Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เยี่ยหัว : การผจญภัยของวีรบุรุษในนวนิยายจีนแปล เรื่อง สามชาติ สามภพ ป่าท้อสิบหลี่

เยี่ยหัว : การผจญภัยของวีรบุรุษในนวนิยายจีนแปล เรื่อง สามชาติ สามภพ ป่าท้อสิบหลี่

Published by sakulsueb_9, 2020-03-18 08:21:43

Description: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผจญภัยของ “เยี่ยหัว” ตัวละครเอกจากนวนิยายจีนแปล เรื่อง สามชาติ สามภพ ป่าท้อสิบหลี่ โดยใช้ทฤษฎีการเดินทางของวีรบุรุษ ของคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์ในการวิเคราะห์ บทความนี้ใช้วิธีวิจัยเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า เยี่ยหัว ผ่านการผจญภัย 11 ขั้นตอน จาก 12 ขั้นตอน โดยขั้นตอนที่ปรากฏบ่อยครั้งที่สุด คือ การทดสอบอย่างสาหัสสากรรจ์ และการเกิดใหม่ ส่วนขั้นตอนที่ไม่ปรากฏคือ การปฏิเสธเสียงเรียก

Keywords: การเดินทางของวีรบุรุษ,นวนิยายจีนแปล,เยี่ยหัว; สามชาติสามภพป่าท้อสิบหลี่

Search

Read the Text Version

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ 1พหวุ ทิ ยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคตชิ นวิทยา วถิ ีไทย วถิ อี าเซียน คร้ังท่ี 1 ประจำ�ปี 2562

2 การประชุมวิชาการระดบั ชาติ พหุวิทยาการแหง่ ภาษา วรรณกรรม และคตชิ นวิทยา : วถิ ไี ทย วถิ ีอาเซยี น ครง้ั ที่ 1 ประจำ�ปี 2562

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ 3พหวุ ทิ ยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคตชิ นวิทยา วถิ ีไทย วถิ อี าเซียน คร้ังท่ี 1 ประจำ�ปี 2562

4 การประชุมวิชาการระดบั ชาติ พหุวิทยาการแหง่ ภาษา วรรณกรรม และคตชิ นวิทยา : วถิ ไี ทย วถิ ีอาเซยี น ครง้ั ที่ 1 ประจำ�ปี 2562

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ 5 พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวทิ ยา วิถไี ทย วถิ อี าเซียน ครั้งท่ี 1 ประจ�ำ ปี 2562 รายนามผทู้ รงคุณวฒุ ิ โครงการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ “พหุวิทยาการแหง่ ภาษา วรรณกรรม และคตชิ นวิทยา: วิถไี ทย วถิ อี าเซียน ครั้งที่ 1” องคป์ าฐก ศาสตราจารยก์ ิตติคุณ ดร.ธีระพันธ์ เหลอื งทองคา ศาสตราจารย์ชวน เพชรแก้ว คณะกรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิพิจารณาบทความ คณะกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิพิจารณาบทความดา้ นภาษา รองศาสตราจารย์ ดร.ประเทือง ทนิ รัตน์ รองศาสตราจารย์ ดร.พุทธชาติ โปธบิ าล รองศาสตราจารย์ ดร.กติ ิมา อินทรมั พรรย์ รองศาสตราจารย์ศรวี ิไล พลมณี รองศาสตราจารย์ ดร.สมชยั ศรีนอก รองศาสตราจารย์ ดร.เอกฉัท จารเุ มธีชน รองศาสตราจารย์ ดร.บญุ เหลือ ใจมโน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวภาคย์ กัลยาณมติ ร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุชาดา เจยี พงษ์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฤทัย พานิช ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ขนษิ ฐา ใจมโน คณะกรรมการผทู้ รงคุณวุฒิพจิ ารณาบทความด้านวรรณกรรม รองศาสตราจารย์ ดร. พระราชปรยิ ตั มิ นุ ี รองศาสตราจารย์ ดร.พชั รนิ ทร์ อนันต์ศริ ิวฒั น์ รองศาสตราจารย์ ดร.สภุ าพร คงศริ ิรัตน์ รองศาสตราจารย์ ดร.ธญั ญา สงั ขพันธานนท์

6 พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวทิ ยา : วถิ ไี ทย วถิ อี าเซียน ครั้งที่ 1 ประจำ�ปี 2562ง การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ รองศาสตราจารย์สนิท สตั โยภาส รองศาสตราจารยน์ ราวลั ย์ พูลพพิ ฒั น์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ลภสั รนิ ทร์ ฉตั รวงั ครี ี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปฏพิ นั ธ์ อุทยานกุ ูล ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.รุง่ ภัสสรณ์ ศรทั ธาธนพัฒน์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวรรธน์ ศรยี าภยั ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ลาวัณย์ สงั ขพนั ธานนท์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กติ ติพงษ์ วงศ์ทิพย์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บุญรอด โชติวชิรา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนพร หมคู า คณะกรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิพจิ ารณาบทความด้านคติชนวิทยา ศาสตราจารยช์ วน เพชรแกว้ รองศาสตราจารย์ ดร.ประจักษ์ สายแสง รองศาสตราจารย์ ดร.เปรมวิทย์ ววิ ัฒนเศรษฐ์ รองศาสตราจารย์ ดร.สนม ครฑุ เมอื ง รองศาสตราจารย์เรณู วิชาศลิ ป์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.แคทรยี า องั ทองกาเนิด ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. Truong Thi Hang ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วชิ นุ ี พนั ธน์ อ้ ย ผทู้ รงคุณวุฒิประเมินความถูกตอ้ งทางภาษาของบทคัดย่อภาษาอังกฤษ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สายชล เพียรผดงุ พร

จ การประชมุ วิชาการระดับชาติ 7 พหวุ ทิ ยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคตชิ นวทิ ยา วถิ ีไทย วถิ ีอาเซยี น ครง้ั ที่ 1 ประจำ�ปี 2562 คณะกรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิวิพากษ์บทความ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒวิ ิพากษ์บทความดา้ นภาษา รองศาสตราจารย์ ดร.พุทธชาติ โปธิบาล รองศาสตราจารย์ศรวี ิไล พลมณี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ขนษิ ฐา ใจมโน คณะกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิวิพากษบ์ ทความดา้ นวรรณกรรม รองศาสตราจารย์ ดร.ธญั ญา สงั ขพันธานนท์ รองศาสตราจารย์สนิท สัตโยภาส รองศาสตราจารยน์ ราวัลย์ พูลพิพฒั น์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ลภสั รนิ ทร์ ฉตั รวังครี ี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.รงุ่ ภสั สรณ์ ศรัทธาธนพฒั น์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนพร หมคู า คณะกรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิวิพากษบ์ ทความดา้ นคติชนวิทยา ศาสตราจารยช์ วน เพชรแก้ว รองศาสตราจารย์ ดร.เปรมวิทย์ ววิ ัฒนเศรษฐ์ รองศาสตราจารย์ ดร.บุญเหลือ ใจมโน รองศาสตราจารย์เรณู วชิ าศลิ ป์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. Truong Thi Hang ผู้ชว่ ยศาสตราจารยส์ ุประวณี ์ แสงอรณุ เฉลมิ สุข

10 การประชมุ วชิ าการระดับชาติ พหุวทิ ยาการแหง่ ภาษา วรรณกรรม และคตชิ นวิทยา : วิถีไทย วิถีอาเซียน ครงั้ ท่ี 1 ประจ�ำ ปี 2562 บทบคทวคาวมากมลกุม่ ลวุ่มรวรณรรกณรกรมรรม ท่ี ท่ี ชื่อบชทื่อคบวทาคมวาม ผเู้ ขียผนู้เขยี น หนหา้ นา้ 1 TCภ1hhาพeaiสkTภRะohาeทreพnf้อlสeRนHะceสaทtfังirl้อoคneนnมcfaสtไiiทoังfoaคยfnมใTนoไhทวfaรยTiรใhนณSaวoกiรcรSรiรoeณมctกเyiยeราtรiynวมชเinยนYาoYขวuoชอtuนhงtชhขLัยอiLtกงeiรtreชaหัrยtaกuาtญรruerไหeฟาoฟoญf้าfไฟฟLด้าAร.NพัชQรIินAดLOทรAร.Nพ์ บัชQูรรณIินAะทOกร์รบูรณะกร 127 Chaikorn Harnfaifa 2 ภาพตัวแทนบุคคลที่ปรากฏในมีม (Memes) : กรณีศึกษาจากเพจ สริ ิวทิ ย์ สุขกนั ต์ 138 น2กั กาภรามพมี ตัวแทนบุคคลท่ีปรากฏในมมี (Memes):กรณีศึกษาจากเพจนักการมมี สริ วิ ิทย์ สุขกันต์ sTthuedTfyRrhoeferpmorRmetesheptehnreetpasaetpginoaetgnae“toNi“ofaNntkhaoKkefaKVntahirnMteueMVamliertPmeue”aerls”oPnesrsionnMs einmMesem: Ceass,eCase study 3 ภ3าพแภทานพผแหู้ทญนผงิ เ้หู ขญมรงิ เใขนมนรวในนยิ นาวยนขิยอางยเมขาองสเมมาณสางมณาง รศ.ดร.ชารญศช.ดยั รค.ชงาเญพยีชรัยธรรม 153 The TRheeprReesepnretasetinotnatoiofnCaomf Cbaomdibanodfeiamnafelemcahlearachctaerarscters in the คงเพียรธรรม in thNeoNvoevlselosfoMfaMoaSooSmonmanagng 4 Tต4hัวลeะTตWคhัวรลiefเeะมWคยี CรใihfนเeมaนียrCวaใhนcนatยินerาวarยsนcขtยิIenอาrงยsNกขoIฤnอvษงeNณกloฤsาvษOอeณflโsศาKกOrอiสsfโนิaศKnกraiสsนิaAnsaokAessoinkesin ดBIร.HพOัชNรินGดทBYรรIIN.์HพบGOชัูรรNณินGะทYกรIรN์ บGูรณะกร 166 5 MชB5aนonบd-ชทBReMนยaaronบnุคi-dP-ใทCRหelยoaarมุคniiu--่ ใP:nหFCrภthมoarาyiu่u-พ:FnnSสภhtiNะาrudyทพone้อสvSN:นeiะdTolทสehvSังอ้ ,คeeeนTlมrสhRieไSงัeeทesคfยrRlมieใeeไนcsทfนtlยieoวใcนnนtsิยiนoาวonยนfsชยิ Tดุoาhบfยa้าTชiนhุดSไaบoรiา้ป่cSนiลeoไาtรcyย่ปieฝลitnันyายinฝนั ดSIรT.จINันGทรB์สดSAดุIรIT.าจINนัไGชทยรBป์สAรดุIะาเสไชรฐิยประเสรฐิ 177 6 ทภ6่ีแาพปภสลเะาปพทน็ ส้อภะนาทสษ้อังานคไสทมังแยคลมะแวลัฒะนวัฒธรนรธมรใรนมนใินทนานิทพานื้นพบนื้ ้าบนา้ขนอขงอชงนชเนผเ่าผน่า่านซา่ ีซี ดLIร.YจINันทGรXส์ ILAดุ INาYIไNชGยXปIรAะNเสรฐิ 188 The ทRีแ่ eปflลeเcปtน็ ioภnาษoาfไทsยociety and culture in Thai Version ดร.จันทร์สดุ า ไชยประเสรฐิ FolktTahleesRoefflCehctinioenseofNsaoxci iTertiybeand culture in Thai Version Folktales 7 ภาพสoะfทC้อhนinสeงั คseมไNทaยxใiนTนriวbนeิยายรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2546-2561 WEI WANLU 199 TN7hoeveภTRlhาesพefDlสeRuะcerทtifnil้อoegนnc2sสti0ังooค0nf3มsT-ไ2hทo0aยf1iใT8นShoนacวi iนeSิยtoyาcยiienรtาySงEวinAัลซSWไี EรrAตit์eWพAr.ศiwt.ea2Ar5dw4-6Wa-r2idn5-n6i1ng ดร.พัชรินทWรE์ บI Wรู ณAะNกLรU ดร.พัชรนิ ทร์ บรู ณะกร 8 กลวิธWีกiาnรnนinำgเสNนoอvแeนlsวคDิดuเrกinี่ยgวก20ับ0ธ3ร-ร2ม0ช1า8ติในวรรณกรรมเยาวชน HUANG HUIQUN 209 ของ ภาณมุ าศ ภมู ิถาวร ดร.จันทรส์ ุดา ไชยประเสริฐ The Presentation Techniques of Natural Concepts in Youth Literatures by Phanumat Bhumithavorn

ฌ การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ 11พหุวิทยาการแหง่ ภาษา วรรณกรรม และคติชนวทิ ยา วิถีไทย วถิ อี าเซยี น ครงั้ ที่ 1 ประจำ�ปี 2562 ท่ี ช่อื บทความ ผเู้ ขียน หน้า 9 การวิเคราะห์ เรื่อง มหาสติปัฏฐาน 4 จากงานเขียนทาง สรญั ญา โชติรตั น์ 219 พระพุทธศาสนา เรื่อง “ภาวนา เริ่มต้น ณ กม.0” เล่าเรื่องโดย ประมวล เพ็งจันทร์ 233 The Analysis of “Mahasatipatthana IV” From Buddhist 247 Writings “Bhavana begins at Kilometer 0 \" of Pramuan 261 Pengchan 269 10 ศึกษาเพลงฉ่อยจังหวัดนครสวรรค์คณะโกมินทร์ พูลเขตร์กิจ- ชชู าติ คุ้มขำ ทองใบ จินดา The Study of Choi Songs of Komin Pool Khetkhit Thongbai Jinda Band in Nakhon Sawan Province 11 นวนิยายทองเน้ือเก้า : การวเิ คราะห์ทิศท้ัง 6 ปนัดดา คำหยุย The Study of Thong Nuea Kao novel: The analysis of 6 พรธรี า เรอื งขจร directions เทพเทวิน บุญคุ้ม ธวชั ชยั ทบั ใหญ่ ดร.สมเกียรติ ตดิ ชยั 12 การศึกษาลักษณะของนางผีเสื้อสมุทรและนางจิ้งจอกเก้าหาง ผศ.ปทุมวดี ล้ำเลิศ ในวรรณคดีเอเชยี The Character Study of the Ocean Female Giant and the Nine Tail – Foxed in the Asian Literature 13 เร่ืองเล่าจระเข้กนิ คน : สตั ว์ฆาตกรในมมุ มองเชิงนิเวศ วชั รยี ์ อนิ ทะชิต The Narrative of a carnivorous Crocodile : An Assassin รศ.ดร.ธัญญา สงั ขพนั ธานนท์ Creature in an Ecological Perspective 14 อัตชีวประวัติในฐานะประวัติศาสตร์สังคมและการเมืองของไทย คณสั นันท์ นันตา 278 ยุคสมยั การเปลี่ยนแปลงการปกครอง : กรณีศกึ ษาเกดิ วงั ปารสุ ก์ รศ.ดร.ธัญญา สงั ขพันธานนท์ The Study of the Autobiography as Social and Political history of Thailand During the Regime Change: The Case Study in “Keard Wang Parusaka” Literature

12 พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวทิ ยา : วถิ ไี ทย วถิ ีอาเซียน ครัง้ ท่ี 1 ประจำ�ปี 2562ญ การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ที่ ช่อื บทความ ผเู้ ขียน หนา้ 15 ภาพลกั ษณโ์ จรในนิทานโบราณคดี สาธกิ า สนั ตสิ ทุ ธ์ิ 294 The Study of the Features of Bandits in Archeology รศ.ดร.ธญั ญา สังขพันธานนท์ 305 317 16 ความทรงจำในสารคดอี ตั ชีวประวตั ิ เร่อื ง “เกิดวังปารสุ ก์” รตั นาวดี ปาแปง The Memory in the Autobiography of “Keard Wang รศ.ดร.ธญั ญา สงั ขพนั ธานนท์ 337 Parusaka” Literature จันทรามาศ ชาญวิกรัย 359 รศ.ดร.ธัญญา สังขพันธานนท์ 374 17 การรับรปู้ ระสบการณ์ต่างแดนในพระราชหตั ถเลขาพระบาทสมเด็จฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่อง ไกลบ้าน ในฐานะวรรณกรรม การเดินทาง The Perception of an Oversea Experience Based on the Diary Titled “Kai Ban” of King Rama V as the Traveling Literature 18 อัตลกั ษณแ์ ม่หญิงในบันเทิงคดขี องนักเขยี นล้านนา ผศ.ดร.ลภัสรนิ ทร์ ฉตั รวังครี ี The Female Identities in the Fictions of Lanna Authors 19 เยี่ยหัว : การผจญภัยของวีรบุรุษในนวนิยายจีนแปล เรื่อง สามชาติ YANG WENXING สามภพ ป่าทอ้ สิบหล่ี ภาณวุ ัฒน์ สกุลสบื ทตั พิชา สกุลสบื 20 การประกอบสร้างอัตลักษณ์นักศึกษาและภาพแทนมหาวิทยาลัย ทัตพิชา สกลุ สืบ ราชภฏั ลำปาง จากบทเพลงของสถาบัน สริ ญิ ญา สขุ สวสั ดิ์ The Creation of Student Identities and the Representative ผศ.ชยั เนตร ชนกคณุ of Lampang Rajabhat University Based on the Institutional Songs

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ 359พหวุ ิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วถิ ไี ทย วถิ ีอาเซยี น ครงั้ ที่ 1 ประจ�ำ ปี 2562 เย่ยี หัว : การผจญภัยของวีรบรุ ษุ ในนวนยิ ายจีนแปล การประกอบสรา้ งอัตลเรกั อ่ื ษงณสน์ามักชศากึ ตษิ าสแาลมะภภพาพปแา่ ทนอ้ มสหบิ าหวลทิ ่ี ยาลัยราชภฏั ลำปาง YEHUA : The Hero’s jouจrาnกeบyทinเพaลงTขrอaงnสsถlaาtบeนัd Chinese Novel in Thai “SAMCHAT SAMPOP PATOSIPLI” The Creation of Student Identities and the Representative of Lampang RaYjaanbghWaetnUxinngi1v*eภrาsณitุวyฒั Bนa์ สsกeลุ dสืบo2nทัตthพeชิ าInสsกtลุ iสtuบื t3ional Songs 1* 2 3 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏลำปาง จงั หวดั ลำปาง บทคัดย่อ วบัตทถคุปวราะมสนงี้ คม์ขีวตัอถงบปุ ทระคสวงาคม์เนพี้เอ่ื ปศ็นึกไษปาเกพาื่อรวผิเจคญราภะยั หข์กอางรป“เรยะ่ยี กหอวั บ”สตร้าวั งลอะัตคลรเักอษกณจา์นกักนศวึกนษยิ าาแยลจะีนภแาปพล แเรทื่อนงมสหาามวชิทายตาิ ลสัายมรภาชพภปัฏ่าลทำ้อปสาิบงจหาลกี่ บโดทยเพใชล้ทงฤปษรฎะจีกำามรหเดาินวทิทายงาขลอัยงจวำีรนบวุรนุษ 1ข3องบคทริเสพโตลเงฟผอลรก์ โาวรกศเลึกอษรา์ พในบกวา่ารอวัติเคลักราษะณห์แ์ บท่งเคปว็นาม2นปี้ใชร้ะวิเธภีวทิจัยคเือกอสัตาลรักผษลณก์บารุคศคึกลษแาลพะบอวัต่าลเักยษี่ยณห์ทัวาผง่าสนังคกมารจผาจกญบภทัยเพ1ล1งแขสั้นดตงอใหน้ เจหา็นกอ1ัต2ลขัก้นัษตณอ์นักโศดึกยษข้นัารตาอชนภทัฏ่ปี ลรำาปกาฏงบว่อ่ายเปค็นรั้งผทู้ท่ีสี่เุดชื่อคฟอื ังกคาำรสทั่งดสสออนบขออยง่าองาสจาาหรัสยส์มาีคกวรารมจร์ แักลแะลกะาผรูกเกพิดันใกหับม่ มสว่หนาขวั้นิทตยอานลทัยีไ่ มต่ปลอราดกจฏนใคหอื ้คกวารมปเคฏาเิ สรธพเสเทยี ิดงเทรียูนกในสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่สำคัญ คือ นักศึกษาล้วน นพคำักาสกศำเึกพคษียัญารมท:ักี่จกจะาะเรรผเียด่อนินนใทคหาล้สงาขำยเอรดง็จ้ววอีรยันบกเรุานุษรื่อร;ง้อนมงวารนจำยิาทากำยคเจพวนี ลาแมงปคไลาปด;เทหเยี่ยว่ยี ังวหขหัวอร;งือสคปารลมอีกชบาตคตัวริสไัวปามหสภ่วาพนควอปาัต่ามทลสอ้ักงสษบบิณหด์ทล้าา่ีนงสสภังคามพพคบวาวม่า เป็นอยู่ นักศึกษามีความเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน รักใคร่สามัคคี อีกทั้งได้รับความอบอุ่น ความเมตตาจาก อาจารย์ ส่วนภาพแทนของมหาวิทยาลัยแสดงใหA้เbหs็นtrวa่าcสtถาบันมีความภาคภมู ิใจในศักด์ิศรีของความเป็น ราชภัฏ เพราะเป็นสถานศึกษาที่ผลิตบัณฑิตเพื่อพระราชา และประชาชน หลายบทเพลงสื่อถึง สปNภลoูกาvพฝeังlแใวหtTrด้นahลักnis้อศsมalึกarทษttีi่ราecเ่มdlปeรน็ iื่นnaคitmนคoดวeTีาdมมhีคtaหoณุ iล,ธsังtรtแiutรลlมdeะydบจtงร“hรรSกัeยaภาjmoกักuดาcrีตศhn่ออaeชันtyาเSตoปaิfี่ยศm\"มาYpสสeนoุขHาpรuแวPaลมa\"ะ,ถtพotึงhรsกeะiาpมรplหiเr”ปาo.ก็นtaษขTgัตุมhoรคenิยลi์sHังtทefrrาooงm'ปsัญJCoญhuาinrทneี่มesุ่eงy คwthำaeสsoำarคynญั ac:lryeอzaัตetลdeักdbษybณyu์; sCภihnาพrgisแttทhoeนp;hdเeoพrcลuVงmoปgรelะenจrtำawมryหasาmวuทิesยtehาdoลdยัasรoาltoชhภgeyฏั f.ลrTaำhmปeาeงrweosurkltisnsthhoiswsetdudthya. tThYee data the protagonist had wacecroemthpelissheevdertehteeasAtdibnvsgetnr(atthucetrees igfrhotmh 11 stages out of 12 stages . Hua, most popular stage stage) and the resurrection The (the eleventThhestaogbeje).cAtilvseo,oifttwhiassafrotiuclnedwthasattothaenastlyazge tohfehcarieliantgiornejoefctsitoundewnatsidneonttfitoieusndanind thies srteupdrye.sentative of Lampang Rajabhat University based on 13 songs of Lampang Rajabhat University. The Results found that the identities were divided into 2 types that fwKoeeuyrnewdopertdhrssao:tnSTLaahalmemidpHpeoeanprntoPigt'aystRoaJaosnjiuapdbrlinshoeacyti;aUtlrniadinvesenlratsittieytdy. AsCcthuciodnreedsnientsgnotoobveethlyeeindpTeahrnsaodi;nbYaeel lidHieeuvnaet;ditSyai,nmittchwheaaistr instructors’ teaching, had profound relationship with the University including playing respect and worship to the Royal Family Institution. Importantly, they had attempted to graduate following the expectation of their families. Based on the social identity, the

360 การประชมุ วิชาการระดับชาติ พหุวทิ ยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคตชิ นวิทยา : วิถีไทย วถิ ีอาเซยี น คร้ังที่ 1 ประจำ�ปี 2562 บทนำ เมื่อกล่าวถึงเร่ืองเล่าแนวผจญภัย (Adventure Narrative) แล้ว สิ่งที่ทำให้ผู้คนนึกถงึ เรื่องแนวน้ี ก็คือ ตัวละครเอกต้องฟันฝ่าอุปสรรคต่าง ๆ ด้วยความยากลำบาก ต้องผ่านการทดสอบครั้งแล้วครั้งเล่า กว่าจะพบความสำเร็จในตอนจบ และมีหลายครั้งที่ผู้อ่านจะต้องลุ้นกันถึงฉากสุดท้าย จนอาจกล่าวได้ว่า เสน่ห์ของเรื่องเล่าแนวผจญภัยก็คือ การได้ติดตามตัวละครเอกออกไปผจญภัยในเหตุการณ์หรือเรื่องราว ต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ ในเรอ่ื งนน่ั เอง ในปี พ.ศ.2552 ที่ผ่านมา ได้มีนวนิยายจีนแนวผจญภัยแฟนตาซีเรื่องหนึ่งชื่อ 三生三世十里桃花 (Sansheng sanshi shilitaohua) หรือที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในชื่อภาษาไทยว่า “สามชาติ สามภพ ป่าท้อสิบหลี่” แต่งโดยนักเขียนชาวจีนชื่อ Tang Qi Gong Zi (ถังชีกงจื่อ) ตีพิมพ์ครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์ เสิ่นหยาง (Shenyang) (豆瓣,2017) ต่อมาปี พ.ศ.2555 มีการปรับปรุงและจัดพิมพ์ใหม่โดยสำนักพิมพ์หู หนานวรรณกรรมและศิลปะ (豆瓣,2017) เนือ้ เรอ่ื งของสามชาติ สามภพ ปา่ ท้อสบิ หล่ี เล่าถงึ “ปา๋ ยเฉ่ียน” นางพญาจิ้งจอกของดินแดนชิงชิว (ดินแดนของเผ่าจิ้งจอกเก้าหาง) ที่สูญเสียความทรงจำเพราะอยากลืม เคราะห์กรรมจากความรักครั้งเก่า ต่อมาได้พบกับเยี่ยหัว รัชทายาทของเผ่าสวรรค์ในงานเลี้ยงของเทพ สมุทรบูรพา เยี่ยหัวจำได้ว่า ป๋ายเฉียน คือ ซู่ซู่ หรืออดีตภรรยาของเขาที่คิดว่าตายไปแล้ว แต่นางจำ เหตุการณ์นั้นไม่ได้ เพราะไดด้ ื่มยาทช่ี ว่ ยให้ลืมเรื่องทอ่ี ยากลืมจากเจ๋อเหยียนหรือเซียนหงสา ผู้เป็นเจ้าของ ป่าท้อสิบหลี่ เยี่ยหัวต้องฝ่าฟันอุปสรรคหลายอย่างเพื่อทำให้ป๋ายเฉี่ยนกลับมารับความรักจากเขาอีกคร้ัง หน่ึง แมห้ ลายคร้งั ต้องเกือบแลกมาดว้ ยชวี ติ ก็ตาม จากเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ท่ีเย่ยี หัวได้ไปผจญภยั เพอื่ เป็นการ พิสูจน์ตัวเองนี้ ทำให้นวนิยายเรื่อง 三生三世十里桃花 (Sansheng sanshi shilitaohua) ได้รับความนิยม เป็นอย่างมาก และกระแสความนิยมดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในประเทศจีนเท่านั้น ยังเกิดขึ้นใน ต่างประเทศอีกด้วย ดังปรากฏว่ามีการขอซื้อลิขสิทธิ์ไปแปลเป็นภาษาต่างประเทศอีกอย่างน้อย 3 ภาษา คือ ภาษาไทย (ตีพิมพ์ในปี พ.ศ.2555 ในชื่อสามชาติ สามภพ ป่าท้อสิบหลี่) ภาษาเวียดนาม (ตีพิมพ์ในปี พ.ศ.2556 ในชื่อ Once Upon a Time) และภาษาอังกฤษ (ตีพิมพ์ในปีพ.ศ.2559 ในชื่อ To the Sky Kingdom) ยิ่งไปกว่านี้คือยังมกี ารนำเน้ือเรื่องของนวนิยายดงั กล่าวไปสร้างสรรค์ในรปู แบบอื่น ๆ อีกด้วย เช่น พ.ศ.2558 ได้มีการนำไปเผยแพร่ในรูปแบบของภาพยนตร์ นำแสดงโดยนักแสดงที่มีชื่อเสียงของ ประเทศจีน คือ Liu Yifei และ Yang Yang ต่อมา พ.ศ.2559 ตพี ิมพ์ในรูปแบบวรรณกรรมประเภทการ์ตูน โดยนิตยสาร Yi Man ( ,豆瓣读书[引用日期 2016) และในปี พ.ศ.2560 มกี ารนำมาสร้างสรรค์ในรปู แบบละคร ชุดทางทีวีโดยบริษัท Shanghai Drama Culture Communication Co.,Ltd. ออกอากาศทาง สถานโี ทรทัศนเ์ จอ้ เจยี งทวี แี ละทวี ีตะวันออก เม่อื วนั ที่ 30 มกราคม ( ,江西网络广播电视台 2017) กลา่ วเฉพาะในประเทศไทย นวนยิ ายเรือ่ งนี้กไ็ ดร้ ับความสนใจท้ังในรูปแบบละครทีวชี ดุ และนิยาย เลม่ เชน่ เดียวกัน โดยฉบับแปลเปน็ ภาษาไทยท่ใี ชช้ อื่ วา่ “สามชาติ สามภพ ป่าท้อสิบหล”่ี มที งั้ สน้ิ 23 ตอน แบ่งพิมพ์เป็น 2 เล่ม ปัจจุบันตีพิมพ์เป็นครั้งที่ 5 จากประเด็นดังกล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะนำ เรื่องราวในนวนิยายจีนแปลเรื่องนี้มาศึกษาโดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับ “แบบแผนการเดินทางของวีรบุรุษ” (the hero’s journey model) ของคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์ (Christopher Vogler) มาใช้เป็นแนวทางใน การวิเคราะห์ สำหรับแบบแผนการเดินทางของวีรบุรุษนั้นประกอบด้วย 12 ขั้นตอน (Christopher Vogler อ้างถึงใน บารนี บุญทรง,2554, หน้า 128) ได้แก่ 1. โลกปกติ (Ordinary Word) 2.เสียงเรียก สู่การผจญภัย (Call to Adventure) 3. การปฏิเสธเสียงเรียก (Refusal of the call) 4. การได้พบกับ ผู้ให้คำปรึกษา (Meeting with the Mentor) 5.การข้ามธรณีประตูแรก (Crossing the First

การประชุมวชิ าการระดับชาติ 361พหุวิทยาเกยาย่ี รหแัวห่ง: ภกาษรผาจวญรรภณยั ขกอรรงวมีรแบลรุ ะษุ คในตนิชนวนวทิยายยาจวนี ิถแไี ปทลย เวรถิ ือ่ ีองาสเซายีมนชาคตริ ัง้สทาี่ม1ภปพรปะจ่าท�ำ ปอ้ ีส2ิบ5ห62ล่ี Threshold) 6. การทดสอบ พันธมิตร ศัตรู (Test, Allies, and Enemies) 7. การเข้าถึงถ้ำที่อยู่ลึกที่สดุ (Approach To The Inmost Cave) 8. การทดสอบอย่างสาหัสสากรรจ์ (The Ordeal) 9.รางวัล (Reward) 10.การเดินทางกลับ (The Road Back) 11. การเกิดใหม่ (The Resurrection) 12.การ กลับมาพร้อมกับน้ำอมฤต (Return with the Elixir) ผู้วิจัยมีความคาดหวังว่าวิธีการศึกษาในครั้งนี้จะ สามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการวิเคราะห์นวนยิ ายจีนแปลให้มีความหลากหลายมากย่งิ ข้นึ และผลการศึกษา เปน็ สว่ นหนงึ่ ทท่ี ำใหเ้ กดิ ความเข้าใจถงึ ปรากฏการณค์ วามนยิ มของนวนิยายเรื่องนใี้ นท่ีสุด วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อวิเคราะห์ การผจญภัยของ “เยี่ยหัว” ตัวละครเอกจากนวนิยายจีนแปล เรื่อง สามชาติ สามภพป่าท้อสิบหลี่ ตามแนวคิดเกี่ยวกับ “แบบแผนการเดินทางของวีรบุรุษ” (the hero’s journey model) ของคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์ (Christopher Vogler) ขอบเขต ขอบเขตด้านเนื้อหา ผู้วิจัยจะศึกษาจากนวนิยายจีนแปลเรื่อง “สามชาติ สามภพ ป่าท้อสิบหลี่” เล่มที่ 1 และ 2 ฉบับพิมพค์ รง้ั ท่ี 5 จดั พิมพ์โดยสำนกั พมิ พ์สรุ ยี พ์ ร แปลโดยหลินโหม่ว กรอบแนวคดิ การวิเคราะห์การผจญภัยของ “เย่ียหัว” ตัวละครเอกในนวนิยายจีนแปล เรื่อง สามชาติสามภพ ป่าท้อสบิ หลี่ ในครัง้ นี ้จะใช้แบบแผนการเดนิ ทางของวรี บรุ ุษของคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์ ดงั แผนภาพตอ่ ไปนี ้ 1. โลกปกติ 2. เสยี งเรยี กสกู่ าร 12. กลบั มาพรอ้ มกบั น้าอมฤต ผจญภยั 3. การปฏเิ สธเสยี งเรยี ก 11. การเกดิ ใหม่ 4. การไดพ้ บกบั ผใู้ ห้ 10. การเดนิ ทาง กลบั คาปรกึ ษา 5. การขา้ มธรณปี ระตูแรก 9. รางวลั 6. การทดสอบ พนั ธมติ ร ศตั รู 8. การทดสอบอยา่ งสาหสั สากรรจ์ 7. การเขา้ ถงึ ถ้าทอ่ี ยู่ ลกึ ทส่ี ดุ ภาพที่ 1 แสดงแบบแผนการเดินทางของวรี บรุ ุษ (Vogler’s Hero’s journey Model) (ปรบั ปรุงจาก Voytilla, 1999 อ้างถึงใน ศรัณภัทร์ บญุ ฮก, 2558, หน้า 158) วิธีดำเนนิ การวิจยั

362 การประชมุ วชิ าการระดับชาติ พหุวทิ ยาการแหง่ ภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา : วิถีไทย วิถีอาเซียน ครงั้ ที่ 1 ประจ�ำ ปี 2562 วธิ ีดำเนินการวจิ ยั การศึกษาครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเอกสาร (documentary methodology) เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ มวี ธิ ดี ำเนนิ การศกึ ษาตามขัน้ ตอนดงั น้ี 1. ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้แนวคิดการเดินทางของวีรบุรุษในวรรณกรรมและ ภาพยนตร์ 2. ศึกษาแบบแผนการเดินทางของวีรบรุ ษุ ทัง้ 12 ข้นั ตอน ตามแนวคดิ ของคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์ 3. ศกึ ษาการผจญภัยของตัวละครทชี่ ่อื เย่ียหวั จากนวนยิ ายจนี แปลเรือ่ ง สามชาติ สามภพ ป่าท้อสบิ หล่ี ท้ัง 23 ตอน 4. วิเคราะห์การผจญภัยของ “เยี่ยหัว” ตามแบบแผนการเดินทางของวีรบรุษตามแนวคิดของ คริสโตเฟอร์ โวกเลอร์ ทง้ั 12 ขน้ั ตอน 5. สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลและอภปิ รายผลการศกึ ษาดว้ ยวธิ กี ารพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวจิ ยั จากการศึกษาการผจญภัยของ “เยี่ยหัว” ตวั ละครเอกจากนวนิยายจีนแปลเร่ืองสามชาติ สามภพ ป่าท้อสิบหลี่ โดยใช้แนวคิดเรื่องการเดินทางของวีรบุรุษ ของคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์ มาใช้ในการวิเคราะห์ ผลการศกึ ษาพบว่า เย่ยี หวั ผา่ นการผจญภัยท้ังสิ้น 11 ขั้นตอน จาก 12 ขัน้ ตอน ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี ตารางที่ 1 แสดงขัน้ ตอนการผจญภยั ของ “เยี่ยหัว” ขน้ั ตอนในทฤษฎี ข้ันตอนการเดนิ ทางออกไปผจญภัยของเยีย่ หวั ปรากฏ ไม่ปรากฏ การเดนิ ทางของวีรบุรษุ 1. โลกปกติ - เยี่ยหัวเกิดเป็นเทพเซียนบนสวรรค์เก้าชั้นฟ้า √ (Ordinary Word) เขาได้รับตำแหน่งรัชทายาทของเผ่าสวรรค์ ตัง้ แต่วันที่เกิด 2. เสียงเรียกสู่ - เทียนจวินสัง่ ใหเ้ ขาไปปราบจินหนีที่โลกมนษุ ย์ √ การผจญภัย - เทยี นจนิ ลงโทษเขาให้ไปเกิดเป็นมนษุ ย์ (Call to Adventure) - ป๋ายเฉี่ยนบอกเขาว่าจะไปหาหญ้าเสินจื่อ เขา จ ึ ง เ ด ิ น ท า ง ไ ป ท ี ่ อ ิ ง โ จ ว เ พ ื ่ อ ไ ป น ำ ห ญ ้ า เ สิ น จ่ือแทน 3. การปฏิเสธเสียงเรียก - เยี่ยหัวไม่เคยฏิเสธที่จะออกเดินทางไปพบกับ √ (Refusal of the call) อนั ตรายใด ๆ

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ 363พหวุ ิทยาเกยา่ียรหแัวหง่: ภกาษรผาจวญรรภณยั ขกอรรงวมีรแบลรุ ะุษคในตนิชนวนวทิยายยาจวีนถิ แีไปทลย เวริถือ่ ีองาสเซาียมนชาคตริ ้งัสทา่ีม1ภปพรปะจ่าทำ�ป้อีส2ิบ5ห62ลี่ ขน้ั ตอนในทฤษฎี ข้ันตอนการเดนิ ทางออกไปผจญภยั ของเยี่ยหวั ปรากฏ ไมป่ รากฏ การเดนิ ทางของวรี บรุ ุษ 4. การไดพ้ บกบั ผใู้ ห้ - เยี่ยหัวไปขอคำแนะนำวิธีการทำให้ซู่ซู่ตกหลุม √ คำปรึกษา (Meeting รักเขาจากเหลยี่ นซ่ง with the Mentor) 5. การข้ามธรณี - เยี่ยหัวตัดสินใจที่จะเลือกทางเดินของตนเองคือ √ ประตแู รก อยกู่ บั ซซู่ บู่ นโลกมนุษย์ (Crossing the First Threshold) 6. การทดสอบ พนั ธมิตร - เยี่ยหัวได้ทราบว่านอกจากเขาแล้วยังมีเซียน √ ศัตรู (Test, Allies, อืน่ ๆ เช่น ป้ฟี ังที่ตกหลุมรักปา๋ ยเฉยี่ นเหมือนเขา and Enemies) 7. การเข้าถึงถ้ำที่อยู่ลึก - เยี่ยหัวไปอิงโจวเพื่อเอาหญ้าเสินจื่อไปปรุงเป็น √ ทสี่ ุด ยาที่เขาคุนหลุนซวี หลังจากนั้นมอบให้เจ๋อ (Approach to เยวียนนำไปมอบใหป้ า๋ ยเฉ่ียน The Inmost Cave) 8. การทดสอบอยา่ ง - เยี่ยหัวต่อสู้กับสัตว์เทวะของเทพบิดรทั้ง 4 ตัว √ สาหสั สากรรจ์ จนเสียแขนไปหนง่ึ ขา้ ง - เยี่ยหัวปรุงยาตานโดยใช้พลังปราณเซียนห้า (The Ordeal) หม่นื ปใี นการปรงุ ยาใหส้ ำเร็จ - เยี่ยหัวสู้กับราชาอสูรฉิงชางจนต้องสังเวยดวง จติ ทงั้ หมดเพอ่ื หยดุ ระฆังจักรพรรดิบรู พา 9. รางวลั - เยย่ี หวั ได้รบั ความรักจากป๋ายเฉีย่ น √ (Reward) 10. การเดนิ ทางกลบั - เยี่ยหัวไม่อยากกลับสวรรค์เก้าชั้นฟ้าแต่ √ (The Road Back) เทียนจวินให้ทหารเทพไปจับตัวซู่ซู่ขึ้นมาอยู่บน วังสวรรค์ เขาจึงต้องกลับตำหนกั ในทสี่ ดุ 11. การเกิดใหม่ - ดวงวญิ ญาณของเยย่ี หวั มาเกิดใหมเ่ ป็น √ (The Resurrection) เทพเซียนของเผ่าสวรรค์ - เยย่ี หัวไปเกิดเปน็ มนุษยเ์ พื่อชดใช้ความผดิ - เยี่ยหัวฟื้นจากความตายหลังจากสังเวยดวงจิต ใหก้ ับระฆงั จกั รพรรดิบรู พาไป 3 ปี 12. การกลับมาพร้อม - สวรรค์เก้าชั้นฟ้าต่างมีความสุขเมื่อรู้ว่าเยี่ยหัว √ กับน้ำอมฤต กลับมาจากความตาย เยี่ยหัวและป๋ายเฉี่ยน (Return with the Elixir) ได้กลบั มารักกนั ในที่สดุ

364 การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ พหวุ ทิ ยาการแหง่ ภาษา วรรณกรรม และคตชิ นวทิ ยา : วิถไี ทย วถิ ีอาเซยี น ครง้ั ท่ี 1 ประจำ�ปี 2562 ข้ันตอนที่ 1 โลกปกติ (Ordinary Word) ในโลกปกติจะเป็นการนำเสนอภาพชีวิตของวีรบุรุษก่อนที่จะเดินทางสู่การผจญภัย โดยโลกปกติ ของเยี่ยหัวนั้น เป็นโลกของเหล่าเซียน ความพิเศษหลายๆประการที่เกิดขึ้นกับเยี่ยหัวจึงเปน็ เรื่องธรรมดา สามัญท่ีสามารถเกิดข้นึ ได้ ด้วยเพราะโลกท่ีเขาถือกำเนดิ และพำนักอยูน่ ั้น ตา่ งก็เตม็ ไปด้วยเหล่าเทพเซียน ทมี่ ฤี ทธานุภาพเชน่ เดียวกนั ตวั อยา่ งเชน่ ในตอนท่ีเยย่ี หัวถือกำเนิดก็ได้มีปรากฏการณ์พิเศษบางอย่างเพื่อ บอกใหร้ ู้วา่ เขาจะได้เปน็ เทพเซยี นผู้ปกครองสวรรคใ์ นลำดับต่อไป แต่ปรากฏการณพ์ เิ ศษเชน่ นี้กเ็ คยเกิดขึ้น กอ่ นหน้านแ้ี ลว้ ในคราวที่ทา่ นอาของเขาได้กำเนดิ ข้ึน ดงั ขอ้ ความในเลม่ ท่ี 1 ว่า “ครั้นเขาพ้นจากครรภ์ สามสิบหกสวรรค์ได้แสงสีทองโดยพร้อมเพียงใน พริบตา วิหคเบญจรงค์เจ็ดสิบสองตัวจากเขาหมิงเฮ่อจวิ้นจี๋แห่งแดนบูรพาได้พุ่ง ทะยานขึ้นสู่สวรรค์เก้าชั้นฟ้า โผบินเวียนรอบตำหนักบรรทมที่เหนียงชิงของเขา พำนักเป็นเวลาเก้าเก้าแปดสิบเอ็ดวัน ครั้งก่อนที่ปรากฏเหตุการณ์เช่นนี้ คือตอนท่ี ท่านอารองของเขาซางจี๋ถือกำเนิด ครั้งนั้นวิหคเบญจรงค์โผบินเวียนรอบตำหนัก บรรทมของไท่จื่อเฝยเหนียงเหนี่ยง ก็แค่สี่เก้าสามสิบหกตัวเท่านั้น เที่ยนจวินปิติ ยินดีจนน้ำตาผู้เฒ่าไหลพราก ประสานมือน้อยคารวะสู่เบื้องบูรพาทิศและเอ่ยต่อ หน้าปวงขุนนางอำมาตย์ในตำหนักหลิงเซยี ววา่ ช่างเป็นบุญอย่างลน้ พน้ ในทีส่ ดุ เผ่า สวรรค์ของข้าก็ไดร้ ัชทายาทมาอีกครั้งแล้ว รชั ทายาทผู้ถูกสวรรค์เบ้ืองบนเลือกสรร กำหนดมัน่ ...รชั ทายาทผู้ถูกสวรรค์เบื้องบนเลือกสรรกำหนดม่ัน ได้มีชีวิตตามความ ต้ังใจของเทยี นจวนิ ไม่เคยทำใหเ้ ทยี นจวินผิดหวงั และหา้ มทำใหเ้ ทียนจวินผิดหวัง” (ถงั ชีกงจือ่ , 2555, หน้า 326-327) จากการที่ถูกกำหนดให้เป็นรัชทายาทของเผ่าสวรรค์นี่เอง เยี่ยหัวจึงต้องหมั่นเรียนรู้ธรรมและ ฝึกปรือพลังฝีมือของตนเองอยู่เสมอ เพื่อจะไม่ทำให้เทียนจวินซึ่งมีศักดิ์เป็นปู่และเป็นเจ้าสวรรค์องค์ ปจั จุบนั ตอ้ งผดิ หวัง ชวี ติ ประจำวันของเยย่ี หัวต้งั แต่ยังเป็นเซียนเด็กจนกระท่ังเตบิ ใหญจ่ งึ มีเพียงการฝึกฝน เล่าเรียนและเพิ่มพลังฝึกปรือเพื่อให้ปราณเซียนของตนเองเพิ่มพูนขึ้นจนสามารถรับอัสนีสวรรค์สามสาย เพือ่ เปน็ การผ่านดา่ นสวรรคใ์ ห้สงู ขน้ึ เร่อื ย ๆ เท่านนั้ ขนั้ ตอนท่ี 2 เสยี งเรียกสกู่ ารผจญภยั (Call to Adventure) เสียงเรียกสู่การผจญภัยเป็นขั้นตอนที่วีรบุรุษจะได้รับคำสั่ง การร้องขอ หรืออาจเป็นการได้รับ สัญญาณบางอยา่ งใหอ้ อกจากโลกปกติอนั เปน็ สถานท่ีทต่ี นค้นุ เคย ในข้ันตอนนพ้ี บวา่ เย่ียหวั ไดร้ ับเสยี งเรียก สูก่ ารผจญภัยถึง 3 คร้งั โดยคร้งั ท่ี 1 และครงั้ ที่ 3 เขาได้รบั คำส่งั จากเทียนจวินให้ไปปฏิบัติภารกิจบนโลก มนุษย์ โดยครั้งแรกเป็นการลงไปปราบสัตว์ร้ายชื่อจินหนีที่มีพลังเทียบเท่ากับสัตว์เทวะของเทพบิดร และ ครั้งที่สาม เป็นการลงไปรับเคราะห์กรรมเนื่องจากเยี่ยหัวได้พลั้งมือฆ่าสัตว์เทวะของเทพบิดรและทำลาย หญ้าเสนิ จือจนหมด (หญ้าวิเศษท่ีสามารถเพิ่มพูนพลงั เซยี นได้โดยไม่ต้องผ่านด่านทดสอบใดๆ จากสวรรค์) ส่วนคร้ังที่สอง เกิดจากการได้พูดคุยกับป๋ายเฉี่ยน (เทพเซียนหญิงของเผ่าจิ้งจอกเก้าหางที่เยี่ยหัวหลงรัก ต้ังแตค่ รัง้ ทน่ี างถูกกักพลงั ปราณเซียนไว้จนหมดแลว้ หลงไปอยูบ่ นโลกมนษุ ย์โดยใช้ชอื่ วา่ “ซู่ซ”ู่ ) แลว้ พบว่า

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ 365พหุวิทยาเกยาี่ยรหแัวห:ง่ ภกาษรผาจวญรรภณัยขกอรงรวมรี แบลุรษุะคในตนชิ วนนวิยทายยาจวีนถิ แไี ปทลย เวริถ่ืออี งาสเซายีมนชาคตริ ้ังสทาี่ม1ภปพรปะจา่ ท�ำ ป้อีส2ิบ5ห6ล2ี่ นางตัดสนิ ใจจะไปคน้ หาหญา้ เสินจ่ือ เพือ่ นำมารักษาอาจารย์ของนางให้ฟื้นคืนอีกครงั้ ดังขอ้ ความในเล่มท่ี 2 วา่ “...ข้าไม่เพียงรู้ว่าคนผู้นั้นกลับมาแล้ว ยังรู้ด้วยว่าเพื่อให้เขาฟื้นตื่นในเร็ววัน เจ้าจะต้องไปขอยมื ตะเกยี งประสานวิญญาณที่ตำหนกั สวรรค”์ เว้นช่วงไป…เอ่ยตอ่ วา่ “ขอยืมตะเกยี งประสานวิญญาณได้แล้ว เจ้ายงั เตรยี มจะทำอะไรอีก?” ดูท่าทาง ทง้ั เรือ่ งท่สี มควรบอกและไม่สมควรบอก เจ๋อเหยียนล้วนบอกเขาไปหมดแลว้ ขา้ เอา มือยันหนา้ ผากถอนใจเฮือก กลา่ วว่า “ไปองิ โจวเอาหญา้ เสนิ จือ ถา่ ยพลังฝึกปรือให้ ท่านเจ็ดหมื่นปี ให้ท่านฟื้นตื่นเร็วขึ้น” เยี่ยหัวหันหน้ากลับมาทันควัน ดวงตาดำ สนทิ คู่นนั้ ถกู ใบหน้าซีดขาวขับเน้นจนย่งิ ดำสนิท จ้องมองขา้ อยอู่ ดึ ใจใหญ่ เอ่ยเน้นที ละคำว่า “เจ้าบา้ ไปแลว้ ” (ถงั ชีกงจอ่ื , 2555, หนา้ 122-123) สำหรับการได้รับเสียงเรียกในครั้งที่สองนี้ แม้เยี่ยหัวจะไม่ได้รับการร้องขอจ ากป๋ายเฉี่ยน ให้ออกไปต่อสู้กับสัตว์เทวะทั้ง 4 ของเทพบิดรที่เฝ้าหญ้าเสินจืออยู่ แต่เพราะเขารู้ว่าหากปล่อยให้นางไป นางคงต้องบาดเจ็บกลับมาหรืออาจต้องแลกด้วยชีวิตก็เป็นได้ ทั้งนี้เพราะป๋ายเฉี่ยนเป็นผู้ที่เคารพและ กตัญญูต่ออาจารย์ของนางเป็นอย่างมาก กระทั่งยอมกรีดเลือดจากหัวใจของนางมาใช้หล่อเลี้ยงร่า งของ อาจารย์เพอ่ื ไมใ่ ห้ดับสญู ไปนางก็เคยกระทำมาแลว้ ในอดตี ข้ันตอนที่ 3 การปฏเิ สธเสยี งเรียก (Refusal of the call) ในบางครั้งวีรบุรุษก็เลือกที่จะปฏิเสธเสียงเรียก ทั้งนี้อาจมีสาเหตุมาจากความกลัวหรือความไม่ มั่นใจ บางกรณีแม้วีรบุรุษจะไม่ปฏิเสธเสียงเรียกด้วยตนเองแต่หากมีเหตุให้การเดินทางนั้นต้องเลื่อน ออกไป ก็ถือว่าอยู่ในขั้นตอนนี้เช่นเดียวกัน จากการศึกษาการผจญภัยของเยี่ยหัว พบว่าเขาไม่เคยปฏิเสธ เสียงเรียกที่จะทำให้ออกไปผจญภัย ฉะนั้น สำหรับตัวละครเยี่ยหัวที่ศึกษาในคร้ังนี้ จึงไม่ปรากฏขั้นตอน การปฏิเสธเสียงเรยี ก ขนั้ ตอนที่ 4 การได้พบกับผู้ให้คำปรึกษา (Meeting with the Mentor) เมื่อวีรบุรุษเดินทางออกไปผจญภัยในสถานที่ที่ตนไม่คุ้นเคยดังเช่นโลกปกติ จะทำให้ได้พบ กับประสบการณ์บางอยา่ งท่ีตนเกิดความไม่มั่นใจหรือไม่สามารถจดั การกับเหตกุ ารณน์ ้ันใหผ้ ่านไปได้ การ ได้พบกับผู้ให้คำปรึกษาหรือได้คำแนะนำจากผู้มีประสบการณ์จึงเป็นขั้นตอนหนึ่งที่จะช่วยให้วีรบุรุษ สามารถกา้ วผา่ นความยงุ่ ยากท่ีเกิดขึ้นระหว่างเดินทางออกไปได้ อยา่ งไรก็ดี ในบางครงั้ ผ้ใู ห้คำปรึกษาอาจ ปรากฏออกมาในรูปของวัตถุ เช่น แผนที่ สมุดบันทึก ฯลฯ ด้วยก็ได้ สำหรับขั้นตอนน้ีพบวา่ เกิดขึ้นกับเยีย่ หัวเพยี งครัง้ เดียว นนั่ คือตอนท่เี ขาได้พบกบั หญิงสาวชาวโลกท่มี ีชื่อว่าซู่ซู่ แลว้ เกดิ ตกหลุมรักนางเป็นอย่าง มาก แต่เพราะเยี่ยหัวไม่เคยรู้จักกับความรักมาก่อน เขาจึงไม่รู้ว่าต้องทำอย่างไรนางจึงจะสนใจและหนั มา ชอบเขา เยี่ยหัวจงึ ต้องกลับไปท่ีสวรรค์เก้าชัน้ ฟ้า เพื่อขอคำปรึกษาจากท่านอาของเขานั่นเอง ดังข้อความ ในเลม่ ที่ 1 ว่า

366 การประชุมวิชาการระดับชาติ พหวุ ทิ ยาการแหง่ ภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา : วถิ ไี ทย วิถีอาเซยี น ครั้งที่ 1 ประจ�ำ ปี 2562 “บนสวรรค์เกา้ ชัน้ ฟา้ ผู้ปรุโปรง่ ในคำวา่ “รกั ” มากท่ีสดุ คือทา่ นอาสามของเขา เหลียนซ่ง เทียนจวินรัชกาลนี้เมื่อสมัยยังหนุ่มเจ้าชู้อย่างมาก แต่ความเจ้าชู้ของ เหลียนซ่งกลับหนักข้อกว่าเหล่าจือของเขา เป็นคุณชายบุปผาขึ้นชื่อติดอันดับใน บรรดาเผ่าเทพแห่งบรรพกาล คุณชายบุปผากล่าวว่า“หญิงมนุษย์ข้าไม่เคยแตะต้อง มาก่อนแต่มีประโยคหนึ่งกล่าวไดด้ ี แม่เล้าชอบเงิน สาวๆชอบงาม ขอเพียงเป็นนารี วัยกำดัด ก็ไม่มีนางใดไม่ชมชอบชายหนุ่มรูปงาม เจ้าไปยืนตรงหน้านาง ยิ้มให้นาง หน่ึงครัง้ รับรองว่านางต้องอ่อนระทวยแน่นอน”...“แผนชายงามเจ้าดูแคลน แผน วีรบุรุษเจ้าก็สงสารนางกลัวจะทาให้นางเสียขวัญ เช่นนัน้ มิสู้กลับข้างกัน ใช้แผน ทรมานสงั ขารเจ้าแทงใสต่ วั เองไปสองมีด ไปนอนท่ีหน้าประตบู ้านนาง นางไม่อาจเหน็ คนเป็นๆ ทงั้ คนนอนตายอยู่หน้าประตบู ้านได้ ย่อมต้องฝืนกาลงั ช่วยชีวิตเจ้าไว้ เช่นนี ้ เพ่ือตอบแทนนางหลงั จากบาดแผลหายดีแล้วเจ้าก็รัง้ อย่ตู ่อขอเป็นข้าชว่ งใช้เกาะเกี่ยว พัวพนั นางไว้ นางจะอย่างไรเจ้าได้?” ถ้วยชาวางลงบนโต๊ะดัง“กึก” เขาเห็นว่าแผนนี ้ ดียง่ิ … (ถงั ชกี งจ่ือ, 2555, หน้า 303-304) ขนั้ ตอนที่ 5 การขา้ มธรณีประตูแรก (Crossing the First Threshold) หลังจากทไ่ี ด้พบกับผู้แนะนำแลว้ วีรบรุ ษุ ย่อมเกิดความมั่นใจหรือมีความมงุ่ มั่นที่จะเอาชนะความ กลัวและตัดสินใจออกเดินทางในที่สุด ในขั้นตอนนี้บางครั้งวีรบุรุษอาจถูกผลักดันจากเหตุการณ์บางอย่าง ด้วยก็ได้ เชน่ การถกู ไลล่ า่ หรือบุคคลใกลช้ ดิ ถูกลักพาตวั ฯลฯ ซึง่ ส่งผลให้วรี บุรุษตดั สินใจท่จี ะเดินทางเข้า สโู่ ลกพเิ ศษ (special world) สำหรบั ขน้ั ตอนน้ขี องเย่ยี หัว เปน็ เหตกุ ารณท์ ี่เกิดขึ้นหลังจากท่เี ขาได้ตดั สินใจ ที่จะใช้ชีวิตคู่อยู่กับป๋ายเฉี่ยนบนโลกมนุษย์ เขาได้วางแผนให้ตัวเองตายแล้วค่อยย้ายมาอยู่กับป๋ายเฉียน อย่างถาวร และในระหว่างทีไ่ ด้อยูก่ ินกบั ปา๋ ยเฉียนจนกระทั่งนางตัง้ ครรภ์นั้น เยี่ยหัวได้สร้างปราการเซียน ห่อหุ้มเขาจวิน้ จี๋ซึ่งเป็นที่ตั้งของกระท่อมของซูซ่ ู่ไว้ เพื่อให้ทั้งสวรรค์ไม่อาจมองเห็นวา่ เขาอยู่ที่นัน่ และเพ่อื ป้องกันไม่ให้ใครเข้ามาทำร้ายหญิงที่ตนเองรักได้ แต่เพราะไม่ทราบว่าแท้ที่จริงแล้วซู่ซู่คือเทพเซียนป๋าย เฉยี่ นท่ีถกู กักพลังปราณไว้ กลบั เป็นตวั ของนางเองท่ีเดนิ ฝ่าออกมาจากปราการเซียนและทำให้เทียนจวินรู้ วา่ เกดิ อะไรขึ้น ดังข้อความในเล่มที่ 1 วา่ แต่ว่า...เพื่อมนุษย์แบบนั้นคนเดียว เจ้าจะทิ้งตำแหน่งเทียนจวินที่เพียงยื่นมือก็ ไดม้ าไปจรงิ ๆหรือ? อมื ...พวกเขาแดนมนุษยเ์ รียกสงิ่ นว้ี า่ อะไรนะ? ออ้ ...ไม่รกั แผน่ ดิน รักหญิงงาม มิใช่สิ่งที่กษัตริย์ผู้ทรงธรรมพึงกระทำ”เขาเพียงหมุนถ้วยชาด้วยสีหน้า เหมือนจะยมิ้ “ข้าไม่ไดม้ คี วามรกั ให้แก่ปวงสรรพส่งิ ในสามพันมหาสหสั ภพแต่สักนิด ฝืนใจขึ้นนั่งตำแหน่งนั้นไปก็เป็นกษัตริย์ผู้ทรงธรรมอะไรนั่นไม่ได้อยู่ดี จึงมิสู้ทำให้ ตำแหน่งว่างลงแต่เนิ่นๆ เปิดทางให้แก่ผูม้ คี ณุ ธรรม ตอนนั้นซางจีถ้ กู เนรเทศ ปีทีส่ าม ก็ได้ข้ามาแล้ว ข้าดับสูญเป็นเถ้าธุลีครั้งนี้ ไม่แน่ว่าไม่ต้องถึงสามปี เทียนจวินก็ สามารถหาผู้สืบทอดที่ดียิ่งกว่าพบอีกครั้งก็เป็นได้”…เพียงแต่เขาพันคิดหมื่นคาด

การประชุมวชิ าการระดับชาติ 367พหุวทิ ยาเกยา่ียรหแัวหง่: ภกาษรผาจวญรรภณยั ขกอรรงวมีรแบลรุ ะุษคในตนชิ นวนวิทยายยาจวีนิถแีไปทลย เวริถ่ือีองาสเซายีมนชาคตริ ง้ัสทาี่ม1ภปพรปะจา่ ท�ำ ป้อีส2ิบ5ห62ลี่ มิได้คาดไปถึงว่าในช่วงเวลาหัวเลี้ยวหัวต่อเชน่ น้ี ซู่ซู่กลับฝ่าออกจากปราการเซียนท่ี เขากางไว้บนเขาจวิ้นจี๋ ถูกทางตำหนักสวรรค์พบเห็นเข้าในปราดเดียว ละครฉากนี้ ของเขาหมดหนทางแสดงต่อได้อีก วันที่ถูกหามกลับตำหนักสวรรค์ ทะเลทักษิณที่ แล้งมานานได้มีฝนตกลงมาห่าแรก เขาอยู่มาจนโตป่านนี้ ไม่เคยรู้มาก่อนว่าคำว่า “นึกเสยี ใจ” (ถงั ชีกงจอ่ื , 2555, หน้า 310-311) ขนั้ ตอนท่ี 6 การทดสอบ พนั ธมติ ร ศตั รู (Test, Allies, and Enemies) เม่ือเดินทางเข้าสโู่ ลกพิเศษแล้วนอกจากจะได้เรียนรู้กฎใหม่ๆแลว้ วรี บรุ ุษจะได้พบกับการทดสอบ และการเผชิญหน้ากับพันธมิตรและศัตรู ในขั้นตอนนี้ วีรบุรุษจะได้เรียนรู้ว่าใครสามารถไว้ใจได้ ใครคือ พันธมิตรหรอื ศัตรคู ู่แข่งซึ่งอาจจะเป็นมิตรจอมปลอมท่ีจะเปิดเผยตนเองในตอนท้าย และจะต้องเตรยี มตัว สำหรับการทดสอบครงั้ ใหญท่ จ่ี ะมาถึง สำหรบั เย่ียหวั ไดพ้ บขนั้ ตอนนี้ในตอนทีเ่ ขาเดินทางไปท่ีชิงชิวซ่ึงเป็น ดินแดนของเทพเซียนเผ่าจิ้งจอกเก้าหางซึ่งมีป๋ายเฉี่ยนเป็นผู้ปกครอง เขาได้เรียนรู้การใช้ชีวิตของเผ่า จิ้งจอกและได้รู้ว่าเขามีคู่แข่งนั่นคือ เซียนเผ่าวิหคที่มาสารภาพรักป๋ายเฉี่ยน ต่อหน้าเขา ผู้เป็นคู่หมั้นเลย ทเี ดยี ว ดังขอ้ ความในเล่มที่ 1 ว่า ปฟ้ี ังนงั่ เข้ามาใกล้ข้าอีกหนึง่ ฉือ เอ่ยเสียงนุ่มว่า“เจ้าแค่บอกมาว่าเจ้ายินดีอยู่กับ ข้าหรือไม่?” ต่อหน้าเยี่ยหัว...เขาทำเช่นนี้ก็ออกจะกล้าหาญชาญชัยเกินไปบ้างโดย แท้ ข้ากล่าวอย่างกระดากกระเดื่อง“เจ้าก็ทราบดีว่าข้าให้ความสำคัญต่อมารยาท ธรรมเนียมอย่างยิ่ง ในเมื่อเผ่าสวรรค์ได้กำหนดหมั้นหมายตัวข้าไว้ ข้าย่อมไม่มีทาง เป็นฝ่ายก่อเรอื่ งทำส่ิงใดให้ท้ังชงิ ชิวและสวรรคเ์ ก้าช้นั ฟ้าตา่ งกระอักกระอว่ นเด็ดขาด หัวใจน้ีของเจ้าข้าจะขอรับไว้ และรู้สึกขอบคุณอย่างยิ่ง กระนั้นเราสองคนมีบุญไร้ วาสนาต่อกันจริงๆ อื่น ๆ จะไม่ขอเอ่ยอีกความรู้สึกที่เจ้ามีต่อข้านี้ หากยังคงดับมัน ไมล่ งกจ็ งซ่อนมันไวต้ ่อไปเถิด จะอย่างไรข้าก็ทราบความรสู้ ึกน้ีของเจ้าแลว้ เนิ่นนาน เพยี งใดกจ็ ะไม่ลืมเลือน” (ถังชกี งจ่อื , 2555, หน้า 314) ข้ันตอนที่ 7 การเข้าถงึ ถ้ำทอ่ี ยู่ลึกทีส่ ุด (Approach to the inmost Cave) การผจญภัยจะผลักดันให้วีรบุรุษต้องเดินทางไปยังพื้นที่น่ากลัวที่สุดเหมือนกับการเข้าไปในถ้ำ ที่ลึกที่สุดและได้พบกับอันตรายที่ร้ายแรง ฉะนั้นจึงต้องมีการเตรียมการบางอย่างก่อนไว้ก่อน สำหรับ เยี่ยหัวในขั้นตอนนี้ ปรากฏขึ้นในตอนที่เขารู้ว่าป๋ายเฉี่ยนย่อมต้องทำทุกวิถีทางเพื่อให้อาจารย์ของตน คือ ม่อเยวียนเทพแห่งสงครามได้ฟื้นตื่นขึ้น เขาจึงคิดแผนการตั้งแต่ไปหาหญ้าเสินจื่อ การปรุงยาตาน (ยาวิเศษที่ช่วยให้ฟื้นคืนชีพ) และผู้ที่จะมอบยาให้ป๋ายเฉี่ยนนำไปป้อนให้กับอาจารย์โดยไม่รู้สึกผิด ดังขอ้ ความในเล่มที่ 2 วา่

368 การประชมุ วิชาการระดับชาติ พหวุ ิทยาการแหง่ ภาษา วรรณกรรม และคตชิ นวทิ ยา : วิถไี ทย วิถอี าเซียน คร้งั ท่ี 1 ประจ�ำ ปี 2562 ...ในทสี่ ดุ กเ็ ขา้ ใจอาการทำท่าจะพูดแลว้ กลบั ไม่พูดของเจ๋อเหยียนในตอนที่มอบ ยาตานให้ และเข้าใจในที่สุดว่าเหตุใดเขาไปเอาหญ้าเสินจือที่อิ๋งโจว บนตัวกลับไม่มี บาดแผลแม้แต่น้อย ก็แค่เพราะตัวเขาไม่เคยไปที่อิ๋งโจวมาก่อน...ไม่ได้สูก้ ับสัตว์ร้าย เฝ้าหญ้ามาก่อนเท่านั้น แม้เจ๋อเหยียนจะไม่ค่อยจริงจังนักมาแต่ไหนแต่ไร กลับไม่ เคยโกหก...ไม่เคยเอาเปรียบใครมาก่อน ตอนนั้นคิดว่าเขาคงอยากจะบอกข้าว่า ความจริงแล้วยาตานน้เี ยี่ยหวั เปน็ คนหลอม อย่างน้ันเหตใุ ดเขาตอ้ งปิดบงั ข้า? (ถังชีกงจ่ือ, 2555, หนา้ 167) ข้นั ตอนที่ 8 การทดสอบอยา่ งสาหสั สากรรจ์ (The Ordeal) ในขั้นการทดสอบอย่างแสนสาหัสสากรรจ์นั้น วีรบุรุษจะต้องพบกับเหตุการณ์หรือต้องต่อสู้กับ ศัตรูทอี่ ันตรายมากท่ีสุด หรืออาจเกดิ การต่อสู้ทีร่ ุนแรงจนไดร้ ับบาดเจ็บสาหัส ชีวติ อยู่ในระหว่างความเป็น และความตาย สำหรับในขั้นตอนน้ี เยี่ยหัวได้พบกับการทดสอบอยา่ งสาหสั สากรรจ์ถึง 3 ครั้ง ครั้งแรกคือ ตอนที่เขาเดินทางไปหาหญ้าเสินจื่อเขาได้ต่อสู้กับสัตว์เทวะที่มีพลังปราณเซียนของเทพบิดรถึง 4 ตัว ผล จากการต่อสู้นอกจากเขาจะได้รับบาดเจ็บมากที่สุดแล้วยังต้องเสียแขนขวาไปอีกข้างหนึ่งด้วย ส่วนครั้งท่ี สองคือหลังจากท่ีไดห้ ญา้ เสินจ่ือมาแล้ว เขาต้องไปท่ีหอ้ งปรุงยาที่ตัง้ อยู่บนเขา คุนหลุนสวี ที่นั่นแม้จะไม่ได้ มสี ัตวร์ า้ ยเฝา้ อยู่ แต่การจะหลอมยาวิเศษนี้ออกมาให้สำเร็จ จำเป็นจะต้องแลกกับพลังเซียนกว่า 5 หม่ืนปี ของเขาทั้งหมด กว่าเยี่ยหัวจะผา่ นขั้นตอนนี้ท้ัง 2 ครั้งไปได้ ก็ทำให้เขาต้องบาดเจ็บสาหัสอย่างที่สดุ ตั้งแต่ กำเนิดขึ้นมาเป็นเทพเซียนของสวรรค์เก้าช้นั ฟา้ ดงั ข้อความในเล่ม ที่ 2 ว่า พลังฝึกปรือที่เทียนจวินถ่ายให้เขาย่อมจะเพียงแค่ชดเชยส่วนที่เขาสูญเสียไป รวมเบด็ เสร็จยอ่ มไม่อาจมากเกนิ กวา่ พลงั ฝึกปรอื ทเี่ ขาหมั่นฝกึ ฝนได้มาในห้าหมื่นปีน้ี ขา้ คะเนพลงั ปราณเซียนที่หล่อเลีย้ งม่อเยวียนขุมนัน้ อย่างน้อยกลับรวมพลังฝึกปรือ ของเซียนธรรมดาทั่วไปถึง 4-5 หมื่นปี เขาบอกว่าเทาเที่ยกัดเขาไปหนึ่งที่ตรง แขนขวา แค่แผลเลก็ ๆเท่านั้น รักษาสักหนอ่ ยก็หายดีได้ พวกข้าปวงเทพบรรพกาล กลับทราบดวี ่า สัตวร์ ้ายเทาเทีย่ นั้นเป็นสัตว์ท่ใี จเด็ดนัก เม่อื มนั กดั สิ่งใดแล้วเป็นต้อง กลืนส่งิ นั้นลงไปจนหมดสนิ้ ท้ังเน้ือหนังทง้ั กระดูกไม่มีผู้ใดกล้าพูดอย่างเด็ดขาดว่าถูก เทาเทีย่ กัดไปหนึ่งที่เปน็ แคแ่ ผลเลก็ ๆ แตก่ ารพยายามแถของเขานี้เห็นได้ชดั ว่า เพื่อ จะปลอบใจขา้ เพ่อื ไม่ใหเ้ ขาผิดหวัง แมใ้ นใจขา้ จะบีบรดั อยูว่ ิบ ๆ กลับได้แต่ปั้นสีหน้า ว่าถูกเขาหลอกสำเร็จ กล่าวอย่างโล่งอกว่า “อย่างนั้นก็ดีแล้ว...ข้าค่อยวางใจได้ หนอ่ ย” (ถงั ชีกงจ่อื , 2555, หนา้ 176) ส่วนครั้งที่สามเป็นตอนที่เยี่ยหัวได้ไปต่อสู้กับราชาอสูรฉิงชางที่หลุดออกมาจากระฆังจักรพรรดิ บูรพาที่เมื่อเจ็ดหมื่นปีก่อนเทพแห่งสงครามม่อเยวียนได้สังเวยดวงจิตของตนเพื่อหยุดการทำลายล้างของ อาวุธวิเศษนี้ไว้ ทั้งยังสามารถกักขังฉิงชางไว้ข้างในได้อีกด้วย และครั้งนี้ก็เช่นเดียวกัน เพื่อที่จะหยุด

การประชมุ วิชาการระดับชาติ 369พหวุ ทิ ยาเกยาี่ยรหแวั ห่ง: ภกาษรผาจวญรรภณยั ขกอรรงวมีรแบลรุ ะุษคในตนชิ นวนวทิยายยาจวีนิถแไี ปทลย เวรถิ ื่อีองาสเซาียมนชาคตริ งั้สทา่ีม1ภปพรปะจ่าทำ�ป้อีส2บิ 5ห62ล่ี การทำลายล้างสวรรค์ของระฆังจักรพรรดิ เยี่ยหัวต้องใช้ดวงจิตทั้งหมดที่มีสังเวยให้แก่ระฆังจักรพรรดิ บูรพา ดังขอ้ ความในเล่มที่ 2 วา่ ฉิงชางนอนอยู่บนพื้นดิน กล่าวอย่างอ่อนแรงว่า “เจ้าอยากจะรู้ว่า...เหตุใดข้า ไม่ไดแ้ ตะต้องระฆังจักรพรรดิบูรพา...มนั กลับยังคงขับเคลื่อนได้สินะ...ฮ่าๆ...ข้าก็แค่ ใชเ้ วลาเจ็ดหมื่นปี ทมุ่ เทกำลงั ความคดิ เชอ่ื มโยงชีวติ ขา้ เขา้ กับมันเท่าน้ันหากข้าตาย ลง...ระฆังจักรพรรดิบูรพานี้ก็จะขับเคลื่อนด้วยตัวเอง ดูท่าทางข้าคงใกล้ตายแล้ว... ไม่รู้ว่าคนที่ต้องตายตามข้า...จะเป็นไอ้หนูเจ้า...หรือเหล่าเซียนทั่วแปดดินแดน...” ฉิงชางยังกล่าวไม่จบ ข้าเบิกตากว้างเหน็ เยี่ยหัวพุ่งโถมเขา้ ไปในมหาอัคคีโกมุทน้นั ... ตอนเยี่ยหัวโถมเข้าไปในมหาอัคคีโกมุทที่ระฆังจักรพรรดิบูรพาเปล่งออกมา ของ วิเศษที่มัดมือเท้าข้าชิ้นนี้ก็พลันคลายออก ใช่สิ...หากพลังฝึกปรือของเจ้าของของ วิเศษสลายสิ้น ของวิเศษนี้ย่อมมัดใครไม่อยู่อีก มหาอัคคีโกมุทเผาผลาญท้องฟ้ากึ่ง หนึ่งจนแดงฉานปานโลหิตริมฝั่งรัวสู่ยบรรยากาศเขย่าขวัญ ข้าทุ่มพลังฝึกปรือหมด ตัวงัดพัดคนหลุนออกมาพุ่งเข้าชนใส่ระฆังจักรพรรดิบูรพา ตัวระฆังแกว่งไกวในแสง สีแดงนั้น ข้าหาเงาร่างเยี่ยหัวไม่พบ ดุจดังเสียงผีร้ายกลืนวิญญาณแว่วมาจากใต้ผนื ภพ เสียงนั้นค่อยๆ รวมตัวกัน ประหนึ่งกองทัพหมื่นม้าเท้าควบเข้าหา หง่างงง... เสียงร้องอย่างกำสรวลของระฆังจักรพรรดิบูรพาแสงสีแดงไหววาบอยู่ไม่กี่ครั้ง...ดับ ลงเงารา่ งสีดำเงาหนงึ่ ร่วงตกลงมาจากยอดระฆังจักรพรรดิบรู พา (ถังชกี งจือ่ , 2555, หนา้ 275) ขนั้ ตอนที่ 9 รางวลั (Reward) หลังจากที่วรี บรุ ุษไดผ้ ่านความเป็นความตายหรือรอดชวี ติ กลับมาจากข้ันตอนการทดสอบอันแสน สาหัส พวกเขาก็จะได้รับรางวัลหรือสมบัตทิ ่ีพวกเขาตามหา ในกรณขี องเยย่ี หัวรางวัลท่ีเขาได้รับท่ีเป็นของ วิเศษ เช่น หญ้าเสินจื่อ และยาตาน นั้นแม้จะเป็นรางวัลที่เขามุ่งมั่นตั้งใจไปหามาแต่ทั้งหมดนั้นก็เพื่อช่วย ให้ป๋ายเฉี่ยนคนที่เขารักจะได้ไม่เป็นอันตราย ส่วนรางวัลที่เขาเฝ้าฝันถึงนั้นคงเป็นเพียงสิ่งเดียวนั่นคือ “ความรัก” จากป๋ายเฉี่ยน ฉะนั้นในตอนที่นางบอกรักเขาและกำหนดวันที่จะแต่งงานด้วยกันจึงถือเป็น รางวัลท่เี ยยี่ หัวตามหามานานแสนนาน ดงั ข้อความในเล่มที่ 2 ว่า ข้าแค่นเสียง เขาโอบข้าเข้าสูอ่ ้อมอก นิ่งไปชั่วอึดใจ เอ่ยว่า“พูดอกี ครัง้ สิ เจ้าคิด จะทำไมกับข้า?” ข้าตะลึง ข้าคิดจะทำไมกับเขา เมื่อครู่ไม่ใช่ว่าพูดอย่างชัดเจนย่ิง แล้วดอกหรือ? ขณะจะตอบเขาอีกรอบ สมองกลับคิดวกไปอีกเรื่องขึ้นได้กะทันหัน ในจังหวะนี้ แค่กๆ...นี่ เยี่ยหัวเขา...เขาคงกะจะหลอกให้ข้าบอกรักเขาทางอ้อม กระมัง? เรือนผมดำขลับของเขาแผ่สยายลงมาพันเกี่ยวกับผมข้า นัยน์ตาดำขลับดจุ เดียวกันประหนึ่งบึงนำ้ ลึก ในม่านมุ้งกลิ่นดอกท้อกำจายอยู่แผ่วจาง ข้าหน้าแดงวูบ ถ้อยคำที่กลิ้งไปมาในลำคอเป็น 2-3 รอบ เดิมทีคิดจะข่มมันลงไปแต่ไม่ทราบถูกส่ิง ใดลวงล่อ เผลอชว่ั วูบกลับหลดุ ผา่ นรมิ ฝีปากออกมา ข้าพดู วา่ “ข้ารักเจา้ ข้าอยากจะ อยกู่ บั เจา้ ทุกท่ที ุกเวลา\" (ถังชกี งจ่ือ, 2555, หน้า 203)

370 การประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา : วถิ ไี ทย วถิ ีอาเซยี น ครัง้ ท่ี 1 ประจ�ำ ปี 2562 ข้นั ตอนท่ี 10 การเดินทางกลับ (The Road Back) หลังจากเสร็จสิ้นการเดินทางก็ถึงเวลาที่จะต้องกลับสู่โลกปกติ ในบางครั้งวีรบุรุษก็อาจจะปฏิเสธ ทจี่ ะหวนคืนสู่โลกอันเป็นสามัญของตน ดว้ ยเหตเุ พราะความสำเร็จทเี่ กิดขนึ้ ในโลกพเิ ศษทำให้การเดินทาง กลับเป็นเรื่องที่ตัดสินใจได้ยาก สำหรับเยี่ยหัว โลกที่มีป๋ายเฉี่ยนอาศัยอยู่ก็คือโลกแสนพิเศษสำหรับเขา ฉะนั้นจึงปรากฏว่าทุกครั้งที่เขาออกไปผจญภัยก็จะหวนกลับคืนสู่ตำหนักบนสวรรค์ จะมีเพียงครั้งเดียว เท่านั้นที่เขาไม่อยากกลับคืนสู่สวรรค์เก้าชั้นฟ้า นั่นคือในตอนที่เขาได้พบกับซู่ซู่ ในโลกมนุษย์เท่านั้น ดงั ข้อความในเลม่ ที่ 1 ว่า แต่บัดนี้...เขามีหญิงที่เขารักแล้ว ทุกสิ่งในกาลก่อนจึงจำเป็นต้องไตร่ตรองใหม่ ต้งั แตต่ ้น ตัวอย่างบทเรียนจากซางจป๋ี ูเปน็ ทางโชกเลือดใหเ้ ห็นอยตู่ รงหนา้ อีกท้ังเขา ยังนั่งตำแหน่งรัชทายาทที่สลดั อย่างไรก็ไม่หลุด เพียงรอให้ถึงอายุห้าหมื่นปี ก็จะถูก แต่งตั้งเป็นไท่จื่อ เรื่องระหว่างเขากับนางก็จะยิ่งจัดการยากขึ้น เขาขบคิดใคร่ครวญ อย่างละเอียดรอบคอบอยู่หลายวัน เปรียบเทียบสารพัดวิธีดูทั้งหมดแล้ว เลือกวิธี ทเี่ สี่ยงทีส่ ดุ แต่ก็ลงแรงคร้ังเดยี วสบายตลอดกาล (ถงั ชีกงจ่ือ, 2555, หนา้ 309) ขนั้ ตอนท่ี 11 การเกิดใหม่ (The Resurrection) การเกิดใหม่หรือการฟื้นคืนชีพเป็นตัวแทนของการชำระล้างหรือการทำให้บริสุทธิ์ หลังจาก ท่ีวรี บรุ ุษฟื้นคืนชีพกลบั มาเขาจะมีคณุ ลักษณะทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเหมือนเป็นคนใหม่ สำหรับเยี่ยหัว นั้น ปรากฏวา่ เขาได้เกดิ ใหม่ 2 คร้ังและฟ้นื คืนชพี 1 ครง้ั โดยคร้ังแรกน้ันเกิดจากดวงวญิ ญาณของเขาท่ีถูก หล่อเลี้ยงอยู่ในจิตของพี่ชายคือ ม่อเยวียน ได้หลุดออกมาในตอนที่ม่อเยวียนใช้ดวงจิตของตนสังเวยแก่ ระฆังจักรพรรดิบูรพา แล้วไปเกิดเป็นรัชทายาทของเผ่าสวรรค์ ครั้งที่สองเป็นตอนที่เยี่ยหัวต้องลงไปรับ เคราะหก์ รรมในโลกมนุษยเ์ พราะเขาได้ฆ่าสัตวเ์ ทวะของเทพบิดรตลอดจนทำลายหญ้าเสนิ จื่อไปจนหมดส้ิน โดยครั้งนี้เขาลงไปเกิดในฐานะมนุษย์ธรรมดาหาได้มีพลังเทพเซียนดังเช่นครั้งก่อนไม่ สำหรับการฟื้นจาก ความตายน้ัน เกดิ ขึน้ หลังจากท่เี ขาใช้ดวงจิตสงั เวยแก่ระฆังจักรพรรดิบูรพาเช่นเดียวกับที่พีช่ ายของเขาเคย กระทำเม่ือเจ็ดหมื่นปีก่อน แต่หลังจากนั้นเพียงสามปี เขาก็รวบรวมดวงจิตและฟื้นตื่นขึ้นมาอีกครั้ง ดงั ขอ้ ความในเลม่ ท่ี 2 วา่ ม่อเยวียนบอกว่าคราครัง้ นั้นเทพบิดรใช้พลังเทพก่งึ หนงึ่ สรา้ งเปน็ ร่างทารกเซียน ให้เยี่ยหัวไปเกิด หลังจากเยี่ยหัวไปเกิดแล้วพลังเทพนี้ก็อยู่กับเขามาตลอด ซ่อนอยู่ ในกายทิพย์ของเขา สามปีก่อนท่านไม่ทราบว่าเยี่ยหัวยังสังหารสตั ว์ร้ายทั้งสี่แหง่ อ๋ิง โจว ได้รับพลังเทพอีกกึ่งหนึ่งของเทพบิดรมา จึงหลงนึกว่าเขาหมดทางช่วยเหลือ แล้ว...แม้แต่ตัวเยี่ยหัวเองเกรงว่าก็คงจะคิดอย่างนี้เช่นกัน ม่อเยวียนบอกว่า การ หลับลึกครั้งนี้ของเยี่ยหัวเดิมที่ควรต้องหลับหลายสิบปี แต่โลงน้ำแข็งแก้วผลึกนิล เป็นภาชนะชั้นดี ทะเลไร้นิวรณ์นั้นแม้จะใช้จมซากร่างชาวเผ่าสวรรค์ แท้จริงกลับ เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์สำหรับการพักฟื้น จึงได้ทำให้เยี่ยหัวใช้เวลาเพียงสามปีก็ สามารถฟืน้ ขึน้ มา (ถงั ชีกงจ่ือ, 2555, หน้า 295)

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ 371พหวุ ทิ ยาเกยายี่ รหแัวห่ง: ภกาษรผาจวญรรภณยั ขกอรรงวมีรแบลรุ ะุษคในตนิชนวนวทิยายยาจวีนถิ แีไปทลย เวรถิ อื่ อี งาสเซาียมนชาคตริ ัง้สทาี่ม1ภปพรปะจ่าทำ�ป้อีส2ิบ5ห62ลี่ ขัน้ ตอนท่ี 12 การกลับมาพร้อมกับน้ำอมฤต (Return with the Elixir) การกลับมาพร้อมกับน้ำอมฤตเป็นรางวัลสุดท้ายที่วีรบุรุษจะได้รับ คำว่าน้ำอมฤตในที่นี้นอกจาก จะหมายถึงยาอายุวัฒนะที่วีรบุรุษนำกลับมาแบ่งปันให้กับผู้คนในโลกปกติแล้วยังอาจหมายถึง ขุมทรัพย์ หรือเรื่องราวที่มีคุณค่า เช่น ความรัก สติปัญญา การนำความปกติสุขมาสู่โลกอีกครั้ง ฯลฯ ในขั้นตอน สุดท้ายนี้จะเป็นการปิดเรื่องของการเดินทางของวีรบุรุษในที่สุด สำหรับเยี่ยหัวการที่เขาฟื้นคืนกลับมาใน ที่สุดก็คือการกลับมาพร้อมกับน้ำอมฤต เพราะการที่เขาฟื้นขึ้นมาอีกครั้งช่วยให้ความเศร้าโศกของเทพ เซียนบนสวรรค์เก้าชั้นฟ้าได้มีความสุขอีกครั้ง แต่ผู้ที่ยินดีกับการกลับมาของเขามากที่สุดนอกจาก ครอบครัวของเยี่ยหวั แลว้ ก็คือ ป๋ายเฉีย่ น ดังข้อความในเลม่ ท่ี 2 ว่า ...ครัน้ ถ้ำจง้ิ จอกปรากฏสคู่ ลองจักษุ ข้าผ่อนฝเี ทา้ ลงไม่ได้เขา้ ออกทางประตูหน้า มาเนิ่นนาน เผลอนิดเดยี วตน้ ทอ้ ที่ปลกู ไว้ขา้ งปากถ้ำเมือ่ สามปีก่อนไดอ้ อกดอกบาน สะพรั่งเป็นอย่างยิ่ง ภูเขาสีคราม ต้นไม้สีเขียว บึงน้ำสีมรกต สามปีมานี้...ข้าเพิ่งได้ เหน็ สีสันของชงิ ชิวชดั เจนเปน็ ครั้งแรก แสงแดดสาดทะลุชนั้ เมฆส่องลงมา ต้นท้อต้น เดียวกลางเขาเขียวนำ้ ใส ดุจดงั รัศมเี ล่ือมพรายส่องสว่างนริ ันดร์บนสวรรค์เก้าช้ันฟ้า ชายหนุ่มชุดดำซงึ่ ยืนอยู่ใต้รัศมีเล่ือมพรายเต็มต้นน้ัน กำลงั ชะโงกตัวเล็กน้อย นิ้วมือ เรยี วยาวลบู ปา้ ยหลุมศพท่ตี ้ังยืนอยู่ตรงหนา้ เบาๆ ราวกับเปน็ ห้วงฝัน ข้ากล้ันหายใจ ขยับไปข้างหน้าสองกา้ ว กลัวย่ิงนักว่าขยบั แรงเกินไปแลว้ ภาพตรงหน้าจะหายไปจน สิ้น เขาหันหน้ามา สายลมพัดผ่าน สีสันเลื่อมพรายบนต้นท้อ กระเพื่อมไหวเป็น เกลียวคลื่นสีแดงเขายิ้มบาง ๆ ยังคงเป็นเช่นเมื่อพบกันครั้งแรก คิ้วตาดั่งภาพเขียน เรือนผมดำขลับ ท่ามกลางเกลียวคลื่นสีแดง กลีบดอกไม้หลายกลีบพลิ้วร่วงลง ระหว่างฟา้ ดินไม่มสี ีสนั อื่น...และไม่มีเสียงอ่ืนอีก เขายืน่ มอื มา เอ่ยแผ่วเบาว่า“เฉียน เฉยี่ นมานส่ี ”ิ (ถงั ชกี งจ่อื , 2555, หนา้ 296) สรุปและอภปิ รายผล การวิเคราะห์การผจญภัยของ “เยี่ยหัว” ตัวละครเอกจากนวนิยายจีนแปล เรื่อง สามชาติ สามภพ ป่าท้อสิบหลี่ ในครั้งนี้ ใช้ทฤษฎีการเดินทางของวีรบุรุษตามแนวคิดของคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์ ผลการศึกษาพบว่า เยี่ยหัวผ่านการผจญภัย 11 ขั้นตอน จาก 12 ขั้นตอน โดยขั้นตอนที่ปรากฏบ่อยคร้ัง ที่สุด คือ การทดสอบอย่างสาหัสสากรรจ์ และการเกิดใหม่ ซึ่งปรากฏถึง 3 ครั้งต่อขั้นตอน ส่วนขั้นตอน ที่ไมป่ รากฏคือ การปฏิเสธเสียงเรียก ผลการศกึ ษาข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่าเยยี่ หัวผู้เป็นวีรบุรุษในนวนิยาย จีนแปลเรื่องนี้ได้ให้ความสำคัญกับความทุกข์สุขของบุคคลอื่นมากกว่าตนเอง เขาไม่เคยปฏิเสธเสียงเรียก ใหอ้ อกเดินทางไปต่อสกู้ บั ภยนั ตรายต่างๆ ทั้งยังเป็นผอู้ ทุ ศิ ตนใหก้ บั ประโยชน์ของสว่ นรวมคือยอมสละชีวิต ของตนเพื่อแลกกับการหยุดระฆังจักรพรรดิบูรพาไม่ให้ทำลายสวรรค์ทั้งหมด นอกจากนี้ยังเป็นผู้ที่ยึดม่ัน ตอ่ ความรักท่มี ีต่อบุคคลเพียงคนเดียวน่ันคือ “ปา๋ ยเฉย่ี น” หลายคร้งั ทม่ี เี ซียนสตรีอ่นื ๆ เข้าสารภาพรักกับ เขา แต่เขากห็ าได้สนใจไม่ หรอื แม้เขาจะมโี อกาสนำความชอบ จากการเสยี สละต่าง ๆ มากล่าวอ้างเพื่อให้ ป๋ายเฉี่ยนไมอ่ าจปฏิเสธความรักจากเขาได้แต่เขาก็ไม่ทำ จนอาจกล่าวได้ว่า เยี่ยหัว คือ วีรบุรุษผู้กล้าหาญ

372 การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ พหุวทิ ยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา : วถิ ีไทย วถิ ีอาเซยี น ครง้ั ท่ี 1 ประจำ�ปี 2562 เป็นผู้เสียสละ และยึดมั่นในรักเดียว จึงไม่น่าแปลกใจหากนวนิยายเรื่องนี้จะได้รับความนิยมในประเทศ ไทย ทั้งนี้เพราะแนวเร่ืองการผจญภัยที่มีเนื้อหาเก่ียวข้องกบั ความรักนั้นนับว่าอยู่ในวิถีชีวิตของคนไทยมา เป็นเวลาช้านาน ดังเห็นได้จากเรื่องเล่าประเภทนิทานพื้นบ้านที่มักมีสูตรในการเล่าเรื่องว่า เรียนวิชา ฆา่ ยกั ษ์ ลักนาง เปน็ ตน้ และยง่ิ เปน็ ตวั ละครเอกทปี่ ักใจรักผหู้ ญิงเพียงคนเดียวอย่างเยี่ยหวั ด้วยแล้วก็น่าจะ เปน็ ท่ีชืน่ ชอบของนักอา่ นชาวไทยมากย่ิงขึ้นไปอีก ดว้ ยเพราะพระเอกในเร่ืองเล่าของไทยมักจะเจ้าชู้หลาย เมยี เชน่ พระอภัยมณี ขนุ แผน อิเหนา พระลอ ไกรทอง ฯลฯ จากการศึกษาการเดินทางออกไปผจญภัยของเยี่ยหัวทั้ง 12 ขั้นตอน พบว่ามีความสอดคล้องกับ งานศึกษาการเดินทางของวีรบุรุษที่ใช้ทฤษฎีของคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์มาเป็นกรอบในการวิเคราะห์ เช่นเดียวกันคือ งานศึกษาของประเสริฐ รุนรา (2558) ที่ศึกษาเรื่อง “วิถีแห่งมหาบุรุษ : การศึกษา ชีวประวัติศาสดาตามแนวคิดการเดินทางของวีรบุรุษภาพยนตร์ ผลการศึกษาพบว่าสามารถจัดขั้นตอน ลำดับชวี ิตของศาสดา 5 ตามแนวคิดของคริสโตเฟอร์โวกเลอร์ได้อย่างขา้ งค่อนข้างลงตวั กล่าวคือ ปรากฏ ขั้นตอนการเดินทางทั้ง 12 ขั้นอาจจะมีข้อปลีกย่อยแตกต่างกันในรูปแบบของวีธีการเล่าเรื่อง แต่มีจุด ร่วมกันในแง่ของรูปแบบประวัติการเดินทางของวีรบุรุษทางศาสนา แม้ในการศึกษาตัวละคร “เยี่ยหัว” ในครั้งนี้จะปรากฏข้ันตอนการเดินทางเพียง 11 ขั้นตอน แต่หากพิจารณาถึงการกำเนิดและสถานภาพใน โลกปกติ (Ordinary Word) ของเขาจะพบว่าไม่ใช่เรื่องแปลกอันใดที่เยี่ยหัวจะไม่เคยปฏิเสธเสียงเรียก (Refusal of the Call) ทั้งนี้เพราะเขาคือเทพเซียนที่มีอิทธิฤทธิ์และมีของวิเศษมากมายทั้งยังเป็นถึงรัช ทายาทของเผ่าสวรรค์ที่ถูกฝกึ ปรอื และขัดเกลาเพื่อจะเป็นเจ้าสวรรค์ในรุ่นถดั ไป เขาจึงไม่อาจปฏิเสธเสยี ง เรียกใหอ้ อกเดินทางได้ สำหรบั ผลการศกึ ษาเกี่ยวกับการเดนิ ทางของเยี่ยหัวในบทบาทของวรี บุรุษในครั้งน้ี ก็เป็นการพิสูจน์ทฤษฎีของคริสโตเฟอร์โวกเลอร์ได้อีกครั้งว่า แบบแผนการเดินทางของวีรบุรุษทั้ง 12 ขน้ั ตอนที่เขาได้นำมาใชน้ น้ั คือ สตู รสำเร็จในการเลา่ เรือ่ งแนวผจญภยั อย่างแทจ้ รงิ ขอ้ เสนอแนะ 1. การศกึ ษานวนิยายไทยหรือเรื่องเลา่ แนวผจญภยั ของไทยที่ใช้มุมมองจากแบบแผนการเดินทาง ของวีรบุรุษตามแนวคิดของคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์ยังมีน้อย จึงควรมีการส่งเสริมให้นักศึกษาหรือ นักวิชาการลองใชแ้ นวคิดนีม้ าศึกษาเรื่องเล่าแนวผจญภัยของไทยใหม้ ากขึ้น (งานศึกษาที่ผ่านมาส่วนใหญ่ เปน็ การศกึ ษาโดยใช้แนวคดิ ตามแบบ monomyth ของโจเซฟ แคมปเ์ บล) 2. ยังมีเรื่องเล่าพื้นบ้านแนวการผจญภัยของไทยที่พระเอกเป็นผู้มีรักเดียวใจเดียวและยังมีการ ข้ามภพข้ามชาติตามไปง้อขอคืนดีกับนางเอกเช่นเดียวกับตัวละครที่ชื่อเยี่ยหัวในนวนิยายเรื่อง สามชาติ สามภพป่าท้อสิบหลี่ นั่นคือ พระรถ (เกิดชาติแรกในเรื่อง นางสิบสอง) และพระสุธน (เกิดชาติที่สอง ในเรื่อง พระสุธน-มโนราห์) หากผู้สร้างภาพยนตร์หรือนักเขียนนวนิยายไทยนำผลการศึกษาครั้งนี้ไปใช้ ในการสรา้ งสรรค์ “พระรถ-เมรี และพระสธุ น-มโนราห”์ ตามแบบแผนการเดนิ ของวรี บุรุษ กจ็ ะสร้างความ น่าสนใจใหก้ บั เร่ืองเล่าการผจญภยั ของไทยในอกี รปู แบบหนึ่งกเ็ ปน็ ได้

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ 373พหวุ ิทยาเกยาี่ยรหแวั ห:่งภกาษรผาจวญรรภณยั ขกอรงรวมีรแบลรุ ุษะคในตนิชวนนวิยทายยาจวีนถิ แีไปทลย เวริถือ่ ีองาสเซาียมนชาคตริ ้ังสทา่ีม1ภปพรปะจา่ ทำ�ปอ้ ีส2ิบ5ห6ล2่ี บรรณานกุ รม ถังชีกงจื่อ.(2555). สามชาติสามภพป่าท้อสิบหลี่ เล่มที่ 1-2. พิมพ์ครั้งที่ 5. แปลโดย หลินโหม่ว. กรงุ เทพฯ : สุรยี ์พร. บารนี บุญทรง. (2550). The Writer's Journal: Mythic Structure for Writers (Third Edition), วารสารมนุษยศาสตร์. ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2554. หน้า : 127- 129. ประเสรฐิ รุนรา. (2558). วิถแี ห่งมหาบรุ ษุ การศกึ ษาชวี ประวตั ศิ าสดาตามแนวคิดการเดนิ ทางของ วีรบรุ ษุ ภาพยนตร.์ วารสารวรรณวิทศั น์. ปีท่ี 15 ฉบบั พเิ ศษ. หนา้ 237-271 ศรณั ยภ์ ทั ร์ บุญฮก.(2558). คติชนในนวนยิ ายของพงศกร. วทิ ยานพิ นธอ์ กั ษรศาสตรมหาบัณฑติ . สาขาวชิ าภาษาไทย บัณฑติ วิทยาลัย, จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. 豆豆瓣瓣,,(2(200117.7)(.)2.沈0沈阳1阳7出)出.版湖版社南社, [文O, n[艺Olinn出lei版n].e社A].v,Aa[Oivlaanbillalienbelhe]t.thAptvst:pa/is/l:ba/a/bbiklaeei.kbhea.tbitdapuids.c:u/o./cmbo/amitike/iemte./bm,aa/icd2cu4e./sc1so1o/m6n2/item/ 242/41/1/16/26.2. 豆江瓣西网, (络20广17播).电湖视南台文, 艺(2出01版7社).,浙[O江n卫lin视e和]. 东Av方ai卫la视bl,e[Ohnttlpisn:/e/b].aAikvea.bial aidbul.ceomh/titepms ://, /abcaceiksse .on ba2i4d/u1.1c/o6m2./item/ 24/11/62. 江西网络广播电视台, (2017). 浙江卫视和东方卫视, [Online]. Available https://baike.baidu.com/item, access on 24/11/62.