Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปลาหางนกยูง

Description: ปลาหางนกยูง

Search

Read the Text Version

มาตรฐานสายพนั ธุและเกณฑการตดั สิน ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย (ฉบับปรบั ปรงุ ป 2558) GUPPY VARIETY STANDARDS AND JUDGING CRITERIA IN THAILAND สถาบันวิจัยสัตวนํา้ สวยงามและพรรณไมน ํา้ กองวจิ ยั และพฒั นาประมงนาํ้ จืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ



มาตรฐานสายพนั ธแุ ละเกณฑก ารตัดสนิ ปลาหางนกยูง ในประเทศไทย (ฉบบั ปรบั ปรงุ ป 2558) GUPPY VARIETY STANDARDS AND JUDGING CRITERIA IN THAILAND สถาบันวิจัยสตั วน าํ้ สวยงามและพรรณไมนา้ํ กองวิจัยและพัฒนาประมงนา้ํ จืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ

มาตรฐานสายพันธแุ ละเกณฑการตัดสนิ ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย ทีป่ รึกษา รองอธบิ ดีกรมประมง ดร.จูอะดี พงศม ณรี ัตน ผเู ชี่ยวชาญดา นสัตวน้ําและพรรณไมน้าํ สวยงาม ดร.อมรรัตน เสรมิ วัฒนากุล ผูอํานวยการกองวจิ ยั และพัฒนาประมงน้าํ จดื นายนพดล ภูวพานิช ผอู ํานวยการสถาบนั วจิ ยั สตั วนํ้าสวยงามและพรรณไมนํ้า นายวีระ วัชรกรโยธนิ เรยี บเรยี งโดย อรุณี รอดลอย ภาพประกอบโดย อรุณี รอดลอย วีระ ภูประพันธ บา นสวนกปั๊ ป Factory Guppy Big Blue Guppy Jarawee Guppy Guppy Thailand NJ Guppy Thai Pin Guppy Pollawat Jirasu Teeruk คณะผจู ัดทํา สถาบนั วิจยั สัตวน ํ้าสวยงามและพรรณไมนาํ้ กองวิจยั และพัฒนาประมงนาํ้ จดื กรมประมง ชมรมผูนยิ มปลาสวยงามแหง ประเทศไทย กลุมผเู ล้ยี งปลาหางนกยูง รายชอ่ื ผเู ขารวมจัดทําประชมุ มาตรฐานสายพันธุและเกณฑการตัดสิน ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย กรมประมง นายวีระ วชั รกรโยธิน นางอรณุ ี รอดลอย นายศภุ วฑั ฒ โกมลมาลย นายรัฐภัทร ประดิษฐส รรพ นายพิสิฐ ภมู คิ ง นางสาวกฤษณา เตบสนั ชมรมผูนิยมปลาสวยงามแหง ประเทศไทย นายวิฑรู ย เทียนรุง ศรี กลุมผเู ลยี้ งปลาหางนกยงู นายนนั ทวัฒน โชตสิ วุ รรณ นายเดชา ฤทธิเดช นายนที แสงสิงคี นายณรงคศ ักด์ิ กาญจนรตั น นายณัฐพล ตนั ตเิ วชกุล นายปกรณ ณ ปอ มเพชร นายจีรวฒั น จังสมยา นายวรรณสิงห กสโิ ภคาสถติ ย นายปย ะพงษ ตินทุกะสริ ิ นายทวี วรนิ ทรก ติ ติกลุ นายปกติ รมยานนท นายวีระ ภปู ระพันธ นายวีระศักดิ์ วริ ยิ ะบศุ ย นายไกรวิทย ธนานิธไิ พศาล นายวนั ชัย สุจิรชาโต นายณฏั ฐพล พิศิษฐวานชิ นายสาฑุ ดาํ ขาํ นายสปุ ระวิทย สามารถ นางสาวสุดารัตน อดุ มพงศสุข นางสาวเบญจวรรณ บุญนาค นายอทิ ธิศกั ด์ิ เทศบุตร นายพรเลิศ ยนื สงามน่ั คง นายธีรยุทธ เกดิ ทอง นายอรรถสิทธิ์ ปทุมรังสี นายสุรชัย สภุ าวิมล นางสาวโชติรส แซล้ี นางสาวกัลยา สขุ นพิ ิฐพร นางสาวพชั รา หม้ันปญ ญา นายพชิ ัย เกล็ดศักดาเดช นางสาวขวัญศิริ เกิดศริ ิ นายฉตั รวรชุ แสนทวสี ขุ นางสาวเกตุชบา เอ่ยี มอาจ ปท่ีจดั พมิ พ พ.ศ.2558 จาํ นวน 2,000 เลม ISBN 978-616-358-122-8 พมิ พที่ ศูนยส่ือและส่ิงพมิ พแ กว เจาจอม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา

คํานาํ ปลาหางนกยูง Poecilia reticulata (Peters, 1959) เปนปลาสวยงามท่ี นิยมเลี้ยงกันแพรหลาย เปนปลาท่ีเลี้ยงงาย ไดรับความนิยมท้ังตลาดภายใน ประเทศและตา งประเทศ ทม่ี มี ลู คา การสง ออกอยใู นอนั ดบั ตน ๆ และมปี รมิ าณและ มูลคาการสงออกเพ่ิมข้ึนอยางตอเน่ืองในทุกๆ ป ในปจจุบันไดมีการพัฒนา สายพันธุปลาหางนกยูงใหสวยงามมีมาตรฐาน และมีความหลากหลายของ สายพันธุมากขนึ้ สถาบนั วจิ ยั สตั วน า้ํ สวยงามและพรรณไมน า้ํ กองวจิ ยั และพฒั นาประมงนา้ํ จดื กรมประมง ไดจัดทํามาตรฐานสายพันธุและหลักเกณฑการตัดสินการประกวด ปลาหางนกยูงคร้ังแรกในป พ.ศ.2547 ซึ่งปจจุบันผูเพาะเลี้ยงปลาหางนกยูง ในประเทศไทย ไดม กี ารพฒั นาสายพนั ธใุ หม คี วามสวยงามและมคี วามหลากหลาย ของสายพันธุมากข้ึน ดังนั้น สถาบันวิจัยสัตวน้ําสวยงามและพรรณไมน้ํา กองวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด กรมประมง จึงไดเชิญคณะกรรมการตัดสิน การประกวดปลาหางนกยงู ชมรมผนู ยิ มปลาสวยงามแหง ประเทศไทย ผเู พาะเลยี้ ง และผสู ง ปลาประกวด จากภาคเอกชน เขา รว มประชมุ หารอื รว มแสดงความคดิ เหน็ ในการปรับปรุงและแกไขเกณฑการตัดสินการประกวดปลาหางนกยูงของเดิม ที่ไดจัดพิมพข้ึนและใชมาจนถึงปจจุบัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนเกณฑ มาตรฐานในการตัดสินการประกวดปลาหางนกยูงในประเทศไทย และเผยแพร ความรูแกผูสนใจการประกวดปลาหางนกยูง เน้ือหาสวนใหญเนนเร่ืองมาตรฐาน สายพันธุ ลักษณะเดนของแตละสายพันธุ และเกณฑการพิจารณาใหคะแนน

ปลาหางนกยงู สายพนั ธตุ า งๆ ทน่ี ยิ มประกวดกนั ในประเทศไทย โดยรวบรวมขอ มลู และภาพประกอบจากตําราตา งๆ ทีเ่ กย่ี วของ และรวบรวมภาพจากงานประกวด ในประเทศไทย และจากผูเพาะเลี้ยงปลาหางนกยูง เพ่ือใหมีสาระถูกตอง และ สมบรู ณยิ่งขน้ึ กรมประมง โดยสถาบันวจิ ยั สตั วน าํ้ สวยงามและพรรณไมน า้ํ กองวจิ ยั และ พฒั นาประมงนา้ํ จดื ไดท าํ การปรบั ปรงุ และแกไ ขมาตรฐานสายพนั ธแุ ละหลกั เกณฑ การตัดสินการประกวดปลาหางนกยงู เลม น้ีข้นึ มา โดยมจี ุดมุงหมายเพื่อยกระดับ การพฒั นาสายพนั ธปุ ลาหางนกยูงใหม คี วามสวยงามตามมาตรฐาน สอดคลอ งกบั ความตอ งการของผคู า และผซู อ้ื จากตา งประเทศในปจ จบุ นั เพอื่ สง เสรมิ ธรุ กจิ ปลา สวยงามของไทยใหเ ทยี บเทา มาตรฐานสากล ทง้ั นี้ กรมประมงหวงั วา หนงั สอื เลม น้ี จะเปนประโยชนและสามารถนําไปใชเปนเกณฑมาตรฐานในการตัดสิน การประกวดปลาหางนกยูงในประเทศไทย ในโอกาสตอไป (นางสาวจอู ะดี พงศมณรี ตั น) รองอธบิ ดีกรมประมง กันยายน 2558

สารบัญ 3คาํ นํา............................................................................................................................................. 8บทนาํ ............................................................................................................................................ มาตรฐานสายพนั ธุ และเกณฑก ารตัดสิน 9ปลาหางนกยูงในประเทศไทย.............................................................................................. โมเสค 9สายพนั ธุ (Mosaic) ................................................................................................. ทักซโิ ด 11สายพนั ธุ (Tuxedo/half black).....................................................................

กราซสายพนั ธุ 16(Grass)..................................................................................................... 19สายพันธคุ อบบราหรือสเนค็ สกิน (Cobra or Snake skin) .......................................................... 23สายพันธโุ ซลิด (Solid).................................................................................................. 26สายพนั ธอุ ัลบิโน (Albino)..............................................................................................

30สายพันธุริบบอน (Ribbon) ............................................................................................ 33สายพันธุสวอลโล (Swallow)......................................................................................... 36สายพันธอุ สิ ระ (Open) ................................................................................................ 52เกณฑการตัดสนิ ปลาหางนกยูง.......................................................................................... ลกั ษณะและรปู แบบของครีบหาง 55ปลาหางนกยูง (แบบดั้งเดมิ )................................................................................................ 60เอกสารอางองิ ...........................................................................................................................

บทนาํ ปลาหางนกยงู มชี อ่ื วทิ ยาศาสตรว า Poecilia reticulata (Peters, 1959) มีถ่ินกําเนิดในทวีปอเมริกาใต เปนปลาออกลูกเปนตัว ในธรรมชาติชอบอาศัย ในแหลงนํ้านิ่งที่เปนนํ้าจืดและนํ้ากรอย ปลาที่นิยมเล้ียงเปนปลาสวยงาม (Fancy guppies) เปน ปลาทไี่ ดรับการคดั พนั ธแุ ละปรับปรงุ มาจากพนั ธพุ ืน้ เมอื ง (Wild guppies) ปจ จบุ นั นยิ มเลยี้ งกนั ทว่ั โลก เนอ่ื งจากเปน ปลาทม่ี คี วามหลากหลาย ของสีสันและลวดลาย เลี้ยงและเพาะพันธุไดงาย กินอาหารไดหลายชนิด ทงั้ อาหารสดและอาหารเมด็ มอี ปุ นสิ ยั รกั สงบไมก า วรา ว ทนทานตอ การเปลย่ี นแปลง สภาพแวดลอมไดดี เปนปลาท่ีมีการเพาะเลี้ยงเพ่ือการคา มีปริมาณและมูลคา การสงออกอยูในอันดับตนๆ และมีศักยภาพในการขยายตลาด ปจจุบัน ประเทศไทยมีการผลิตปลาหางนกยูงเพื่อการสงออกและมีมูลคาการสงออก เพิ่มข้ึนอยางตอเน่ือง ทั้งนี้เน่ืองจากประเทศไทยมีภูมิอากาศที่เหมาะสม ตอการเพาะเล้ียงปลาหางนกยูง การกําหนดลักษณะมาตรฐานสายพันธุของ ปลาหางนกยูง จะทาํ ใหผ ูเพาะเลยี้ งปลาไดพัฒนาสายพันธุใหตรงตามมาตรฐาน สากล สอดคลองกับความตองการของตลาด และยกระดับมาตรฐานสินคา ปลาสวยงามของไทยใหเ ทยี บเทา สากล จุดเดนของปลาหางนกยูงคือ ลําตัวและครีบมีลวดลายและสีสันสวยงาม สะดดุ ตา และมหี ลากหลายรปู แบบ โดยเฉพาะในปลาเพศผู ซงึ่ จะมลี กั ษณะครบี หาง และครีบหลังท่ีมีขนาดใหญกวาเพศเมีย ลําตัวมีลวดลายสีสันสวยงาม เปนปลา สวยงามขนาดเล็ก เลี้ยงงาย โตเร็ว สามารถผสมพันธุเพื่อใหไดลักษณะสีสัน และลวดลายทแ่ี ปลกตา จงึ ทําใหไ ดร ับความนิยมในตลาดอยางตอ เนือ่ ง ในหนังสือเลมน้ี จะกลาวถึงลักษณะเดนของแตละสายพันธุ เพื่อใหเกิด ความรูความเขาใจในแตละสายพันธกุ นั มากข้ึน ดังตอ ไปนี้

9กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ มาตรฐานสายพันธุแ ละเกณฑการตัดสิน ปลาหางนกยูงในประเทศไทย 1 สายพนั ธโุ มเสค (Mosaic) 1.1 ลําตัวจะมีสีใดก็ได แตตองไมมีลวดลาย อาจจะมีความเงาแวววาว (แพลททินม่ั ) ได 1.2 ครีบหางมีลวดลายแบบโมเสค โดยลวดลายจะมีลักษณะเปนแตมใหญ และ/หรือลายตอ กัน 1.3 ครบี หลงั ควรมีลวดลายและสีท่สี อดคลอ งกบั ครีบหาง • Platinum Red Mosaic

10 มาตรฐานสายพนั ธุและเกณฑการตดั สิน ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย Platinum Red Mosaic Platinum Red Mosaic Platinum Red Mosaic

11กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2 สายพนั ธทุ ักซิโด (Tuxedo/half black) แยกเปน 2 ประเภท 2.1 ทกั ซิโดสพี ื้น 2.1.1 ลําตัวจากบริเวณก่ึงกลางลําตัวไปสุดโคนหางมีสีดําหรือสีน้ําเงินเขม ลาํ ตวั อาจจะมคี วามแวววาว (แพลททนิ มั่ ) ได แตส ว นของแพลททนิ มั่ ไมค วรปนเปอ นอยูใ นชว งสดี าํ 2.1.2 ครบี หางสีพ้นื สีใดกไ็ ด 2.1.3 ครีบหลังควรมสี ีที่สอดคลองกับครีบหาง • Tuxedo Blue Tail

12 มาตรฐานสายพันธแุ ละเกณฑก ารตดั สิน ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย Tuxedo Red Tail German Tuxedo White Tail Tuxedo Red Tail Halfmoon

13กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2.2 ทักซโิ ดลาย 2.2.1 ลําตัวจากบริเวณกึ่งกลางลําตัวไปสุดโคนหางมีสีดําหรือสีน้ําเงินเขม ลาํ ตวั อาจจะมคี วามแวววาว (แพลททนิ ม่ั ) ได แตส ว นของแพลททนิ มั่ ไมควรปนเปอ นอยูใ นชว งสดี าํ 2.2.2 ครีบหางมลี ายลักษณะใดก็ได 2.2.3 ครบี หลงั ควรมลี วดลายที่สอดคลองกบั ครีบหาง Platinum Tuxedo Red Mosaic

14 มาตรฐานสายพันธแุ ละเกณฑก ารตัดสนิ ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย Tuxedo Red Mosaic Platinum Tuxedo Red Mosaic Tuxedo Yellow Mosaic

15กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Tuxedo Red Mosaic Tuxedo Red Mosaic

16 มาตรฐานสายพนั ธุแ ละเกณฑก ารตดั สิน ปลาหางนกยูงในประเทศไทย 3 สายพันธกุ ราซ (Grass) 3.1 ลาํ ตวั มสี ใี ดก็ได บนลาํ ตัวมีมารกดาํ คลา ยสัญลักษณ NIKE 3.2 พน้ื ครบี หางมสี สี วา ง มจี ดุ ขนาดเลก็ กระจายอยทู ว่ั หางและมจี ดุ สมา่ํ เสมอกนั คลายลกั ษณะดอกหญา ในสายพันธุก ราซ ไมค วรมสี อี ่นื แทรกทค่ี รีบหาง 3.3 ครบี หลงั ควรมีสีและลวดลายที่สอดคลอ งกบั ครบี หาง ไมม สี ีอน่ื แซม • Red Grass

17กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Blue Grass Blue Grass Blue Grass

18 มาตรฐานสายพนั ธแุ ละเกณฑก ารตดั สิน ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย Blue Grass Blue Grass Purple Grass

19กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ 4 สายพันธคุ อบบราหรือสเนค็ สกนิ (Cobra or Snake skin) 4.1 ลาํ ตัวมีลายคลายลายหนงั งู ลวดลายสมํ่าเสมอ ชดั เจนตลอดลําตัว 4.2 ครบี หางตองมีลายเทา นั้น 4.3 ครบี หลงั ควรมสี แี ละลวดลายทส่ี อดคลอ งกับครีบหาง Red Lace

20 มาตรฐานสายพันธแุ ละเกณฑก ารตัดสนิ ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย Cobra Red Tail Cobra Red Mosaic Cobra Blue

21กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Gold Black Lace Cobra Yellow Cobra Yellow

22 มาตรฐานสายพันธแุ ละเกณฑก ารตดั สนิ ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย Gold Black Silver Lace

23กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ 5 สายพนั ธโุ ซลดิ (Solid) 5.1 ลาํ ตัวและครีบทกุ ครบี มีโทนสีเดียว สีใดก็ได 5.2 ครบี หางและครบี หลงั ตอ งไมม ีจุดหรอื ลวดลาย 5.3 ครีบหลังควรมสี ีสอดคลองกับครบี หาง Moscow Blue

24 มาตรฐานสายพนั ธแุ ละเกณฑก ารตัดสนิ ปลาหางนกยูงในประเทศไทย Full Red Full Red Moscow Black

25กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Moscow Red Tail Full black Moscow Blue

26 มาตรฐานสายพันธุและเกณฑก ารตดั สิน ปลาหางนกยูงในประเทศไทย 6 สายพันธอุ ลั บิโน (Albino) แบง เปน 2 ประเภท 6.1 อลั บิโนสีพน้ื 6.1.1 ตาสแี ดงเทานั้น 6.1.2 ลาํ ตวั และหางตอ งไมม ลี าย สอี ะไรกไ็ ด • Albino Blue Tail • Albino Full Platinum

27กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Albino Full Red RREA Full Red RREA Full Red

28 มาตรฐานสายพันธุและเกณฑการตัดสนิ ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย 6.2 อลั บโิ นลาย 6.2.1 ตาสีแดงเทาน้นั 6.2.2 ลาํ ตัวและ/หรือหางตอ งมลี าย Albino Cobra Red Tail Albino Green Lace Albino Blue Grass

29กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Albino Metal Red Lace Albino Red Grass Albino Red Grass

30 มาตรฐานสายพันธุและเกณฑการตดั สิน ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย 7 สายพนั ธรุ ิบบอน (Ribbon) 7.1 ครีบทุกครีบยาวและควรมีขนาดยาวใกลเคียงกนั 7.2 ครีบใตท อ งมีลักษณะยาวกวา ปกติ • Albino Full Pink Ribon • Albino Full Red Ribbon

31กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Blue Grass Ribbon Blue Grass Ribbon Albino Red Lace Ribbon

32 มาตรฐานสายพันธุแ ละเกณฑก ารตดั สิน ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย Tuxedo Blue Tail Ribbon RREA Tuxedo Blue Tail Ribbon Tuxedo Blue Tail Ribbon

33กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ 8 สายพันธสุ วอลโล (Swallow) 8.1 ครบี หางมลี กั ษณะแตกแขนงไดส ดั สว นยนื่ ยาวออกจากครบี หางปกติ เปน เสน หรือแผนก็ได 8.2 ครีบทุกครีบควรจะมีลักษณะแตกแขนงไดสัดสวนย่ืนยาวออกจากครีบปกติ เปน เสนหรือแผน กไ็ ด • Albino Red Lace Ribon (ตัวเมีย) • Albino Full Red Ribbon

34 มาตรฐานสายพันธแุ ละเกณฑก ารตดั สิน ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย Tuxedo White Tail Ribbon Albino Full Pink Swallow Red Grass Swallow

35กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Albino Full Red Swallow Galaxy Red Tail Ribbon Galaxy Ribbon

36 มาตรฐานสายพันธแุ ละเกณฑการตัดสิน ปลาหางนกยูงในประเทศไทย 9 สายพนั ธอุ สิ ระ (Open) เปนสายพันธุการประกวด ที่อยูนอกเหนือจาก 8 สายพันธุหลัก ที่กลาว มาแลว แบง เปน 2 ประเภท 9.1 โอเพน หางเลก็ เปน ปลาทไี่ มจัดอยใู น 8 สายพันธุขา งตน รวมทกุ ครบี หางท่เี ปนลักษณะอื่น เชน กานรม (Merah), ดับเบิลซอรด (Double Sword), สเปยเทล (Spear Tail), พนิ เทล (Pin Tail), สมอลราวดเ ทล (Small Round tail) ฯลฯ รวมถึงปลาหางนกยูงท่มี ีลกั ษณะหูชา งดว ย Albino Full Pink

37กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Aquamarine Red Scissor Tail Albino Full Red Wild Tail Cobra Red lace Round Tail

38 มาตรฐานสายพนั ธุแ ละเกณฑการตัดสนิ ปลาหางนกยูงในประเทศไทย Gold Round Tail Cobra Yellow Round Tail Yellow Round Tail

39กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Koi Guppy Japan Blue Wild Japan Blue

40 มาตรฐานสายพนั ธแุ ละเกณฑการตัดสนิ ปลาหางนกยูงในประเทศไทย Golden Double Sword Tail Koi Guppy Golden Double Sword Tail

41กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Medusa Japan Blue Wild Half Tuxedo Yellow Spear Tail

42 มาตรฐานสายพนั ธแุ ละเกณฑก ารตัดสนิ ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย Red Grass Merah Cobra Yellow Merah Cobra Yellow Merah

43กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Platinum Red Round Tail Tuxedo White Tail Merah Santa Maria Red Mosaic

44 มาตรฐานสายพนั ธแุ ละเกณฑก ารตดั สนิ ปลาหางนกยงู ในประเทศไทย Pinku Panda

45กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ 9.2 โอเพนหางใหญ เปนปลาท่ไี มจัดอยใู น 8 สายพนั ธขุ า งตน ทม่ี ลี กั ษณะหางเปน Delta Tail, Fan Tail, Round Tail เชน Medusa, Japan blue, Galaxy, Metal รวมถึงปลาหางนกยูงท่มี ลี กั ษณะหูชา งดว ย American Blue Tail Moscow Green

46 มาตรฐานสายพนั ธแุ ละเกณฑก ารตดั สนิ ปลาหางนกยูงในประเทศไทย Galaxy Metal Metal

47กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ Half Tuxedo Yellow Red Mosaic Galaxy Red Mosaic Galaxy Blue Mosaic

48 มาตรฐานสายพนั ธแุ ละเกณฑก ารตดั สนิ ปลาหางนกยูงในประเทศไทย Metal Blue Grass Japan Blue Red Mosaic Galaxy


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook