โดย ปวณี า ขัติปัญญา อรทัย สุขจ๊ะ

436 การประชมุ สมั มนาวิชาการระดับชาติ “เวทีวจิ ยั ศิล4ป3ะ6และวัฒนธรรมศึกษา” ครัง้ ท่ี 2 ภมู ปิ ัญญาการอยไู่ ฟ : กรณีศึกษาในหม่บู า้ นหลา่ ยใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จังหวัดพะเยา Wisdom of lying by the fire : A case study of Laimai Village, Oi Sub-district, Pong District, Phayao อรทัย สุขจ๊ะ1 บทคัดยอ่ บทความวจิ ยั ฉบบั นี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการอยู่ไฟของชาวบ้านหมู่บ้านหล่ายใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จังหวัด พะเยา โดยมีวธิ ีดาเนนิ การวิจัยเปน็ การวจิ ยั แบบเอกสารและการวจิ ยั เชิงลงพน้ื ทภ่ี าคสนาม ผลการวิจยั พบว่า การอย่ไู ฟมาจากภมู ิปญั ญาชาวบ้านท่ีพงึ กระทาสบื ต่อกันมาต้ังแต่สมยั อดีตจวบจนปจั จุบนั เพื่อดูแลหญิงหลัง คลอดใหม้ ีรา่ งกายทแ่ี ข็งแรงจนกลบั มาใชช้ ีวติ ได้ตามปกติ การอยู่ไฟในหมบู่ ้านหล่ายใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จังหวดั พะเยา มีลกั ษณะ อยู่ไฟแบบไม่มีไฟ โดยมีขัน้ ตอนเร่มิ ตงั้ แต่การเตรยี มอุปกรณ์ โดยแบ่งเป็น 3 ประเภทคือ 1.เคร่ืองแต่งกาย 2.เครื่องสมุนไพร 3.อาหาร นอกจากน้ียังพบเร่ืองของความเช่ือและข้อห้ามในการอยู่ไฟ โดยแบ่งประเด็นความเชื่อเป็น 3 ประเภทคือ 1.ความเชื่อเกี่ยวกับ ระยะเวลา 2.ความเช่ือเกีย่ วกับขอ้ ปฏิบตั ขิ องแมก่ าเดือน และ3.ความเช่ือเกยี่ วกบั ข้อปฏิบตั ติ ่อทารก ส่วนประเดน็ ด้านข้อหา้ มในการอยู่ ไฟปรากฏ 3 ประเภทคือ 1.ขอ้ ห้ามเกีย่ วกับการดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน 2.ข้อห้ามเกี่ยวกบั อาหารการกิน 3.ข้อห้ามเก่ียวกบั การเลย้ี งดบู ตุ ร คาสาคญั : ภูมปิ ญั ญา, การอยู่ไฟ Abstract The purpose of this study was to investigate a wisdom of lying by the fire of people in Laimai Village, Oi Sub-district, Pong District, Phayao. This study was document study and field study. The results presented Lying -in period came from villager wisdom had performed from past to present time for the sake of taking care of women after childbirth for being healthy and living as usual, that lying by the fire in Laimai Village, Oi Sub-district, Pong District, Phayao, lying by the fire without fire was used by starting at preparing the implements (apparel, herbs, and food.) Besides, it was found 3 beliefs: 1) beliefs about the timing, 2) beliefs about the practice of Mae Kam Duen (lying by the fire of the mothers after childbirth), and 3) beliefs about the practice for the baby and 3 prohibitions of lying by the fire: 1) prohibition relating to daily life, 2) prohibition about eating, and 3) prohibition on raising children. Keywords: wisdom, lying by the fire ความเป็นมาของปัญหา ภมู ิปัญญาเป็นส่งิ ทีบ่ รรพบรุ ษุ สงั่ สมสบื ตอ่ กันมาจากร่นุ สรู่ ุน่ โดยมกั จะเป็นไปในลักษณะที่พ่ึงพาธรรมชาติหรือมีความเกี่ยวข้อง กับส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ นอกจากน้ีจะคงความเป็นวิถีชีวิตชาวบ้านเอาไว้อย่างชัดเจน กระท่ังสามารถสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของท้องถิ่น นัน้ ๆ ได้ เสมือนเป็นกระจกเงาสะทอ้ นวถิ ีชีวติ การอยไู่ ฟเปน็ ภูมิปัญญาชาวบ้านประเภทหนง่ึ ท่ีพึงกระทาสบื ตอ่ กนั มาตั้งแตส่ มยั อดตี จวบจนปจั จุบัน เพ่ือดูแลหญงิ หลังคลอดให้ มีร่างกายที่แข็งแรงจนกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติ โดยสันนิษฐานว่าคงจะปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นระยะเวลาท่ียาวนานมากและเป็น กระบวนการทางการแพทย์สมัยนั้น เน่ืองจากในสมัยก่อนหมอตาแยจะไม่ได้เย็บแผลช่องคลอดท่ีฉีกขาดจากการคลอด จึงต้องให้หญิง หลังคลอดนอนบนกระดานแผน่ เดยี วจะได้หนบี ขาทั้งสองขา้ งไว้ ชว่ ยให้แผลติดกนั ได้ แตเ่ มื่อนอนไปนานๆ รา่ งกายไมไ่ ดเ้ คลอื่ นไหวก็จะ ทาให้เกดิ ความออ่ นลา้ เลือดลมไหลเวยี นไม่สะดวก เม่ือจะลกุ กอ็ าจจะเปน็ ลมได้ จงึ ตอ้ งมีการผิงไฟเพอ่ื ชว่ ยให้อณุ หภูมิในร่างกายสูงขึ้น 1 อาจารย์สาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง, E-mail: [email protected] , โทรศัพท์ 087-055-3417

การประชมุ สมั มนาวชิ าการระด4ับ3ช7าติ “เวทวี ิจัยศลิ ปะและวัฒนธรรมศึกษา” ครัง้ ท่ี 2 437 การไหลเวียนของเลอื ดจงึ ดีขึน้ ตามไปด้วย และจะทาให้มดลูกเข้าอู่เร็วยิ่งขึ้น ซึ่งคนสมัยโบราณ “เช่ือว่าการอยู่ไฟจะช่วยทาให้ร่างกาย ฟน้ื จากความเหนอ่ื ยลา้ ใหก้ ลับคืนสสู่ ภาพปกติไดโ้ ดยเร็ว โดยใช้ความรอ้ นเขา้ ช่วย ทาให้กล้ามเน้ือเส้นเอ็นบริเวณหลังและขาท่ีเกิดจาก การกดทบั ในขณะต้ังครรภไ์ ดค้ ลายตวั ช่วยลดอาการปวดเมื่อยตามตวั ทาใหเ้ ลอื ดลมไหลเวียนไดด้ ี ชว่ ยปรับสมดุลร่างกายของแมใ่ ห้เข้า ที่ ช่วยคลายอาการหนาวสะท้านที่เกิดจากการเสียเลือดและน้าหลังคลอดให้ดีข้ึน ทาให้มดลูกท่ีขยายตัวได้หดรัดตัวหรือเข้าอู่ได้เร็ว พร้อมกับช่วยให้ปากมดลูกปิดได้ดี จึงป้องกันการติดเชื้อในโพรงมดลูกหลังคลอด ทาให้น้าคาวปลาแห้งเร็ว ลดการไหลย้อนกลับจน นาไปสู่ภาวะเปน็ พษิ ”ขอ้ ดีของการอยู่ไฟจึงเปน็ การรักษาแผลหลังคลอดดว้ ยภูมิปัญญาชาวบ้าน การอยู่ไฟนี้ ไดป้ รากฏทัว่ ทกุ ภูมิภาคของประเทศไทย หากแต่จะมีการเรียกช่ือและขั้นตอนท่ีแตกต่างกันไป ข้ึนอยู่กับความเชื่อ ของภมู ิภาคน้ันๆ ซง่ึ จังหวัดพะเยาก็เป็นจงั หวัดหนง่ึ ท่มี กี ารอยู่ไฟ แต่เม่ือนามาเปรยี บเทยี บกบั ท้องถ่ินอื่นๆ ท่ีอยู่ในภูมิภาคเดียวกันก็ยัง เห็นว่ามีความต่างกันอยู่มาก อาทิ กระบวนการอยู่ไฟ ระยะเวลาท่ีใช้ เคร่ืองสมุนไพรประกอบ ความเชื่อ และข้อห้ามต่างๆ ซ่ึง กระบวนการตลอดจนเร่ืองความเช่ือและข้อห้ามเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นข้อมูลที่มีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง หากแต่ยังไม่ปรากฏว่ามี ผู้ศึกษาข้ันตอนและทาการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์ ประกอบกับจังหวัดพะเยามีเขตรอยต่อกับพื้นท่ีท่ีมีความหลากหลายทางด้าน วัฒนธรรม ส่งผลให้มีการสั่งสมอารยธรรมท่ีแตกต่างเอาไว้มากมายกระทั่งหลอมรวมกลายเป็นศูนย์รวมของวัฒนธรรมท่ีแตกต่ างจาก ท้องท่ีอืน่ ๆ พร้อมกันน้ีการแพทย์แผนปัจจุบันกาลังจะเข้ามาแทนที่ภูมิปัญญาแพทย์แผนโบราณมากข้ึนทุกวัน ส่งผลให้ความรู้อันทรง ภูมิปญั ญาน้จี ะต้องเลอื นหายไปตามกาลเวลา ด้วยเหตุผลดงั กล่าว ผู้ศึกษาจงึ มคี วามสนใจท่ีจะศึกษาภูมปิ ัญญาการอยู่ไฟ: กรณศี ึกษาใน หมูบ่ ้านหล่ายใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จังหวัดพะเยา เพ่อื จกั ได้อนุรกั ษ์ภูมิปญั ญาอันทรงคณุ คา่ และมปี ระโยชน์เหล่าน้ีไว้ให้ชนรุ่นหลัง ได้ศึกษาและสืบทอดต่อไป วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั เพือ่ ศกึ ษาภูมิปัญญาการอย่ไู ฟของชาวบา้ นหม่บู ้านหลา่ ยใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จงั หวัดพะเยา วธิ ดี าเนินการวิจยั 1. ประเภทของการวิจยั การวิจัยแบบเอกสารและการวจิ ยั เชงิ ลงพืน้ ท่ภี าคสนาม 2. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรเพศหญิงท่ีมีอายตุ ง้ั แต่ 60 ปขี ึ้นไป และมีภมู ิลาเนาอย่ใู นหมู่บา้ นหล่ายใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จงั หวดั พะเยา 3. เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บข้อมูล เครื่องบนั ทกึ เสยี ง สมดุ จดบนั ทึก และแบบสมั ภาษณ์ 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผ้ศู กึ ษาไดล้ งพืน้ ที่เพอ่ื เก็บรวบรวมข้อมลู เปน็ จานวน 2 ครัง้ ด้วยกัน โดยครงั้ ที่ 1 เกบ็ ขอ้ มูลเมอื่ วนั ที่ 20 มีนาคม 2560 คร้งั ท่ี 2 เก็บข้อมลู เมือ่ วนั ท่ี 20 เมษายน 2560 5. การวเิ คราะหข์ ้อมลู โดยเร่มิ ต้งั แต่การวเิ คราะห์ท่มี าและความหมายของการอยูไ่ ฟ ท่ีมาจากความเชื่อท่ีว่าการคลอดลูกนั้นเสมือนกึ่งเป็นกึ่งตายของผู้เป็นแม่ดังนั้นเมื่อคลอดลูกเสร็จหญิงหลังคลอดย่อมมีความ อ่อนแรง สถานะของคนที่อ่อนแรงแบบน้ีย่อมเป็นช่องสบโอกาสให้สิ่งไม่ดีเข้ามาก่อกวนได้ง่าย ฉะน้ันการนาเอาไฟซึ่งมีอานาจในการ ทาลายสรรพสง่ิ ใหม้ ้วยมอดมาใช้กับหญิงคลอดลูกใหม่ จึงเป็นเสมือนการปดั เสนยี ดจญั ไรออกไปจากชีวิต ตลอดจนถึงอานาจของไฟคือ ทาหน้าทใ่ี หแ้ สงสว่าง แสงสว่างน้ีเป็นการส่ือนัยยะของการเริ่มต้นสิ่งใหม่ๆ ในท่ีน้ีจึงเปรียบเสมือนการเกิดของทารก การมีไฟอยู่ใกล้ๆ นอกจากเป็นแสงสวา่ งใหก้ บั เด็กแลว้ “ไฟ”ยังมอบพลงั อานาจทมี่ ีอยใู่ นตัวใหแ้ กเ่ ด็ก ทาใหเ้ ดก็ มีพละกาลัง สมบูรณ์ แข็งแรง เติบโตเป็น ผูใ้ หญท่ ่ีสมบรู ณ์ นอกจากนก้ี ารอย่ไู ฟยังเป็นการรักษาสขุ อนามยั ของหญิงหลังคลอดไม่ให้เกิดการติดเชื้อ โดยการทาให้แผลแห้งไวด้วย การอาศัยความรอ้ นของไฟ ดว้ ยเหตุผลดงั กลา่ วทาใหค้ นไทยนิยมใหห้ ญิงหลังคลอดทุกคนตอ้ งอยู่ไฟ (ศรเี ลา เกษพรหม. 2538:1) ด้านความหมายของพจนานกุ รมราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2554 นิยามความหมายของการอยู่ไฟ วา่ นอนใกลไ้ ฟโดยเชื่อว่าความ ร้อนจะทาให้มดลูกเข้าสู่ภาวะปรกตไิ ดเ้ ร็วหลงั คลอดลูกแลว้ ขณะท่ี เปลื้อง ณ นคร (2554) นิยามคาว่า“อยไู่ ฟ”หมายถึงผิงไฟเพอ่ื รกั ษา มดลกู ภายหลงั การคลอดบุตร นอกจากน้ี ปรัชญา ปานเกตุ (2558) ยังใหน้ ิยามความหมายคาวา่ “อยไู่ ฟ” หมายถงึ การนอนใกล้เตาไฟ

438 การประชมุ สัมมนาวิชาการระดับชาติ “เวทีวจิ ัยศลิ 4ป3ะ8และวัฒนธรรมศึกษา” ครั้งที่ 2 หรอื กองไฟท่ตี ดิ ไวต้ ลอดระยะเวลาชว่ั ระยะหน่งึ ของหญิงหลังคลอดลกู เชอื่ ว่าความร้อนจะทาให้มดลูกเข้าสู่ภาวะปรกติได้เร็วภายหลัง คลอดลูกแล้ว ตามปรกติจะนบั เป็นจานวนวันค่ี ระหว่าง 7-29 วัน ที่นอนจะล้อมด้วยสายสิญจน์ ผ้ายันต์ ก่ิงไม้ท่ีมีหนาม และใบไม้ที่มี กลิ่นแรง เพ่ือป้องกันผีร้ายรังควาน ต้องมีพิธีกรรมทั้งเม่ือจะเข้าไฟและเลิกอยู่ไฟ (ออกไฟ) และมีข้อกาหนดว่าต้องใช้ฟืนประเภทใด กอ่ บา้ ง รวมถงึ มีข้อกาหนดเร่อื งอาหารของหญงิ ท่ีอยไู่ ฟวา่ ควรหรอื ห้ามบรโิ ภคสิ่งใดบา้ ง บางครั้งก็เรียกว่านอนไฟ กล่าวโดยสรุป อยู่ไฟ หมายถงึ การนอนใกลไ้ ฟหรอื นอนบนแคร่แล้วจุดไฟไวใ้ ตแ้ คร่ โดยเช่ือวา่ ความร้อนจากไฟจะทาให้มดลูกเข้าสู่ภาวะปกติได้เร็วหลังจาก คลอดลูกแลว้ 7-15 วัน และถอื เปน็ การพกั ฟ้ืนหรือพักผอ่ นหลงั คลอด ซงึ่ มีเร่ืองของข้อห้าม ความเชื่อและพิธีกรรมเข้ามาเกี่ยวข้องเพื่อ จะให้มีความนา่ เช่ือถอื และความศกั ดส์ิ ิทธ์ิ นอกจากนี้คาวา่ อยู่ไฟ ยังมีคาเรยี กทีแ่ ตกตา่ งกนั ออกไปตามแตล่ ะพนื้ ที่ เช่น ภาคเหนอื เรยี กวา่ อยู่เดอื นไฟ หมายถึงการพักฟื้น หรือพักผ่อนหลังคลอด ในทางปฏิบัติการอยู่เดือนเป็นการอยู่กาหรือกรรมมากกว่าคือ ต้องอดทนอดกลั้นทุกอย่าง ความร้อน ความ หนาว อาหารการกิน การปฏิบัติตนต้องอยู่ในกรอบข้อห้าม ทาตามใจตัวเองไม่ได้ คนล้านนาจึงเรียกผู้ท่ีอยู่เดือนหลังคลอดว่า แม่กาเดือน คือการอดทน อดกลั้น จะทาอะไรตามใจตัวเองไม่ได้ คล้ายกับการอยู่กรรมของพระภิกษุ โดยแบ่งออกเป็น 2 อย่างคือ อยเู่ ดอื นไฟกับอยเู่ ดือน (ศรีเลา เกษพรหม. 2538:23) สว่ นภาคอสี าน เรยี กวา่ อยู่กรรม หมายถึงการนอนแคร่แล้วจุดไฟไว้ใต้แคร่เพื่อ อาศยั ความรอ้ นทาให้แผลแห้ง โดยใช้เวลาในการนอนแคร่ประมาณ 7 วันหรือมากกว่านั้น (สาลี รักสุทธี. 2555:103) ในขณะที่ชาวสิบ สองปันนา ประเทศจีนเรียกว่า กร๋รมเดิน หมายถึง การเอาใบปิง(ไม้ชนิดหน่ึงมีดอกสีขาวใบใหญ่) ห่อขี้เถ้าร้อนๆ ใช้ผ้าฮา(ผ้าทอเอง) หอ่ อีกช้ันมาวางทที่ ้อง ตรงม้าน่ังเตี้ยๆ สาหรับให้หญิงนั่งจะเจาะรูกลวงเอาถ่าน 2-3 ก้อน วางไว้ข้างใต้ม้านั่ง โดยเอาใบปิงปกคลุมบน ถ่าน เอาผ้าห่มรองเสาแทนพนักนั่งพิง และต้องอยู่ใกล้เตาไฟ เรียกว่า อยู่ในเดิน ทาเช่นน้ีท้ังกลางวัน กลางคืน จนครบกาหนดหน่ึง เดือน ระหว่างนจี้ ะต้มรากและใบไม้ปงิ ใหด้ ่ืม(บญุ ช่วย ศรสี วัสดิ์. 2557:93) จากคาเรียกอยู่เดือนไฟหรือกร๋รมเดนิ ในภาคเหนือกับสบิ สองปันนานั้น จะเหน็ วา่ มคี าวา่ เดือนมาเก่ียวข้อง จากข้อมูลที่ผู้ศึกษา ได้ลงพ้นื ท่สี มั ภาษณก์ ลุ่มเป้าหมาย สามารถอธบิ ายไดว้ ่า ท่ีเรยี กวา่ เดือน เหตเุ พราะตอ้ งอยไู่ ฟเปน็ ระยะเวลา 1 เดือน จึงเปน็ ทมี่ าของคา ว่า อยเู่ ดือนไฟ น่นั เอง (สัมภาษณ์ : นางสลี ใจซื่อ เม่ือวนั ที่ 20 เมษายน 2560) แม้ว่าการเรียกช่ือจะมีการเรียกที่แตกต่างกัน หากแต่ลักษณะโดยส่วนใหญ่ ตลอดจนถึงวัตถุประสงค์หลักก็ล้วนแล้วจะมุ่งไป ในทางเดียวกนั น่นั ก็คอื การให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายของแมแ่ ละทารกทีเ่ พ่ิงคลอด ถือเป็นการพกั ฟืน้ หลังคลอดทาให้กล้ามเน้ือ เส้นเอ็น บริเวณหลังและขาท่ีเกิดจากการกดทับในขณะตั้งครรภ์ได้คลายตัว ช่วยลดการปวดเมื่อย และช่วยปรับสมดุลร่างกายของแม่ให้เข้าท่ี นั่นเอง การอยู่ไฟนั้นจะมีลักษณะ ขั้นตอน ตลอดจนกระบวนการท่ีแตกต่างกันข้ึนอยู่กับความเชื่อของท้องถิ่นน้ันๆ เป็นหลัก จังหวัด พะเยาก็เป็นอีกท้องท่ีหนึ่งซ่ึงมีลักษณะการอยู่ไฟที่แตกต่างจากถ่ินอื่นๆ ดังท่ีกล่าวมาข้างต้น จากการศึกษาภูมิปัญญาการอยู่ไฟ ในหมู่บา้ นหลา่ ยใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จังหวดั พะเยา พบว่าลักษณะการอยู่ไฟของชาวบ้านเป็นแบบอยู่ไฟแบบไม่มีไฟ กล่าวคือจะ รกั ษาอุณหภูมิของร่างกายโดยสวมเสอื้ ผ้าใหร้ ่างกายอบอ่นุ อย่เู สมอ คอื ตอ้ งสวมเส้อื แขนยาว สวมกางเกงขายาว หมวกไหมพรม ถุงเท้า และอีกหนึ่งส่ิงท่ีขาดไม่ได้คือผ้ารัดหน้าท้องเพ่ือช่วยให้หน้าท้องยุบไวข้ึน ลักษณะการอยู่ไฟของหมู่บ้านหล่ายใหม่น้ีเรียกว่า อยู่ เดือน และเรยี กหญิงที่กาลงั อย่ไู ฟว่า แม่กาเดอื น กล่าวคือตอ้ งควบคุมอุณหภูมิรา่ งกายให้อบอ่นุ และงดอาหารต้องห้ามต่างๆ จนครบ 1 เดือน นั่นเอง (สมั ภาษณ์ : นางสลี ใจซ่อื เมือ่ วันที่ 20 มีนาคม 2560) การอยู่เดอื นจะเริม่ ต้นข้ึนหลังจากท่ีคลอดทารกออกมา โดยเม่อื กระบวนการคลอดเสร็จส้ินแล้วผู้ดูแลหญิงหลังคลอดจะนาเอา เสื้อผา้ ที่ไดเ้ ตรียมเอาไว้มาสวมให้เพ่ือเป็นการรักษาอุณหภูมิในร่างกายให้อบอุ่น เน่ืองจากได้เสียเลือดมากในขณะคลอดทารกออกมา โดยอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการอยู่เดือนสามารถแยกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1.เคร่ืองแต่งกาย 2.เคร่ืองสมุนไพร 3.อาหาร ซึ่งจะขออธิบายโดย แยกทีละประเด็นดังน้ี ในส่วนของเครื่องแต่งกายหญิงตั้งครรภ์จะเป็นผู้จัดเตรียมไว้ต้ังแต่ก่อนคลอด ประกอบไปด้วย เส้ือแขนยาว กางเกงขายาว หมวกไหมพรมหรอื หมวกอุ่น ถุงเทา้ ผา้ รัดหนา้ ท้อง สว่ นเครอ่ื งสมนุ ไพรน้ัน โดยสว่ นใหญ่ญาตผิ ูใ้ หญจ่ ะเปน็ ผูเ้ ตรียมไว้ให้ เนื่องจากหนุ่มสาวไม่ค่อยมีความรู้ทางด้านสมุนไพรโบราณมากนัก จะประกอบด้วย เปลือกไม้เปล้า ไม้ค้า ไม้ฝาง หม้อดิน ในด้าน อาหารญาติผใู้ หญ่มกั เตรียมเปน็ มื้อๆไป โดยมักเป็นอาหารท่ีใชเ้ นอ้ื หมเู ปน็ สว่ นประกอบ แตม่ อ้ื แรกหลงั จากคลอดออกมานนั้ จะไม่ให้กนิ อะไรนอกจากข้าวเปล่า (สัมภาษณ์: นางสมัย ชาญเชี่ยว เมื่อวันท่ี 20 เมษายน 2560) กระบวนการนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือช่วยรักษา สุขภาพของผู้เป็นมารดาโดยเฉพาะ กล่าวคือ หญิงท่ีคลอดลูกใหม่ร่างกายยังไม่สามารถปรับอุณหภูมิร่างกายได้ในทันที จึงจาเป็นท่ี จะต้องรักษาความอบอุ่นไม่ให้เกิดอาการหนาวสะท้านด้วยการสวมเส้ือผ้าหนาๆ เพื่อให้ร่างกายอบอุ่น นอกจากน้ีการท่ีต้องมีการใช้ สมุนไพรในขณะอยู่เดือนก็เนื่องมาจากว่าต้องการให้ผิวพรรณเกิดการกระชับ จากท่ีเคยขยายในช่วงระหว่างตั้งครรภ์เพราะสมุนไพร

การประชุมสมั มนาวชิ าการระด4บั 3ช9าติ “เวทวี ิจยั ศิลปะและวัฒนธรรมศึกษา” ครงั้ ที่ 2 439 เหล่าน้ีล้วนมีสรรพคุณท่ีช่วยในการกระชับผิวทั้งส้ิน ระหว่างที่มีการอยู่เดือนน้ี หญิงหลังคลอดต้องปฏิบัติตนตามคาบอกกล่าวของ ผู้ใหญ่อย่างเคร่งครัด ท้ังเร่ืองการดาเนินชีวิตประจาวัน การกินอาหาร จะต้องมีความระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง และเมื่อครบกาหนดวัน อยู่เดอื นแล้วจึงจะมกี ารรมยา โดยการนาเอาสมนุ ไพรที่เตรยี มเอาไวไ้ ปต้มจนเดือด จากนั้นก็ให้หญิงหลังคลอดเข้าไปน่ังใกล้กับหม้อน้า สมุนไพรท่ีกาลงั เดือด โดยมีผ้าห่มหนาๆ คลุมทับอีกที ทาเช่นน้ีประมาณ 1 ช่ัวโมงหรือมากกว่าน้ันเพ่ือให้เหงื่อไหลออกมาให้มากที่สุด จึงจะเปิดผ้าห่มออกแล้วไปอาบน้าได้ ซึ่งการรมยานี้จะทาติดต่อกันเป็นระยะเวลา 3 วันหลังจากที่ออกดือนแล้ว (สัมภาษณ์ :นางแสง ใจซ่ือ เมอื่ วนั ที่ 20 เมษายน 2560) การทีม่ ีข้อหา้ มในเรอ่ื งอาหารท่กี ินในชว่ งอยูเ่ ดือน กเ็ ปน็ การดแู ลสขุ ภาพของมารดาในแบบฉบับของ ชาวบ้านอีกแบบหนึ่ง เนื่องมาจากว่าคนสมัยก่อนเกรงจะไปกินอาหารแสลงและก่อให้เกิดโรคแทรกซ้อนจึงมีกฎข้อห้ามเร่ืองการกินน้ี ขน้ึ มา ส่วนการรมยาก็ถือวา่ เปน็ การแพทยเ์ บอ้ื งตน้ ของชาวบา้ นในสมัยนั้น เพราะจะทาให้ร่างกายขับเอาของเสียออกมาทางเหงื่อและ ยังคงดารงอยจู่ นถงึ ปัจจุบนั ในรปู แบบของการอบสมนุ ไพรนนั่ เอง เนื่องจากการอยู่ไฟเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ดังนั้นจึงปรากฏคติความเชื่อและข้อห้ามหลายอย่างที่เก่ียวข้องกับการอยู่ไฟด้วย ในด้านความเชอื่ น้ัน สามารถแบง่ เป็นประเภทหลกั ๆ ได้ 3 ประเภทคือ 1. ความเชือ่ เกีย่ วกับระยะเวลา 2.ความเชื่อเก่ียวกับข้อปฏิบัติของแม่กาเดือน 3.ความเช่ือเกี่ยวกับข้อปฏิบัติต่อทารก โดย ความเชอื่ เกย่ี วกับระยะเวลาน้ี ชาวบ้านเช่ือว่าจะอยู่เดือนให้ครบหรือไม่น้ัน ขึ้นอยู่กับเพศของลูกเป็นหลัก หากเป็นเพศชายก็มักจะอยู่ เดือนไมค่ รบเดอื น แต่จะอยกู่ ว่ี ันกข็ ึ้นอย่กู ับการดฤู กษย์ ามอกี ทีหนึง่ ท้ังน้ีจะมีระยะเวลาไมต่ ่ากว่า 25 วัน โดยมีความเช่ือว่าลูกผชู้ ายต้อง ถือเคลด็ อยเู่ ดอื นไม่ครบเพ่อื “หยุดคมหอก คมดาบ” กลา่ วคอื เป็นความเชอ่ื ของชาวบ้านมาแต่สมัยโบราณว่าจะทาให้ทารกคนน้ันรอด พ้นจากภยันตรายทั้งปวงยามเม่ือต้องไปเป็นทหาร หากทารกเป็นเพศหญิงจะนิยมอยู่เดือนจนครบเดือน เน่ืองจากถือเคล็ดว่า “เผื่อก่ี เผ่ือฝ้าย” โดยมีความเช่ือว่าทารกคนน้ันจะได้เก่งงานบ้านงานเรือนอยู่เหย้าเฝ้าเรือนนั่นเอง (สัมภาษณ์: นางแสง ใจซ่ือ เม่ือวันที่ 20 เมษายน 2560) ความเชอ่ื เก่ยี วกบั ระยะเวลาในการอยเู่ ดือนนี้มนี ยั ยะเกี่ยวกบั การปอ้ งกันโรคตดิ ต่อทจี่ ะเกิดตอ่ มารดาและทารกแฝงอยู่ นั่นคือเป็นการป้องกันไม่ให้คนอ่ืนไปเข้าใกล้จนเกิดการนาเอาเช้ือโรคมาติดในช่วงแรกๆของการคลอด เนื่องจากช่ วงระยะแรกนั้น รา่ งกายยังคงอ่อนแอมาก หากรา่ งกายได้พกั ฟนื้ ไปในระยะหน่ึงแล้วจึงได้มกี ารออกเดอื น เพราะมภี มู ปิ ้องกันเช้ือโรคหรอื โรคติดต่อได้ใน ระดับหนง่ึ แล้วน่นั เอง นอกจากนเี้ มอื่ อยู่เดือนจนถึงเวลาทีก่ าหนดแล้วก็มคี วามเชอื่ เก่ียวกบั วันทีจ่ ะออกเดอื นโดยถอื วา่ เป็นเสมือนวันเริ่มต้นสิ่ง ใหมๆ่ ของทั้งแมแ่ ละทารกทีอ่ ยเู่ ดือน จากการสมั ภาษณ์พบว่าชาวบ้านให้ความสาคญั กบั วนั ออกเดือนนมี้ าก มกั ตอ้ งการใหค้ นทม่ี าเยยี่ ม คนแรกหลังการอยเู่ ดอื นเปน็ บุคคลท่ีเฉลยี วฉลาด เปน็ คนดี เพราะมคี วามเชอ่ื วา่ หากคนทีม่ าเยีย่ มคนแรกมลี ักษณะนิสยั เป็นอย่างไร เม่อื เติบใหญ่ทารกกจ็ ะมลี ักษณะนสิ ยั เปน็ เช่นนนั้ โดยเรียกการมาเยย่ี มในวนั ออกเดือนน้วี ่า “หลอนเดือน” ด้วยเหตุผลดังกล่าวเมื่อได้ฤกษ์ ที่จะออกเดือนแล้วคนในครอบครัวมักจะไม่บอกให้ใครทราบเพราะไม่ต้องการให้คนท่ีมีนิสัยไม่ดีมาหลอนเดือนน่ันเอง (สัมภาษณ์ : นางสลี ใจซื่อ เม่อื วันที่ 20 มนี าคม 2560) หากมองในแง่ของเชิงตรรกะจะสามารถอธิบายได้ว่า เป็นลักษณะของการป้องกันไม่ให้ใคร มายุ่งวุ่นวายในเวลาท่ีจะออกเดือนมากกว่า เพราะในวันน้ันต้องมีกระบวนการท่ีซับซ้อนมากมาย เป็นต้นว่าต้องอาบน้าชาระร่างกาย ของมารดา ต้องมีการรมยา ฯลฯ ซ่ึงล้วนแลว้ แต่เปน็ กจิ กรรมที่ไม่พึงควรให้คนอ่ืนเข้ามามีส่วนรู้เห็นแทบท้ังส้ิน จึงได้มีการยกเอาความ เช่อื ขึน้ มาเพื่อจะใหร้ สู้ กึ ศักด์สิ ิทธแิ์ ละปฏบิ ตั ิเปน็ ไปในทางเดียวกนั ท้ังนี้การออกเดือนมักจะนิยมทาในเวลาเช้าขณะที่พระอาทิตย์กาลังข้ึนเรียกกันว่า“แจ้งดีขวายงาม”ถือเป็นเวลาท่ี เหมาะสมในวันนั้น โดยให้แม่กาเดือนหันหนา้ ไปทางทิศตะวนั ออกของบ้าน แล้วเปล้ืองชุดท่ีใช้สาหรับอยู่เดือนออกให้หมด จากน้ันก็ให้ ไปอาบน้าและสระผมเพอ่ื ขจัดเอาคราบเหงอื่ ใครและสิง่ ไม่ดีไม่งามออกไปจากรา่ งกาย โดยการเปลื้องชุดเก่าออกให้หมดตลอดจนชาระ ร่างกายน้ี เชื่อกันว่าจะทาให้ชีวิตของแม่และทารกมีแต่ความสดชื่นแจ่มใส ทารกก็จะพ้นช่วงวัยท่ีก้าก่ึงระหว่างลูกผีกับลูกคนเสียที (สัมภาษณ์ : นางสลี ใจซ่ือ เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560) หากวิเคราะห์ในแง่ของเชิงเหตุผล เวลาเช้าเป็นเวลาที่เหมาะสมท่ีสุด เนอ่ื งจากวา่ เป็นช่วงเวลาทผ่ี ู้คนไม่พลุกพล่าน ประกอบกับเป็นเวลาท่ีเงียบสงบ จะประกอบกิจกรรมต่างๆ ย่อมจะสะดวกกว่าเวลาอ่ืน เป็นตน้ วา่ จะอาบน้าก็จะอาบได้สบายไม่มผี ู้คนมาพบเห็น เพราะสมัยกอ่ นไม่ได้มีหอ้ งนา้ เหมือนในปจั จบุ นั หรอื หากจะมี การรมยากเ็ ปน็ เวลาท่ีเหมาะสม เน่อื งจากไมท่ าใหร้ อ้ นจดั จนเกนิ ไป ในดา้ นความเช่อื ประเภทที่สองคือ ความเชือ่ เกยี่ วกบั ข้อปฏบิ ัตขิ องแม่กาเดือน สามารถแยกย่อยออกได้เป็น 3 ประเด็น คือ 1.ความเช่ือเก่ยี วกับอาหารการกิน 2.ความเช่ือเกย่ี วกบั การเดิน และ3.ความเชอ่ื เก่ียวกับการอาบน้า ความเช่ือเก่ียวกับอาหารการกินน้ัน ชาวบ้านเช่ือว่าต้องระมัดระวังให้ดี หากกินสุ่มส่ีสุ่มห้าจะเกิดอาการท่ีเรียกว่า “ผิดเดือน” โดยอาหารทแี่ ม่กาเดือนพงึ จะทานได้คอื อาหารประเภทเนื้อหมู เชน่ หมูปิง้ หมตู ้ม ส่วนประเภทผักก็จะนิยมให้รับประทาน

440 การประชุมสมั มนาวชิ าการระดบั ชาติ “เวทวี จิ ยั ศลิ 4ป4ะ0และวฒั นธรรมศึกษา” ครั้งที่ 2 ต้มหัวปลี ผัดผักกาดขาว ผัดขิง ผัดถั่วฝักยาว แกงบ่านอยข้อง (บวบ) หรือหากอยากกินน้าพริกก็จะสามารถทานได้เฉพาะน้าพริกท่ีใส่ แค่เกลือ กระเทียม และพริก เพียงแค่ 1-2 เม็ดเท่าน้ัน โดยจะไม่ใส่เคร่ืองปรุงอย่างอ่ืนเพราะถือว่าจะเกิดการแสลง ซ่ึงอาหารต่างๆ ทปี่ รากฏเปน็ ข้อหา้ มน้นั จะขออธิบายในหัวขอ้ ตอ่ ไปในเร่อื งของขอ้ หา้ ม จากการสอบถามถึงเรอ่ื งอาหารของแม่กาเดือนน้ีพบว่า อาหาร ที่จะให้แม่กาเดือนกินนอกจากจะคานึงถึงตัวแม่แล้ว ยังจะต้องเป็นอาหารที่ไม่เกิดผลกระทบกับทารกด้วย เพราะทารกต้องกินนมแม่ หากแม่กินอะไรลงไปทุกๆอย่างก็จะลงน้านมแทบทั้งส้ิน นอกจากน้ีอาหารที่ให้แม่กาเดือนกินมักจะเป็นอาหารท่ีมีสรรพคุณมุ่งเน้นใน การเรียกน้านม โดยเฉพาะท้องสาว น้านมมักจะไม่มาใน 1-3 วันแรกหลังคลอด ดังน้ันจึงจาเป็นต้องให้แม่กาเดือนกินอาหารที่มี สรรพคุณเร่งนา้ นมเพอ่ื ให้นา้ นมไหลเร็วขน้ึ (สัมภาษณ์ : นางสลี ใจซื่อ เม่ือวันที่ 20 มนี าคม 2560) วัตถุประสงค์ของความเชื่อประเภท น้ีจะคานงึ ถึงสุขภาพของมารดาและทารกเป็นหลกั เนื่องจากว่าหากรับประทานอาหารท่ีแสลงเข้าไปในช่วงท่ีร่างกายยังอยู่ในระยะพัก ฟ้นื นี้จะทาให้เกิดโรคภยั ไขเ้ จบ็ ตามมาหลายอย่าง ในสว่ นความเชื่อเกย่ี วกบั การเดิน มีความเชอ่ื ว่าจะตอ้ งเดินแบบชา้ เบาๆ ไม่รบี เดนิ ดว้ ยความวอ่ งไว เพราะจะทาให้แผล ไม่แหง้ โดยจะไมเ่ ดินไปไหนมาไหนหากไม่จาเปน็ แตห่ ากมเี หตุใหต้ อ้ งเดินจรงิ ๆ กม็ ักจะตอ้ งรัดผ้ารัดหน้าท้องให้แน่น และเดินด้วยการ หนบี ขา ไม่อา้ หรอื แบะขากว้างโดยเด็ดขาด ซ่ึงจังหวะการเดินในแต่ละก้าวน้ัน ผู้ให้ข้อมูลอธิบายว่า “ให้นับหน่ึงถึงห้าจึงก้าวขาได้ข้าง หน่ึง” (สมั ภาษณ์: นางแสง ใจซอื่ เมอื่ วนั ท่ี 20 เมษายน 2560) จะสังเกตเห็นวา่ การเดนิ ของแม่กาเดอื นนัน้ เปน็ หนงึ่ ในหลายกิจกรรมใน การดาเนินชีวิตประจาวันทพี่ งึ ตอ้ งระมัดระวังให้มากเช่นกัน เน่ืองจากแผลคลอดลูกในสมัยก่อนไม่ได้รับการเย็บเหมือนปัจจุบัน ดังนั้น การเดนิ แบบไมร่ ะมัดระวังจะย่ิงส่งผลใหแ้ ผลเกิดการฉกี ขาดและตดิ เช้ือไดง้ ่ายนนั่ เอง นอกจากน้ีในด้านความเชื่อเก่ียวกับการอาบน้า จะนิยมอาบน้าในตอนท่ีพระอาทิตย์ยังไม่ตกดิน โดยน้าท่ีอาบจะต้อง เป็นน้าตม้ สมนุ ไพร อันประกอบไปดว้ ยเปลอื กไมเ้ ปลา้ ไม้ฝาง และไม้คา้ โดยเชื่อว่าจะทาใหเ้ น้อื หนงั ที่ยดื ออกระหว่างทตี่ ง้ั ครรภ์กลับมา กระชับเข้าท่ีโดยไว โดยจะใชน้ ้าคอ่ ยๆ ราดลงบนตัวแต่จะไม่มีการขัดถูส่วนใดท้ังส้ิน เพราะเชื่อว่าหากขัดผิวจะทาให้เส้นเอ็นปูดข้ึนมา ตามร่างกาย (สัมภาษณ์ : นางสมยั ชาญเช่ยี ว เมอ่ื วันที่ 20 เมษายน 2560) การอาบนา้ ในเวลาคา่ ส่งผลกระทบหลายอยา่ ง คอื จะทาให้ เกดิ อาการหนาวสนั่ ไมร่ ู้จักหาย เน่ืองจากว่าร่างกายยังไม่มีการปรับอุณหภูมิให้เข้าท่ีและยังอาจจะทาเกิดอุบัติเหตุระหว่างที่อาบน้าได้ เพราะสมยั ก่อนยังไม่มีไฟฟา้ เหมือนเชน่ ในปจั จุบนั ส่วนความเชื่อประเภทสุดท้ายคือ ความเชื่อเกี่ยวกับข้อปฏิบัติต่อทารก แยกออกเป็นประเด็นย่อยท้ังหมด 4 ประเด็น ซึง่ จะอภปิ รายเป็นทีละประเด็นดังน้ี ประเด็นทห่ี น่งึ ความเชอ่ื เกย่ี วกับพอ่ เกดิ แม่เกดิ ขณะท่อี ยู่เดือนเมือ่ เดก็ ทารกที่เพิ่งคลอดร้องไห้งอแง ไม่ยอมกินนม หรือตัวรอ้ นไม่สบายต่างๆ ชาวบ้านมักจะเชื่อว่าเป็นเพราะยังไม่ทราบว่าพ่อเกิด แม่เกิด คือใคร จาเป็นท่ีจะต้องไปสืบหาเพื่อให้ทราบ ผู้ที่มาเกิดเป็นเด็กคนน้ี การไปสืบหาว่าใครเป็นพ่อเกิดแม่เกิดจะกระทาโดยการไปหา “หมอเม่ือ” ซึ่งหมอเมื่อน้ีก็จะนาเอาวันเดือนปี เกิด ตลอดจนชือ่ ของทารกผ้นู ีไ้ ปเส่ยี งทายและถามผูท้ ่ไี ปสืบหาน้วี า่ มีญาติทมี่ ีลกั ษณะแบบนั้นๆ ตายไป เขาช่ืออะไร พอผู้ไปสืบหาตอบ วา่ คือใคร กจ็ ะทราบวา่ พอ่ เกดิ แม่เกิดของเด็กคนน้เี ป็นใคร ตอ้ งการอะไรกจ็ ะทาบุญไปให้ ประกอบกับมักนิยมให้คนใกล้ชิดของผู้ที่ตาย ไปแลว้ นาเอาดา้ ยมามัดทีข่ อ้ มือของเดก็ คนดังกล่าวเพ่อื เป็นการรับขวัญและเชอ่ื วา่ จะทาให้ไมร่ อ้ งงอแงอีกตอ่ ไป ซ่งึ การหาพ่อเกดิ แมเ่ กิด จนทราบวา่ คือใครนี้ เช่ือกันวา่ เดก็ จะเลย้ี งง่าย ไมป่ ว่ ย ไมร่ อ้ งไหโ้ ยเยอีกต่อไป ในส่วนของความเช่ือประเภทน้ีมีความเช่ือที่ใกล้เคียงกัน อีกลักษณะหนึ่งคือความเช่ือเกี่ยวกับการส่งปู่แถนย่าแถน ปู่แถนย่าแถนน้ี ชาวบ้านเรียกอีกช่ือว่า“ผีป้ันเบ้า” การกระทาพิธีทางไสย ศาสตร์บางคร้ังจะเรียกรวมกันว่า การส่งพ่อเกิดแม่เกิดปู่แถนย่าแถน โดยเช่ือกันว่าการท่ีทารกจะมีหน้าตาเป็นเช่นไร ชาวบ้านเ ชื่อว่า ขึ้นอยู่กับ “ผีป้ันเบ้า”จะปั้นแต่งให้ก่อนท่ีจะลงมาเกิดบนโลกมนุษย์ ด้วยเหตุดังกล่าวชาวบ้านจึงถือเอาว่า“ปู่แถนย่าแถน”หรือ“ผีปั้น เบ้า” คือพ่อแม่คนแรกของเด็กทารกที่เพ่ิงคลอดออกมา เพราะเป็นผู้สร้างเด็กด้วยการปั้นก่อนจะลงมาเกิด ฉะน้ันจึงถือว่าเป็นพ่อแม่ คนแรกของเด็กทารกน้ี เมื่อเด็กทารกมีอาการที่ผิดปกติต่างๆ แก้ไขด้วยวิธีใดตามความเช่ือแล้วก็ไม่หาย ก็นิยมที่จะทาพิธีส่งปู่แถนย่า แถนน้ีด้วย เพ่ือเป็นการตัดสายสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับพ่อแม่คนแรก จะได้ไม่มาติดตามถามไถ่หรือมาทวงเด็กคืนอีกต่อไป และด้วย ความเช่ือนี้จึงเป็นที่มาของข้อห้ามไม่ให้ชมว่าลูกงามซึ่งจะได้อธิบายในหัวข้อเรื่องเก่ียวกับข้อห้ามต่อไป (สัมภาษณ์ : นางสลี ใจซื่อ เมอื่ วนั ที่ 20 เมษายน 2560) ประเด็นที่สองความเชื่อเก่ียวกับการส่งหาบส่งหาม ความเชื่อน้ีถือกันว่าเด็กท่ีเล้ียงยากนั้น เป็นเพราะยังไม่หมด กรรมทีท่ าเอาไวแ้ ลว้ รีบมาเกิด จึงทาใหเ้ ล้ยี งยากและปว่ ยกระเสาะกระแสะ เมอ่ื แก้ไขด้วยวธิ ใี ดไม่หายก็มักจะใช้วิธีการส่งหาบส่งหามน้ี เขา้ มาชว่ ย กลา่ วคอื จะนาเอาเครอ่ื งสงั เวยต่างๆ ตามท่หี มอเมือง (ผู้ประกอบพิธี) ได้บอกกล่าวใส่ลงในสะตวง (กระบะท่ีทามาจากกาบ กลว้ ยพบั เปน็ สีม่ ุม)เพ่อื เป็นเสมอื นการปัดเปา่ ใหพ้ น้ เวรพน้ กรรม จะได้ไมม่ ีโรคภยั มาเบียดเบยี นอกี เมอ่ื กระทาพิธนี ้อี ย่างถกู ข้ันตอนแล้ว

การประชุมสมั มนาวิชาการระด4บั 4ช1าติ “เวทวี ิจยั ศลิ ปะและวัฒนธรรมศกึ ษา” คร้ังที่ 2 441 มคี วามเช่อื ว่าเดก็ จะกลบั มาหายเปน็ ปกติ เลีย้ งงา่ ยโตไว (สมั ภาษณ์ : นางสลี ใจซอื่ เมอ่ื วันที่ 20 เมษายน 2560) ประเด็นที่สาม ความเช่ือเกี่ยวกับปู่ดาย่าดาปู่ดาย่าดานี้ เชื่อกันว่าเป็นผีบรรพบุรุษ จะอาศัยอยู่ในครัวไฟของทุกๆ บ้าน ทาหน้าท่ีคอยปกปักรักษาลูกหลานให้แคล้วคลาดจากเสนียดจัญไรหรือภยันตรายต่างๆ ที่มองไม่เห็น โดยเมื่อเด็กจาเป็นจะต้อง ออกไปนอกบ้านหรือร้องไห้ปลอบอย่างไรก็ไม่หยุด ก็มักจะพาเข้าไปหาปู่ดาย่าดาแล้วนาเอาหมิ่นหม้อท่ีติดอยู่ก้นหม้อนึ่งมาป้ายที่ หน้าผากของเด็กทารก เพ่ือให้ป่ดู ายา่ ดาช่วยปกปักรกั ษาลกู หลานใหม้ ีความปลอดภัยจากส่ิงชัว่ ร้ายทง้ั หลายท้ังปวง (สัมภาษณ์: นางสลี ใจซ่อื เมอ่ื วนั ท่ี 20 เมษายน 2560) ประเด็นทส่ี ่ี ความเช่ือเกี่ยวกับผีกะ ซึ่งเป็นผีท่ีชาวเหนือเชื่อว่าชอบกินตับไตไส้พุงของคน ตลอดจนชอบกินของสด ของคาวต่างๆ ที่มาของผกี ะ เชอื่ กันว่าเกดิ จากการเลี้ยงผีบรรพบุรุษให้อดอยากทาให้คนในตระกูลนั้นทุกคนเป็นผีกะ ลักษณะของผีกะ น้ันมักจะใช้วิธีการเข้าสิงในตัวของคนแล้วกัดกินตับไตไส้พุงจนตาย โดยทั้งน้ีหากเป็นทารก ผีกะก็มักจะเข้าสิงทาให้เด็กร้องไห้จนด้ัน แล้วขาดใจตายไปในท่ีสุด ดังน้ันเมื่อบ้านไหนมีเด็กเกิดใหม่ผู้ดูแลหรือญาติผู้ใหญ่จึงมักจะห่วงเร่ืองผีกะมากท่ีสุด เนื่องจากว่าวิธีการ คลอดในสมัยก่อนไม่เหมือนในสมัยปัจจุบัน การคลอดต้องทากันท่ีบ้านโดยใช้วิธีธรรมชาติทาให้เกิดการเสียเลือดเยอะ ผีกะก็จะตาม กลิน่ คาวเลอื ดทีเ่ กิดจากการคลอดใหม่ๆ มา และพยายามจะมาเลยี เลือดท่ไี หลตามพ้ืนกระดานบา้ นนน้ั หรือบางครั้งก็มักจะมาเที่ยวหา กินรกของเด็กเพราะเปน็ ของสดของคาวเชน่ กนั นอกจากนี้ยังมักแฝงมาในลักษณะของคนปกติ โดยใช้วิธีการมาเยี่ยมเด็กเพ่ิงคลอดน้ัน ซง่ึ หากผกี ะกลบั ไปเด็กทารกจะร้องไห้ไมห่ ยดุ ในทนั ที ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ วชาวบ้านจงึ ไดห้ าวธิ ีปอ้ งกันผีกะโดยการใช้เคียวหรอื มีด ตลอดจน อาวุธท่ีมีคมต่างๆ มัดติดกับใบหนาดใบหนามแล้วเอาไปผูกไว้ใต้ถุนบ้านตรงที่แม่กาเดือนน่ัง เพ่ือเป็นการป้องกันผีกะมาเลียกินเลือด นอกจากน้ีในกรณีทไ่ี มแ่ นใ่ จวา่ ใครเป็นผกี ะชาวบ้านก็จะเอาไมก้ วาดมาปดั กวาดพืน้ บ้านทกุ ๆ ครั้ง หลงั จากทม่ี คี นแวะมาเย่ียมเด็กทารก ท่ีบ้าน เพื่อเป็นการปัดเอาเสนียดจัญไรผีกะออกไปจากบ้าน แต่หากเป็นกรณีท่ีทราบว่าใครเป็นผีกะและบุคคลนั้นข้ึนมาเย่ียมทารก ผู้ดูแลจะไม่ยอมใหแ้ ตะตวั เดก็ เปน็ อันขาด เชื่อกันวา่ หากเดก็ ถกู แตะเนือ้ ต้องตวั จากผูเ้ ปน็ ผกี ะแลว้ จะถูกผีกะเข้าสิงในทันที (สัมภาษณ์ : นางสลี ใจซอื่ เมอื่ วนั ท่ี 20 เมษายน 2560) นอกจากนผ้ี ้ศู ึกษายงั คน้ พบวา่ การอยไู่ ฟนี้ยังมีข้อหา้ มอีกหลายประการซึง่ บางประการนนั้ กม็ ีท่ีมาจากความเชือ่ ตา่ งๆ ดังได้เกริ่น ไปแลว้ บา้ งในหัวขอ้ ที่ผา่ นมา ทั้งนี้ผ้ศู ึกษาได้แบ่งประเภทของขอ้ ห้ามในการอยู่ไฟนี้เป็น 3 ประเภทคือ 1. ข้อห้ามเกี่ยวกบั การดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั 2.ขอ้ ห้าม เกี่ยวกบั อาหารการกนิ 3.ข้อหา้ มเก่ียวกับการเลยี้ งดูบตุ ร โดยจะขออธิบายแยกเปน็ ทลี ะหัวขอ้ ในด้านการดาเนินชีวิตประจาวันน้ัน แม่กาเดือนจะปฏิบัติตนเสมือนคนปกติไม่ได้ เน่ืองจากร่างกายยังอ่อนแอและต้องปรับ สภาพไปอกี ระยะหน่งึ ฉะน้ันจงึ จาเป็นท่จี ะตอ้ งทาตามขอ้ หา้ มตา่ งๆ โดยเครง่ ครัด ซ่งึ ขอ้ หา้ มประเภทนี้มที ั้งหมด 4 ขอ้ ดว้ ยกัน ข้อทีห่ น่งึ หา้ มออกไปนอกบ้าน แม่กาเดือนจะต้องอยูแ่ ตเ่ ฉพาะในห้องของตนเทา่ นั้น จะออกไปข้างนอกไม่ได้เพราะจะทาให้โดนลม ตลอดจนไปได้กล่ิน อนั ไมพ่ ึงประสงค์ทาให้เกิดอาการผิดเดอื นข้นึ มาได้ ซ่งึ หากเป็นการผดิ เดอื นลกั ษณะนเี้ รยี กว่า“ผิดสาบ”ซง่ึ แกไ้ ขได้ยากกวา่ การ“ผิดกนิ ” เนื่องจากไม่สามารถทราบได้ว่าไปได้กลิ่นอะไรมาจึงยากที่จะรู้วิธีแก้ไข โดยลักษณะของการผิดเดือนน้ันจะมีอาการหลายอย่าง เช่ น เวียนศีรษะ ซบู ซดี กินไมไ่ ด้ นอนไม่หลับ สดุ ท้ายจะมลี กั ษณะทชี่ าวบ้านเรียกว่า “ผีเข้าเล่าตือ” คือมีอาการคล้ายๆกับคนถูกผีเข้าหรือ กลายเปน็ บ้า (สัมภาษณ์ : นางสมัย ชาญเช่ียว เม่ือวันท่ี 20 เมษายน 2560) ดังน้ันวิธีป้องกันที่ดีที่สุดคือ การอยู่แต่เฉพาะในห้องของ ตนเทา่ นั้น ข้อที่สอง ห้ามสระผม การสระผมน้ีจะทาให้เกิดอาการปวดหัวได้ ระหวา่ งทอ่ี ยู่เดือนแม่กาเดือนจะยังสระผมไม่ได้ จะสามารถสระได้ก็ต่อเมื่อ อย่เู ดอื นไปแล้ว 15 วัน ถึงจะสระผมได้ครงั้ หน่ึง และจะสระได้อกี ครง้ั กต็ อ่ เมือ่ อย่เู ดอื นครบตามกาหนดแล้วเทา่ นน้ั (สัมภาษณ์:นางสมัย ชาญเชย่ี ว เมอื่ วันที่ 20 เมษายน 2560) ข้อท่ีสาม หา้ มอยรู่ ว่ มกนั กบั สามี ขอ้ นแ้ี ม่ฝา่ ยหญงิ จะใชว้ ธิ หี า้ มโดยการไปนอนกับแม่กาเดือนแล้วให้ฝ่ายชายแยกไปนอนต่างหาก ซึ่งถือว่าหากชายหญิง อยรู่ ว่ มกนั ในระหวา่ งท่ีอยเู่ ดอื นนจ้ี ะทาให้เกดิ อาการ “โล่งเลอื ด”คืออาการท่เี ลอื ดไหลไมห่ ยดุ นอกจากนี้ยงั จะทาให้ไมม่ ลี กู ตดิ กันเกินไป หรืออาจทาให้เกิดการติดเช้ือได้เน่ืองจากแผลอาจจะยังไม่แห้งดีน่ันเอง โดยข้อห้ามนี้จะห้ามเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน นัน่ หมายความวา่ แม้จะอยเู่ ดือนจนครบกาหนดแล้วกย็ ังไมส่ ามารถที่จะอยู่รว่ มกนั กับสามไี ด้ (สัมภาษณ์ : นางสมัย ชาญเช่ียว เม่ือวันที่ 20 เมษายน 2560)

442 การประชมุ สมั มนาวชิ าการระดบั ชาติ “เวทวี จิ ยั ศลิ 4ป4ะ2และวฒั นธรรมศึกษา” คร้ังท่ี 2 ขอ้ ทสี่ ี่ ห้ามยกของหนกั และทางานบ้านทุกชนดิ ตลอดระยะเวลาท่ีอยู่เดือนนี้ ห้ามแม่กาเดือนทางานบ้านทุกอย่างเนื่องจากว่าจะทาให้ไม่ได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ สง่ ผลให้แผลไมแ่ หง้ และเกิดการตดิ เชื้อ นอกจากน้ีหากเขา้ ครวั ไปลา้ งจานก็อาจจะทาให้ได้กล่ินท่ีทาให้เกิดการผิดเดือนข้ึนมาได้น่ันเอง และข้อห้ามทช่ี าวบ้านถอื ว่าสาคัญมากท่ีสดุ คือเรื่องการยกของหนกั เพราะถือกันว่าจะทาให้“ดากออก”กลา่ วคอื เป็นลักษณะของมดลูก สว่ นหนง่ึ ทีย่ ่นื ออกมานน่ั เอง ซ่ึงถือวา่ เปน็ เรือ่ งอนั ตรายสาหรบั ผูห้ ญงิ (สมั ภาษณ์ : นางสมยั ชาญเชีย่ ว เมอื่ วันที่ 20 เมษายน 2560) นอกจากน้ยี ังมขี ้อห้ามเกย่ี วกับอาหารการกนิ ปรากฏรว่ มดว้ ย ซ่ึงแยกยอ่ ยออกเป็น 4 ประเภทคอื 1. หา้ มอาหารประเภทเนอื้ สัตว์ โดยเนื้อสตั ว์ทเี่ ปน็ ของตอ้ งห้ามคือ เนอ้ื ไก่ ปลามเี กลด็ เนือ้ ววั เน้ือควาย 2. หา้ มผลไม้ ผลไม้ทีห่ า้ มกนิ ในระหว่างอย่เู ดอื นคอื ของหมักดอง กลว้ ยไข่ และผลไมท้ ม่ี รี สเปรีย้ วทกุ ชนิด 3. อาหารประเภทผัก ที่ไม่ควรรับประทานคือประเภทฟัก แตงกวา เพราะจะทาให้น้านมไม่ไหล เนื่องจากผักเหล่านี้มี สรรพคณุ เย็น และผกั ที่ไมค่ วรรบั ประทานคือผกั ทสี่ ง่ กลิน่ ฉนุ เช่น ผกั ชีต้นหอม ชะอม เป็นต้น 4. หา้ มทานน้าเย็นหรือน้าแข็ง เพราะเช่ือว่าจะทาให้เกิดอาการหนาวส่ัน (สัมภาษณ์:นางสมัย ชาญเชี่ยว เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2560) สรปุ การห้ามประเภทอาหารการกินนสี้ ามารถแยกออกเปน็ 4 ประเภทคือ การหา้ มอาหารประเภทเนอื้ สตั ว์ การห้ามทานผลไม้ บางประเภท การห้ามทานผกั บางประเภท และการหา้ มทานน้าเย็นหรอื น้าแข็ง โดยข้อห้ามนี้จะคานึงถึงผลที่มีต่อทารกและน้านมเป็น หลกั กล่าวคือ หากสิง่ ไหนกินแลว้ ทาใหเ้ กดิ ผลเสียตอ่ ทารกกม็ กั จะให้งดประเภทน้ันๆ ไป ข้อหา้ มประการสุดทา้ ยที่เกีย่ วขอ้ งกับการอย่ไู ฟคอื ข้อหา้ มเกย่ี วกับการเลีย้ งดบู ตุ ร ขอ้ ห้ามนป้ี รากฏเป็น 2 ลักษณะย่อยๆ คือ หา้ มชมวา่ ลกู สวย และหา้ มยกลกู ชขู ้นึ สูง ลักษณะทงั้ สองนเี้ ปน็ การหา้ มท่สี มั พันธ์ กับความเช่ือดังได้กล่าวไปแล้วในหัวข้อก่อนหน้านี้ กล่าวคือเชื่อว่าเด็กจะป่วยและไม่สมบูรณ์แข็งแรง ตลอดจนเลี้ยงยาก เหตุ เน่อื งมาจากว่าพอ่ แม่ขา้ งบนหรือ “ผีปน้ั เบา้ ” จะมาทวงคนื ไป เนอ่ื งจากรักและหวงลกู ทต่ี นเพิ่งป้ันแต่งลงมา ดังน้ันจึงควรจะทาให้ลูกดู น่าเกลยี ดเอาไว้ เพื่อเป็นการกันไม่ให้พ่อแม่คนแรกมาเอาไป เป็นต้นว่า ให้บอกว่าลูกน่าเกลียด หรือไม่ก็มักจะนาเอาไม้กวาดซ่ึงถือว่า เป็นของตา่ และสกปรกมาวางไวใ้ กล้ๆ เด็ก ในยามท่ีจาเปน็ ตอ้ งท้งิ ลูกไว้คนเดยี ว เผ่อื พ่อแมค่ นแรกมองมาจะได้ไมล่ ักเอาไปเน่ืองจากเห็น ว่าอยู่กับของสกปรก นอกจากนี้บางบ้านยังมักจะใช้เศษฝุ่นใต้ฝ่าเท้ามาป้ายหน้าเด็กเพ่ือให้ดูเป็นเด็กมอมแมมจะได้ไม่เป็นที่น่าชมอีก ดว้ ย (สมั ภาษณ์ : นางสมยั ชาญเชย่ี ว เมื่อวันท่ี 20 เมษายน 2560) จะเห็นวา่ การเลีย้ งดทู ารกนัน้ มักจะมขี ้อห้ามทแ่ี ฝงไวก้ ับความเชื่อเพ่ือให้ดูศักด์ิสิทธิ์และน่ากลัว ส่งผลให้เต็มใจท่ีจะปฏิบัติตาม โดยไมม่ ขี ้อกังขาใดๆ ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละสง่ ผลดีต่อตัวผปู้ ฏบิ ตั ิไดอ้ ย่างดียงิ่ ผลการวิจัย ผลการศกึ ษาการอยูไ่ ฟในหมบู่ า้ นหล่ายใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จังหวัดพะเยา พบว่าการอยู่ไฟเกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้านท่ี เช่อื ว่าการคลอดลกู น้ันเสมือนกึ่งเปน็ ก่งึ ตายของผู้เป็นแม่ดงั นน้ั เม่ือคลอดลูกเสร็จหญิงหลังคลอดย่อมมีความอ่อนแรง สถานะของคนที่ อ่อนแรงแบบนีย้ อ่ มเป็นชอ่ งสบโอกาสใหส้ ่ิงไม่ดีเข้ามาก่อกวนได้ง่าย ฉะนั้นการนาเอาไฟซึ่งมีอานาจในการทาลายสรรพส่ิงให้ม้วยมอด มาใช้กบั หญิงคลอดลกู ใหม่ จึงเป็นเสมือนการปัดเสนยี ดจัญไรออกไปจากชวี ิต นอกจากนกี้ ารอยูไ่ ฟยังเป็นภูมปิ ัญญาชาวบ้านท่ีนาเอาไฟ หรอื การสร้างความอบอุ่นให้แก่ร่างกายมาใช้ในการรักษาสุขอนามัยของหญิงหลังคลอดไม่ให้เกิดการติดเช้ือ โดยการทาให้แผลแห้งไว ด้วยการอาศยั ความร้อนของไฟ การอยู่ไฟของชาวบ้าน หล่ายใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จังหวัดพะเยา มีข้ันตอนเริ่มต้ังแต่การเตรียม อุปกรณ์ โดยแบ่งเป็น 3 ประเภทคือ 1.เครื่องแต่งกาย 2.เครื่องสมุนไพร 3.อาหาร นอกจากน้ียังพบเร่ืองของความเช่ือและข้อห้ามใน การอยูไ่ ฟ โดยแบ่งประเดน็ ความเชื่อเป็น 3 ประเภทคือ 1.ความเชื่อเก่ียวกับระยะเวลา 2.ความเช่ือเกี่ยวกับข้อปฏิบัติของแม่กาเดือน และ3.ความเช่ือเกี่ยวกบั ขอ้ ปฏิบัติต่อทารก โดยความเชื่อเกี่ยวกับระยะเวลานี้ สามารถแยกออกเป็นประเด็นย่อยได้ 3 ประเด็นคือ 1. ความเชื่อเร่ืองเวลาสัมพนั ธ์กับเพศของทารก 2.ความเชื่อเกี่ยวกับวันออกเดือน 3.ความเชื่อเก่ียวกับช่วงเวลาที่จะออกเดือน ส่วนความ เชอื่ เก่ยี วกบั ข้อปฏบิ ัตขิ องแม่กาเดอื นพบว่ามีความเช่ืออยู่ 3 ประเด็นยอ่ ยคือ ประเด็นทหี่ น่งึ ความเชอ่ื เก่ยี วกบั อาหารการกิน ประเด็นท่ี สองความเช่ือเก่ียวกับการเดิน และประเด็นที่สามความเช่ือเกี่ยวกับการอาบน้า และ3.ความเช่ือเกี่ยวกับข้อปฏิบัติต่อทารก สามารถ แบง่ ไดเ้ ป็น 5 ประเดน็ คือ 1.ความเชอื่ เกี่ยวกับพ่อเกิดแม่เกิด 2. ความเชื่อเกยี่ วกับการส่งหาบส่งหาม 3.ความเช่ือเกี่ยวกับการส่งปู่แถน ย่าแถน 4. ความเช่ือเก่ียวกับปู่ดาย่าดา 5.ความเช่ือเก่ียวกับผีกะ ส่วนในเร่ืองข้อห้ามในการอยู่ไฟน้ันแบ่งได้ 3 ประเภทคือ 1.ข้อห้าม เกี่ยวกับการดาเนินชีวิตประจาวัน 2.ข้อห้ามเกี่ยวกับอาหารการกิน 3.ข้อห้ามเกี่ยวกับการเล้ียงดูบุตร ซึ่งข้อห้ามเกี่ยวกับการดาเนิน

การประชุมสมั มนาวิชาการระด4ับ4ช3าติ “เวทวี จิ ัยศิลปะและวฒั นธรรมศกึ ษา” ครง้ั ที่ 2 443 ชวี ิตประจาวนั สามารถแยกได้ทั้งหมดสป่ี ระเด็นหลกั คือ หา้ มออกนอกบา้ น ห้ามสระผม ห้ามอยู่ร่วมกันกับสามี และข้อสุดท้ายห้ามยก ของหนักหรือทางานบ้านทุกชนิด ส่วนข้อห้ามเกี่ยวกับอาหารการกิน แยกได้เป็น 4 ประเภทคือ การห้ามอาหารประเภทเนื้อสัตว์ การห้ามทานผลไมบ้ างประเภท การหา้ มทานผักบางประเภท และการหา้ มทานนา้ เยน็ หรือน้าแข็ง โดยมีเหตุผลคือคานึงถึงสุขภาพเป็น หลัก ส่วนข้อห้ามเกี่ยวกับการเล้ียงดูบุตรแยกออกได้เป็น 2 ลักษณะย่อยๆ คือห้ามชมว่าลูกสวย และห้ามยกลูกชูข้ึนสูง เนื่องจาก เกรงจะเกิดอนั ตรายต่อทารก อภปิ รายผล การอยู่ไฟในหมู่บ้านหล่ายใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จังหวัดพะเยา มีลักษณะและคาเรียกที่ใกล้เคียงกับจังหวัดเชียงใหม่ สอดคล้องกับท่ี ศรีเลา เกษพรหม (2538 : 23) อธิบายถึงลักษณะการอยู่ไฟของคนล้านนาและมีคาเรียกการอยู่ไฟว่า อยู่เดือน และ เรียกหญิงท่ีอยู่ไฟว่า แม่กาเดือน ไว้ในหนังสือ ประเพณีชีวิตคนเมือง (2538 : 23) การที่มีลักษณะตลอดจนคาเรียกท่ีใกล้เคียงกัน เนือ่ งจากวา่ เขตแดนของจงั หวัดพะเยาและจงั หวัดเชยี งใหม่อยู่ในภูมิภาคเดียวกัน ดังนั้นลักษณะการอยู่ไฟตลอดจนคาเรียกจึงมีการใช้ คาทเ่ี หมอื นกนั นอกจากนี้คาว่าอยูก่ าหรืออยู่เดือนยังปรากฏวา่ คล้ายกบั ลักษณะการอย่กู รรมของพระภิกษุ เหตุทีก่ ลา่ วเช่นน้ีก็เพราะว่า ทุกอิริยาบถของพระทางล้านนาท่ีต้องปฏิบัติขณะอยู่กรรมนั้นจะเหมือนกับตอนท่ีแม่กาลังอยู่ไฟ กล่าวคือต้องเดินด้วยความสารวม จะลกุ จะนั่งก็จะต้องขยับด้วยความระมัดระวัง นอกจากนี้ยังต้องมีเคร่ืองประกอบขณะอยู่กรรมเหมือนกับขณะที่แม่อยู่ไฟทุกประการ เช่น ด่ืมนา้ รอ้ น มีผา้ รัดประคดทใี่ ชเ้ สมือนผา้ รดั หนา้ ทอ้ งของแม่มผี า้ คลุมศรี ษะ มีผ้ารองนงั่ คล้ายกับผ้ารองนัง่ ขณะที่แมก่ าลงั อยู่ไฟ เป็น ต้น การอยู่กรรมของพระนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นึกถึงบุญคุณของผู้เป็นแม่ว่าต้องทนทุกข์ทรมานมากเพียงใดกว่าจะเล้ียงลูกเติบใหญ่ กระทั่งมีอายุครบบวชได้ ดังท่ี ศรีเลา เกษพรหม (2538 : 23) ได้อธิบายไว้ในหนังสือ ชีวิตคนเมืองว่า“การอยู่เดือน คือการอดทน อดกลั้นจะทาตามใจตัวเองไม่ได้ คล้ายกับการอยู่กรรมของพระภิกษุ” นอกจากน้ียังพบว่าระยะเวลาในการอยู่ไฟของชาวบ้านใน หมู่บา้ นหลา่ ยใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จงั หวดั พะเยา กาหนดระยะเวลาในการอยูไ่ ฟตามเพศของทารก สอดคล้องกับ มณี พยอมยงค์ (2529) กล่าวว่า ถ้าลูกเป็นหญิงอยู่ไฟ 30 วัน เรียกว่า “เผื่อกี่เผ่ือฝ้าย” หากลูกเป็นชายอยู่ไฟเพียง 28 วัน เป็นเคล็ดให้หยุดคมหอก คมดาบ พร้อมกันนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ นววรรณ พันธุเมธา ศึกษาเรื่อง ถ้อยคาเกี่ยวกับการเกิดในภาษาไ ทยและภาษาไท โดยกล่าวถึง บรรจบ พันธุเมธา ได้กล่าวว่า ชาวไทใหญ่และชาวไทพ่าเก่อยู่ไฟ 7 วัน ชาวไทใหญ่ที่เมืองหนองอาจอยู่เลยไปถึง 10 วัน ชาวไทคาต่ีท่เี ตาปูนในพม่าอยู่ไฟ 3 วันถา้ ลูกอ่อนเปน็ หญิง แต่จะอยู่ไฟ 5 วันถ้าลูกอ่อนเป็นผู้ชาย ส่วนชาวไทคาตี่ท่ีรัฐอัสสัมในอินเดีย อยู่ไฟ 4 วัน ถ้าลกู อ่อนเปน็ หญงิ และจะอยไู่ ฟ 5 วันถ้าลกู อ่อนเป็นผชู้ าย จากการศกึ ษาประเพณกี ารอยูไ่ ฟน้ที าใหท้ ราบวา่ การอยู่ไฟ ไม่ เพยี งแตป่ รากฏอยู่ทว่ั ทกุ ภมู ภิ าคของไทยเท่านั้นหากแตย่ งั มปี รากฏในประเทศใกล้เคียงด้วย สอดคล้องกับที่ บุญช่วย ศรีสวัสด์ิ (2557) ได้อธิบายถึงความหมายและลักษณะการอยู่ไฟของชาวสิบสองปันนา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนในหนังสือไทยสิบสองปันนา เลม่ 2 หากแตค่ วามเชอ่ื และลักษณะปลกี ยอ่ ยของแต่ละท้องที่ก็จะมคี วามแตกต่างกนั ข้ึนอยู่กับภูมิภาคเป็นหลัก สรุปผลการวจิ ัย การอยู่ไฟของชาวบ้านหล่ายใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จังหวัดพะเยา มีขั้นตอนเร่ิมต้ังแต่การเตรียมอุปกรณ์ โดยแบ่งเป็น 3 ประเภทคือ 1.เครอ่ื งแตง่ กาย 2.เคร่อื งสมนุ ไพร 3.อาหารนอกจากนย้ี งั พบเร่ืองของความเช่ือและข้อห้ามในการอยู่ไฟ โดยแบ่งประเด็น ความเช่ือเปน็ 3ประเภทคือ 1.ความเชื่อเก่ียวกับระยะเวลา 2.ความเชื่อเก่ียวกับข้อปฏิบัติของแม่กาเดือน และ3.ความเช่ือเก่ียวกับข้อ ปฏิบัติต่อทารก ส่วนประเด็นด้านข้อห้ามในการอยู่ไฟปรากฏ 3 ประเภทคือ 1. ข้อห้ามเก่ียวกับการดาเนินชีวิตประจาวัน 2.ข้อห้าม เกย่ี วกับอาหารการกนิ 3.ขอ้ ห้ามเก่ียวกบั การเลี้ยงดบู ตุ ร ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้ ควรนาผลการวิจัยไปวเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บกบั ลักษณะการอยไู่ ฟในภูมิภาคอ่นื ๆ ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การวิจยั ครัง้ ต่อไป ควรศกึ ษาถึงความคงอยู่ของภูมิปัญญาดา้ นการอยูไ่ ฟ

444 การประชมุ สัมมนาวชิ าการระดบั ชาติ “เวทีวจิ ยั ศิล4ป4ะ4และวัฒนธรรมศึกษา” ครง้ั ที่ 2 เอกสารอ้างองิ นววรรณ พันธุเมธา. (2560). ถ้อยคาเกยี่ วกับการเกดิ ในภาษาไทยและภาษาไท. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี : วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี. บุญชว่ ย ศรีสวสั ด์ิ. (2557). ไทยสิบสองปนั นา เล่ม 2. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 3. กรุงเทพฯ : ศยาม. ปรัชญา ปานเกต.ุ (2558). ศัพทานกุ รมวฒั นธรรมไทย. กรงุ เทพฯ : สถาพรบุค๊ ส์. เปลอื้ ง ณ นคร. (2554). พจนานกุ รมฉบบั นกั เรียน. กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ . มณี พยอมยงค์. (2529). วัฒนธรรมล้านนาไทย. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช. ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2 . กรงุ เทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ศรเี ลา เกษพรหม. (2538). ประเพณชี ีวติ คนเมือง. เชียงใหม่ : มิง่ เมอื ง. สาลี รกั สุทธ.ี (2555). สบื สานตานานงานบญุ ประเพณอี ีสาน. กรงุ เทพฯ : พ.ศ. พฒั นา. สวุ ชยั อินทรประเสริฐ. (2559). หนงั สือคูม่ ือตง้ั ครรภแ์ ละเตรยี มคลอด. “การอย่ไู ฟหลังคลอดและการอาบ-อบสมนุ ไพรจาเป็น หรอื ไม่”. กรงุ เทพฯ : รกั ลูก. สลี ใจซ่อื . (2560). ความเชื่อการอยูไ่ ฟ [อรทัย สขุ จ๊ะ]. สมั ภาษณว์ ันท่ี 20 มนี าคม 2560 และวนั ท่ี 20 เมษายน 2560. สมยั ชาญเช่ียว. (2560). ข้อห้ามเก่ียวกบั การอยไู่ ฟ. [อรทยั สุขจ๊ะ]. สมั ภาษณ์วนั ท่ี 20 มนี าคม 2560 และวันที่ 20 เมษายน 2560. แสง ใจซอื่ . (2560). ข้อปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั การอยู่ไฟ. [อรทยั สุขจะ๊ ]. สัมภาษณ์วนั ที่ 20 มนี าคม 2560 และวนั ท่ี 20 เมษายน 2560.

534 การประชมุ สัมมนาวชิ าการระดบั ชาติ “เวทวี จิ ัยศิลปะและวัฒนธรรมศึกษา” คร้ังท่ี 2 พิมพท์ ี่ หจก.อภชิ าตกิ ารพิมพ์ 50 ถ.ผงั เมอื งบญั ชา ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000 โทร. 043-721403, 091-0600611 อีเมล์ [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook