Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

Published by Gedjatupornamphun, 2021-01-19 09:08:57

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสาร

Search

Read the Text Version

นางสาวจตุพร อัมพันธ์ รหสั นักศึกษา 614143011 นางสาวซัลวานงิ ยา รหัสนักศกึ ษา 614143013 คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ หมู่ 1

๑ ความหมายของการส่อื สาร ๒ ความสาคัญของการสอ่ื สาร ๓ องคป์ ระกอบของการส่ือสาร ๔ หลักในการส่ือสาร ๕ วัตถุประสงค์ในการสอ่ื สาร ๖ ประเภทของการสื่อสาร ๗ ปจั จัยทชี่ ่วยให้การสอ่ื สารประสบผลสาเรจ็ ๘ อปุ สรรคในการสอ่ื สาร

บรรยายความสาคัญ จาแนกองค์ประกอบและ วเิ คราะห์อปุ สรรคและ ของการสอ่ื สารได้ ประเภทของการสอ่ื สารได้ แกป้ ัญหาในการสือ่ สารได้ บอกความหมายของ ช้ีแจงหลักการและ การสอ่ื สารไดถ้ ูกต้อง วัตถุประสงคข์ องการ สือ่ สารได้

คาว่า การส่ือสาร (communications) มีที่มาจากรากศัพท์ภาษาลาตินว่า communis หมายถึง ความเหมือนกันหรือร่วมกันการสื่อสาร (communication) หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ ความรู้สึก ความ คิดเห็น ความต้องการจากผู้ส่งสารโดยผ่านส่ือต่าง ๆ ที่อาจเป็นการพูด การเขียน สัญลักษณ์อื่นใด การแสดงหรือการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ไปยังผู้รับสาร ซ่ึงอาจจะใช้ กระบวนการสอ่ื สารท่ีแตกตา่ งกันไปตามความเหมาะสม หรอื ความจาเปน็ ของตนเองและคู่ สอ่ื สาร โดยมวี ัตถุประสงค์ใหเ้ กิดการรบั รรู้ ว่ มกนั และมปี ฏิกริ ยิ าตอบสนองต่อกัน บริบท ทางการสื่อสารท่เี หมาะสมเปน็ ปัจจัยสาคญั ท่จี ะช่วยใหก้ ารสือ่ สารสัมฤทธ์ผิ ล

๑. ผสู้ ง่ สาร (sender) องคป์ ระกอบทีส่ าคญั ๔. ผู้รบั สาร หรอื แหล่งสาร ของการส่อื สาร (receiver) (source) มี ๔ ประการ ๓. สอ่ื หรอื ช่องทาง ๒. สาร (message) (media or channel)

1. เป็นผู้ท่มี ีเจตนาแนช่ ดั ท่จี ะใหผ้ ูอ้ น่ื รบั รจู้ ุดประสงค์ของตนในการสง่ สาร แสดง ความคดิ เหน็ หรอื วิจารณ์ ฯลฯ 2. เป็นผทู้ ่มี ีความรู้ ความเขา้ ใจในเนื้อหาของสารท่ีตอ้ งการจะสอื่ ออกไปเป็นอยา่ งดี 3. เป็นผูท้ ีม่ ีบุคลิกลักษณะที่ดี มีความน่าเชือ่ ถือ แคล่วคลอ่ งเปดิ เผยจรงิ ใจ และมี ความรับผดิ ชอบในฐานะเปน็ ผสู้ ง่ สาร 4. เปน็ ผ้ทู ส่ี ามารถเขา้ ใจความพรอ้ มและความสามารถในการรับสารของผรู้ บั สาร 5. เปน็ ผู้รจู้ กั เลือกใช้กลวธิ ีท่ีเหมาะสมในการส่งสารหรอื นาเสนอสาร

๑ แบง่ ตามวิธีการเขา้ และถอดรหัส ๒ แบง่ ตามประสาทการรับรู้ ๓ แบง่ ตามระดบั การสอื่ สาร หรือจานวนผรู้ บั สาร ๔ แบ่งตามยคุ สมัย ๕ แบ่งตามลักษณะของสื่อ ๖ แบง่ ตามการใช้งาน 7 แบ่งตามการมีสว่ นรว่ มของผรู้ ับสาร

๑ เพอ่ื แจง้ ให้ทราบ ๒ เพือ่ สอนหรอื ใหก้ ารศกึ ษา ๓ เพอ่ื สรา้ งความพอใจหรือให้ความบันเทงิ ๔ เพอ่ื เสนอหรอื ชกั จูงใจ ๕ เพอ่ื เรียนรู้ ๖ เพือ่ กระทาหรอื ตัดสนิ ใจ

๑. จานวนผทู้ าการส่อื สาร ๓. ความสามารถในการ ๒. การเหน็ หนา้ กนั โต้ตอบ ๕. การใชภ้ าษา ๔. ความแตกต่างระหวา่ งผรู้ บั สาร และผู้ส่งสาร

อปุ สรรคในการสอ่ื สาร หมายถงึ สิ่งท่ที าให้การส่ือสารไม่บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ ของผู้ส่ือสาร และผู้รับสาร อุปสรรคในการสื่อสารอาจเกิดข้ึนได้ทุกข้ันตอนของ กระบวนการสื่อสาร ดงั นนั้ อุปสรรค ในการสอื่ สารจากองค์ประกอบตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. อุปสรรคที่เกดิ จากผูส้ ง่ สาร 2. อปุ สรรคที่เกิดจากสาร 3. อุปสรรคท่เี กิดข้ึนจากสือ่ หรอื ช่องทาง 4. อปุ สรรคท่เี กิดจากผรู้ บั สาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook