Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฤดูกาล

ฤดูกาล

Published by 945sce00466, 2020-06-01 03:21:29

Description: เอกสารประกอบการเรียนฤดูกาล

Search

Read the Text Version

ฤดูกาล SEASON ศนู ย์วิทยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมเพอ่ื การศกึ ษาร้อยเอด็

ฤดูกาล ใน 1 ปี จะมีการเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศหรือการเปลี่ยนฤดูกาล หลายคนคิดว่าที่อากาศ หนาวในฤดูหนาว เป็นเพราะโลกโคจรออกห่างจากดวงอาทิตย์ แต่ในความจริงแล้วไม่เป็นเช่นนั้น เนือ่ งจากขณะทโ่ี ลกอยหู่ ่างจากดวงอาทติ ย์เปน็ ระยะทางที่ไกลท่ีสุด โลกจะหันซกี โลกเหนอื เอียงเข้าหาดวง อาทิตย์ ซ่ึงตรงกับฤดูร้อนของซีกโลกเหนือ และในฤดูหนาวของซีกโลกเหนือ โลกจะหันซีกโลกเหนือออก จากดวงอาทิตย์ ทาให้แต่ละพื้นที่บนโลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน ช่วงเวลากลางวัน- กลางคนื กไ็ ม่เท่ากนั เป็นสาเหตุให้ในฤดูหนาวจะมชี ว่ งเวลากลางคืนยาวนานกว่ากลางวัน เช่นเดียวกันกับ ฤดูร้อนก็จะมีช่วงเวลากลางวันยาวนานกว่ากลางคืน ดังน้ันสาเหตุหลักของการเกิดฤดูกาล จึงเกิดจาก การท่ีแกนหมนุ สมมติของโลกเอยี ง

ฤดกู าล ถ้ า แ ก น ห มุ น ส ม ม ติ ข อ ง โ ล ก ไ ม่ เ อี ย ง บริเวณขั้วโลกทั้ง 2 จะได้รับพลังงานความร้อน จากดวงอาทิตย์น้อยมากตลอดปี ขณะท่ีบริเวณ เส้นศูนย์สูตรจะได้รับพลังงานความร้อนจาก ดวงอาทิตย์สูงมากตลอดปี แตเ่ นื่องจากแกนโลก เอียง ทาให้แต่ละพื้นที่บนโลกได้รับพลังงาน ความรอ้ นจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากนั

ฤดูกาล หากโลกเป็นทรงกลมที่สมบูรณ์และมี พ้ืนผิวราบเรียบ ไม่มีภูเขาหุบเขา ไม่มีทะเล มหาสมุทร และมีองค์ประกอบของพ้ืนผิวเป็น เนือ้ เดยี วกัน จะสามารถแบ่งเขตภูมิอากาศในแต่ ละซีกโลกออกเปน็ 3 เขต ดังนี้

ฤดูกาล เขตรอ้ น อยู่ร ะ ห ว่า งเ ส้น ทร อปิ คอ อฟ แค น เ ซอ ร์ (ละติจูด 23.5 ° เหนือ) กับเส้นทรอปิคออฟ แคปริคอน (ละติจูด 23.5° ใต้) แสงอาทิตย์ ตกกระทบพื้นโลกเป็นมุมชัน และมีโอกาสที่ ด ว ง อ า ทิ ต ย์ จ ะ อ ยู่ เ ห นื อ ศี ร ษ ะ ไ ด้ ( ตั้ ง ฉ า ก ) พื้นที่เขตร้อนจึงได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ ไดม้ ากกว่าส่วนอน่ื ๆ ของโลก https://stem.in.th/wp-content/uploads/2018/06/solstice10.jpg

ฤดูกาล เขตอบอุ่น อยู่ระหว่างเส้นทรอปิคออฟแคนเซอร์ (ละติจูด 23.5° เหนือ) กับเส้นอาร์คติกเซอร์เคิล (ละติจูด 66.5° เหนือ) และพื้นท่ีระหว่างเส้นทรอปิคออฟแคปริคอน (ละติจูด 23.5° ใต้) กับเส้นแอนตาร์คติกเซอร์เคิล (ละติจูด 66.5° ใต้) แสงอาทิตย์ตกกระทบพื้นโลกเป็นมุมเฉียง แม้ว่าไม่มีโอกาสที่ดวงอาทิตย์จะอยู่เหนือศีรษะ(ต้ังฉาก) แต่ก็ยัง ได้รบั แสงอาทิตย์ตลอดปี เขตหนาว อยเู่ หนอื เส้นอารค์ ตกิ เซอร์เคลิ (ละตจิ ดู 66.5° เหนือ) ขึ้นไปและใต้เส้นแอนตาร์คติกเซอร์เคิล (ละติจูด 66.5° ใต้) ลงมา แสงอาทิตยต์ กกระทบพน้ื โลกเปน็ มมุ ลาด

ฤดกู าล โลกมีความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ มีท้ังท่ีราบ ภูเขา หุบเขา ทะเล มหาสมุทร ซง่ึ มีผลตอ่ สภาพอากาศบนโลก เราจงึ แบ่งเขต ภูมิอากาศโลก โดยพิจารณาจากปัจจัยที่ ควบคุมสภาพภมู ิอากาศ ดงั น้ี

ฤดูกาล ความเข้มของพลงั งานความร้อน แสงอาทิตย์ท่ีตกกระทบโลก บริเวณเส้นศูนย์สูตร จะเป็นแนวตั้งฉาก ส่วนบริเวณข้ัวโลกทั้งสอง มุม ตกกระทบของแสงอาทิตย์เฉียงกว่า จึงครอบคลุม พื้นท่ีมากกว่า ทาให้ความเข้มของพลังงานความ ร้อน ในบริเวณท่ีมีลาแสงต้ังฉากตกกระทบมี มากกวา่ บริเวณลาแสงเฉยี งตกกระทบ

ฤดกู าล นอกจากน้ลี าแสงเฉยี งจะเดนิ ทางผ่านชน้ั บรรยากาศ การกระจายตวั ของแผ่นดนิ และมหาสมุทร ทหี่ นากว่าลาแสงต้ังฉาก ฝนุ่ ละออง ไอนา้ ในอากาศ ดินและน้ามคี วามสามารถดดู กลืนและคายความ จะดูดกลืนความร้อนบางส่วนไว้ และสะท้อนความ ร้อนไม่เท่ากัน จึงมีผลต่อความกดอากาศ ร้อนบางส่วนออกไปยังบรรยากาศภายนอก ทาให้ ตลอดจนทิศทางและความเร็วลม กระแสน้าใน ความเข้มของพลังงานความร้อนที่ตกกระทบผิวโลก มหาสมุทร กระแสน้ามีความสัมพันธ์กับกระแส ของลาแสงเฉียงน้อยกว่าลาแสงต้ังฉาก ในฤดูหนาว ลม อุณหภูมิของน้าทะเลมีผลต่ออุณหภูมิและ อากาศจจะหนาวเยน็ เพราะความเข้มของแสงอาทิตย์ ความชน้ื ของอากาศ กระแสนา้ อุ่นและกระแสน้า น้อยกว่าเม่ือเปรียบเทียบกับในฤดูร้อนเพราะได้รับ เย็น จึงมีอิทธิพลต่ออุณหภูมิของอากาศ แสงในแนวเฉียงตลอดเวลา โดยตรง

ฤดกู าล เทือกเขา เป็นกาแพงขวางก้ันทิศทางลม เม่ือลมปะทะกับ เทือกเขาจะเกิดการยกตัวของกลุ่มอากาศ และ เกิดการควบแน่นเป็นเมฆและหยาดน้าฟ้า ทาให้ ด้านหน้าของเทือกเขามีความชุ่มช้ืน อากาศแห้ง จมลงดา้ นหลงั เขา เกดิ เป็นเขตเงาฝนท่แี หง้ แลง้

ฤดกู าล การเคล่อื นทขี่ องอากาศ การพาความร้อน (Convection) ในบรรยากาศ ทาให้เกิดการ เคลอ่ื นตัวของอากาศท้งั แนวตงั้ และแนวราบ กระแสอากาศแนวตง้ั : บริเวณความกดอากาศต่า (L) อากาศ ร้อนเหนือพ้ืนผิว ยกตัวขึ้นแล้วอุณหภูมิลดต่าลง ทาให้เกิดการ ค ว บ แ น่ น เ ป็ น เ ม ฆ แ ล ะ ฝ น บ ริ เ ว ณ ค ว า ม ก ด อ า ก า ศ สูง (H) อากาศเย็นด้านบนมีอุณหภูมิต่า เคลื่อนเข้ามาแทนที่ อากาศร้อนท่ีอยู่เหนือพ้ืนผิว ทาให้เกิดแห้งแล้ง เนื่องจาก อากาศเยน็ มีไอนา้ นอ้ ย

ฤดกู าล กระแสอากาศแนวราบ: อากาศเย็นมีมวลและความ http://www.lesa.biz/_/rsrc/1305795767244/earth/atmospher หนาแน่นมากกว่าอากาศร้อน กระแสอากาศจึง e/air-pressure/iso_map_s.gif?height=256&width=400 เคล่ือนตัวจากหย่อมความกดอากาศสูง (H) ไปยัง หย่อมความกดอากาศต่า (L) ทาให้เกิดการกระจาย และหมุนเวียนอากาศไปยังตาแหน่งต่างๆ บนผิว โลก เราเรียกกระแสอากาศซ่ึงเคลื่อนตัวในแนวราบ ว่า “ลม” (Wind)

ฤดกู าล ระดบั สงู ของพ้นื ท่ี ยง่ิ สูงข้ึนอณุ หภูมิยิ่งตา่ ลง ณ ตาแหนง่ ละตจิ ูดเดียวกนั พื้นทส่ี ูงจะมีอุณหภูมติ ่ากวา่ พ้ืนทร่ี าบ ส่วนประเทศไทยนั้นตั้งอยู่บนคาบสมุทรอนิ โดจีน ขนาบด้วยมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้ จึงตก อย่ใู นอิทธพิ ลของลมมรสมุ (Monsoon) ทาให้ประเทศไทยมี 3 ฤดู ดังน้ี ฤดรู อ้ น: ตง้ั แตเ่ ดือนมีนาคม ถึงกลางเดอื นพฤษภาคม ฤดูฝน: ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ถึงปลายเดือนตลุ าคม ฤดูหนาว: ตง้ั แตป่ ลายเดือนตลุ าคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook