ยกุทระธทศราวสงตสราเธทาครโณนโสลุขยสี (2า5ร6ส0น-เท2ศ5ส6ุข9ภ) าพ eHealth Strategy, Ministry of Public Health (2017 –2026) ISBN 978-616-11-3531-7
หลงั ปกหนา้
ยยุทุทธธศศาสาสตตร์รเท์เทคคโนโนโลโลยยีสีสาราสรสนนเทเทศศสสุขุภขภาพาพกกระรทะทรวรวงสงสาธาธาราณรณสสุขุขพพ.ศ.ศ. .22556600––22556699 3 ยทุ ธศาสตรเ์ทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (2560 – 2569) eHealth Strategy, Ministry of Public Health (2017 – 2026) IS 672462 DATA CENTER eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
4 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 ยุทธศาสตรเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (2560 – 2569) eHealth Strategy, Ministry of Public Health (2017 – 2026) พิมพค์ ร้งั แรก : สิงหาคม 2560 ISBN 978-616-11-3531-7 สงวนลขิ สิทธ ์ิ : ตามพระราชบัญญัติลขิ สทิ ธิ์ พ.ศ.2537 ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ไม่อนุญาตให้คัดลอก ท�ำซำ้� และดดั แปลงสว่ นใด สว่ นหนง่ึ ของหนงั สือเล่มนี้เพ่อื แสวงหาก�ำไร แตย่ นิ ดใี หน้ ำ� สว่ นหนง่ึ ส่วนใดไปเผยแพร่ โดยไม่แสวงหารายได้ อนั จะเป็นประโยชนแ์ กก่ ารด�ำเนนิ งานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ (eHealth) ของประเทศไทย จดั ท�ำโดย : ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สำ� นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ทีป่ รกึ ษา : นพ. สวุ รรณชยั วฒั นาย่งิ เจรญิ ชัย บรรณาธกิ าร : ผศ. (พเิ ศษ) นพ.พลวรรธน์ วทิ ูรกลชติ กองบรรณาธิการ : กนกวรรณ มาปอ้ ง, สวุ ันต์นา เสมอเนตร, บุญชยั ฉตั รพิรฬุ ห์พันธุ์, ทิพย์วรรณ ยงศริ วิ ทิ ย์, ปัทมา มโนมธั ย,์ นภาพร มานะเจริญสุข, รงุ่ นิภา อมาตยคง, สาวติ รี คุ้มไข่นา้ , พชรวลี ใจหาญ, ศริ นิ ทร์ญา อนพุ งศม์ , ดร.มธวุ รี ิญจ์ เทพกจิ ออกแบบปก : ณฐั กลุ ชสู ิทธิ์ จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย : ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร สำ� นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ต.ตลาดขวัญ อ.เมอื ง จ.นนทบุรี 11000 โทรศพั ท:์ 02 590 2185 ต่อ 416 โทรสาร: 02 590 1215 email: [email protected] IS 672462 : https://ehealth.moph.go.th DATA CENTER เวบ็ ไซต์ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 5 ค�ำนิยม ศาสตราจารย์คลินิก เกียรติคุณ นายแพทย์ ปยิ ะสกล สกลสัตยาทร รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ รัฐบาลได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาการเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลเทคโนโลยีดิจิทัล ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ท้ังโครงสร้างและรูปแบบกจิ กรรมการด�ำเนินงานในทุกภาคสว่ น และยงั สง่ ผลตอ่ ระบบเศรษฐกิจของประเทศ ไมว่ ่าจะเปน็ การผลิต การบรกิ าร ซงึ่ ระบบบรกิ ารสขุ ภาพจำ� เปน็ ตอ้ งปรบั ตวั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยการนำ� เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และนวตั กรรมสขุ ภาพมา ใช้ในการบรหิ ารจัดการและสนบั สนนุ การดำ� เนินงาน เพื่อเพม่ิ โอกาสใหก้ ับประชาชนในการไดร้ ับบรกิ ารทางการแพทยแ์ ละสุขภาพ ที่ทันสมัย ทั่วถึงและเท่าเทียม รวมถึงรองรับการเข้าสู่สังคมสูงวัยด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และสามารถตอบปัญหาความท้าทาย ท่ปี ระเทศกำ� ลงั เผชญิ อยหู่ รอื เพม่ิ โอกาสในการพฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ หนังสอื เลม่ นี้ ไดม้ ีพัฒนากรอบยทุ ธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสขุ ภาพ (eHealth Strategy) กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560 – 2569 และมยี ุทธศาสตรก์ ารด�ำเนนิ งานอย่างเป็นรูปธรรม ทม่ี คี วามสอดคลอ้ งกับนโยบาย Thailand 4.0 และแผนพัฒนาดิจิทัล เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม (Digital Economy) นบั เปน็ อกี กา้ วหนงึ่ ทส่ี ำ� คญั ของประเทศไทยในการพฒั นาคณุ ภาพบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ อยา่ งจริงจงั ผมขอใหเ้ ราทกุ คนจะกา้ วเดนิ ไปพรอ้ มกนั รว่ มกนั ขบั เคลอื่ นระบบสขุ ภาพและการสาธารณสขุ ของไทย ปฏบิ ตั หิ นา้ ทดี่ ว้ ยความเตม็ ใจ ภายในค่านิยม MOPH (Mastery เป็นนายตนเอง Originality เร่งสร้างส่ิงใหม่ People center ใส่ใจประชาชน และ Humility ถอ่ มตนออ่ นนอ้ ม) เพอ่ื ใหพ้ นี่ อ้ งประชาชนทกุ คนไดร้ บั บรกิ ารสขุ ภาพทด่ี ี มคี ณุ ภาพมาตรฐานเดยี วกนั ดว้ ยการนำ� เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใช้เป็นเครื่องมือทั้งฝั่งการแพทย์ผู้ให้บริการ และฝั่งประชาชนผู้รับบริการ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนไทย โดยมี ยุทธศาสตรเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) กระทรวงสาธารณสขุ เป็นแนวทาง ในการบูรณาการการทำ� งาน รว่ มกนั ทุกภาคส่วนตอ่ ไป ขอขอบคณุ ผบู้ รหิ าร และผเู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ทา่ นทไี่ ดม้ สี ว่ นรว่ มผลกั ดนั ใหเ้ กดิ ความสำ� เรจ็ น้ี และขออวยพรใหท้ กุ ทา่ นประสบความสำ� เรจ็ มีความก้าวหน้าในชวี ติ การท�ำงาน มคี รอบครัวทอ่ี บอุ่น แข็งแรง และมสี ุขภาพท่ดี ตี ลอดไป (นายแพทย์ปยิ ะสกล สกลสัตยาทร) รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
6 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 คำ� นิยม นายแพทยโ์ สภณ เมฆธน ปลดั กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขได้เริ่มด�ำเนินการพัฒนายุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 โดยได้รับความรว่ มมือจากหลายภาคส่วนและองค์กรที่เก่ยี วขอ้ ง รว่ มกนั วเิ คราะห์แนวทางและกำ� หนดเป้าหมายการดำ� เนนิ งาน eHealth เพ่อื เปน็ กรอบในการพฒั นายุทธศาสตร์เทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 โดยเน้นการตอบสนองความต้องการท่ีแท้จริง (Real Need) เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน ซ่ึงกลไกการด�ำเนินการต่อ ไป จะผลักดันให้เกิดการจัดท�ำวิสัยทัศน์ eHealth ของประเทศ น�ำสู่การพัฒนาแผนปฏิบัติการและมีแนวทางในการติดตามและ ประเมินผลการดำ� เนินงานด้าน eHealth อยา่ งเป็นระบบ การพฒั นายุทธศาสตรเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศสขุ ภาพ (eHealth Strategy) จงึ เปน็ ส่งิ จ�ำเป็น และมีความส�ำคัญอย่างย่งิ ดังท่ีองคก์ ร ด้านสขุ ภาพของโลก อาทิ องคก์ ารอนามยั โลก (World Health Organization : WHO) ได้พยายามผลักดันให้แตล่ ะประเทศขบั เคล่ือน eHealth Strategy ใหเ้ กดิ ผลส�ำเรจ็ ส�ำหรับประเทศไทย สำ� นักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรไี ด้ใหค้ วามส�ำคัญและสนบั สนุนให้ กระทรวงสาธารณสขุ เปน็ ผู้นำ� ในการจัดท�ำยทุ ธศาสตร์เทคโนโลยสี ารสนเทศสุขภาพ ผมขอใชโ้ อกาสนข้ี อบพระคณุ บคุ คลและหนว่ ยงานทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งตลอดกระบวนการจดั ทำ� และหนงั สอื ฉบบั นจี้ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ทุกภาคส่วนในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) เข้าสู่การเป็น Smart Health Care ของประเทศไทยตอ่ ไป (นายแพทย์โสภณ เมฆธน) ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 7 คำ� นิยม นายแพทยส์ วุ รรณชัย วฒั นาย่ิงเจรญิ ชัย รองปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ผู้บรหิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศระดบั สงู (CIO) กระทรวงสาธารณสุข ผมขอแสดงความยนิ ดกี บั คณุ หมอพลวรรธน์ วทิ รู กลชติ ผอู้ ำ� นวยการศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศฯ และทมี งานทมี่ คี วามคดิ รเิ รมิ่ ในการ รวบรวมและจดั ทำ� หนงั สอื ยทุ ธศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพ (eHealth Strategy) กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.2560 – 2569 นับเป็นอกี ก้าวหนงึ่ ท่ีสำ� คญั ของประเทศไทยในการพฒั นาคุณภาพบริการดา้ นสขุ ภาพอยา่ งจรงิ จงั และมียุทธศาสตร์การดำ� เนินงาน อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ทมี่ คี วามสอดคลอ้ งกบั นโยบาย Thailand 4.0 และแผนพฒั นาดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม (Digital Economy) ดว้ ยประสบการณก์ ารบรหิ ารงาน หนว่ ยงานสว่ นภมู ภิ าค และหนว่ ยงานระดบั กรม ทผี่ า่ นมา ทำ� ใหผ้ มยง่ิ เหน็ ความสำ� คญั และความ จ�ำเป็นของหนงั สือยุทธศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) กระทรวงสาธารณสุข เลม่ นี้ ซ่งึ จะมีประโยชน์ อย่างยิ่งในการใช้เป็นแนวทางการพัฒนางานสาธารณสุขของไทยด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศอันทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ให้บริการ ตลอดจนบรรลุผลลัพธ์สุดท้าย คือ ประชาชนมีสุขภาพดีและมีความพึงพอใจในบริการด้านสุขภาพ ซึ่งเน้ือหาทั้งหมด ในเลม่ น้ีได้ผา่ นการสงั เคราะหจ์ ากผู้ทรงคุณวฒุ ิ ผู้บริหาร และผปู้ ฏิบัติงานทัง้ สว่ นกลางและสว่ นภูมิภาคของกระทรวงสาธารณสขุ มาแล้วระดับหนึ่ง ผมขอแสดงความช่นื ชมศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร ผทู้ ีร่ ว่ มกนั ขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์เทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพ (eHealth Strategy) รวมถึงคณะท�ำงานทุกท่าน หนังสือเล่มนี้สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางาน พัฒนาการให้บริการ แกป่ ระชาชน พรอ้ มทงั้ รว่ มกนั ขบั เคลอ่ื นการดำ� เนนิ งานตามยทุ ธศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจเพอื่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายตามนโยบายตอ่ ไป (นายแพทยส์ ุวรรณชยั วัฒนาย่ิงเจรญิ ชยั ) รองปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ผบู้ ริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดบั สูง (CIO) กระทรวงสาธารณสุข eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
8 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 บทบรรณาธกิ าร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ (พเิ ศษ) นายแพทย์ พลวรรธน์ วิทูรกลชิต ผ้อู �ำนวยการศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สำ� นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ยทุ ธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (2560 – 2569) eHealth Strategy, Ministry of Public Health (2017 – 2026) เป็นฉบับแรก หลังจากท่ีมีฉบับร่าง (Draft) ผลิตแจกจ่ายให้กับทุกหน่วยงาน โดยเฉพาะหน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั น้ที �ำการปรับปรงุ เนื้อหาในบทท่ี 1 และเพิม่ บทท่ี 6 โดยได้น�ำภมู ทิ ัศน์ดจิ ิทลั ของประเทศไทย (Thailand Digital Landscape) สู่ Health 4.0 ความสอดคล้องเชอ่ื มโยงกับยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปีดา้ นสาธารณสุข และแผนพัฒนาดิจทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม ซง่ึ เปน็ กรอบแนวทางของทกุ หนว่ ยงานทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม ในการปฏบิ ตั งิ านดว้ ย เทคโนโลยีดิจิทัล การใช้สารสนเทศและการส่ือสาร ช่วยเพ่ิมการเข้าถึงบริการสุขภาพให้แก่ประชาชน eHealth จึงเปรียบเสมือน เปน็ สะพานเช่ือมชุมชนเขา้ กับระบบบริการสขุ ภาพ ลดชอ่ งว่างเชิงภูมิศาสตร์และเชงิ สมั พนั ธภาพระหวา่ งประชาชนและผูด้ แู ล กระทรวงสาธารณสขุ ในฐานะผกู้ ำ� กบั ทศิ ทางการทำ� งานดา้ นสขุ ภาพและสาธารณสขุ ของประเทศไทย จงึ ไดศ้ กึ ษารวบรวม วเิ คราะห์ และสงั เคราะหค์ วามเชอื่ มโยงระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ านบำ� บดั รกั ษาบรบิ าลผปู้ ว่ ย สง่ เสรมิ ปอ้ งกนั สขุ ภาพประชาชน กบั การใชท้ รพั ยากร เทคโนโลยีดิจิทัล จนได้จุดเชื่อมท่ีเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย น�ำมาจัดท�ำเป็นยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข และเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วน หรืออาจกล่าวได้ว่า “ประชารัฐ” มีส่วนร่วมในการแสดงความเห็น ประชา พิจารณ์ยทุ ธศาสตรท์ ้ัง 6 ยทุ ธศาสตร์ ซึ่งไดร้ ับผลการตอบประชาพจิ ารณเ์ ป็นอยา่ งดี และกว่า 80% เห็นดว้ ยและสนบั สนุนใหใ้ ช้ ยทุ ธศาสตร์น้ีเป็นแนวทางในการเดินหน้ายกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในประเทศไทยร่วมกัน บทสรุปของการด�ำเนินงานในภาครัฐเพ่ือให้สามารถก้าวเดินไปในยุคไทยแลนด์ 4.0 ได้นั้น จุดเริ่มต้นของ Value innovation เป็นส่ิงจ�ำเป็น รวมทั้งการปรับกระบวนการในการบริหารงานท้ัง Value chain โดยสร้างค�ำตอบเป็นองค์รวม แล้วร่วมงานกับ Best practitioners ท�ำให้สามารถสร้าง Platform ใหม่ๆ ในระบบสาธารณสุขและมีความเป็นเลิศ ผลลัพธ์คือการเติบโตแบบ ก้าวกระโดดท่ีย่งั ยนื ถึงเวลาทีต่ อ้ งพฒั นาแผนแมบ่ ท eHealth ส�ำหรบั ประเทศไทย เพอ่ื ช่วยน�ำพลงั งานของเราไปสูก่ ารท�ำงานเพื่อ บรรลุเปา้ หมายร่วมกัน ผมหวังวา่ ผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี หลกั ในกระบวนการน ้ี โดยเฉพาะหนว่ ยงานด้านสาธารณสุขและผมู้ ีหน้าที่ รับผิดชอบด้านเทคโนโลยีการสื่อสารของประเทศไทยจะร่วมกันท�ำให้ eHealth แผนแม่บทส�ำหรับประเทศไทย สามารถน�ำมา ใชไ้ ดใ้ นโลกแห่งความเป็นจรงิ (ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ (พเิ ศษ) นายแพทย์ พลวรรธน์ วิทรู กลชิต) ผ้อู ำ� นวยการศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 9 สารบญั บทสรุปผู้บริหาร 15 16 เกร่ินนำ� 19 บทที่ 1 บทน�ำ 31 1.1 ความเปน็ มา 1.2 การขบั เคล่อื นระบบสุขภาพดว้ ย eHealth 39 1.3 วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ ค่านยิ มทเ่ี กีย่ วข้องกบั การพฒั นาสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 1.4 การสาธารณสขุ ไทยในยุค Health 4.0 เชื่อมโยงบริการท้งั ระบบสุขภาพด้วยเทคโนโลยดี จิ ิทลั 1.5 ภูมิทัศน์ดิจิทลั ของประเทศไทย (Thailand Digital Landscape) สู่ Health 4.0 1.6 วัตถปุ ระสงคข์ องการพฒั นายุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสขุ ภาพ (eHealth) บทท่ี 2 แนวคิดการพัฒนายุทธศาสตร์ eHealth 2.1 สถานการณ์และปญั หาด้านระบบขอ้ มูลขา่ วสารสุขภาพ 2.2 กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสขุ ภาพของประเทศ 2.3 บรบิ ทในการพัฒนา eHealth ของชาติ (National Context for eHealth Development) 2.4 สรุปสถานการณแ์ ละระดับการพฒั นา eHealth ในประเทศไทย 2.5 การวิเคราะห์ทรัพยากรและสภาพโดยรวมทางโครงสร้างพืน้ ฐานกระทรวงสาธารณสขุ บทท่ี 3 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมของ eHealth ในประเทศไทยตามองคป์ ระกอบของ eHealth (Environmental Analysis of The eHealth Sector in Thailand) 3.1 องค์ประกอบของ eHealth (WHO, National eHealth Strategy) 3.2 สภาพแวดล้อมของ eHealth ในประเทศไทยและระดบั การพัฒนา eHealth ในประเทศไทย บทที่ 4 แนวคดิ ยทุ ธศาสตร์ eHealth 47 • โปรแกรมการท�ำงานของ eHealth (eHealth Program of Work) • องคป์ ระกอบการบรหิ ารจดั การด้าน eHealth • โปรแกรมการทำ� งานของ eHealth • ยทุ ธศาสตร์เทคโนโลยสี ารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) • ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 จดั ต้งั องค์กรกลางความร่วมมือการบริหารจดั การ eHealth • ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 พัฒนาและปรบั ปรุงสถาปัตยกรรมองค์กรและโครงสรา้ งพื้นฐานเพอ่ื สนบั สนุนการให้บรกิ าร eHealth แกป่ ระชาชน • ยุทธศาสตร์ที่ 3 สรา้ งมาตรฐานของระบบข้อมูลสขุ ภาพ การบูรณาการขอ้ มลู สารสนเทศและการเช่อื ม โยงแลกเปล่ียนข้อมูลท่ีมีประสทิ ธิภาพ • ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ขับเคลื่อนและพัฒนานวตั กรรม ระบบบริการและโปรแกรมประยุกต์ด้าน eHealth ท่ีเป็นประโยชน์ต่อระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Healthcare service delivery) และประชาชน รวมทัง้ มกี ารคุม้ ครอง ทรพั ยส์ ินทางปัญญา • ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 ผลักดนั การใชก้ ฎหมาย ระเบียบ วิธีปฏิบตั แิ ละมาตรฐานท่ีเหมาะสมเพื่อสนบั สนุนการใช้ ICT ในระบบสขุ ภาพ • ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพฒั นาทุนมนษุ ยด์ า้ น eHealth และเทคโนโลยสี ารสนเทศการจดั การความรู้ดา้ นการ แพทย์และสขุ ภาพสำ� หรบั ประชาชน eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
10 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 สารบัญ (ตอ่ ) บทท่ี 5 การน�ำยทุ ธศาสตร์ไปสู่การปฏบิ ัต ิ 69 5.1 แนวทางการปฏิบตั ิการ eHealth 5.2 ระยะของการพฒั นา eHealth ใน 4 ระยะ 77 5.3 เปา้ หมายการด�ำเนินการ eHealth Targets ในระยะ 1 ปี 6 เดอื น 5.4 แนวทางในการบริหารก�ำกับดูแล eHealth (eHealth Governance) 87 5.5 วงจรแหง่ การเปลี่ยนแปลง eHealth (eHealth Transformation) 93 98 บทท่ี 6 การด�ำเนินงาน eHealth ที่สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นสาธารณสขุ และแผนพฒั นาดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม • การดำ� เนินงาน eHealth ขบั เคลอื่ นสู่ Health 4.0 • แผนการดำ� เนนิ งาน eHealth ระยะ 5 ปี ท่สี อดคลอ้ งกับ Digital Economy • สรปุ ภาคผนวก ขอ้ เสนอแนะ (RECOMMENDATIONS) ประชาพิจารณ์ (PUBLIC HEARING) คณะผ้จู ัดท�ำ เอกสารอา้ งอิง eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 11 สารบัญภาพ แผนภาพท่ี 1.1 ความต้องการนวตั กรรมท่ีก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทรี่ วดเร็วและมีผลกระทบรุนแรง 21 แผนภาพที่ 1.2 Roadmap การพัฒนานวัตกรรมกลมุ่ สุขภาพ 23 แผนภาพท่ี 1.3 สถานการณ์ด้านสาธารณสขุ ของประเทศไทยในอนาคต 25 แผนภาพท่ี 1.5 ภมู ทิ ัศน์ดิจทิ ัลของไทยในระยะ 20 ปี สู่ Health 4.0 27 แผนภาพท่ี 2 The six building blocks of a health system 31 แผนภาพที่ 2.3 National Context for eHealth Development 35 แผนภาพท่ี 2.5 แผนภูมแิ สดงค่าคะแนนผลการประเมินความพร้อมทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร 37 แผนภาพท่ี 3.1 องค์ประกอบของ eHealth 39 แผนภาพท่ี 5.2 eHealth Transformation 73 แผนภาพท่ี 5.3 ตัวอยา่ ง eHealth Strategic Work Streams 74 แผนภาพท่ี 5.4 ตวั อย่าง eHealth Implementation Roadmap 75 แผนภาพท่ี 6-1 แสดงความเช่ือมโยงยุทธศาสตร์ eHealth กบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 77 และแผนพฒั นาดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจ และสงั คม (Digital Economy) แผนภาพที่ 6-2 การเชอื่ มโยงระบบประชมุ ทางไกล ผ่านเครือขา่ ยสารสนเทศภาครฐั (GIN) 79 แผนภาพท่ี 6-3 แสดงความเช่อื มโยง(รา่ ง)ยุทธศาสตร์ eHealth และ ยุทธศาสตร์ Digital Economy 81 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
12 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 36 38 สารบัญตาราง 41 47 ตารางท่ี 2 – 4 สรปุ สถานการณ์และระดบั การพัฒนา eHealth ในประเทศไทย 48 ตารางท่ี 2 – 5 สรปุ การประเมนิ ความพร้อมด้าน ICT 49 ตารางที่ 3 – 2 สภาพแวดล้อมของ eHealth ในประเทศไทยและระดับการพัฒนา eHealth ในประเทศไทย ตารางท่ี 4 – 1 โปรแกรมการท�ำงานของ eHealth (eHealth Program of Work) ตารางที่ 4 – 2 องคป์ ระกอบการบรหิ ารจัดการด้าน eHealth ตารางที่ 4 – 3 โปรแกรมการทำ� งานของ eHealth eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 13 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
14 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 15 บทสรุปผู้บริหาร การเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลเทคโนโลยีดิจิทัล • การขยายบริการ Internet ความเร็วสูง แบบพิเศษ ให้กับ ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงทั้งโครงสร้างและรูปแบบกิจกรรม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลทุกแห่งท่วั ประเทศ การด�ำเนินงานในทุกภาคส่วน และยังส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจ ของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นการผลิต การบริการ ซ่งึ ระบบบรกิ าร • การเชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยสารสนเทศภาครฐั (GIN) ใหค้ รอบคลมุ สุขภาพจ�ำเป็นต้องปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการน�ำ โรงพยาบาลชมุ ชนทุกแหง่ ทว่ั ประเทศ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และนวตั กรรมสขุ ภาพมาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ และสนับสนุนการด�ำเนินงาน เพ่ือเพิ่มโอกาสให้กับประชาชน • การจัดการระบบส�ำรองข้อมูลของโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไปทุก ในการได้รับบริการทางการแพทย์และสุขภาพท่ีทันสมัย ทั่วถึง แหง่ ทว่ั ประเทศ และเทา่ เทยี ม รวมถงึ รองรบั การเขา้ สสู่ งั คมสงู วยั ดว้ ยเทคโนโลยี ดิจิทัล และสามารถตอบปัญหาความท้าทายที่ประเทศก�ำลัง • การจัดต้นแบบระบบบริการด้านสุขภาพอัจฉริยะ (Smart เผชญิ อยหู่ รอื เพมิ่ โอกาสในการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพอยา่ ง Service : PHRs, EMR, Registration) รวมถึงผลิตภัณฑ์ มีประสทิ ธภิ าพ สุขภาพในหนว่ ยบริการที่มคี วามพร้อม • การเพ่มิ มูลคา่ ทางเศรษฐกิจ ดว้ ยการพฒั นาให้ความร้ใู นการ ดูแลสุขภาพตนเองด้วยระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วน บุคคล (PHRs) • การออกกฎหมายในระบบสุขภาพท่ีทันสมัยเช่ือมโยงกับการ ด�ำเนนิ งานของแผนพฒั นาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม แนวทางที่ส�ำคัญของกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. • การบริหารจัดการ Health Digital Literacy ขนาดใหญ่ 2560 – 2579) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน มุ่งเน้นให้มีการสร้างเสริมให้คนในชาติมีสุขภาวะที่ดี สร้าง เป็นแหล่งรวบรวมความรู้สุขภาพที่เหมาะสมกับประเทศไทย โอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม กระทรวง ประชาชนเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งสะดวกรวดเร็ว ชว่ ย สาธารณสขุ ในฐานะทเ่ี ปน็ องคก์ รหลกั ในการพฒั นาระบบสขุ ภาพ ตอบปัญหา คลายความสงสัย ป้องกันการเข้าใจผิดท่ีอาจ ของประเทศ จึงมุ่งหวังให้บรรลุยุทธศาสตร์น้ีด้วยการพัฒนา กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสย่ี งดา้ นสขุ ภาพ ยบั ยง้ั การแพรก่ ระจายขอ้ มลู ระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ ควบคู่ไปกับการ ทบี่ ิดเบอื นในโลกโซเซยี ลได้ทนั ตอ่ สถานการณ์ ขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงสาธารณสขุ สไู่ ทยแลนด์ 4.0 • การจัดให้มีระบบ TeleHealth ที่มีคุณภาพสนับสนุนการให้ ด้านสาธารณสุข โดยการเชื่อมโยงระบบการดูแลสุขภาพแบบ บรกิ ารตรวจวนิ จิ ฉยั และใหค้ ำ� ปรกึ ษาระหวา่ งแพทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญ ดิจิทัลเพื่ออนาคต (Digitally connected health care system กบั แพทยใ์ นโรงพยาบาลทห่ี า่ งไกล โดยเฉพาะโรงพยาบาลชาย of the future) ซึ่งประกอบด้วยการให้บริการระบบสุขภาพ ขอบจังหวดั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความส�ำเร็จในการลดค่าใช้จ่ายในการ • การพัฒนาบุคลากรในระบบสุขภาพให้มีศักยภาพในการใช้ บริหารจัดการด้านสาธารณสุข สารสนเทศท่ีเก่ียวข้องกับการ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาปรบั กระบวนการทำ� งานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ บริการในระบบสุขภาพสามารถเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ ดียิง่ ขึ้น อย่างมคี ุณภาพ ปลอดภัย ไรร้ อยตอ่ และได้รับการคมุ้ ครองจาก • การบรู ณาการเชอ่ื มโยงขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ระบบสขุ ภาพรว่ ม กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง และสร้างโอกาสในการพัฒนานวัตกรรม กันระหว่างหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสขุ และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการบริการ เกิดการพัฒนาและ ด้วยความตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงและโอกาสในการ อภบิ าลระบบสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมและย่ังยืน พัฒนาดังกล่าว กระทรวงสาธารณสุขจึงได้จัดท�ำยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสขุ ไดผ้ ลกั ดนั การขบั เคลอื่ นระบบสขุ ภาพดว้ ย เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) ฉบับน้ีขึ้น เทคโนโลยีดิจิทัลผ่านยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ เพ่ือใช้เป็นกรอบในการผลักดันให้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นกลไก (eHealth Strategy) มุ่งเนน้ การพฒั นาที่สอดรับกับแผนพัฒนา ในการพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศ รวมถึงการปรับ ดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy) และยัง เปลี่ยนกระบวนทัศน์ การปฏิรูปการด�ำเนินงานด้านเทคโนโลยี พจิ ารณาจากปจั จยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง รวมทงั้ สงั เคราะหค์ วามสอดคลอ้ ง ดิจิทัลและนวัตกรรมสุขภาพร่วมกันในทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ กับยุทธศาสตร์เทคโนโลยีดิจิทัลและ eHealth ในระดับสากล และเอกชน ภาคการผลิตและการให้บริการด้านสุขภาพ การ เพอื่ ตอบปญั หาความทา้ ทายดา้ นสาธารณสขุ ในหลายๆ ดา้ น เชน่ ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการดำ� เนนิ งาน เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน อันจะน�ำไปสู่ความมั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืนของ • หน่วยบริการในสงั กัดกระทรวงสาธารณสุขสามารถเชือ่ มโยง ประเทศไทยตามนโยบายของรัฐบาล กนั ดว้ ยเครอื ขา่ ยภายใน (MoPH Intranet) ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั และไดม้ าตรฐานสากล eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
16 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 เกริ่นนำ� แนวคิด eHealth เป็นท่ีต่ืนตัวไปท่ัวโลก องค์การอนามัยโลก eHealth เป็นการเช่ือมโยงระหว่างผู้ป่วยและผู้ให้บริการด้าน (World Health Organization : WHO) ไดผ้ ลกั ดนั ใหท้ กุ ประเทศ สุขภาพ รวมถึงผู้เช่ียวชาญด้านสุขภาพ ครอบคลุมถึงการรับ- เห็นความส�ำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ ส่งข้อมูลสุขภาพระหว่างหน่วยงานต่างๆ รวมถึงระบบใบส่ังยา eHealth มาต้ังแต่ปี 2005 ให้เป็นผลส�ำเร็จ จากมติสมัชชา อเิ ลค็ ทรอนกิ ส์ บนั ทกึ สขุ ภาพอเิ ลค็ ทรอนกิ ส์ ขอ้ มลู สขุ ภาพ ระบบ อนามัยโลก WHA58.28: ที่กล่าวว่า “eHealth คือ ความคุ้ม การส่งต่อ เครือข่ายบริการสุขภาพ Telehealth อุปกรณ์เสริม ค่าและปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ในการ รวมท้ังอุปกรณ์พกพาตา่ งๆ ท่ีใชใ้ นระบบสุขภาพ เวบ็ ทา่ (Web สนับสนุนด้านสุขภาพและด้านอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง รวมท้ังบริการ Portal) สขุ ภาพ โครงสร้างพ้ืนฐานด้าน ดา้ นสุขภาพ การเฝ้าระวังสุขภาพ วรรณกรรมดา้ นสุขภาพ การ ศกึ ษาดา้ นสาธารณสขุ ความรแู้ ละการวจิ ยั “ ซงึ่ สมชั ชาสขุ ภาพ เทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูลส�ำหรับการวิจัยและการดูแลทางคลินิก ฉบบั เดยี วกนั ไดม้ มี ตริ บั รองการประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ (UHC) และเคร่ืองมืออ่ืน ๆ ท่ีช่วยในการป้องกันโรค การวินิจฉัย (WHA58.33) นบั แตน่ นั้ เปน็ ตน้ มา การประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ การรกั ษา การตรวจสขุ ภาพ การบรหิ ารจดั การตา่ งๆ ทชี่ ว่ ยใหก้ าร และ eHealth จึงไดร้ บั การพัฒนาในอัตราท่ีเรง่ ยิง่ ขึ้นและเปน็ ท่ี ดำ� เนนิ งานดา้ น eHealth ดยี ง่ิ ขน้ึ รวมถงึ การใช้ อนิ เทอรเ์ นต็ หรอื ยอมรบั กนั ทัว่ โลก สอ่ื อเิ ลค็ ทรอนกิ สอ์ นื่ ๆ เพอ่ื การเผยแพรห่ รอื ใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู การ ดแู ลสขุ ภาพแก่ประชาชน eHealth คืออะไร? แมน้ ยิ ามของ eHealth จะเปน็ ภาพทก่ี วา้ งและมคี วามหลากหลาย “eHealth” หรือบางคนอาจคุน้ หูกับค�ำว่า “Health IT” แมจ้ ะใช้ แตโ่ ดยสรปุ แลว้ “eHealth คือ เทคโนโลยดี ิจทิ ัลและบรกิ าร ICT ค�ำตา่ งกนั แต่โดยความหมายในแงข่ องการใช้ประโยชนแ์ ลว้ ไม่ ทเี่ ชอ่ื มโยงระหวา่ งผใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพและประชาชน เพอ่ื ให้ ได้แตกตา่ งกัน eHealth ประกอบไปดว้ ย “e” และ “Health” สามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารสขุ ภาพไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทว่ั ถงึ เปน็ ธรรมและปลอดภัย” “Health หรอื สขุ ภาพ” คอื ภาวะทม่ี คี วามพรอ้ มสมบรู ณท์ งั้ ทาง กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดย ร่างกายและจิตใจ การดูแลตนเอง การดแู ลคนทเ่ี รารัก และได้ เฉพาะด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่เป็นไปอย่างแพร่หลาย รบั การดูแล ระบบสุขภาพหลายแห่งจึงใช้เทคโนโลยีสร้างนวัตกรรมสุขภาพ “e คือ electronic technology” ซึ่งเราคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว ข้ึนมาอย่างมากมาย และใช้เช่ือมโยงเข้ากับผู้ป่วย เพื่อให้เกิด เช่น computer โทรศัพท์มือถือและแท็ปเล็ต อินเตอร์เน็ตและ การบริการที่สะดวก รวดเร็ว ไร้รอยต่อ ลดระยะเวลาการรอ Social Media คอย ประหยดั ทง้ั เวลาและงบประมาณ รวมถงึ ลดการสูญเสยี ท้งั ดา้ นทรพั ยส์ ินและชวี ติ ของประชาชน มีแนวคิดการใช้ผู้ป่วยเปน็ ศนู ย์กลางในการดแู ล (Patient-centered care) มากย่ิงข้ึน ซงึ่ “IT คือ Information Technology” หรือเทคโนโลยสี ารสนเทศ จะช่วยเสริมสร้างให้ผู้ให้บริการสุขภาพและผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์ เม่ือเอามารวมกัน ก็คือ eHealth หรือ Health IT ซ่ึงก็คือ กันมากข้ึนด้วยความช่วยเหลือจากเทคโนโลยีดิจิทัล ซ่ึงผลลัพธ์ เทคโนโลยีและบริการ ICT ที่เช่ือมโยงระหว่างผู้ให้บริการด้าน ที่ได้ท้ายที่สุด คือ การปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการ สุขภาพและประชาชน เพ่ือให้สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้ ความปลอดภัยของผู้ป่วย ความพึงพอใจและผลสำ� เร็จในการให้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ทว่ั ถึง เปน็ ธรรมและปลอดภัย บริการสุขภาพ แต่ในยุคนี้กระแสของดิจิทัล (Digital) ก�ำลังมาแรง และได้น�ำ การปรบั เปลย่ี นรปู แบบการดแู ลโดยใชผ้ ปู้ ว่ ยเปน็ ศนู ยก์ ลาง สง่ิ ท่ี มาใช้ในการขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจและสังคม องค์กรหลายแห่งได้ นา่ ชนื่ ชมคอื การมสี ว่ นรว่ มของ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นเทคโนโลยที เ่ี พมิ่ น�ำมาใช้แทนค�ำว่า ICT ซึ่งก็ได้มีผู้ให้ความหมายของดิจิทัลไว้ ขน้ึ การใหข้ อ้ มลู ในการดแู ลผปู้ ว่ ยกบั ผดู้ แู ล (Caregivers) ไดด้ ยี งิ่ ว่า คือ การน�ำเอาไอซีทีหรือเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้เพื่อเพ่ิม ขน้ึ จงึ กลา่ วไดว้ า่ แนวคดิ eHealth มปี ระโยชนต์ อ่ ประชาชนดงั น้ี ผลผลติ เพมิ่ ผลงานโดยใชเ้ วลานอ้ ยลงและสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ใหแ้ ก่ 1. ช่วยใหผ้ ู้ป่วยเขา้ ถึงระบบบรกิ ารสขุ ภาพได้สะดวก รวดเร็วย่ิง สินค้าและบริการต่าง ๆ น่ันเอง แต่ในยุทธศาสตร์เทคโนโลยี ข้นึ สารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) ฉบับนี้จะยังใช้ค�ำว่า eHealth เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและนยิ ามทตี่ รงกนั ในระดบั สากล eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 17 2. ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลการรักษามีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น eHealth มศี กั ยภาพทจ่ี ะปฏวิ ตั กิ ารดแู ลสขุ ภาพ ปรบั ปรงุ สขุ ภาพ สามารถบันทึกและส่งตอ่ ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ ผลการตรวจ ในระดบั โลกและเปลีย่ นวธิ ีการ ในการดแู ลสุขภาพ ด้วยข้อมูลที่ ห้องปฏิบัติการได้เร็วกว่าที่เคย การวินิจฉัยโรคดีข้ึน การดูแล สามารถนำ� มาใช้เพ่อื ปรบั ปรุงการให้บรกิ ารด้านการดแู ลสขุ ภาพ รักษาดียิ่งข้ึน สามารถดึงข้อมูลมาจากหลายแหล่งได้อย่าง และพฒั นาวิธีการรักษา โดยความร่วมมอื ของผู้เชย่ี วชาญเพราะ สะดวก รวดเร็ว ช่วยให้แพทย์มีข้อมูลมากย่ิงขึ้น ช่วยในการ ข้อมูลส่วนบุคคล (privacy) เป็นสิง่ สำ� คัญ วินิจฉัยได้มากขึ้น ท�ำให้การรักษามีความเหมาะสม สามารถ ใชข้ อ้ มลู ไดใ้ นยามทต่ี อ้ งการ ผปู้ ว่ ยสามารถไดร้ บั การดแู ลรักษา การนำ� eHealth มาใชจ้ ะชว่ ยลดกรณฉี กุ เฉนิ ไดถ้ งึ 60 เปอรเ์ ซน็ ต์ จากระยะไกล ลดการรักษาในโรงพยาบาลได้ถึง 40 เปอร์เซ็นต์ eHealth สามารถชว่ ยลดค่าใช้จ่ายในระบบสขุ ภาพ ท่สี าคัญท่สี ดุ คือ ชว่ ย 3. ความก้าวหน้าในเทคโนโลยี eHealth ในระบบบริการ ลดอัตราการตาย คนไขไ้ ดร้ บั คำ� แนะน�ำในการดแู ลสุขภาพ เพ่ิม สุขภาพ ทำ� ให้ผูป้ ่วยสามารถ ได้รับการใหค้ �ำปรึกษาผา่ น Video ความสขุ ความพงึ พอใจในครอบครวั ประชาชนไดร้ บั ระบบบรกิ าร conference หรือ Telehealth และตดิ ตามอาการใน 24 ชัว่ โมง สุขภาพที่มีคุณภาพ เพ่ือบรรลุผลลัพธ์ด้านสุขภาพของประเทศ โดยใชค้ วามกา้ วหนา้ ในดา้ นเทคโนโลยตี ดิ ตามอาการผปู้ ว่ ย ดว้ ย อย่างย่งั ยืน การถ่ายทอดข้อมลู ผา่ น wireless จากนนั้ สง่ สัญญาณระยะไกล ไปยงั ผดู้ แู ล ถา้ เปน็ กรณฉี กุ เฉนิ กส็ ามารถแจง้ ใหเ้ พอ่ื นบา้ นทราบ การจะพัฒนา eHealth ให้เข็มแข็ง จ�ำเป็นต้องจัดท�ำกรอบ หรือโทรติดต่อเพื่อขอความช่วยเหลือจากบริการฉุกเฉินของ ยุทธศาสตร์ eHealth เพื่อก�ำหนดภารกิจ “เพื่อประสิทธิภาพ โรงพยาบาล (Healthcare IT Vendor มีความกา้ วหน้าในการ ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อปรับปรุงการ พฒั นาระบบนเ้ี ปน็ อยา่ งมากและใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในหลายๆ ส่งมอบการดูแลสุขภาพ การบริหารจัดการและการส่ือสาร ประเทศ) สุขภาพ” โดยมีเป้าหมายคือ การเข้าถึงบริการสุขภาพของ ประชาชนทุกระดับ ซ่ึงควรได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ 4. ช่วยให้ประชาชนสามารถจัดการสุขภาพของตัวเอง eHealth นอกจากน้ีแลว้ หน่วยงานดา้ นสุขภาพยังสามารถน�ำเอา eHealth จะช่วยประชาชนในการจัดการสุขภาพของเขาเอง โดยการให้ มาใช้ในการปฏิบัติงาน การวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับสุขภาพของ ข้อมูลสุขภาพท่ีเช่ือถือได้และช่วยในการสื่อสารกับผู้ให้บริการ ประชาชน การรายงานด้านสุขภาพและการด�ำเนินการด้าน ดูแลสุขภาพ ประชาชนสามารถเข้าถึงค�ำแนะน�ำและข้อมูล มนุษยธรรม สุขภาพ eHealth ให้บริการเคร่ืองมือเพื่อน�ำไปสู่ชีวิตท่ีมีสุขภาพดี มี ความยืดหยุ่น เหมาะสมกับชีวิตท่ีวุ่นวายของในยุคปัจจุบันผ่าน ทางเทคโนโลยีท่ีมีอยู่ ให้ประชาชนสามารถท่ีจะจัดการสุขภาพ ของตนเอง eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
18 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 19 บทท่ี 1 : บทน�ำ ผนู้ พิ นธ์ : ผศ.(พเิ ศษ) นพ.พลวรรธน์ วทิ ูรกลชิต 1.1 ความเปน็ มา เทคโนโลยีดิจิทัลมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วอยู่ตลอดเวลา ระบบเศรษฐกจิ สงั คมของโลกถกู หลอมเขา้ สเู่ ศรษฐกจิ สงั คมของ และมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การดำ� เนนิ ชวี ติ ของประชาชนอยา่ งหลกี เลยี่ งไม่ โลกออนไลน์มากย่ิงข้ึน กิจกรรมของประชาชน ธุรกิจ หรือรัฐ ได้ รวมทงั้ สง่ ผลกระทบตอ่ การดำ� เนนิ งานของภาคธรุ กจิ ภาครฐั จะถกู ยา้ ยมาอยบู่ นระบบออนไลน์ เชน่ การสอ่ื สาร การซือ้ ขาย และภาคประชาสงั คมและทกุ องคก์ ร การพฒั นาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สนิ ค้า การท�ำธุรกรรมทางการเงิน การเรยี นรู้ การดแู ลสขุ ภาพ ในระบบสุขภาพ จึงต้องตระหนักและรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง การบรกิ ารของภาครฐั ฯลฯ เกดิ แนวโนม้ การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ด้านเทคโนโลยี รวมถึงผลกระทบของการเปล่ียนแปลงด้าน เพอ่ื การผลติ มากขน้ึ ประชาชนและผู้บรโิ ภคกลายมาเปน็ ผผู้ ลิต เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลทจี่ ะเกิดข้นึ ในอนาคต โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อท�ำให้เกิดผลผลิตและรายได้มาก ขึ้น (consumption to production) เกิดนวัตกรรมสินค้าและ เทคโนโลยเี กดิ ความเปลยี่ นแปลงแบบกา้ วกระโดด ดงั จะเหน็ ได้ บริการ (innovation economy) เกิดข้อมูลทั้งจากผใู้ ช้งาน และ จาก Disruptive technology หรอื เทคโนโลยเี ปลยี่ นโลก ซง่ึ เปน็ จากอุปกรณ์เซ็นเซอร์ต่างๆ จ�ำนวนมหาศาล โลกดิจิทัลจึงเป็น เทคโนโลยใี หมๆ่ ทม่ี คี วามกา้ วหนา้ และสามารถเขา้ มาเปลยี่ นรปู โลกของการแข่งขันด้วยข้อมูล ซ่ึงศักยภาพในด้านการวิเคราะห์ แบบการดำ� เนนิ ชวี ติ การประกอบธรุ กจิ และเศรษฐกจิ โลก ไมว่ า่ ข้อมูลขนาดใหญ่ จึงเป็นเรื่องจ�ำเป็นส�ำหรับทุกหน่วยงานและ จะเปน็ เทคโนโลยอี ปุ กรณเ์ คลอ่ื นทเ่ี พอ่ื การเชอ่ื มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ องคก์ รทง้ั ภาครฐั และเอกชน นอกจากนขี้ อ้ มลู สว่ นบคุ คลมคี วาม แบบทกุ ท่ีทุกเวลา (mobile/ wearable computing) เทคโนโลยี ส�ำคัญมาก การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลจะกลายเป็นประเด็น การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ขนาดใหญ่ (big data analytics) เทคโนโลยี สำ� คญั ทส่ี ดุ ในยคุ ของ Big data เกดิ การใชร้ ะบบอจั ฉรยิ ะ (smart การเช่ือมต่อของสรรพสิ่ง (internet of things) เทคโนโลยี everything) มากขน้ึ การประมวลผลแบบคลาวด์ (cloud computing) เทคโนโลย ี หุ่นยนต์ ยานพาหนะไร้คนขับ(Autonomous vehicles) เร่ือยๆ โดยเฉพาะในภาคสุขภาพ จะมีการใช้เทคโนโลยีและ เทคโนโลยีพันธุกรรมขั้นสูง (advanced genomics) อุปกรณ์ แอปพลิเคช่ันอัจฉริยะต่างๆ ในกิจกรรมบริการผู้ป่วย การ หรือระบบกักเก็บพลังงาน เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ (3D ดูแลสุขภาพของประชาชน การเฝ้าระวัง ภัยพิบัติ การดูแลส่ิง printing) เทคโนโลยีวัสดุชาญฉลาด เทคโนโลยีส�ำรวจและขุด แวดล้อม และอืน่ ๆ เจาะนำ้� มนั เทคโนโลยพี ลงั งานทดแทน เทคโนโลยดี งั กลา่ วตา่ งมี ศกั ยภาพในการเปลย่ี นรปู แบบการดำ� เนนิ ชวี ติ และการทำ� งานได้ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก่อให้เกิดความเส่ียงด้านความ อยา่ งแทจ้ ริง ผู้น�ำท้งั ในส่วนของหนว่ ยงานภาครฐั และภาคธรุ กจิ ปลอดภัยไซเบอร์ การเข้าถึงข้อมูลและระบบโดยไม่ได้รับ ต้องไมเ่ พียงแคร่ บั รู้ถึงสิ่งทก่ี �ำลงั จะเกิดขึ้น แต่ยงั ตอ้ งเริม่ เตรยี ม อนุญาต การยับยั้งข้อมูลและระบบ การสร้างความเสียหายแก่ ความพร้อมส�ำหรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นอีกด้วย Disruptive ระบบ การจารกรรมข้อมูลบนระบบคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้การ technology จึงไม่ใช่แค่เร่ืองเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว แต่มัน ดำ� เนนิ งาน หยุดชะงักและไดร้ ับความเสียหายหรือเกิดอนั ตราย คอื การผสานเทคโนโลยี กบั สงั คม และแรงผลกั ดนั ทางเศรษฐกจิ ตอ่ ชีวิตและทรพั ย์สิน รวมทงั้ การเปลยี่ นโครงสรา้ งกำ� ลังคนทจ่ี ะ ผา่ นการเปลยี่ นวธิ ีคดิ ของคน เร่ิมถูกทดแทนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลที่สามารถท�ำได้ดีกว่าและ มีประสิทธิภาพมากกว่า ขณะเดียวกันก็จะมีงานรูปแบบใหม่ท่ี สรุปได้ว่า Disruptive technology คือ การคิดค้นเทคโนโลยี ต้องใช้ความรู้และทักษะสูงเกิดขึ้น เช่น นักวิทยาศาสตร์หรือ ใหมๆ่ ทมี่ คี วามกา้ วหนา้ เพอ่ื ใหท้ นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงและความ ผู้เช่ียวชาญด้านข้อมูล ผู้เช่ียวชาญด้านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ต้องการทางสงั คม ผลกั ดนั การขับเคลอื่ นทางเศรษฐกจิ องคก์ ร นกั ดิจทิ ลั ดา้ นสุขภาพ ฯลฯ ปรับเปล่ียนรูปแบบบริการหรือน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออก สู่ตลาด จนกระทั่งสินค้าหรือบริการน้ันๆ มีส่วนเปลี่ยนแปลง ทัศนคตขิ องผู้บรโิ ภค eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
20 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 ความท้าทายจากพลวตั ของเทคโนโลยดี ิจิทลั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ระบบสขุ ภาพ จะเห็นได้ว่าพลวัตของเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีเปลี่ยนแปลงอย่าง ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลมากย่ิงขึ้น หน่วยงานภาครัฐจะ รวดเรว็ และไมห่ ยดุ ยงั้ สง่ ผลกระทบอยา่ งมากตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ท�ำให้เกิดความสมดุลระหว่างความจ�ำเป็นในการส่งเสริมให้เกิด และสงั คม ความสามารถในการใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั การเจรญิ เตบิ โตทางเทคโนโลยี กบั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สวสั ดกิ าร จึงเป็นปัจจัยส�ำคัญของการพัฒนาประเทศ ภาคสาธารณสุข ของสงั คม เนือ่ งจากเทคโนโลยใี หมจ่ ะเขา้ มาเปลยี่ นรูปแบบทาง ควรให้ความส�ำคัญกับการลงทุน พัฒนา และส่งเสริมการใช้ เศรษฐกจิ และการด�ำเนินชีวิตของทกุ คนในสังคม เทคโนโลยีดิจิทัล อันจะน�ำไปสู่การพัฒนาสุขภาพและคุณภาพ การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันในยุคดิจิทัลของประเทศ ชวี ติ ของคนในสงั คม รวมถึงการให้บริการประชาชน โดยน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลที่แพร่ การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เปน็ เครอื่ งมอื ในการเชอื่ มตอ่ ระบบบรกิ าร กระจายมาใชใ้ นระบบสุขภาพและแทรกซมึ ไปทกุ ภาคส่วน เพ่อื สุขภาพ โดยท่ีทุกภาคส่วนและประชาชนในประเทศสามารถมี สร้างโอกาสให้คนทุกกลุ่มมีส่วนร่วมในการสร้างระบบสุขภาพท่ี บทบาทและมีส่วนร่วมได้อย่างท่ัวถึงและเท่าเทียม โดยเฉพาะ ดีและน�ำพาประเทศไทยไปสู่สังคมท่ีทุกคน สามารถกลายเป็น อย่างย่ิงนวัตกรรมดิจิทัล เพ่ือสร้างคุณค่า (value creation) ผู้ผลติ และขดี ความสามารถทางการแขง่ ขนั ในระดบั สากล ตลอดจนการ และสร้างมูลค่า ดังจะเห็นได้จาก1ผลส�ำรวจนวัตกรรมในการ ยกระดับ “คุณภาพชีวิต” ของประชาชนในประเทศ ผู้ก�ำหนด ดูแลสุขภาพของภาคการดูแลสุขภาพในสหรัฐอเมริกา พบว่า นโยบาย สามารถใช้เทคโนโลยีขั้นสูงในการรับมือต่อความท้า หนว่ ยงานดา้ นสุขภาพต้องการและคิดวา่ เป็นสิ่งจำ� เปน็ มากที่สุด ทายใหม่ๆ เช่น การสร้างและใช้ประโยชน์จากข้อมูลสุขภาพ ต่อการปฏิรปู การให้บรกิ ารสขุ ภาพ คือ Disruptive Innovation จากแหล่งตา่ งๆ ขอ้ มูล social media และข้อมูลทมี่ กี ารจดั เกบ็ โดยโรงพยาบาลและระบบสาธารณสขุ มคี วามตอ้ งการเปน็ อนั ดบั โดยอุปกรณ์และไหลผ่านเครือข่าย (internet of things) มา ต้น ๆ เกือบ 2 ใน 3 ของผู้ตอบแบบสอบถาม รองลงมาคือ วิเคราะห์ผ่านระบบประมวลผลขนาดใหญ่ เพ่ือใช้ประโยชน์ใน บคุ ลากร Health IT และหน่วยบริการปฐมภูมิ ในภาคองคก์ ร การปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการดำ� เนนิ งานในการผลติ การบรกิ าร ทีต่ ้องการมากทส่ี ดุ คอื องคก์ รผูใ้ ห้บริการ ได้แก่ โรงพยาบาล และการพัฒนาการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐาน ซ่ึงการ ระบบบริการสขุ ภาพ หน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิ คลนี ิคพิเศษเปน็ ต้น ดำ� เนนิ งานโดยทว่ั ไปจะมกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทำ� ใหผ้ ู้ รองลงมาคือผผู้ ลติ สินค้าหรอื บรกิ าร ผ้ใู ห้บรกิ าร และผูจ้ ่ายเงนิ ดำ� เนนิ งานจำ� เปน็ ตอ้ งมคี วามรู้ และมกี ารฝกึ อบรมอยเู่ สมอ เพอื่ และบรษิ ทั ประกนั รายละเอยี ดตามแผนภาพท่ี 1.1 ให้สามารถรบั มือตอ่ ความทา้ ทายท่เี กิดจากเทคโนโลยีใหม่ โดย ผู้ก�ำหนดนโยบายจะสามารถใช้เทคโนโลยีเฉพาะด้านบางอย่าง เข้ามาช่วยรับมือด้านความสามารถในการผลิตท่ีเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง เพ่ือให้การส่งมอบบริการต่อสาธารณะเป็นไปอย่างมี H1 LaerveamrdoreBuDsainfensys, PShcDhoo&l.NNEaJmMitaCSat.aMlysoth.ta, MD. New Marketplace Survey: The Sources of Health Care Innovation.Insights Report · February 16, 2017. eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 21 Health Care Sector Most in Need of Disruptive Innovation Please rank the top three health care sectors that are most in need of disruptive innovation. Net Top 3 Rank (Multiple responses) Hospitals/Health systems 65% Health care IT 47% 36% (vendor technologies such as EMRs and clinical decision support) Primary Care Pharmaceuticals 34% Commercial payers 33% Public payer (Medicare/Medicaid) 31% 18% Specialty care 13% Healthcare IT(consumer-based technologies) 13% 5% Nonacure care 3% Medical devices Sevices(e.g., strategic consulting) 1st Rank by Organization Type Provider organnizations 56% 34% Hospital/Health systems, Primary care, Specialty care, 14% Nonacute care Vendors and suppliers Health care, IT (vendor technologies such as EMRs and clinical decision support), Health care IT (consumer-based technologies) Services (e.g., strategic consulting), Pharmaceuticals, Medical devices Payers/Insurers Commercial payes, Public payers (Medicare/Medicaid) Base = 519 NEJM Catalyst (catalyt.nejm.org)© Massachusetts Medical Society แผนภาพท่ี 1.1 ความต้องการนวัตกรรมท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงท่รี วดเร็วและมผี ลกระทบรนุ แรง eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
22 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 1.2 การขบั เคล่อื นระบบสุขภาพดว้ ย eHealth ระบบบรกิ ารสาธารณสขุ ไทยในปจั จบุ นั ถงึ แมจ้ ะประสบผลสำ� เรจ็ WHO2 ได้ท�ำการส�ำรวจผลการด�ำเนินงานด้าน eHealth จาก ในการขยายความครอบคลมุ ของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในทกุ 125 ประเทศท่ัวโลก และน�ำเสนอในงานประชุมเป้าหมายการ จงั หวดั และมหี ลกั ประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ แกป่ ระชาชนไทย เพอื่ พฒั นาทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals (SDGs) ของ ให้เกิดความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขท่ีจ�ำเป็น องคก์ ารสหประชาชาตใิ นเดอื นกนั ยายน 2015 ตามเปา้ หมายท่ี แต่ก็ยังพบความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข 3 คือ “มั่นใจในสุขภาพท่ีดีและส่งเสริมความเป็นอยู่ท่ีดีส�ำหรับ เนื่องจากขาดการกระจายของบุคลากรสาธารณสุข และ ทุกวัย” และเป้าหมาย 8 คือ “บรรลุความคุ้มครองสุขภาพ เทคโนโลยีทางการแพทย์ท่ีเหมาะสม ด้วยเทคโนโลยีทางการ ถ้วนหน้า” เพ่ือให้ทุกคนได้รับบริการด้านสุขภาพท่ีมีคุณภาพ แพทย์ท่ีมีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วท�ำให้การดูแลรักษาผู้ป่วย สูง โดยท่ีไม่ต้องทนทุกข์ทรมานกับความยากล�ำบากทางการ มปี ระสทิ ธภิ าพและสมั ฤทธผิ ลมากขน้ึ แตข่ ณะเดยี วกนั กม็ ภี าระ เงิน น่ีเป็นโอกาสส�ำหรับ eHealth ในการสนับสนุนวิธีการท่ี ค่าใช้จ่ายที่เพ่ิมมากข้ึนด้วย จึงเป็นความท้าทายในการเพิ่มขีด ครอบคลุมและสอดคล้องกันในด้านสุขภาพและการสนับสนุน ความสามารถในการแขง่ ขนั และลดความเหลอ่ื มลำ้� ในการเขา้ ถงึ บริการสุขภาพแบบบูรณาการโดยเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง บริการสุขภาพและสาธารณสขุ ของประชาชน ในการพัฒนา ซึ่งแนวคิดนี้สอดรับกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ซงึ่ เป็นการขับเคลือ่ นการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ชุดใหม่ สง่ ผลต่อ การขับเคลื่อนการด�ำเนินงานในระบบบริการสุขภาพให้มี วิถชี วี ติ ใหม่ ในทกุ ภาคส่วนของสังคม การน�ำเอา เทคโนโลยีมา ประสทิ ธภิ าพจำ� เปน็ ตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศและนวตั กรรม ช่วยสนับสนุนระบบสุขภาพไทย จ�ำเป็นจะต้องก�ำหนดแนวทาง สุขภาพในการบริหารจัดการและสนับสนุนการด�ำเนินงาน เพื่อ การดำ� เนนิ การรว่ มกนั ผา่ นวธิ ีการคดิ กระบวนการเรียนรแู้ ละ เพมิ่ โอกาสใหก้ บั ประชาชนในการไดร้ บั บรกิ ารทางการแพทยแ์ ละ กระบวนการทำ� งานใหมๆ่ เพอ่ื ใหเ้ กดิ โมเดลการทำ� งานทที่ นั สมยั สุขภาพท่ีทันสมยั ท่วั ถงึ และเทา่ เทียม รองรบั การเขา้ สูส่ งั คมสงู ขับเคลื่อนได้อย่างรวดเร็ว ซ่ึงนับว่า เป็นบริบทความท้าทายใน วยั ด้วยเทคโนโลยดี จิ ิทัล การพฒั นาประเทศไทย ชว่ ยยกระดบั อำ� นวยความสะดวก การ บริการประชาชน รวดเร็ว แมน่ ยำ� ทว่ั ถึง eHealth ถอื เปน็ โครงการทอี่ งค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก ดังท่ีได้ โมเดลประเทศไทย 4.0 ได้น�ำเสนอความได้เปรียบในเชิง กล่าวมาแล้วข้างต้น หลักการส�ำคัญส�ำหรับกลยุทธ์ eHealth แข่งขันของประเทศไทยท่ีมีอยู่ 2 ด้าน คือ ความหลากหลาย คือ การจัดล�ำดับความส�ำคัญในบริบทด้านสุขภาพของประเทศ ทางชีวภาพ และ ความหลากหลายเชิงวฒั นธรรม โดยการเตมิ มีวิสัยทัศน์ มีแผนปฏิบัติการเพื่อน�ำเสนอวิสัยทัศน์และการ เตม็ ดว้ ยวิทยาการ ความคดิ สรา้ งสรรค์ นวตั กรรมวทิ ยาศาสตร์ เตรยี มการในการตดิ ตามและประเมินผล การกำ� หนดข้อบงั คับ เทคโนโลยี และการวิจัยและพัฒนาแล้วต่อยอดความได้เปรียบ ด้านการก�ำกับดูแลที่เหมาะสมและการจัดการกับองค์ประกอบ โดยกระทรวงสาธารณสุขเก่ียวข้องโดยตรงกับกลุ่มสาธารณสุข ท่ีจ�ำเป็น (เช่น มาตรฐาน กฎหมายด้านเทคนิค และการให้ สขุ ภาพ และเทคโนโลยที างการแพทย์ (Health, Wellness and บรกิ ารทางดา้ นเทคนคิ ทเ่ี หมาะสม) รวมถงึ การสรา้ งความมน่ั ใจ Bio-Med) จงึ ไดม้ ี 3Roadmap ในการสรา้ งและพฒั นาโครงสรา้ ง วา่ ทรพั ยากรทางการเงนิ และบคุ ลากรในระบบสขุ ภาพจะสามารถ พื้นฐานทางการแพทย์เพ่ือผลักดันให้เป็นเทศไทยเป็น Medical ส่งมอบบริการสุขภาพท่ีเหมาะสมให้กับประชาชนได้ พ้ืนฐาน Hub ของอาเซยี นภายในปี พ.ศ. 2568 (แผนภาพที่ 1.2) ดา้ น eHealth จำ� เปน็ ตอ้ งใหใ้ นสงิ่ ทปี่ ระชาชนใหค้ ณุ คา่ และเขา้ ใจ 2 สWรHุปOไท. ยGแloลbนaดl 4์ dดif้าfนusสioาธnารoณf eสHุขeหalนthา้ : 4m.aสkiาnนgกั uนnโiยvบerาsยaแl ลhะeยaทุlthธศcาoสvตeรra.์ g2e3aมchกieรvาคabมle2. 5R6e0port of the third global survey on eHealth. 2016 3 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 23 á¼นÀา¾·Õè 1 Roadmap กาþ²ั นานǵั กÃÃÁกลØ‹ÁÊØ¢Àา¾ ð – ô »‚ ô – ðï »‚ ðï – ðô »‚ • Âา Generic ··Õè ´á·นกาÃนíาà¢้า • ÂÒªÕÇÇѵ¶ªØ ¹Ô´ãËÁ‹à¾èÍ× ÃÑ¡ÉÒÁÐàÃ§ç • ÂÒ (Small Molecules)ª¹´Ô ãËÁ‹ • ÂาªÇÕ Çµั ¶ØปÃÐàÀ· Bio similar áÅÐâäÀÙÁÔᾌ • ÂÒÊÒí ËÃºÑ ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ·èÁÕ àÕ »Ò‡ ËÁÒ • ªÇÕ àÀ滄 Àѳ± áÅÐ¼ÅµÔ Àѳ±¨ Ò¡ • ÇѤ«Õ¹¢¹éÑ Ê§Ù (Targeted Therapy) Pro biotics • ªØ´µÃÇ¨Ç¹Ô ¨Ô ©ÂÑ ·èÕÁÕÈÑ¡ÂÀÒ¾àªÔ§¾Ò³ÔªÂ • Ç¤Ñ «¹Õ ¢¹Ñé ÊÙ§ª¹Ô´ãËÁ‹ • ÊÁعä¾Ã áÅÐà¤Ãè×ͧÊíÒÍÒ§ • ËØ¹‹ ¹µ· Ò§¡ÒÃᾷ· äèÕ ´ÁŒ ҵðҹÊÒ¡Å • ÂÒªÕÇÇѵ¶ªØ ¹´Ô ãËÁ‹ • Smart Medical áลÐ • Quality Reagents ÊÒí ËÃºÑ Automated • ˋع¹µáÅÐà¤ÃÍè× §Á×ͼҋ µ´Ñ Devices Robotics Diagnostic Devices ´ŒÒ¹¡ÒÃá¾·Â à¾èÍ× ªÇ‹ ¤¹¾¡Ô Òà • Smart Village ÊÒí ËÃºÑ ¤¹Ê§Ù ÇÂÑ • Í»Ø ¡Ã³´ ŒÒ¹¡ÒÃᾷª¹Ô´½§˜ • ÈٹºÒí º´Ñ ¿„œ¹¿Ù¼ÊŒÙ §Ù ÍÒÂØ • Digital Health • ¼ÅµÔ À³Ñ ±áÅÐÍÒËÒÃà¾×èÍ梯 ÀÒ¾ • Precision Medicine (Implanted Devices) • ¡Ò÷‹Í§à·ÕÂè Çàª§Ô ÊØ¢ÀÒ¾ • Automated Diagnostic Devices • Specialized Target – Theraputic Institute แผนภาพที่ 1.2 Roadmap การพัฒนานวตั กรรมกลุ่มสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุขได้พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารตามยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี แผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) และแผนพฒั นาดิจิทัลเพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม โดยมุ่งหวังให้กระทรวง สาธารณสขุ เข้าส่ปู ระเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุข หรือ Health 4.0 โดยมีรายละเอียดท่เี กีย่ วข้อง ดงั น้ี 1.3 วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ ค่านิยมที่เกีย่ วขอ้ งกบั การพัฒนาสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสขุ (พ.ศ. 2560 – 2579) วสิ ยั ทัศน์ ระบบสขุ ภาพไทยเขม้ แขง็ เปน็ เอกภาพ เพอ่ื คนไทยสขุ ภาพดี สร้างประเทศให้ม่ันคง ม่ังคง่ั และยัง่ ยนื พนั ธกจิ เสรมิ สร้าง สนับสนนุ และประสานใหเ้ กดิ การมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ น ทั้งภาครัฐ เอกชน นักวิชาการและ ภาคประชาสังคม ในการอภิบาลและพัฒนาระบบสขุ ภาพไทยใหเ้ ขม้ แขง็ รองรบั กับบริบทของการเปลีย่ นแปลงในอนาคต เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชน ชมุ ชน ท้องถิ่น และภาคีเครอื ข่าย มคี วามรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพเพ่มิ มากข้ึน ส่งผลใหเ้ จบ็ ป่วยและตาย จากโรคทปี่ ้องกันได้ลดลง 2. คนไทยทกุ กลมุ่ วัยมสี ุขภาวะทด่ี ี ลดการตายกอ่ นวยั อันควร 3. เพม่ิ ขดี ความสามารถของระบบบริการสุขภาพทกุ ระดบั ให้ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารได้อย่างสะดวก เหมาะสม 4. มีบคุ ลากรดา้ นสขุ ภาพทีด่ แู ลประชาชนในสดั ส่วนท่ีเหมาะสม 5. มีกลไกการอภบิ าลระบบสุขภาพแหง่ ชาตทิ ่ีเหมาะสม มปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล จุดยนื องค์กร ส่วนกลาง พฒั นานโยบาย ก�ำกบั ติดตาม ประเมินผล ส่วนภมู ิภาค บรหิ ารจัดการหนว่ ยบริการ ขบั เคล่ือนนโยบายสู่การปฏิบัติ 2 สรปุ ไทยแลนด์4ดา้ นสาธารณสุข หน้า 4 สำ� นักนโยบายและยทุ ธศาสตร 23 มกราคม พ.ศ. 2560 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
24 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 6.5 เปาหมาย ประชาชนสขุ ภาพดี เจาหนาท่ีมีความสขุ ระบบสุขภาพยง่ั ยนื กระทรวงสาธารณสขุ ได้ก�ำหนดกรอบยทุ ธศาสตร์ 4 ด้าน หรือ 4 Excellence Strategies ทจ่ี ะน�ำองคก์ รกา้ วไปขา้ งหน้า หรือ ความเป็นเลิศ 4 ดา้ น (4 Excellences) ประกอบดว้ ยยุทธศาสตร์หลกั ดังน้ี 1. ดา้ นสง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรคเปน็ เลศิ (Prevention & Promotion Excellence) หมายถงึ การพฒั นาและใหค้ วาม สไดำ� แ้คกัญ่ กกบัารงพานัฒดนา้ านคสุณ่งเภสารพมิ ชสวีขุ ติ บภคทานพทไ่ี ท6คยวทบกุคกุมลแุม่ลวะัยป้อกงากรันปโอ้ รงคกันโดคยวบเนคน้ ุมกโราครสแรลา้ะงภสัยุขสภุขาภพานพำ� กคาวราซมอ่ ปมลสอุขดภภายั พด้าในนอทาุกหกาลรุ่มแลวัยะ ลดปจั จัยเสี่ยงต่อโรคไมต่ ดิ ตอ่ ยเทุรธอ้ื ศรางั สตกราครวบารมหิ เปารนจเลัดศิ กา4รสด่งิา แนวด(4ลอ้ Eมxcellences) 2. ดา้ นบริการเปน็ เลิศ (Service Excellence) หมายถงึ การให้ความส�ำคัญกบั ระบบบริการสขุ ภาพ โดยเน้นหนักท้งั ระบบ ปฐมภูมิ (Primary Care) ระบบบริการตาม Service Plan และการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศ (Excellence Center) อีกทั้งเน้นหนักการบริการที่ม6ีร.อ8ยยิ้ม สร้างความประทับใจให้กับประชาชนผู้มารับบริการ ได้แก่ การพัฒนาระบบการ แพทยป์ ฐมภมู ิ การพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการแพทย์ ศนู ยก์ ลางสขุ ภาพนานชาต/ิ เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ P&P Service Excellence Excellence People Governance Excellence Excellence eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 25 3. ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence) หมายถึง การสร้างศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขให้มีความเป็นเลิศใน ทุก ๆ ด้าน พร้อมท้ังมีความสุข ได้แก่ การวางแผนก�ำลังคนด้านสุขภาพ การผลิตและพัฒนาก�ำลังคน การพัฒนา ประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการก�ำลังคนด้านสุขภาพ การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและภาคประชาสังคมด้าน สุขภาพ 4. ดา้ นบรหิ ารเป็นเลศิ ดว้ ยธรรมาภบิ าล (Governance Excellence) หมายถึง การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการตา่ ง ๆ ให ้ ดมี ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเน้นหนักดา้ นขอ้ มูลและระบบสารสนเทศ (Information Technology) ท่ีทันสมยั ระบบการเงนิ การคลังท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ ได้แก่ ระบบขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นสขุ ภาพ ระบบหลักประกันสขุ ภาพ ความมั่นคงดา้ นยาและ เวชภัณฑ์ การคุม้ ครองผ้บู รโิ ภค และระบบธรรมาภบิ าล 6.9 Future Scenarios ¤Ò‹ 㪨Œ Ò‹ ´Ҍ ¹Ê¢Ø ÀáÒžÐÂÅѧè´ÂÅ×¹§ »ÃÐà·È ÃкººÃËÔ Ò·ÃâÕè ¨»Ñ´Ã¡‹§ãÒÊà Ãкº¡ÒÃÊ‹§µÍ‹ ¤³Ø ÀÒ¾ µÁÍ‹ ÃÕÀÐѺʺ¢Ø µÀÍÒº¾Êµ¹‹Ò§Íæ§ ¾·Ø¡²Ñ ¡¹ÅÒØÁ‹ µÇÒÂÑ ÁäÇ´ÑÂÃŒ Ѻ¡Òà »ÃЪҪ¹ä´ÃŒ Ѻ ·ÃÐÁèÕ ºÕ¤ºØ³ºÀÃÒÔ¡¾Òà ÃкººÃÔ¡Òà »ÃЪҪ¹ ¡ÒÃʧ‹ àÊÃÁÔ ¤ÃÍ»ºÃ¤ÐÅÊÁØ ·Ô ¸·ÔÀèÑÇÒ¶¾§Ö Å´¤ÇÒÁàËÅÍèÕ ÁÅíéÒ »Í‡ §¡¹Ñ ¤Çº¤ØÁâä Å´¤ÇÒÁáÍÍ´Ñ Ã¡Ñ ÉÒ¾ÂÒºÒÅ áÅп„œ¹¿ÊÙ ¢Ø ÀÒ¾ Í‹ҧ෋Òà·ÂÕ Á ÍÁÒ¤Õ Â³Ø ¢Ø ÀÑÂÒ੾ŪÕÂè ÇÕ Ôµ´¢Õ ¹éÖ แผนภาพที่ 1.3 สถานการณ์ดา้ นสาธารณสุขของประเทศไทยในอนาคต eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
26 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 1.4 การสาธารณสขุ ไทยในยคุ Health 4.0 เช่ือมโยงบรกิ ารทงั้ ระบบสุขภาพด้วยเทคโนโลยีดิจทิ ลั การขับเคล่อื นสูป่ ระเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุข (Health 4.0) จ�ำเป็นอยา่ งยิ่งที่จะต้องบรู ณาการการดำ� เนินงานร่วมกนั โดยใช้ ยทุ ธศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพ (eHealth Strategy) เพอ่ื เปน็ กรอบในการกา้ วเดนิ ไปสคู่ วามสำ� เรจ็ ในทศิ ทางเดยี วกนั บน มาตรฐานเดยี วกนั สามารถเชอื่ มโยงบรกิ ารทง้ั ระบบสขุ ภาพ ดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั โดยไมแ่ บง่ แยกความเปน็ ภาครฐั และภาคเอกชน เพื่อใหป้ ระชาชนผู้รบั บรกิ ารไดร้ ับประโยชนท์ ่ดี ที ส่ี ุดและมีความพึงพอใจในบรกิ ารด้านสขุ ภาพเพิม่ ข้ึนอย่างต่อเนอื่ ง การเชอ่ื มโยงบรกิ ารทง้ั ระบบสขุ ภาพดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Digitally connected health care system of the future) ประกอบดว้ ย • การใหบ้ รกิ ารระบบสขุ ภาพไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ • ความส�ำเรจ็ ในการลดคา่ ใชจ้ ่ายในการบรหิ ารจดั การดา้ นสาธารณสขุ • สารสนเทศท่ีเก่ียวข้องกบั การบริการในระบบสุขภาพสามารถเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้อย่างมีคณุ ภาพ ปลอดภัย ไร้รอย ตอ่ และได้รบั การคุ้มครองจากกฎหมายทเ่ี กีย่ วข้อง • สรา้ งโอกาสในการพฒั นานวัตกรรมและการสร้างมลู คา่ เพ่มิ ใหก้ ับการบรกิ าร • ต้องเกดิ การพฒั นาและอภบิ าลระบบสุขภาพอย่างมสี ว่ นรว่ มและยง่ั ยืน การขบั เคล่ือนสปู่ ระเทศไทย 4.0 ดา้ นสาธารณสุข ของกระทรวงสาธารณสุข ไดก้ �ำหนดวิสยั ทศั น์ คือ มงุ่ สู่ Value-based health care และจัดท�ำยทุ ธศาสตรก์ ารด�ำเนินงานและกลไกการขับเคล่ือน 3 Engines 10 ประเดน็ หลกั ในระยะ 5 ปี (2560 – 2564) ไว้อยา่ งชัดเจน ดังน้ี 1. Inclusive growth engine ประกอบดว้ ยประเดน็ • Smart Citizen : Smart kids & Aging (บูรณาการ 4 กระทรวง), Aging Enterprise Complex & Intermediate Care • PP & P : Smart EOC, อสม. 4.0, Smart Protection • Service : One Day Surgery & Minimally Invasive Surgery, Primary Care Cluster (PCC), Universal Coverage for Emergency Patients (UCEP) • Digital Health : Digital Hospital (EMRAM) 2. Productive growth engine ประกอบด้วยประเด็น • Biotech : Biopharmaceutical, Precision Medicine • Health Tech : Meditech Innovation • Herb : Herbal City • Health & Wellness : อภัยภูเบศร Model 3. Green growth engine ประกอบดว้ ยประเดน็ • Food Safety • Green & Clean Hospital โดยมโี ครงสรา้ งในการขับเคลื่อนทส่ี อดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ eHealth อาทิ ทรพั ยากรบุคคล (HR Transformation) ระบบการเงิน การคลงั ด้านสาธารณสขุ (Health Care Financing Reform) การมอี งค์กรกลางด้านนโยบายสุขภาพแห่งชาติ (NHPB) และการ มศี นู ยก์ ลางขอ้ มูลขา่ วสารเทคโนโลยีสารสนเทศสขุ ภาพแหง่ ชาติ (NHIS)4 4 Brochure ประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสขุ ระยะ 5 ปี 2560 - 2564, ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร เพ่อื พัฒนาการาจดั ท�ำร่างแผนยทุ ธศาสาตร์ประเทศไทย 4.0 ดา้ นสาธารณสขุ ระยะ 10 ปี (พ.ศ.2560-2569) วนั ท่ี 4-5 เมษายน 2560 ณ โรงแรม ทีเค พาเลซ & คอนเวนช่ัน เขตหลักสี่ กรงุ เทพมหานคร eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 27 1.5 ภูมิทัศน์ดจิ ิทัลของประเทศไทย (Thailand Digital Landscape) สู่ Health 4.0 ยุทธศาสตร์เทค7โน.0โลยีสารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) กระทรวงสาธารณสุข มุ่งเน้นการพัฒนาระยะยาวอย่างย่ังยืน เชน่ เดียวกับแผนพฒั นาดจิ ทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม (Digital Economy) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวง สาธารณสุข จึงได้น�ำภูมิทัศน์ดิจิทัลของไทยในระยะ 20 ปีมาประยุกต์ให้เห็นทิศทางการพัฒนาประเทศไทยด้านสาธารณสุข สู่ Health 4.0 ดังแผนภาพท่ี 1.5 ÀÁÙ ·Ô ÈÑ ¹´Ô¨Ô·ÅÑ ¢Í§ä·Âã¹ÃÐÂÐàÇÅÒ 20 »‚ ÊÙ‹ Health 4.0 á¼¹¾²Ñ ¹ÒàÈÃɰ¡¨Ô ÃÐÂзèÕ 3 Â·Ø ¸ÈÒʵê ÒµÔÃÐÂÐ 20 »‚ áÅÐÊѧ¤Áá˧‹ ªÒµÔ ©ºÑº·èÕ 12 Digital Thailand II: áÅл®ÃÔ Ù»»ÃÐà·Èä·Â Full Transformation ´ŒÒ¹ÊÒ¸ÒÃ³ÊØ¢ (¾.È. 2560 – 2564) »ÃÐà·Èä·Â¡ŒÒÇÊ´Ù‹ Ô¨Ô·ÅÑ ä·ÂᏴ ÃÐÂзÕè 1 ·Õè¢Ñºà¤ÅÍè× ¹áÅÐ㪌»ÃÐ⪹¨Ò¡ ¹Çѵ¡ÃÃÁ´Ô¨Ô·ÑÅä´ÍŒ ÂÒ‹ §àµÁç ÈÑ¡ÂÀÒ¾ Digital Foundation »ÃÐà·Èä·Âŧ·Ø¹ áÅÐÊÌҧ °Ò¹Ãҡ㹡Òþ²Ñ ¹ÒàÈÃɰ¡Ô¨ áÅÐ椄 ¤Á´Ô¨Ô·ÅÑ 1 ป‚ 6 à´×Íน 10ป‚ »ÃÐà·Èä·Â 4.0 Health 4.0 àª×èÍÁ⧺ÃÔ¡Ò÷ѧé ÃкºÊØ¢ÀÒ¾´ÇŒ  10 - 20 ป‚ à·¤â¹âÅÂÕ ´Ô¨·Ô ÑÅ 5 ป‚ á¼¹»®ÃÔ Ù» ÃÐÂзèÕ 4 ÃÐÂзÕè 2 Global Digital Leadership Digital Thailand I: Inclusion »ÃÐà·Èä·ÂÍÂãÙ‹ ¹¡ÅØÁ‹ »ÃÐà·È·èÕ ·¡Ø ÀҤʋǹ¢Í§»ÃÐà·Èä·Â ¾²Ñ ¹ÒáÅÇŒ ÊÒÁÒöãªàŒ ·¤â¹âÅÂÕ ÁÕʋǹËÇÁã¹àÈÃɰ¡Ô¨áÅÐ椄 ¤Á ´¨Ô ·Ô ÑÅ ÊÃÒŒ §ÁÙŤ‹Ò·Ò§àÈÃɰ¡Ô¨ ´Ô¨·Ô ÑŵÒÁá¹Ç·Ò§»ÃЪÒÃѰ áÅФ³Ø¤Ò‹ ·Ò§Ê§Ñ ¤ÁÍ‹ҧÂѧè Â¹× »ÃЪÒÃѰ แผนภาพที่ 1.5 ภูมทิ ศั น์ดิจทิ ลั ของไทยในระยะ 20 ปี สู่ Health 4.0 อยา่ งไรก็ดียุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) กระทรวงสาธารณสุข (2560 - 2569) ฉบบั นี้ ด�ำเนนิ การตามแนวคิด eHealth ของ WHO (2016) และสหภาพโทรคมนาคมนานาชาติ (International Telecommunication Union : ITU) ทีม่ งุ่ เป้าหมายไปท่สี ุขภาพของประชาชนเป็นหลัก โดยการน�ำเอาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication Technology : ICT) มาช่วยให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ ท่ัวถึง เป็นธรรม และปลอดภัย ถือเป็นหลักการด�ำเนินการที่ดีท่ีทุกประเทศทั่วโลกได้น�ำไปประยุกต์ใช้ นอกจากนี้ยังได้พิจารณาจาก สถานการณ์ ปญั หาสถานะสขุ ภาพของประชาชน ประกอบกบั การวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศของกระทรวงสาธารณสขุ โดยให้ความสำ� คญั กบั องค์ประกอบดา้ นตา่ งๆ ดงั นี้ 1. eHealth foundations 5. Use of eLearning in health sciences 2. Legal frameworks for eHealth 6. mHealth 3. Telehealth 7. Social media 4. Electronic health records 8. Big data eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
28 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 วิสัยทัศน์และเป้าหมายของการพัฒนาด้าน eHealth แม้จะมุ่งเน้นเป้าหมายในการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและยั่งยืนให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แต่เพ่ือให้ eHealth ของประเทศสามารถรองรับพลวัตของเทคโนโลยีดิจิทัลและแนวทางการด�ำเนินงาน eHealth ในระดับสากล จึงได้ก�ำหนดแนวทางการพัฒนาออกเป็น 4 ระยะ เพ่ือน�ำไปสู่ความส�ำเร็จในการพัฒนาตามท่ีก�ำหนด ดงั วสิ ัยทัศน์และเป้าหมายของ eHealth ทก่ี ล่าวว่า eHealth คือ เทคโนโลยีดิจิทัลและบริการ ICT ท่ีเชื่อมโยงระหว่างผู้ให้บริการด้านสุขภาพและประชาชน เพ่ือให้สามารถเข้าถึง บรกิ ารสุขภาพไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ท่ัวถึง เปน็ ธรรมและปลอดภยั การจะพฒั นา eHealth ใหเ้ ขม็ แขง็ จำ� เป็นต้องจดั ท�ำกรอบยุทธศาสตร์ eHealth เพื่อกำ� หนดภารกิจ “เพอ่ื ประสทิ ธภิ าพในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือปรับปรุงการส่งมอบการดูแลสุขภาพ การบริหารจัดการและการสื่อสารสุขภาพ” โดยมี เป้าหมายคือการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนทกุ ระดับ ซึง่ ควรไดร้ บั การดแู ลอย่างมคี ุณภาพ การพัฒนา eHealth 4 ระยะ มดี งั นี้ ระยะท่ี 1 eHealth : การลงทนุ และสรา้ งฐานรากในการพัฒนา eHealth ระยะที่ 2 eHealth : Inclusion ทุกภาคสว่ นของประเทศไทยมสี ว่ นร่วม ในการดำ� เนินงาน eHealth ระยะที่ 3 eHealth : Transformation ประเทศไทยกา้ วสู่ eHealth ทข่ี ับเคลือ่ นระบบสุขภาพโดยการใชป้ ระโยชนจา์ ก นวัตกรรมดิจิทลั ได้อย่างเต็มศักยภาพ ระยะท่ี 4 eHealth : Leadership ประเทศไทยอยใู่ นกลมุ่ ประเทศทมี่ กี ารพฒั นาทางดา้ นสขุ ภาพโดย สามารถใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สร้างมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจในระบบสาธารณสุขและประชาชนมคี ุณภาพชีวิตที่ดี 1. ¡ÒÃŧ·¹Ø áÅÐÊÃéÒ§°Ò¹ÃÒ¡ 㹡Òþ²Ñ ¹Ò eHealth 2. 3. eHealth : Inclusion eHealth Transformation ·¡Ø ÀÒ¤Êèǹ¢Í§»ÃÐà·Èä·ÂÁÕÊÇè ¹ÃèÇÁ »ÃÐà·Èä·Â¡Òé ÇÊèÙ eHealth ·¢Õè Ѻà¤Å×è͹ÃкºÊ¢Ø ÀÒ¾â´Â¡ÒÃãªé 㹡ÒôÒé à¹Ô¹§Ò¹ eHealth »ÃÐ⪹¨ìÒ¡¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ´Ô¨Ô·ÅÑ ä´é ÍÂèÒ§àµçÁÈ¡Ñ ÂÀÒ¾ 4. eHealth Leadership »ÃÐà·Èä·ÂÍÂãèÙ ¹¡ÅØÁè »ÃÐà·È ·ÕèÁÕ¡ÒþѲ¹Ò·Ò§´Òé ¹ÊØ¢ÀÒ¾â´Â ÊÒÁÒöãªéà·¤â¹âÅÂÕ´Ô¨·Ô ÅÑ ÊÃéÒ§ÁÙŤÒè à¾ÔÁè ·Ò§àÈÃɰ¡¨Ô ã¹ÃкºÊÒ¸ÒÃ³Ê¢Ø áÅлÃЪҪ¹Á¤Õ سÀÒ¾ªÇÕ µÔ ·´èÕ Õ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 29 1.6 วตั ถปุ ระสงค์ของการพฒั นายุทธศาสตร์เทคโนโลยสี ารสนเทศสุขภาพ (eHealth) 1. เพ่ือเป็นกรอบและแนวทางในการด�ำเนินงานยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ (eHealth) ผ่านแนวคิดของผู้บริหาร ระดบั สงู และการมสี ว่ นร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ เพ่อื ใหเ้ กิดการก�ำกับดูแลทด่ี ี ทั้งการ ลงทุน การกำ� หนดโครงสร้าง กฎหมาย วธิ กี ารปฏิบตั ิ การพฒั นาและกำ� หนดบคุ ลากรท่ีจ�ำเปน็ ให้มีความเชื่อมโยงของระบบตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง 2. เพื่อใหผ้ ู้บรหิ ารระดบั สงู และผู้ทีม่ ีสว่ นเกี่ยวขอ้ ง ได้ทราบถงึ เปา้ หมายของกลยทุ ธ์ เพือ่ น�ำเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ไปเพมิ่ คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพของการใหบ้ ริการทางการแพทย์และสาธารณสุขใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุดตอ่ ประชาชน 3. เพอ่ื พฒั นาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และการสอ่ื สารของกระทรวงสาธารณสขุ ทมี่ คี วามเชอ่ื มโยงกนั ทง้ั ระบบและมชี ดั เจนในความเขา้ กนั ได้ (Interoperability) ใหม้ มี าตรฐานท้งั ด้านสถาปัตยกรรมระบบ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบเครอื ข่าย ระบบขอ้ มูลสขุ ภาพ และบคุ ลากรทเี่ กย่ี วข้องกับเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร 4. เพื่อสนบั สนุนให้องคก์ รสามารถนำ� ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ สู่การปฏบิ ตั ิได้อยา่ งเหมาะสม eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
30 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 31 บทที่ 2 : แeนHวeคaิดltกhารพฒั นายุทธศาสตร์ ผนู้ ิพนธ์ : กองบรรณาธกิ าร กรอบแนวคิดระบบสุขภาพขององค์การอนามัยโลก (WHO ได้จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบพ้ืนฐาน 6 ประการ (Six Health System Framework) เป็นกรอบแนวคิดท่ีส�ำคัญใน building blocks) ไดแ้ ก่ 1. การใหบ้ รกิ าร (Service Delivery) การบรรลผุ ลลพั ธข์ องระบบสขุ ภาพ เนน้ การเขา้ ถงึ บรกิ าร ความ 2. บุคลากรด้านสุขภาพ (Health Workforce) 3. ข้อมูล ครอบคลุม คุณภาพและความปลอดภัย และผลสัมฤทธิ์ ซึ่ง ขา่ วสาร (Information) 4.ผลติ ภณั ฑท์ างการแพทย์ วคั ซนี และ นสTรอH้ากงEจคาSวกIาจXมะเทBปำ�U็นใหธILรป้ DรรมะINชปาGชกนBปมL้อสีOงคขุ Cดุ้มKขีคSนึ้รอแOลงคFว้ วAยางัมHตเสอ้Eง่ียAมงLปีทTรั้งHดะส้าSนทิ YธสSภิังคTาพมEM:5เทA.คIกMโนาSโรลเAยงินีN(Dm(FeDidnEicaSanlIcRipnArgoB)dLuE6ct.A,TภVTาวaRcะIcBกinาUeรIนTa�ำEnแSdละTกecาhรnอoภloิบgาyล) และการเงิน และสามารถตอบสนองต่อความต้องการของ (leading / Governance) ปTรHะชEาWชนHดO้วยHโEดAยLรTะHบบSสYุขSภTาพEMท่ีจะFบRรAรMลุถEึงWเป้าOหRมKายเหล่าน้ี SYSTEM BUILDING BLOCKS SERVICE DELIVERY OVERALL GOALS / OUTCOMES HEALTH WORKFORCE ACCESS COVERAGE IMPROVED HEALTH (LEVEL AND EQUITY) INFORMATION RESPONSIVENESS MEDICAL PRODUCTS, VACCINES & TECHNOLOGIES QUALITY SAFETY SOCIAL AND FINACIAL RISK PROTECTION FINANCING IMPROVED EFFICIENCY LEADERSHIP / GOVERNANCE แผนภาพท่ี 2 The six building blocks of a health system: aims and desirable attributes THE SIX BUISLoDurIcNeG: WBLHOOC2K0S07OFhttAp:H//wEAwLwT.wHhSoY.inStT/hEeMalt:hAsyIsMteSmAs/NstDratDegEyS/eIRveAryBbLoEdyAsT_bTuRsIinBeUssIT.pEdSf • Good health services are those which deliver efective, safe, quality • A well-functioning health system ensures equitable access to essential เมื่อเราptheเeอrmsาo,nwaIhlCaenTndannเขodn้าw-มpheาerrใseชonn้ใeaนel dhกeeาdaรl,twจhัดainsกtteeาrovรferneBtsioouunilrsdcteions.tghosBelwochok nทeeั้งd (Impmsraoefvedteiyc,aehl epracoaldtchuy)catnsต,dvอcaบocscสtin-นeeอseaงcnคtdivวetาenมcehตsnsอ้,oaงlonกgdาietรhseo(irfRascseisesunprteoi qncusaailvllyiteysn,oeusnsd)and บ6รกิจ• าะรสAar่ง(ewผAreeลcllsc-ใppหeoes้nเrsกfso)iิดvrmeก,iาfInaรngirเthพaeenrม่ิadmlกteheาwdรeciคoaireรtkneอfotบrtcooคeuaลictsมุhcoioกenvmeาeรwetบhheiรไcกิhbดeาw้แsรtoกhr(่keCsกaoilnาtvhรweoเarขuayt้าsgcถtoehmึง)ates การคcมุ้ oคst-รeองeคctวivาeมuเsสe.ย่ี งทางดา้ นสงั คมและ การเงนิ ไมล่ ม้ ละลาย จา•กคAา่ gรoกั oษdาhพeaยltาhบาnลanc(inSgocsyiastlemanradiseRs iasdkeqpuraotetefucntdiosnfo)r hแeลalะthเพ, inมิ่ คณุ ภาpsพuoบssรcibiกิelneา,tรgnแiuvลemnะbคeaวrvaaาniมldambปlลeixอroeดfsosภtuaยัrc(,eQfsaaiurnlaydldictiyisrtcruiabmnusdtteadnS;ctaehfsee.ylt.eay.r)eThcซeormงึ่ eจpaะreetentป, ระสwfrทิ oaธmysภิ tาhnพaatnec(niaIslmucrapetraposervooeppdlheeceoafnrfiiumcsipeeonnvceeyerdi)sehdmseenrvtiacsesso, cainadteadrewpitrhotheacvtiendg to ส่งผลใrหes้เpกoิดnsivOe uantcdopmrodeucตtiv่อeร. ะบบทั้ง 4 ด้านคือ สุขภาพดีข้ึน pay for them. • A well-functioning health imformation system is one that ensure • Leadership and governance involves ensuring strategic policy the production, analysis, dissemination and use of reliable and timely frameworks exist and are combined with e ective oversight, coalilion- information on health determinants, health systems performance and building, the provision of appropriate regulations and incentives, health status. attention to system-design, and accountability. eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
32 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 2.1 สถานการณ์และปญั หาดา้ นระบบขอ้ มูลขา่ วสารสุขภาพ ในแผนพฒั นาสขุ ภาพแหง่ ชาตไิ ดก้ ลา่ วถงึ สถานการณแ์ ละปญั หา ในยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 สรา้ งความเป็นธรรม ลดความเหลือ่ มล�ำ้ ใน ด้านระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพว่า ระบบข้อมูลข่าวสารและ ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ไดก้ ลา่ วถงึ การใชเ้ ทคโนโลยที างการแพทย์ การวิจัยด้านสุขภาพ ยังไม่สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลและ ทเ่ี หมาะสมและคมุ้ คา่ ในทกุ พน้ื ทเี่ ขตสขุ ภาพ เนอื่ งจากทผ่ี า่ นมา งานวิจัยที่มีได้อย่างเพียงพอ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health กระทรวงสาธารณสุขพบปัญหาการกระจายเครื่องมือแพทย์ท่ีมี Literacy) ของประชาชนยงั ไมเ่ พยี งพอในการปอ้ งกนั ปจั จยั เสย่ี ง ราคาแพงและเทคโนโลยชี ้นั สูง ท�ำให้การเขา้ ถึงเทคโนโลยรี าคา ต่างๆ ด้านสุขภาพ กลไกการอภบิ าลระบบสขุ ภาพในระดับชาติ แพงมคี วามแตกตา่ งระหวา่ งกลมุ่ คนและภมู ภิ าคอยคู่ อ่ นขา้ งมาก และระบบธรรมาภิบาลยังไม่ชัดเจน การปรับโครงสร้างไปสู่ การมเี ทคโนโลยที างการแพทยท์ เ่ี หมาะสมและคมุ้ คา่ ในทกุ พนื้ ท่ี ประเทศไทย 4.0 กรอบเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (SDGs) เขตสขุ ภาพ มรี ะบบสง่ ตอ่ ทร่ี วดเรว็ มปี ระสทิ ธภิ าพ พฒั นาระบบ จะตอ้ งวางแผนเตรยี มพรอ้ มรองรบั และเผชญิ กบั สภาพปญั หา จะ การแพทย์ฉุกเฉินให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่าง ชว่ ยใหส้ ามารถรบั มอื กบั ความเสยี่ งและภยั คกุ คามดา้ นสขุ ภาพที่ สะดวก ไมเ่ ปน็ ภาระเรอื่ งคา่ ใชจ้ า่ ย จะชว่ ยลดปญั หาความเหลอื่ ม จะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมียุทธศาสตร์ มาตรการ ล้ำ� ในระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ผ้รู บั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจ และแนวทางพัฒนาดา้ นเทคโนโลยี ดงั นี้ ในยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 พฒั นาและสรา้ งความเขม้ แขง็ ในการอภบิ าล เพ่ือพัฒนาระบบสนับสนุนการบริการสุขภาพ ระบบข้อมูล ระบบสขุ ภาพ (Governance Excellence) ไดก้ ลา่ วถงึ การมรี ะบบ ขา่ วสารดา้ นสขุ ภาพ การเงนิ การคลงั ดา้ นสขุ ภาพ รวมถงึ ยาและ ขอ้ มลู สขุ ภาพท่ีแม่นยำ� ครบถ้วน ทันเวลา สามารถใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีด้านสุขภาพ ได้ สร้างระบบยา เวชภัณฑ์และเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่มี ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล พฒั นาระบบการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค พัฒนาระบบประเมินเพ่ือการตัดสินใจในการใช้เทคโนโลยีด้าน ดา้ นสขุ ภาพ สขุ ภาพ และสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาเทคโนโลยี และผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพใหม้ นี วตั กรรมใหมๆ่ เพอ่ื การพง่ึ พาตนเอง สำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี โดยสำ� นกั งานเลขาธกิ ารวฒุ สิ ภา ดา้ นสุขภาพ ไดร้ ายงานการศกึ ษาเรอ่ื ง ระบบสารสนเทศดา้ นการสาธารณสขุ ไทย และได้กล่าวถึงระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพว่าไทยมี พัฒนาระบบยา เวชภัณฑ์และเทคโนโลยีทางการแพทย์ของ ระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพมากมายหลายระบบ ส่วนใหญ่ ประเทศ เสรมิ สร้างกลไกและกระบวนการในการบรหิ ารจดั การ ตอบสนองการบริหารจัดการและการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ข้อมูล หนว่ ยงานตา่ งๆ มขี อ้ มลู ตวั ชว้ี ดั โครงการตา่ งๆ มากมาย ซำ�้ ซอ้ น ระบบสารสนเทศที่มีตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ที่เป็น 1. สรา้ งมาตรฐานระบบข้อมูลสขุ ภาพท่สี ามารถแลกเปลย่ี น ผู้ให้บริการและประชาชนมีน้อย นอกจากน้ันระบบสารสนเทศ เชอ่ื มโยงกนั สุขภาพท่ีมีเหล่านี้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ ข้อมูล 2. พฒั นาคลังข้อมลู สุขภาพ สุขภาพไม่บูรณาการ ขาดการด�ำเนินการเพื่อวางรากฐานด้าน 3. พัฒนาระบบข้อมลู สุขภาพส่วนบุคคล ระบบสารสนเทศสขุ ภาพ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ดา้ นมาตรฐานขอ้ มลู (Personal Health Record) สุขภาพ มาตรฐานกฎหมายท่เี กย่ี วข้องกบั ความปลอดภัย และ 4. พฒั นาเทคโนโลยีดจิ ิทลั ดา้ นสขุ ภาพ ความเป็นสว่ นตัวของการใชข้ ้อมลู สุขภาพ โดยในเปา้ ประสงค์ท่ี 3 ไดร้ ะบุไวว้ ่า เพื่อใหร้ ะบบบริการสุขภาพ นอกจากน้ียังพบว่าประเทศไทยยังขาดหน่วยงานในระดับ ทุกระดับมีการเพ่ิมขีดความสามารถ มีคุณภาพ มาตรฐาน มี ประเทศที่จะก�ำหนดยุทธศาสตร์ วางกรอบการพัฒนาและชี้น�ำ ระบบบริการที่ทันสมัย มีความพอเพียง มีการกระจายท่ีเป็น ระบบสารสนเทศสขุ ภาพ บคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ธรรม มีเทคโนโลยีทางการแพทย์ขั้นสูงที่คนไทยสามารถเข้าถึง ต้องใช้เวลาถึงกว่าร้อยละ 40 ของเวลาท�ำงานเพ่ือมาจัดการ บริการได้สะดวก เหมาะสม ทั้งนี้โดยการบูรณาการและการมี รายงานและข้อมูลท่ีคนอ่ืนต้องการ มากกว่าจะได้รับประโยชน์ สว่ นรว่ มจากทุกภาคส่วน จากระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีใช้อยู่ ท�ำให้การ ให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนไม่มีประสิทธิภาพตามที่ควรและ ประชาชนไมส่ ามารถเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู สขุ ภาพของตน eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 33 สำ� นกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี ไดจ้ ัดทำ� ข้อเสนอทางนโยบาย 3. พฒั นามาตรฐานข้อมูลสขุ ภาพในทุกมิติ รวมถึงกลไกในการ การพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพของประเทศ ดแู ลมาตรฐาน เพอื่ ใหร้ ะบบสารสนเทศตา่ งๆ ทำ� งานรว่ มกนั ดังน้ี ได้ สามารถแลกเปลย่ี นข้อมูลกนั ไดแ้ บบไรร้ อยต่อดว้ ยความ ปลอดภยั และเป็นประโยชน์ 1. ประเทศไทยควรมีองค์กรระดับประเทศที่ท�ำหน้าที่ก�ำหนด ทิศทางการพัฒนาก�ำหนดยุทธศาสตร์ วางนโยบายและ 4. ดำ� นนิ การออกกฎหมาย กฎระเบยี บทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การรกั ษา แผนหลักการพัฒนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี ความปลอดภยั และความลบั สว่ นบคุ คลของขอ้ มลู สขุ ภาพ โดย สารสนเทศสุขภาพของประเทศ องค์กรหรือหน่วยงานกลาง พิจารณาประโยชน์ทั้งการป้องกันส่วนบุคคลและประโยชน์ นคี้ วรประกอบดว้ ยผคู้ นจากทกุ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ระบบ ที่เกิดข้ึนกับสังคมในกรณีที่ต้องละเมิดความเป็นส่วนตัวของ สารสนเทศและเทคโนโลยสี ขุ ภาพทง้ั ภาครฐั และเอกชน ควร บคุ คล เป็นหน่วยงานที่มีความเป็นอิสระในการบริหาร เช่น เป็น องคก์ รมหาชน 5. พัฒนากลไกอย่างเป็นระบบในการผลิตและพัฒนาคนที่ ท�ำงานเก่ียวข้องกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพทั้ง 2. ก�ำหนดนโยบายและยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาระบบเทคโนโลยี ระดับปฏิบัติการ และระดับบริหารจัดการให้เพียงพอกับ สารสนเทศสุขภาพของประเทศ ให้เป็นส่วนหน่ึงของกรอบ การน�ำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพมาใช้งานอย่างมี นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของ ประสิทธภิ าพ ประเทศในภาพรวม ควบคู่ไปกับยุทธศาสตร์การพัฒนางาน ด้านอ่นื ๆ 2.2 กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพของประเทศ 5 1. การจดั ตง้ั คณะทำ� งานและจดั ตง้ั องคก์ รทรี่ บั ผดิ ชอบโดยศกึ ษา 1.4 สามารถพัฒนามาตรฐานข้อมูลสุขภาพในทุกมิติ รวม โครงสร้างองคก์ รและหนา้ ท่ขี องเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ถึงกลไกในการดูแลมาตรฐานเพ่ือให้ระบบสารสนเทศต่างๆ ทำ� งานรว่ มกนั ได้ สามารถแลกเปลย่ี นขอ้ มลู กนั ไดแ้ บบไรร้ อย 1.1 การท�ำ 6Pre-Feasibility Study ของการพัฒนาระบบ ต่อด้วยความปลอดภัย และเป็นประโยชน์ในการดูแลรักษา เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพของประเทศ โดยในส่วนของ ประชาชนท่มี คี ุณภาพ ประสทิ ธิภาพ กระทรวงสาธารณสุข ได้ด�ำเนินการจัดจ้างท่ีปรึกษาเพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการด้านข้อมูลและการเช่ือม 2. ประเทศไทยมอี งคก์ รระดบั ประเทศทท่ี ำ� หนา้ ทกี่ ำ� หนดทศิ ทาง ต่อระบบสารสนเทศด้านการแพทย์และสุขภาพกระทรวง การพัฒนา ก�ำหนดยุทธศาสตร์ วางนโยบายและแผนหลัก สาธารณสขุ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพของประเทศ 1.2 7ส�ำรวจ ประเมินระบบสารสนเทศท่ีใช้อยู่ของกระทรวง สาธารณสขุ และหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ งทั้งหมด 2.1 องค์กรระดับประเทศ ควรประกอบไปด้วยเจ้าหน้าท่ี 1.3 สามารถก�ำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ จากทุกหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพของประเทศ เพื่อให้เป็นส่วน สขุ ภาพท้ังภาครัฐ รฐั วสิ าหกิจและเอกชน หนึ่งของกรอบนโยบาย และยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยี 2.2 องค์กรระดับประเทศ ควรเป็นหน่วยงานอิสระในการ สารสนเทศของประเทศในภาพรวม และควบคู่ไปกับ บริหารงาน และเพ่ือความคล่องตัวให้เป็นองค์การมหาชน ยทุ ธศาสตร์และการพฒั นางานด้านอืน่ ๆ (โดยมกี ฎหมายรองรบั ) 5 รายละเอียดเพม่ิ เติมในสำ� นักกรรมาธิการ 3 สำ� นักงานเลขาธิการวฒุ สิ ภา. รายงานการพิจารณาศกึ ษาเรือ่ ง ระบบสารสนเทศดา้ นการสาธารณสขุ ไทย. 2556 หนา้ 34 6 รายละเอียดเพิม่ เติมในพรชยั ชันยากร และคณะวิจยั . ผลการวเิ คราะหช์ อ่ งวา่ งด้านความตอ้ งการด้านข้อมูลและระบบสารสนเทศของกระทรวงสาธารณสขุ . โครงการจดั จ้างที่ ปรึกษาเพื่อศกึ ษาและวเิ คราะหค์ วามต้องการด้านขอ้ มูลและการเช่อื มต่อระบบสารสนเทศด้านการแพทยแ์ ละสขุ ภาพกระทรวงสาธารณสขุ . 2557 7 รายละเอียดตาม 2 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
34 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 3. เมอ่ื มอี งคก์ รระดบั ประเทศแลว้ องคก์ รนค้ี วรทำ� งานรว่ มกบั ท่ี 4. องค์กรระดับประเทศ ต้องมีส่วนร่วมในการ Implement ปรกึ ษาทม่ี คี วามเชยี่ วชาญดา้ นระบบขอ้ มลู สารสนเทศสขุ ภาพ โดยการก�ำกับติดตามบริษัทที่ประมูลได้ให้ด�ำเนินการตาม โดยท�ำงานร่วมกันตั้งแต่ศึกษาความเหมาะสม (Feasibility ข้อกำ� หนด Study) จัดท�ำ Terms of Reference (TOR) การก�ำกับ ตดิ ตามการ Implement การติดตง้ั Hardware, Software 5. องคก์ รระดบั ประเทศ ตอ้ งดำ� เนนิ การศกึ ษาและออกกฎหมาย การพัฒนาบุคลากรและงานด้านอื่นๆ โดยใช้ผลการศึกษา ระเบียบต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการรักษาความปลอดภัยและ Pre-Feasibility Study เป็นกรอบในการศึกษา ท้ังน้ี ความลับส่วนบุคคลและประโยชน์ท่ีเกิดขึ้นกับสังคมในกรณี Feasibility Study และ TOR ควรมกี ารก�ำหนดกรอบดังนี้ ท่ตี ้องละเมดิ ความเป็นส่วนตวั ของบคุ คล 3.1 กำ� หนดกรอบเวลาการ Implement รวมทง้ั ขนั้ ตอนตา่ งๆ 6. องค์กรระดับประเทศ ควรท�ำงานร่วมกับสถาบันการศึกษา เปน็ ตารางและศกึ ษาการประมาณการงบประมาณทจ่ี ะตอ้ งใช้ สนับสนุนให้มีการเรียนการสอนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างละเอยี ด สุขภาพและระบบข้อมูลสุขภาพในหลักสูตรวิชาชีพด้าน สุขภาพ เช่น แพทย์ พยาบาล เภสัชกรเป็นต้น และ 3.2 ก�ำหนดรายละเอียดด้านเทคนิค (Specification) ท้ัง ควรสนับสนุนให้เกิดหลักสูตร Biomedical and Health Hardware, Communication, Software และการพัฒนา Informatics ส�ำหรับบุคลากรด้านสุขภาพและสาธารณสุข บุคลากรท่ีจ�ำเป็นและเหมาะสมกับระบบบริการสุขภาพของ บุคลากรด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และนักเรียนนักศึกษา ไทย ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ และระดับสูง ทว่ั ไป กวา่ ตตยิ ภมู ิ เพอื่ ใหร้ ะบบสามารถเชอื่ มโยงกนั ทง้ั ในและนอก สถานพยาบาลและใช้ประโยชนไ์ ดส้ งู สดุ 3.3 ก�ำหนดหลักสูตรการฝึกอบรมทางทฤษฎีและทางการ เรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ (On the Job Training) แกเ่ จา้ หน้าที่ ทีจ่ ะปฏิบตั ิงานบริหารจดั การระบบและการใช้อปุ กรณ์ 2.3 บรบิ ทในการพฒั นา eHealth ของชาติ (National Context for eHealth Development) การพัฒนา eHealth ของชาติ ควรพิจารณาบนพื้นฐานของ • การพฒั นาและการสรา้ ง eHealth โดยการปรบั สภาพแวดลอ้ ม สภาวะแวดลอ้ มดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอื่ สาร และ ICT ให้เตบิ โตในอตั ราท่เี ร็วข้นึ พฒั นาตามบรบิ ทของชาตแิ ละภมู ภิ าค ซงึ่ แตล่ ะพนื้ ทจ่ี ะมสี ภาวะ แวดล้อมและบริบทด้าน ICT ท่ีแตกต่างกัน โดยแนวทางการ • การปรับปรงุ และทำ� ให้ eHealth อยู่ในกระแสหลักโดยให้การ พิจารณาสามารถอธิบายในลกั ษณะต่อไปนี้ (แผนภาพท่ี 2.3) สนบั สนนุ และทำ� ให้เกิดการยอมรับ ICT ในวงกวา้ ง • การทดลองและการยอมรับการเปล่ียนแปลง รวมถึงสภาพ แวดลอ้ มของ ICT และการใชง้ านที่เปน็ อยู่ในระยะเริ่มต้น eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ภาพที่ 2 National Context for eHealth Development 35 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 WHO/ITU National eHealth Strategy Toolkit National context for eHealth development Established ICT environment Strengthening Mainstreaming Scaling-up and integration, eHealth enabling cost-e ectiveness, policies environment, create for privacy, security foundations and innovation Developing Scaling up and Building up Emerging Governance, policy, standards Established enabling and human resources enabling environment environment for eHealth for eHealth Strengthening Early adoption infrastructure, Experimentation make the case for eHealth Overall market and penetration of infrastructure Emerging ICT environment Source: http://www.who.int/goe/en/ แผนภาพท่ี 2.3 National Context for eHealth Development กลยทุ ธ์ eHealth ของประเทศอยู่บนพน้ื ฐานสภาวะสุขภาพแห่ง พัฒนาบริการ eServices ภาครัฐของไทยอยู่ในอันดับที่ 9 ใน ชาติ โดยค�ำนึงถึงทรัพยากรและ สภาพแวดล้อมของ eHealth กลุ่มประเทศเอเปค(69.49) (ลำ� ดบั ที่ 1 คอื สิงคโปร์ (94.00) ท่ีมีในปัจจุบัน วิสัยทัศน์ eHealth ควรอยู่ภายใต้บริบทของ ล�ำดับที่ 2 คือ สหรัฐอเมริกา (93.12)) และประเทศไทยมี ประเทศและพจิ ารณา ในสองมติ ิ ไดแ้ ก่ สภาพแวดลอ้ มของ ICT สดั สว่ นการใชบ้ รกิ าร eServices ในสาขาสาธารณสขุ สงู ทสี่ ดุ ใน (แนวต้ัง) หมายถึง ตลาด ICT ระดับชาติและสภาพโดยรวม อาเซียน (58.00) แต่กลบั พบว่า การท�ำธุรกรรมออนไลน์สาขา ทาง โครงสร้างพ้ืนฐานด้านคอมพิวเตอร์และเครือข่าย สภาพ สาธารณสขุ อยใู่ นระดบั ตำ�่ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ประเทศอาเซยี น8 แวดลอ้ มของ eHealth (แนวนอน) เปน็ การปรบั พน้ื ฐานและการ พัฒนาอย่างยั่งยืนในการน�ำ ICT เข้ามาใช้ในภาคสุขภาพ รวม ในดา้ นสถานการณแ์ ละปญั หาอตุ สาหกรรม ICT ไทย สว่ นใหญ่ ถึงการก�ำกบั ดแู ล, นโยบาย, การ บงั คับใช้กฎหมาย,มาตรฐาน เปน็ การลงทนุ จากตา่ งชาตแิ ละมสี ว่ นแบง่ ทางการตลาดคอ่ นขา้ ง และทรพั ยากรมนุษย์ ซง่ึ eHealth ของประเทศไทยอยใู่ นระดบั สูง ผู้ประกอบการไทยส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการขนาดเล็ก ท่กี �ำลังพฒั นาและ สรา้ ง eHealth โดยการปรบั สภาพแวดลอ้ ม ต้องพึ่งพาการน�ำเข้าเทคโนโลยีจากต่างชาติมากและมีการส่ง ICT ให้เติบโตในอัตราที่เร็วข้ึน ด้านตลาด ICT ระดับชาติ ออกไปยังต่างประเทศน้อย ปัญหาส�ำคัญของธุรกิจบริการด้าน และสภาพ ICT โดยรวมพบว่า ประเทศไทยมีความพร้อม คอมพวิ เตอรค์ อื การขาดแลนบคุ ลากรดา้ น ICT รวมถงึ มกี ารตนื่ ของอุตสาหกรรม ICT อยู่ในระดับ 4.97 ถือเป็นล�ำดับท่ี 3 ตวั ดา้ นการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศตำ่� เทคโนโลยยี งั พฒั นา ของอาเซียน รองจากสิงคโปร์ (6.20) และมาเลเซีย (5.03) ชา้ เทคโนโลยมี อื ถอื ของไทยกำ� ลงั จะเปลยี่ นผา่ นสรู่ ะบบ 3G-4G (คา่ เฉลย่ี สงู สดุ ไดแ้ กป่ ระเทศฟนิ แลนด์ 6.61) ในดา้ นการใชง้ าน การเข้าถึงบริการ Broadband ของไทยค่อนข้างน้อย สามารถ ICT มีประเทศสมาชกิ อาเซียนเพียง 3 ประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ เข้าถึงง่ายเฉพาะในเขตเมืองใหญ่ คุณภาพของ Broadband มาเลเซีย และบรูไน ท่ีมีคะแนนสูงกวา่ คา่ เฉล่ียอาเซยี น (3.81) ยังขาดความเสถียรในหลายพ้ืนที่ ประเทศไทยขาดแคลนเงิน และโลก (3.84) ประเทศไทยมคี ่าเฉลย่ี เทา่ กับ 3.58 ดชั นกี าร ทุนและบคุ ลากรในการพัฒนาดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8 จากการจดั ลา ดบั ของ World Economic Forum ผา่ นดชั นี Network Readiness Index 2014 อา้ งถงึ ในบรษิ ัท โบลลิเกอร์ แอนด์ คอมพาน(ี ประเทศไทย) จา กดั . เอกสารประกอบการประชมุ การจัดทำ� แผนยุทธศาสตรด์ า้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
36 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 2.4 สรุปสถานการณแ์ ละระดับการพัฒนา eHealth ในประเทศไทย ตารางท่ี 2-4 สรุปสถานการณแ์ ละระดบั การพฒั นา eHealth ในประเทศไทย9 การพฒั นา eHealth สถานการณ์ I. ส่วนที่เปน็ พ้ืนฐานซ่งึ เกีย่ วขอ้ งกบั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ √ Thailand 4.0, Digital Thailand 1. นโยบายและยุทธศาสตร์ eGovernment ของประเทศ 2. นโยบายและยุทธศาสตร์ eHealth ของประเทศ √ 3. องคก์ รระดบั ประเทศทก่ี ำ� กับดแู ลการพัฒนา eHealth 3. เงนิ ทนุ สนับสนุนการพฒั นา eHealth + 4. ความรว่ มมือ และการทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งภาครัฐและเอกชน + ภาครัฐ, ไมม่ จี ากภาคเอกชน 5. โครงสร้างพน้ื ฐาน II. สว่ นทีท่ �ำใหน้ โยบายและยุทธศาสตรส์ ามารถแปลงไปสกู่ ารใชง้ าน + 1. กฎหมายเก่ยี วกบั ความปลอดภัย และการรกั ษาความเป็นส่วนตัวของข้อมลู สขุ ภาพสว่ นบคุ คล ++ 2. การผลติ และการพฒั นาบุคคลากรให้มีความรเู้ กีย่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ 2.1. การเรยี นการสอนสำ� หรบั นกั เรยี นในวิชาชีพดา้ นแพทยแ์ ละสาธารณสขุ X 2.2. การเรียนการสอนส�ำหรับบุคคลากรทีป่ ฏบิ ัติงานในวิชาชพี ด้านแพทย์และสาธารณสุข ++ 3. มาตรฐานระบบขอ้ มูลสารสนเทศสุขภาพระดับชาติ +++ 3.1. มาตรฐานชดุ ข้อมูลแกนหลัก + 3.2. มาตรฐานความหมายของขอ้ มลู + 3.3. มาตรฐานรปู แบบของข้อมลู ชดุ ขอ้ มูล 43+7 แฟม้ 3.4. มาตรฐานการรกั ษาความปลอดภัยและความเปน็ ส่วนตวั ขอ้ มูลสุขภาพ ICD 10 TM, ICD 9 CM III. การใช้งานระบบสารสนเทศสุขภาพอิเล็คทรอนกิ ส์ X 1. mHealth or mobile Health X 2. ระบบแพทยท์ างไกล(Telemedicine) 3. ระบบการเรยี นทางไกลในสาขาวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ (eLearning in health sciences) ++, โครงการน�ำรอ่ ง 4. การแลกเปล่ียนข้อมลู สารสนเทศสุขภาพและระเบยี นสุขภาพอเิ ลค็ ทรอนิกส์ +, โครงการน�ำรอ่ ง (Health Information Exchange - EHR/EMR ) + 4.1 ขอ้ มลู อเิ ลค็ ทรอนิกส์ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการบรหิ ารจดั การ 4.2 ข้อมลู อเิ ล็คทรอนกิ สเ์ กย่ี วข้องกบั งานทางคลนิ กิ ++ Note: √ = ม/ี นำ� มาใช้, X = ไมม่ ี/ไมน่ �ำมาใช้, + = ใช้/ครอบคลมุ 0-25%, ++ = ใช้/ครอบคลุม 26-50%, +++ = ใช้/ครอบคลมุ 51-75%, ++++ = ใช้/ครอบคลมุ 76-100%, ICT 2010 = +++ Thailand ICT development frame work 2000-2010, ICD 10 TM = International + Classification of Disease version 10 Thai Modification, ICD 9 CM = ICD9 Clinical Modification procedure codes. การส่อื สารในการเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี นภายหลังปี พ.ศ. 2558. กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารร่วมกับบรษิ ทั โบลลเิ กอร์ แอนด์ คอมพานี(ประเทศไทย) จ�ำกัด 9 การศึกษาสถานการณร์ ะบบสารสนเทศสุขภาพและ eHealth ของไทยโดย กสธ. และ WHO, 2552 : 5-6 ปรบั ปรงุ 2560 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 37 2.5 การวิเคราะหท์ รภัพายพาท่ีก3รแผแลนภะสูมิแภสาดพงคโาดคยะแรนวนผมลทกาางรโปคระรเมงนิสครวา้ างมพพร้นื อฐมานกระทรวงสาธารณสุข 10 จากการวเิ คราะห์ทรพั ยากรและสภาพทโาดงยดรา วนมเททาคงโโนครโลงสยรสี ้าางรพสื้นนฐาเทนศกแรละทะกรวางรสสาือ่ ธสาราณรสขุ ใน 4 ปจั จัย คอื ICT Infrastructure, ICT Hardware, Software & Information System, และ People ดงั แสดงในภาพท่ี 2.5 แผนภมู แิ สดงค่าคะแนนผลการประเมนิ ความ พร้อมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารพบวา่ 4.63 ICT Readiness Score (ICT Hardware, H) (People,P) (ICT Infrastructure, I) 5.00 4.00 3.25 3.00 2.00 1.00 2.75 0.00 3.78 (Software & information system,S) แผนภาพท่ี 2.5 แผนภูมแิ สดงคา่ คะแนนผลการประเมนิ ความพรอ้ มทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร 1. ICT Infrastructure ได้คะแนน 2.75 เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายภายในส�ำนัก ปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีอายุอยู่ระหว่าง 3 – 5 ปี เป็น ปจั จยั ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ประกอบ ส่วนใหญ่ คุณสมบัติและสมรรถนะของเคร่ืองยังเพียงพอและ ด้วย 3 ปัจจัยย่อย ได้แก่ เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ตอบสนองต่อการใช้งานได้ ส�ำหรับเคร่ืองแม่ข่ายยังขาดความ (Network) ระบบพลังงานไฟฟ้า และโครงสร้างทางกายภาพ ชดั เจนในแผนการพฒั นา แผนการบำ� รุงรักษาหรือการยกระดบั (Physical Structure) คะแนนเฉล่ียอยู่ท่ี 3.25 กล่าวคือ มี (upgrade) ความพร้อมทางด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน มีนโยบายและแผนการ พฒั นาดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐานทช่ี ดั เจน มศี กั ยภาพทจี่ ะพฒั นาได้ 3. Software and Information System อย่างต่อเน่ือง ระบบพลังงานไฟฟ้า ได้คะแนน 2.5 เน่ืองจาก ขาดนโยบายในด้านการประหยัดพลังงานและการรักษาความ ปัจจัยด้านซอฟต์แวร์ และ ระบบสารสนเทศ ประกอบด้วย 3 ปลอดภยั ของระบบพลังงาน ปัจจัยย่อย ได้แก่ ซอฟต์แวร์ระบบงานและระบบสารสนเทศ หลัก ซอฟต์แวร์ระบบงานและระบบสารสนเทศท่ีใช้สนับสนุน 2. ICT Hardware การท�ำงาน การบริการและการจัดการปัญหา (Services and issues) การจัดทำ� เอกสาร (Documentation) และ ระบบความ ปัจจัยด้านอุปกรณ์หรือฮาร์ดแวร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ปลอดภัยของสารสนเทศ (Information security) ได้คะแนน ประกอบดว้ ย 2 ปัจจัยยอ่ ย ได้แก่ เครอ่ื งคอมพวิ เตอรล์ ูกข่ายที่ 3.78 มคี วามพรอ้ มคอ่ นขา้ งสูง มีแผนท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการบริหาร รับบรกิ าร (Clients) และ เครอื่ งแม่ข่ายที่ใหบ้ รกิ าร (Servers) จัดการด้านซอฟต์แวร์ และ ระบบสารสนเทศ ที่ชัดเจนในส่วน 10 พรชยั ชันยากร และคณะวิจัย. ผลการวเิ คราะห์ช่องวา่ งความตอ้ งการดา้ นขอ้ มูลและระบบสารสนเทศของกระทรวงสาธารณสขุ . โครงการจัดจ้างท่ปี รึกษาเพือ่ ศึกษาและวิเคราะห์ ความต้องการดา้ นข้อมูลและการเชอ่ื มต่อระบบสารสนเทศดา้ นการแพทย์และสขุ ภาพกระทรวงสาธารณสขุ . 2557 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
38 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 ของการรักษาความม่ันคงปลอดภัยแต่ยังขาดรายละเอียดใน ตลอดจนมกี ารพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การองคค์ วามรใู้ หเ้ จา้ หนา้ ท่ี ส่วนของข้ันตอนการปฏิบัติ ควรจัดท�ำขั้นตอนการปฏิบัติงาน สามารถสืบค้นเพื่อศึกษา หรือ เพิ่มเติมเน้ือหาได้อย่างสะดวก มาตรฐาน (Standard Operating Procedures, SOP) ให้เกิด สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่สอบใบรับรอง (Certification) เฉพาะ ความชัดเจน สามารถนำ� ไปปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริง ดา้ น เชน่ ดา้ นระบบเครอื ขา่ ย ดา้ นระบบปฏบิ ตั กิ าร ดา้ นบรหิ าร 4. People จดั การระบบ เพอื่ เพมิ่ ศกั ยภาพใหแ้ กเ่ จา้ หนา้ ทใ่ี นการปฏบิ ตั งิ าน ไดอ้ ย่างถูกต้องและรวดเรว็ ย่ิงขน้ึ ปัจจัยด้านบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ประกอบด้วย 2 ปัจจัยย่อย ได้แก่ การลงทุนด้านบุคลากร (Investment on people) และ การจัดการองค์ความรู้ (Knowledge management) ไดค้ ะแนน 4.63 จากข้อมลู แสดง ในเหน็ ถงึ การมงุ่ เนน้ พฒั นาบคุ ลากร มกี ารจดั อบรมอยสู่ มำ�่ เสมอ ตารางท่ี 2-5 สรุปการประเมินความพร้อมดา้ น ICT - Summary X (Total score = 5) ICT Readiness Assessment 3.42 ICT Infrastructure 2.50 3.25 Network 3.83 Electric and power Physical structure 2.50 ICT Hardware 2.75 Clients Servers 3.00 Software & information system Main software applications and information systems 4.25 Software Support and information systems Support 3.00 Services and issues 4.00 3.78 Documentation 4.00 Information security 3.6 People Investment on people 4.75 Knowledge management 4.63 Total score 4.50 3.60 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 39 บทท่ี 3 : การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มของ eHealth ในประเทศไทยตามองค์ประกอบของ eHealth (Environmental Analysis of The eHEALTH Sector in Thailand) ผู้นิพนภธ์า:พกอทง่ีบ4รรอณงคาธปิกราะรกอบของ eHealth 3.1 องค์ประกอบของ eHealth (WHO, National eHealth Strategy) Leadership and governance Strateagy Service and applications Legislation, Workforce and Standards & Interoperability policy and investment Infrastructure compliance Key: Action lines Governance Foundations Solutions Change and adoption แผนภาพที่ 3.1 องค์ประกอบของ eHealth การด�ำเนินการดา้ น eHealth ใหป้ ระสบผลส�ำเรจ็ ควรประกอบ ในการพัฒนา หรือน�ำองค์ประกอบต่างๆ มาใช้ในการด�ำเนิน ไปดว้ ยองค์ประกอบต่างๆ ดงั น้ี งาน eHealth เช่น การก�ำหนดมาตรฐาน หรือน�ำมาตรฐาน 1. ผนู้ ำ� การบรหิ ารจัดการ และการมีส่วนรว่ มของภาคสว่ น มาสนับสนุนและช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่จ�ำเป็นในการ ต่างๆ (Leadership, Governance and Multi-Sector ด�ำเนินการ การให้ขอ้ เสนอแนะ การตดิ ตามผลการด�ำเนินงาน Engagement) และผลประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ นอกจากน้ีผู้บริหารยังเป็น ผนู้ ำ� มบี ทบาทในการกำ� หนดเปา้ หมายและทศิ ทางการดำ� เนนิ งาน ผู้ที่สามารถให้ทิศทางการด�ำเนินงานท่ีชัดเจน โดยการส่งเสริม ด้าน eHealth ให้สอดคล้องกับการดูแลสุขภาพของประชาชน ให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง โดยให้การสนับสนุน ส่งเสริมการรับรู้และความมีส่วนร่วมของ ผู้บริหารเป็นผู้ท่ีมองเห็นปัญหา มองเห็นแนวทางการแก้ไข ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงใช้กลไกต่างๆ ในการด�ำเนินงาน ปญั หา รวมทง้ั ความทา้ ทายอนื่ ๆ ทสี่ ง่ ผลใหก้ ารดำ� เนนิ งานดา้ น เช่น ความเชี่ยวชาญ การประสานงานและสร้างความร่วมมือ eHealth ของประเทศมคี วามชัดเจนเป็นรูปธรรม eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
40 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 2. กลยทุ ธ์และการลงทุน (Strategy and Investment) 5. โครงสรา้ งพ้ืนฐาน (Infrastructure) กลยุทธ์ eHealth แห่งชาติน�ำไปสู่การวางแผน และการมีส่วน รูปแบบพื้นฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ในภาค ร่วมของผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี และภาคส่วนต่างๆ รวมถงึ การได้รับ สุขภาพ ซึ่งรวมถึงโครงสร้างพ้ืนฐานทางกายภาพ (เช่น เครือ บริจาคและสนับสนนุ เงินลงทุนท้ังจากภาครฐั และภาคเอกชน ข่าย) และการใช้งานบริการหลักที่เอ้ือต่อสภาพแวดล้อม 3. บรกิ ารตา่ งๆ และการใช้โปรแกรมประยกุ ต์ (Services and eHealth แหง่ ชาติ Applications) 6. กฎหมายนโยบายและการปฏิบตั ิ (Legislation, Policy การจดั การทเี่ ปน็ รปู ธรรมเพอื่ ใหเ้ กดิ การใชบ้ รกิ ารและระบบตา่ งๆ and Compliance) ท้ังน้ีมองถึง; การเข้าถึงบริการ, การแลกเปล่ียน, การจัดการ การน�ำนโยบายระดับชาติมาใช้โดยการทบทวนนโยบาย ดูถึง ข้อมูลและเน้ือหา, ผู้ใช้บริการรวมถึงประชาชนทั่วไป, ผู้ป่วย, ความครอบคลุมของนโยบายและการประกาศใช้นโยบาย การ ผู้ให้บริการ, ประกันภัยและอื่นๆ วิธีการอาจด�ำเนินการโดย สร้างสภาพแวดล้อมทางกฎหมายและการบังคับใช้ท่ีจะสร้าง รฐั บาลหรือในเชงิ พาณชิ ย์ทง้ั นีแ้ ล้วแตค่ วามเหมาะสม ความไว้วางใจ และเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคและผู้ปฏิบัติงาน 4. มาตรฐานการเช่ือมโยงและแลกเปล่ียนขอ้ มูล (Standards ด้าน eHealth รวมถึงการใช้งานระบบ นอกจากนี้ยังตอ้ งค�ำนึง and Interoperability) ถงึ การออกกฎหมายทีส่ ำ� คญั ก�ำหนดการใช้มาตรฐานท่ีมีความสอดคล้องและถูกต้อง เพื่อ 7. กำ� ลังคน (Workforce) การเก็บรวบรวมและแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านสุขภาพในระบบ การสร้างความรู้และทักษะด้าน eHealth เพื่อเพิ่มขีดความ บริการสุขภาพ สามารถของบคุ ลากรดา้ นสขุ ภาพ ตลอดจนความเชยี่ วชาญทาง ดา้ นเทคนคิ และความรว่ มมอื จากภาคเอกชน การสรา้ งเครอื ขา่ ย ระดับชาติ ระดับภูมิภาคและเครือข่ายเฉพาะทางพิเศษส�ำหรับ การดำ� เนนิ งาน eHealth นอกจากนย้ี งั ควรใหค้ วามสำ� คญั ในการ สรา้ งการศึกษาด้าน eHealth และโปรแกรมการฝกึ อบรมต่างๆ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 41 3.2 สภาพแวดล้อมของ eHealth ในประเทศไทยและระดับการพฒั นา eHealth ใน ประเทศไทย ตารางท่ี 3-2 สภาพแวดล้อมของ eHealth ในประเทศไทยและระดับการพัฒนา eHealth ในประเทศไทย11 ประชากร 67386 รายจา่ ยด้านสขุ ภาพท้ังหมด 4.0 ดัชนีการพัฒนาไอซที ี 3.27 Population (000s) 7640 Total health expenditure ICT Development Index 76 รายไดม้ วลรวม ระดบั ล่าง-กลาง (%GDP) 97.33 ประชาชาตติ อ่ หวั Lower-middle ค่าใชจ้ า่ ยสขุ ภาพต่อหัว 323 อนั ดบั ดัชนีการพัฒนา ICT 25.80 GNI per capita ไม่ใช่ ประชากรทง้ั หมด (ICT Development Index rank ) 20216 (PPP Int $) 70 Per capita total health ตัว ้ีชวัดประเทศ กลมุ่ รายไดข้ อง expenditure (PPP Int $) การสมัครสมาชกิ โทรศพั ทม์ อื ถือ ธนาคารโลก ความหนาแน่นของเตียงใน 22 (ตอ่ ประชากร 100) Mobile cellular World Bank โรงพยาบาล (ต่อประชากร income group 10000) subscriptions (per 100 population) สมาชกิ องค์การเพอื่ Hospital bed density ความร่วมมอื ทาง (per 10 000 population) 3.1 ผูใ้ ช้อินเทอร์เนต็ (ต่อประชากร 100) เศรษฐกิจและการ ความหนาแน่นของแพทย์ Internet users (per 100 population) พฒั นา (ต่อประชากร 10000) OECD country Physician density ดัชนปี ีสุขภาวะทปี่ รบั ด้วยความบกพร่อง อายุขยั เฉลีย่ (per 10000 population) 13.6 ทางสุขภาพ Disability Adjusted Life Life expectancy ความหนาแนน่ พยาบาล at birth (years) (ตอ่ ประชากร 10000) Years (DALY) Nurse density (per 10 000 population) 1. การดำ� เนนิ การวางรากฐาน eHealth (eHealth foundation actions) การดำ� เนนิ การวางรากฐาน eHealth โดยการสรา้ งสภาพแวดลอ้ มในการใชไ้ อซที เี พอ่ื สขุ ภาพ รวมถงึ การสนบั สนนุ นโยบาย eHealth กรอบทางกฎหมายและจริยธรรม; งบประมาณท่ีเพียงพอจากแหล่งต่างๆ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและการพัฒนาขีดความ สามารถของแรงงานสขุ ภาพผ่านกระบวนการฝกึ อบรม I. กรอบนโยบาย (Policy framework) Coกuขาnอรtrงตyปอรบreะสsเทนpศoอnงse การตอบสนองของโลก นPโoยlบicาyยกimาpรlดe�ำmเนenินtกeาdร ปขี imองpกlYeาemรaดern�ำotเaนftินioงnาน ใช่ 2002 นโยบาย eGovernment แห่งชาติ ใช่ Globa(l%re)§s1p2onse – – (National eGovernment policy – – 85b13 Nนโaยtiบonายal eeHHeeaalltthh แpหol่งicชyาติ ไม่ใช่ 55b – – 37b – – ใNนนโaภยtiบาoคnายaสlกุขภIาCราจTพัดรpซะrอ้ืดoจcับดัuชrจาe้าตmงิ eInCtT ไม่ใช่ policy for health sector 30c 25 นโยบายความหลากหลายทาง ไม่ใช่ วfNoฒั artนieoธHnรaeรlaมlmtดhu้าlนticeuHltueraalltihsmแหp่งoชliาcตyิ Nนโaยtiบonายal tteelleemmeeddiicciinnee แpหol่งicชyาติ ไม่ใช่ 12 §แสดงรอ้ ยละของประเทศสมาชกิ เข้ารว่ มที่ตอบ “ใช”่ a n=113 b n=112 c n=114 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
42 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 II. กรอบทางกฎหมายและจรยิ ธรรมส�ำหรบั eHealth (Legal and ethical frameworks for eHealth) กฎหมายเก่ียวกบั ข้อมลู สว่ นบคุ คลและท่เี กย่ี วขอ้ งกับสุขภาพ การตอบสนองของประเทศ การตอบสนองของโลก (Legislation on personal and health-related data) Country response Global response (%)a§ ใช่ 70 เพอ่ื ใหม้ ่นั ใจข้อมลู ท่ีระบตุ ัวตนของบุคคล ไมใ่ ช่ 31 (To ensure privacy of personally identifiable data) เพ่ือปกป้องข้อมูลสว่ นบุคคลโดยเฉพาะใน EMR หรือ EHR 1 ไมใ่ ช่ 26 (To protect personally identifiable data specifically in EMR or EHR 1) การออกกฎหมายส�ำหรับการแบง่ ปันข้อมลู ท่เี ก่ยี วข้องกับสุขภาพระหวา่ งเจา้ หนา้ ที่ดา้ น การดูแลสขุ ภาพผา่ น EMR / EHR 1 (Legislation for sharing health-related data between healthcare staff through EMR/EHR 1) ภายในสถานบริการสขุ ภาพและเครือขา่ ยผใู้ ห้บรกิ ารเดยี วกัน ไมใ่ ช่ 23 (Within the same health care facility and its network of care providers) กบั หน่วยงานดา้ นการดแู ลสขุ ภาพที่แตกต่างกันภายในประเทศ ไมใ่ ช่ 11 (With different health care entities within the country) ร้านขายยาทางอินเทอร์เนต็ (Internet pharmacies) กฎหมายที่อนุญาต/หา้ มการดำ� เนนิ การขายยาทางอินเทอรเ์ น็ต ไม่ใช่ อนญุ าต: 7 หา้ ม: 19 (Legislation that allows/prohibits Internet pharmacy operations) กฎระเบียบแหง่ ชาติ /การพิสูจน์ /การรบั รองเวบ็ ไซต์ขายยาทางอินเทอร์เนต็ ไมใ่ ช่ 7 National regulation/accreditation/ certification of Internet pharmacy กฎหมายที่อนญุ าตให้ / หา้ มการซอื้ ขายยาทางอนิ เทอรเ์ น็ตจากประเทศอนื่ ๆ ไมใ่ ช่ อนญุ าต: 6 ห้าม: 12 (Legislation that allows / prohibits Internet pharmacy purchases from other countries) ความปลอดภัยทางอินเทอรเ์ น็ต (Internet safety) รัฐบาลมีการรเิ รม่ิ และสนบั สนุนเก่ยี วกบั ความปลอดภัยทางอนิ เทอร์เนต็ และความรู้ ใช่ 47 เก่ียวกบั ความปลอดภยั ทางอินเทอร์เนต็ (Government sponsored initiatives about Internet safety and literacy) เคร่ืองมอื รักษาความปลอดภัยตามท่กี ฎหมายกำ� หนดสำ� หรับสงิ่ อำ� นวยความ ไม่ใช่ 22 สะดวกต่างๆ ของเดก็ (Security tools required by law for facilities used by children) แนวทางการประกนั คุณภาพเน้ือหาท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั สุขภาพบนอนิ เทอร์เน็ต (Quality assurance approaches to health-related Internet content) การปฏบิ ตั ิตามดว้ ยความสมคั รใจของผูใ้ หบ้ ริการเน้ือหาหรอื เจ้าของเวบ็ ไซต์ ใช่ 56 (Voluntary compliance by content providers or web site owners) เทคโนโลยผี ่านการกรองและการควบคุม ใช่ 28 (Technology through filters and controls) การแทรกแซงของรัฐบาลผา่ นกฎหมายหรอื ข้อบังคบั ไมใ่ ช่ 26 (Government intervention through laws or regulations) โปรแกรมการศกึ ษาส�ำหรบั ผ้บู รโิ ภคและผู้เช่ียวชาญ ใช่ 23 (Education programmed for consumers and professionals) ไดร้ บั การอนมุ ตั อิ ย่างเป็นทางการผ่านการรับรอง, ไมใ่ ช่ 17 การพสิ จู น์หรอื การประทับตราท่มี ีคณุ ภาพ (Official approval through certification, accreditation, or quality seals) eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 43 III. ค่าใชจ้ ่าย eHealth และแหลง่ ที่มาของเงนิ ทนุ (eHealth expenditures and their funding source) รายจ่าย (Expenditure) เงนิ ทนุ สาธารณะ การระดมทุนของภาค ผ้บู รจิ าค / เงนิ ทนุ ทไี่ มใ่ ช่ ภาครัฐและเอกชน (Public funding) เอกชน (Private funding) สาธารณะ (Public-private) อปุ กรณ์ไอซที ี กองทุนความรว่ มมือ (ICT equipment) (Donor/ non-public (Partnerships fund) ซอฟต์แวร์ (Software) funding) โครงการน�ำร่อง (Pilot projects) การตอบ การตอบ การตอบ การตอบ การตอบ การตอบ การตอบ การตอบ การสนบั สนุนอย่าง สนองของ สนองของ สนองของ สนองของ สนองของ สนองของ สนองของ สนองของ ตอ่ เน่ือง(Ongoing ประเทศ โลก (Global ประเทศ ประเทศ ประเทศ support) (Country response (Country โลก (Country โลก (Country โลก ทุนการศกึ ษา response) (%)b§) response) (Global response) (Global response) (Global (Scholarships) response response response (%)b§) (%)b§) (%) )b§ ใช่ 78 – 37 ใช่ 59 ใช่ 28 ใช่ 76 – 35 ใช่ 56 ใช่ 29 ใช่ 69 – 33 ใช่ 51 ใช่ 28 ใช่ 61 – 19 ใช่ 35 ใช่ 18 ใช่ 28 – 8 ใช่ 19 ใช่ 4 IV. การสร้างขีดความสามารถ (Capacity building) การตอบสนองของประเทศ การตอบสนองของโลก Country response Global response (%)a§ การศึกษาดา้ น ICT (ICT education) (กIาCรTฝกึ trอaบinรinมgไอfซoีทr สี s�ำtหudรeับnนtsกั ศinึกษhาeใaนltสhาขsาcวieทิ nยcาeศsาaสtตtรe์สrขุtiภarาyพiทnีส่stถitาuบtiันonอsุด)มศกึ ษา ใช่ 77 (สIถnาsบtiันtuกtiาoรnศsกึ oษfาfeทrใ่ี หcก้onารtiศnuึกiษngาตe่อdเนucื่อaงtดioา้ nน inICITCTส�ำfหorรบั hผeู้เaชltี่ยhวชpาroญfeดs้าsนioสnุขaภlsา)พ ใช่ 75 กลุ่มมอื อาชพี ทีเ่ สนอการใช้ไอซที ใี นการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ใช่ 73 (Professional groups offered ICT continuing education) ใช่ 62 ใช่ 60 การแพทย์ (Medical) ใช่ 54 การพยาบาล (Nursing) ใช่ 54 สาธารณสุข (Public health) ทันตกรรม (Dentistry) เภสชั กรรม (Pharmacy) eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
44 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 2. การใช้โปรแกรม eHealth โปรแกรม eHealth ทไ่ี ด้สำ� รวจในปี 2009 รวมถึง telemedicine (การส่งมอบบรกิ ารการดูแลสขุ ภาพและอุปสรรคในการใช้ไอซี ทีเป็นเครื่องมือในการส่ือสารทางไกล); mHealth (การใช้โทรศัพท์มือถือในการส่งมอบบริการการดูแลสุขภาพ) และ eLearning (การใช้ ICT เพอ่ื การเรยี นร)ู้ I. Telemedicine การตอบสนองของประเทศ การตอบสนองของโลก Country response Global response (%)c§ การดำ� เนินงาน Telemedicine นโยบาย telemedicine แห่งชาติ ไม่ใช่ 25 การด�ำเนินนโยบาย telemedicine แห่งชาติ – – การประเมินผลอยา่ งเปน็ ทางการและ / หรอื การประกาศการริเริ่มด�ำเนินการ telemedicine ตั้งแตป่ ี 2006 ไมใ่ ช่ 22 อุปสรรคในการด�ำเนนิ การแกไ้ ขปญั หา telemedicine ใช่ 60 คา่ ใชจ้ ่ายสูงเกนิ ไป ไมใ่ ช่ 40 การขาดนโยบายทางกฎหมาย / กฎระเบียบ ไม่ใช่ 39 วฒั นธรรมองค์กรไมไ่ ดส้ นบั สนุน ใช่ 38 โครงสรา้ งพนื้ ฐานท่ดี ้อยพฒั นา ใช่ 39 ขาดกรอบนโยบาย ไมใ่ ช่ 39 การล�ำดบั ความสำ� คัญของการแข่งขัน ใช่ 31 ขาดความตอ้ งการของผู้เช่ยี วชาญด้านสขุ ภาพ ใช่ 26 ขาดมาตรฐานท่นี �ำมาใช้ทั่วประเทศ ไมใ่ ช่ 25 ขาดความรู้ในการใช้งาน ไม่ใช่ 17 ขาดความเช่ียวชาญทางเทคนิค ใช่ 69 ข้อมูลที่จ�ำเปน็ มากทสี่ ุดเพ่ือสนับสนุนการพฒั นา telemedicine ในประเทศ ใช่ 58 คา่ ใช้จา่ ยและการใช้จา่ ยที่มีประสทิ ธิภาพ ใช่ 52 ความเป็นไปไดท้ างคลินกิ ใช่ 46 โครงสร้างพน้ื ฐาน ไม่ใช่ 45 การประเมินผล ไมใ่ ช่ 40 กฎหมายและจรยิ ธรรม ไม่ใช่ 30 ผลกระทบต่อทรพั ยากรมนษุ ย์ การรับรู้ของผปู้ ว่ ย eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 45 II. mHealth การตอบสนองของประเทศ การตอบสนองของโลก Country response Global response(%)c§ การด�ำเนินงาน Telemedicine ใช่ การรเิ รมิ่ mHealth ทจี่ ะดำ� เนินการในประเทศ ไม่ใช่ 83 การประเมินผลอย่างเป็นทางการและ / หรือประกาศการริเรมิ่ mHealth ไมใ่ ช่ 12 ใช่ 53 อุปสรรคในการดำ� เนินการแกไ้ ขปัญหา telemedicine ใช่ 47 ลำ� ดบั ความส�ำคัญของในการแขง่ ขนั ใช่ 44 ขาดความรใู้ นการใชง้ าน ไมใ่ ช่ 40 ขาดกรอบนโยบาย ไมใ่ ช่ 38 ลดคา่ ใชจ้ า่ ยท่ไี ม่เป็นประโยชน์ ไมใ่ ช่ 37 ขาดนโยบายทางกฎหมาย / กฎระเบยี บ ไมใ่ ช่ 29 ค่าใช้จา่ ยท่เี ห็นวา่ สูงเกนิ ไป ใช่ 26 ขาดความต้องการ 26 ขาดการพัฒนาดา้ นโครงสร้างพน้ื ฐาน การขาดความเช่ียวชาญทางเทคนิค การตอบสนองของประเทศ การตอบสนองของโลก Country response Global response(%)c§ IIIa. eLearning ใช่ 72 eLearning ในวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพระดบั ตตยิ ภูมิ ใช่ 69 ท่ใี ช้ในการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ ท่ีใชใ้ นการฝกึ อบรมผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นสุขภาพ ไมใ่ ช่ 64 ใช่ 63 อปุ สรรคในการด�ำเนนิ การ eLearning ใช่ 55 ขาดการพัฒนาด้านโครงสร้างพนื้ ฐาน ใช่ 46 ขาดกรอบนโยบาย ไม่ใช่ 45 ขาดการพฒั นาทักษะการเรียนการสอน ไมใ่ ช่ 42 ขาดความรใู้ นการใชง้ าน ใช่ 21 ค่าใช้จา่ ยที่เหน็ วา่ สงู เกนิ ไป ความพร้อมของหลกั สูตรท่ีเหมาะสม ขาดความตอ้ งการ IIIb. eLearning target groups นกั เรยี น ผเู้ ชี่ยวชาญ แพทย์ การตอบสนอง การตอบสนอง การตอบสนองของ การตอบสนอง สาธารณสุข ของประเทศ ของโลก ประเทศ ของโลก การพยาบาล (Country response) เภสัชกรรม (Global response (Country response) (Global response ทันตกรรม ใช่ (%)c§) (%)b§) ใช่ 68 – 71 §แสดงรอ้ ยละของประเทศสมาชกิ เขา้ รว่ มที่ตอบ “ใช่” ใช่ 52 – 56 a n=113 b n=112 c n=114 ใช่ 50 – 37 ใช่ 45 – 37 39 – 37 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 47 บทท่ี 4 : แนวคดิ ยทุ ธศาสตร์ eHealth ผู้นิพนธ์ : กองบรรณาธกิ าร แนวคดิ ยทุ ธศาสตร์ eHealth คอื “การพฒั นาประสทิ ธภิ าพในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอื่ ปรบั ปรงุ การใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพ การบรหิ าร จัดการสุขภาพและการสื่อสารด้านสุขภาพ” กรอบการด�ำเนินงาน คือ การก�ำหนดเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ที่จะช่วยให้ประเทศบรรลุ วสิ ยั ทศั นใ์ นการดแู ลสขุ ภาพถว้ นหนา้ โดยการนำ� เอาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาสนบั สนนุ การดำ� เนนิ ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงสาธารณสขุ เพอื่ ระบบสขุ ภาพไทยเขม้ แขง็ เปน็ เอกภาพ เพอื่ คนไทยสขุ ภาพดี สรา้ งประเทศใหม้ น่ั คง มง่ั คงั่ และยงั่ ยนื โดยเสรมิ สรา้ ง สนบั สนนุ และประสานใหเ้ กดิ การมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ทั้งภาครฐั เอกชน นกั วิชาการและภาคประชาสงั คม ในการอภบิ าลและพัฒนา ระบบสขุ ภาพไทยใหเ้ ขม้ แขง็ รองรบั กับบริบทของการเปลยี่ นแปลงในอนาคต ทง้ั นก้ี ารด�ำเนินการดา้ น eHealth ให้ประสบผลสำ� เรจ็ ควรจะดำ� เนินการขับเคลือ่ นในทกุ ยุทธศาสตรโ์ ดยเน้นความมีสว่ นรว่ มและ เชอ่ื มโยงการท�ำงานระหว่างกนั เพือ่ ใหก้ ารสง่ เสรมิ สขุ ภาพและป้องกันโรคเป็นเลศิ การบริการเป็นเลศิ บคุ ลากรด้าน Health IT ที่เปน็ เลิศและการบริหารเปน็ เลิศด้วย eHealth Governance องค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) eHealth Strategic มีแนวทางการด�ำเนินงาน ตามตารางต่อไปน้ี ตารางท่ี 4-1 โปรแกรมการท�ำงานของ eHealth (eHealth Program of Work) (ทม่ี า WHO : พฤษภาคม 2007) กระบวนการจัดการ eHealth eHealth Strategic แผนปฏิบัติการ Implementation Timeline 1. การสนับสนุนจากผู้น�ำสุขภาพ 1. Foundations : การวิเคราะห์โครงสรา้ งพืน้ 2. รวบรวมก�ำลังคนหลกั 1. การมีส่วนรว่ มของผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสยี ฐาน การหา GAP Analysis การกำ� หนด 3. คณะกรรมการอ�ำนวยการ 2. บรบิ ทเชิงกลยทุ ธ์ของ eHealth eHealth Roadmap ของประเทศ 3. ข้อตกลงความคิดเหน็ ในวิสยั ทัศน์และ 2. Solutions : การแกป้ ญั หา ผลลพั ธ์ดา้ น eHealth ของประเทศ 3. การพฒั นาและปรับปรุงมาตรฐาน Registration System, Equipment Availability, Funding Mechanism การดำ� เนนิ การตามวสิ ัยทัศน์ eHealth มคี วามเก่ยี วข้องกับการประสานงานโครงการสำ� คัญ ๆ จ�ำนวนมากพร้อม ๆ กัน โครงสร้าง ของ eHealth จะต้องไดร้ บั การบรหิ ารจัดการอยา่ งมีประสิทธิภาพ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
48 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 องคก์ ารอนามัยโลก (WHO) ได้แบง่ การท�ำงานของ eHealth ออกเป็น 4 กลมุ่ 21 โครงการ ในแตล่ ะกลุ่มจะมโี ครงการท่ีเกยี่ วขอ้ ง และตอ้ งบรหิ ารจดั การเปน็ โปรแกรมยอ่ ย ๆ โดยภายในโปรแกรมมรี ายละเอยี ดดงั ตารางการดำ� เนนิ การ eHealth ทป่ี รากฎดา้ นลา่ งน้ี ตารางที่ 4-2 องคป์ ระกอบการบรหิ ารจดั การด้าน eHealth 1. การบูรณาการขอ้ มูล 2. ระบบแกนหลักการ 3. โครงการพืน้ ฐาน 4. การจัดการและสง่ มอบ สารสนเทศและการสอ่ื สาร ดำ� เนนิ งาน โปรแกรม eHealth • พื้นท่กี ารเกบ็ ข้อมูลด้าน ระบบการด�ำเนินงานหลักมุง่ เน้น จดั การข้อมูลเป็นโครงการพืน้ ฐาน การจัดการและการส่งมอบ Enterprise (Enterprise ไปท่กี ารเลอื ก การพัฒนาและการ ทจี่ ะช่วยวางรากฐานกลยุทธ์ดา้ น โปรแกรม eHealth รวมถงึ การเรมิ่ Information Repository) ดำ� เนนิ การระบบหลักทีจ่ ะช่วยให้ eHealth การออกแบบควรท�ำให้ เตรยี มความพร้อมขององคก์ รและ เกิดความสามารถเชิงกลยทุ ธด์ า้ น เกดิ ความมนั่ ใจวา่ ข้อมูลมคี วาม ประชาชนส�ำหรับการเปล่ยี นแปลง • การบูรณาการระบบ eHealth สมบรู ณ์ สอดคลอ้ ง สามารถใชง้ าน ที่มคี วามส�ำคัญและจำ� เปน็ ต่อ (Systems Integration) ระหวา่ งระบบทมี่ ีความแตกต่างกนั วสิ ยั ทศั น์ eHealth รวมถงึ การ การด�ำเนินงานระบบหลกั ควร ได้ เพ่ือให้แน่ใจวา่ การรวมขอ้ มูลท่ี สนบั สนุนเครอ่ื งมอื กระบวนการ • ชมุ ทางผูใ้ ช้ระบบ เรมิ่ ด�ำเนนิ การดงั ตอ่ ไปน:้ี ในพืน้ ท่ีเก็บขอ้ มูลขององค์กรเป็น การประสานงานความรว่ มมอื การ (User Portals) • ระบบการรายงานยา ประโยชน์และมคี วามส�ำคัญ ท�ำงานของโปรแกรม การรเิ ร่มิ การ • ระบบการจัดการขอ้ มลู ฉกุ เฉนิ โดยตระหนกั ถงึ จัดการและสง่ มอบผลงานโปรแกรม • การสือ่ สารข้อมลู • ระบบการวนิ จิ ฉัยภาพ eHealth คอื : (Information Communication) • ระบบสขุ ภาพชุมชน, • การจดั การข้อมลู (รหัส มาตรฐานทใ่ี ช้ท�ำงานรว่ มกัน / • ความเป็นผ้นู ำ� การเปลี่ยนแปลง สุขภาพจติ และการจัดการโรค ประเด็นเชิงนโยบายต่างๆ) • การวางแนวทางธรุ กจิ และโรง เร้ือรัง • การระบผุ ้ปู ว่ ยทไี่ ม่:ซ�้ำกนั พยาบาล • ระบบการจดั การและประสาน (Unique Patient Identifier) • การส่อื สารโปรแกรม งานผปู้ ่วย • การระบุผใู้ หบ้ ริการและรายการ • การเปลี่ยนแปลงอย่างย่งั ยืน • ระบบการวิเคราะห์และการ บรกิ ารที่ไมซ่ ้�ำกัน (Unique Pro- • การท�ำใหเ้ กิดประโยชน์ รายงาน vider Identifier and Services • การมสี ำ� นกั งานบรหิ ารและ • ระบบการจัดการทางคลนิ ิก (รวม Catalogue) สถาปตั ยกรรมโปรแกรม eOrders และ ePrescribing) • การไดร้ บั ชยั ชนะทีร่ วดเร็ว eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 49 ¤ÇÒÁÊÒÁÒö´ŒÒ¹¡ÅÂ·Ø ¸ eHealth ¢ÍŒ ÁÅÙ ¼Ù»Œ dž  ¢ÍŒ ÁÅÙ ÃÇÁà¾è×Í à¾ÁèÔ »ÃÐÊÔ·¸ÀÔ Ò¾ ʹѺʹ¹Ø ¡Òà ẺºÃÙ ³Ò¡Òà ʹºÑ ʹ¹Ø ¡Òà ¡Òí ˹´¡ÒõÒÁ Ê‹§ÁͺºÃ¡Ô Òà áÅФúǧ¨Ã µ´Ñ Ê¹Ô ã¨ ¤ÇÒÁµÍŒ §¡ÒÃ Ê¢Ø ÀҾ㹾¹×é ·èÕ ¢Í§¼ÙŒ»†Ç ËÅ¡Ñ °Ò¹áÊ´§¼Å¡Òà ¾¹×é ·Õèà¡çº¢ÍŒ ÁÅÙ ¡ÒôÒí à¹Ô¹§Ò¹Í§¤¡ à üü üü ´Òí à¹Ô¹§Ò¹ 1 กาúÙóากาÃÃкº üü üü : ¡ÒúÙóҡÒâ͌ ÁÙÅ ¾Í÷ÅÑ ¼ŒãÙ ªŒ§Ò¹ üü üü áÅСÒÃÊ×èÍÊÒà กาÃÊÍè× Êาâ้ÍÁÙล ü üü กาÃÊèÍ× Êาâ้ÍÁÙล üü ËÅ¡Ñ °Ò¹áÊ´§¼Å¡Òà ¡ÒèѴ¡Òâ͌ ÁÅÙ ©¡Ø à©Ô¹ üü ü ´Òí à¹Ô¹§Ò¹ 2 ¡ÒÃÇ¹Ô Ô¨©ÑÂÀÒ¾ üü üü : ¡ÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹ 梯 ÀÒ¾ªØÁª¹áÅÐ梯 ÀÒ¾¨µÔ üü üü ÃкºËÅ¡Ñ ¡Òè´Ñ ¡ÒüŒÙ»†ÇÂáÅСÒûÃÐÊÒ¹§Ò¹ üü üü ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐËá ÅСÒÃÃÒ§ҹ üü üü ËÅÑ¡°Ò¹áÊ´§¼Å¡Òà üü üü ´Òí à¹¹Ô §Ò¹ 3 ¡ÒúÃËÔ Òè´Ñ ¡ÒâŒÍÁÅÙ üü üü : â¤Ã§¡ÒÃ¾×¹é °Ò¹ ¡ÒúÃÔËÒèѴ¡Òâ͌ ÁÙÅ üü ü ¡ÒÃÃкصÑǵ¹¼»ŒÙ dž ·Õäè Á«‹ éíҡѹ üü ¡ÒÃÃкؼŒÙãËŒºÃÔ¡Ò÷Õäè Á«‹ éÒí ¡Ñ¹ ü áÅÐᤵµÒÅÍç ¡¡ÒÃºÃ¡Ô Òà üü ตารางที่ 4–3 โปรแกรมการท�ำงานของ eHealth (eHealth Program of Work) (ทมี่ า : WHO & ITU. National eHealth Strategy Toolkit) รายละเอยี ดในตารางขา้ งตน้ แสดงถึงภาพรวมของวตั ถุประสงคแ์ ละขอบเขตของกิจกรรมท่สี �ำคญั ในการด�ำเนนิ งาน eHealth โดยท่ี ทกุ องคก์ ร สามารถนำ� ไปประเมินความสามารถดา้ นกลยทุ ธ์ eHealth ในการด�ำเนินงานขบั เคล่ือน eHealth ได้ ตามกรอบแนวทาง ดังกล่าว ซ่งึ จะเป็นพื้นฐานท่ีเป็นประโยชน์ในการคดั เลือกกลยุทธก์ ารด�ำเนินงาน eHealth ต่อไป โดยจะสรปุ ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งานดังตอ่ ไปน้ี : • ก�ำหนดกลยทุ ธ์ – ควรท�ำการวเิ คราะห์ตัวเลือกในการพัฒนากลยุทธ์ เพอ่ื น�ำสนอการริเริม่ โครงการ • ทบทวน / ประเมินความสามารถที่มอี ยแู่ ละพิจารณาขอบเขตเหลา่ น้วี า่ จะสามารถยกระดบั หรือน�ำมาใช้กบั กิจกรรมภายในได้ หรอื ไม่ อยา่ งไร • การเลือก – การกำ� หนดรายละเอียดความตอ้ งการ และเลือกทางออกที่เหมาะสม ผา่ นข้ันตอนการจัดซ้ือจัดจ้างในสว่ นที่ เกีย่ วข้อง • การออกแบบ & สร้าง – เก่ียวขอ้ งกบั การออกแบบ การสร้าง การทดสอบ และการแกป้ ญั หา • การท�ำใหส้ ำ� เร็จ – เกีย่ วข้องกับการปรับใชก้ ารแกป้ ัญหา (Solution) ในสภาพแวดลอ้ มของการด�ำเนนิ งานและการฝึกอบรม ผใู้ ช้ การใช้งานและการแก้ปัญหาทเี่ กดิ ขนึ้ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
50 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 Part Term Definition Part I: Strategic goals and Strategic health sector goals and challenges and/or other national Establishing a challenges development goals that can be best supported by eHealth. While national eHealth there may be many different health sector goals and challenges, vision only some of these can be directly supported by eHealth and where a national eHealth vision will have the most impact. eHealth outcomes What will be achieved or changed through using eHealth, and how will the health system and services change by: • Improving the information flows within the health sector • Improving electronic access to health services and information. eHealth vision High-level statement that describes the strategic benefits and outcomes for the country in general or for the health system and population through the strategic changes to health system and services introduced by eHealth (eHealth outcomes). National eHealth The national eHealth environment is made up of eHealth environment components representing the enabling and foundation elements for eHealth as well as technical capabilities that form together an ‘ecosystem’ for eHealth in a country. eHealth components The building blocks of a national eHealth environment, which will allow the eHealth outcomes to be achieved. They describe what is needed to be introduced or strengthened to achieve the eHealth vision in terms of: • leadership and governance • strategy and investment • services and applications • infrastructure • standards and interoperability • legislation, policy and compliance • workforce Strategic Strategic recommendations describe the high–level actions recommendations required to deliver the national eHealth environment. These actions may describe how new eHealth components will be delivered, or how existing eHealth components will be repurposed or extended Part II: Action Lines Broad areas to group national activities of similar focus and intent Developing an eHealth Outputs that are required to deliver a nation’s eHealth vision eHealth action plan The specific achievements, deliverables, results or changes required to deliver a strategic recommendation Activities The set of activities that need to be undertaken to deliver a particular output Part III: Output indicators Indicators that provide insights into the adoption and take-up of National eHealth eHealth within the country’s health sector monitoring Outcome indicators and evaluation Indicators Indicators that provide insights into the tangible results for guidelines stakeholders that arise from the adoption and use of eHealth ภาพที่ 4-2 แสดงแตล่ ะสว่ นและนิยามทใ่ี ช้ในการพัฒนายทุ ธศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพระดบั ชาติ (National eHealth Strategy) (ที่มา : National eHealth Strategy Toolkit 2013, P88) eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026
Search