Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงด้านการศึกษา

คู่มือพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงด้านการศึกษา

Published by KruChaiwat, 2021-09-24 16:51:23

Description: คู่มือพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงด้านการศึกษา

Search

Read the Text Version

คำนำ เอกสารคู่มือการพฒั นาสถานศึกษาพอเพยี งให้เป็นศูนย์การเรยี รู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา จดั ทำขน้ึ เพ่ือเปน็ แนวทางในการขับเคลื่อนนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ ยทุ ธศาสตร์ส่งเสริม การขับเคลอื่ นการพฒั นาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการศึกษา ซงึ่ สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเน้น การดำเนินงานของ สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 น้อมนําพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่ การปฏิบตั ิ สบื สานศาสตรพ์ ระราชา ปลูกฝังผเู้ รียนใหม้ หี ลักคิดท่ีถกู ต้องดา้ นคุณธรรม จริยธรรม มที ัศนคติ ท่ีดีต่อ บ้านเมือง และเป็นผู้มีความพอเพียง ระเบียบวินยั สุจริต จิตอาสา ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรูต้ ลอดชีวิต ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กบั ประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหารจัดการ ความเสี่ยงอย่าง เหมาะสม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และทิศทางการพัฒนาประเทศ สูค่ วามสมดลุ และย่ังยืน กศน.อำเภอคลองหลวง สถานศึกษาในสังกัด สำนักงาน กศน.จังหวัดปทุมธานี เป็นสถานศึกษาที่มี บทบาทหน้าที่ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายในพืน้ ท่ี รับผิดชอบ อย่างมีประสิทธิภาพ ได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและดำเนินการตามนโยบายของ หน่วยงานตน้ สังกัดในการขบั เคลื่อนการจัดการศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง จึงได้ จัดทำคมู่ ือเล่มนี้ข้ึน เพือ่ เป็นเครือ่ งมอื ใหบ้ ุคลากรของสถานศกึ ษา นำไปเป็นแนวปฏิบัตขิ ับเคลอื่ นการดําเนินงานให เปนไปในทิศทางเดียวกนั เกิดผลลัพธ์เป็นรูปธรรม และบรรลุเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในท้ัง 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านบุคลากร ด้านการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และด้านความสัมพันธ์กับหน่วยงาน ภายนอก หวังเป็นอยา่ งยงิ่ ว่า ผู้สนใจศกึ ษาเอกสารฉบับนจี้ ะได้รับความรูแ้ ละแนวปฏิบัตทิ ่ีสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในการดำเนนิ งานหรอื การดำเนินชวี ิต ให้มีประสิทธิภาพยง่ิ ขน้ึ ต่อไป กศน.อำเภอคลองหลวง กนั ยายน 2564

สารบญั เร่อื ง หนา้ ความเป็นมา 1 ประเดน็ ในการพัฒนา 2 เป้าหมายในการพฒั นา 2 กลยุทธ์ในการพฒั นา 2 วิธีการขบั เคลอ่ื นการดำเนนิ งาน 5 ข้ันตอนการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA 7 แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 9 เกณฑ์ประเมิน 14

ความเปน็ มา กระทรวงศึกษาธิการ กำหนดนโยบายนอมนําเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเขาสู่สถานศึกษา ในสงั กดั นําความพอเพียงไปสู่จติ ใจเดก็ และเยาวชนไปสจู่ ิตใจของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา และครูอาจารยภายใต “ยุทธศาสตรขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา” โดยเริ่มตั้งแต่ ป 2550 เพื่อใหเกิดการนํา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชเป็นแนวทางพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาในทุกระดับ ไม่วาจะเป็นในมิติ ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน การจดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน และการบริหารจัดการสถานศึกษา ตลอดจนการพฒั นาบุคลากร เพ่ือใหเกดิ ผลทางปฏบิ ตั ิในทกุ ระดบั อย่างมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล และผนวก เอาคุณธรรม-จริยธรรม เขาไปเป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรูร้อยรัดเชื่อมโยงความร่วมมือระหว่าง สถาบนั การศกึ ษา สถาบันครอบครัว ชมุ ชน ศาสนา ใหมีสวนร่วมในการจัดการศึกษาด้วยหวังใหบรรดาอนาคตของ ชาติในวันนี้เกิดความรู ทักษะ เจตคติที่ดี และปรับเปลี่ยนกระบวนการศึกษาให้สามารถนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งสมดุลและย่งั ยนื สำนักงาน กศน. จึงได้นำนโยบายดังกล่าวมากำหนดไว้ในจุดเน้นและนโยบายการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 น้อมนําพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ สืบสานศาสตร์ พระราชา ปลกู ฝังผู้เรียนให้มีหลกั คดิ ทีถ่ กู ตอ้ งดา้ นคุณธรรม จริยธรรม มีทศั นคติ ที่ดตี อ่ บ้านเมือง และเปน็ ผมู้ ีความ พอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้าง ภมู คิ ุม้ กัน สามารถยนื หยัดอยู่ไดอ้ ย่างม่นั คง และมกี ารบริหารจัดการ ความเส่ียงอย่างเหมาะสม ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง และทศิ ทางการพัฒนาประเทศ สู่ความสมดุลและยง่ั ยืน กศน.อำเภอคลองหลวง จึงนำนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร และสำนักงาน กศน. มาใช้เป็นแนวทาง ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กำหนดเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา “กศน.อำเภอ คลองหลวงเปน็ สถานศึกษาพอเพยี ง” และกำหนดอตั ลกั ษณ์ของนักศึกษา “ผเู้ รียนมอี าชพี บนพน้ื ฐานปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งได้ดำเนินการขับเคลื่อนการจัดการเรียนการสอนโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาตงั้ แต่ ปีการศกึ ษา 2564 จนไดร้ ับการคดั เลอื กจากกระทรวงศกึ ษาธิการ ใหเ้ ป็นสถานศึกษาแบบอย่าง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปี ๒๕๕๔ “สถานศึกษาพอเพียง ๒๕๕๕” และเพื่อให้มีการดำเนินงานให้มีประสิทธภิ าพยิ่งขึ้น จึงกำหนดเป้าหมายไว้ในปี การศึกษา 2564 กศน.อำเภอคลองหลวง จะพฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ารเรียรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ด้านการศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาใน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านบุคลากร ด้านการจัดการ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และด้านความสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอก เพื่อขับเคลื่อการดำเนินงานของ สถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งการสร้างแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตที่เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงให้กับนักศึกษา ประชาชน ถ่ายทอดความรู้ และแนวคิดให้กับผู้ที่สนใจ อย่างมีกระบวนการ ขั้นตอนที่ชัดเจน บูรณาการความร่วมมือกับผู้เรียน ประชาชน ชุมชน ตลอดจนองค์กรภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ในการดำเนนิ งานให้เกิดประสทิ ธิภาพ และเกิดประโยชน์ตอ่ ทางราชการอยา่ งสูงสุด

วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ พฒั นาสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศกึ ษา 2. เพอ่ื ใหการปฏิบตั งิ านสอดคลองกับนโยบาย วสิ ยั ทัศน ภารกิจ และเป้าหมายขององคกร 3. เพื่อใหบุคลากรสามารถดำเนินงานใหเป็นไปในแนวทางเดยี วกัน ประเดน็ ในการพฒั นา 1. การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. การพัฒนาองคก์ รและบคุ ลากร 3. การจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ 4. การขยายผลและเสรมิ สรา้ งความเขมแขง็ ของเครือข่าย 5. การเผยแพรประชาสมั พันธแ์ ละสงเสริมการแลกเปล่ียนเรียนรู้ เปา้ หมายในการพัฒนา เชงิ ปรมิ าณ กศน.อำเภอคลองหลวง ผ่านการประเมนิ ศนู ยก์ ารเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด้านการศกึ ษา ในแต่ละองคป์ ระกอบไม่ตำ่ กวา่ ระดบั 3.5 จากระดบั คณุ ภาพ 5 ภายในปีการศึกษา 2564 เชิงคณุ ภาพ กศน.อำเภอคลองหลวง จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยบูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งกับ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ โดยใช้สื่อแหลง่ เรียนรู้ ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ประสานความร่วมมือ ในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับ ผู้เรียน ประชาชน และภาคีเครือข่าย ส่งผลให้สถานศึกษามีเอกลักษณ์ เป็น สถานศึกษาพอเพียง และนกั ศึกษามอี ตั ลกั ษณ์เปน็ ผ้มู ีความพอเพยี ง กลยุทธ์ในการพฒั นา กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. ศึกษา วเิ คราะห์ วิจยั แนวทางการนาํ แนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปจดั การศกึ ษา 2. สงเสริมศักยภาพความเขมแขง็ ครูแกนนาํ การจัดการเรยี นการสอนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง 3. ถอดองคความรูการบริหารจัดการสถานศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. จดั ทำเครอื่ งมอื /คูมือ การบริหารจัดการสถานศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาองค์กรและบคุ ลากร 1. ฝกึ อบรมหลกั สตู รวิทยากรเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือพัฒนาองคความรูและเทคนิคการจดั การเรียนรูใ้ ห้ ครูผูส้ อนในสถานศกึ ษา 2. สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหค้ รูไดเ้ ป็นวิทยากรภายนอกสถานศึกษา เพอ่ื ฝกึ ทกั ษะและความเช่ยี วชาญ

3. ศึกษาดูงานเพอื่ เสรมิ สร้างประสบการณ์ให้ครผู ู้สอน กลยุทธท์ ่ี 3 การจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพ 1. พฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มภายในสถานศกึ ษาใหม้ คี วามสวยงาม เปน็ ระเบียบ พร้อมใช้งานอยูเ่ สมอ 2. จัดฐานการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และจัดลำดับขนั้ ตอนการศกึ ษาฐานการ เรียนรอู้ ย่างเปน็ ระบบ โดยทกุ ฐานการเรียนรู้ผู้เรยี นจะตอ้ งไดร้ ับความร้แู ละทกั ษะตามท่ีกำหนด กลยทุ ธท์ ่ี 4 การขยายผลและเสริมสร้างความเขมแขง็ ของเครือข่าย 1. ขยายผลการขบั เคลอื่ นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของศนู ยก์ ารเรยี นรตู ามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านการศกึ ษา ให้กับประชาชน หน่วยงาน องค์กรในพนื้ ที่ 2. จัดทำบันทึกขอ้ ตกลง (MOU) ความรว่ มมอื ในการพัฒนาและขยายผลแหลง่ เรียนร้ทู ่เี กีย่ วข้องกบั หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในพนื้ ท่ี ร่วมกับภาคเี ครือข่าย หน่วยงาน องคก์ ร ชุมชนในพ้นื ที่ กลยทุ ธท์ ่ี 5 การเผยแพรประชาสมั พนั ธ์และสงเสรมิ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู 1. เผยแพรการประยกุ ตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการจดั การศึกษา โดยจัดทำและผลิตส่อื รปู แบบ ตางๆ เช่น เอกสาร แผน่ พบั E-Book VDO Clip 2. เผยแพรข้อมูลขา่ วสาร ความก้าวหนาของการจัดการศึกษาตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงทาง ชอ่ งทางออนไลน์ อาทิ Facebook Website YouTube 3. จดั นิทรรศการ หรอื มหกรรมเศรษฐกิจพอเพียงภาคการศึกษา กลยุทธท์ ่ี 6 การบริหารจดั การและการตดิ ตามประเมนิ ผล 1. วดั ผลและประเมินผล ความรู้ ทกั ษะ ตดิ ตามการนำความรไู้ ปใช้ และประเมินความพึงพอใจอย่างเปน็ ระบบในทุกกิจกรรม 2. การติดตามผลการดําเนนิ งานขบั เคลอ่ื นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ กศน.ตำบล และจดั ลำดบั ผล การดำเนินงานตามเกณฑ์ท่กี ำหนด เพ่ือมอบรางวัลเปน็ ขวัญกำลังใจในการปฏิบัตงิ าน 3. พัฒนารปู แบบ แนวทาง เครอ่ื งมือและคูมอื ในการตดิ ตามและประเมินผล 4. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศแหล่งเรยี นรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ วธิ ีการขบั เคล่อื นการดำเนินงาน 1. การบริหารจดั การสถานศึกษา 1.1 ด้านนโยบาย 1.1.1 มีนโยบายน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรฐกจิ พอเพยี งมาขบั เคลือ่ นในสถานศึกษาและบรู ณาการใน แผนปฏิบตั งิ านประจำปี 1.1.2 ดำเนินการตามนโยบายและแผนปฏิบัติงานประจำปีทน่ี อ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรฐกจิ พอเพียงมา ขบั เคลือ่ นในสถานศึกษา 1.1.3 ติดตามผลการดำเนนิ การตามนโยบายและแผนปฏบิ ัติการประจำปทีน่ อมนําหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงมาขับเคล่อื นในสถานศกึ ษา

1.1.4 นำผลการติดตามมาพฒั นานโยบาย/แผนงาน/โครงการขบั เคลอ่ื นหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในสถานศึกษา 1.2 ดา้ นวิชาการ 1.2.1 มแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ด้านวิชาการที่สงเสริมการบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารเรียนรู 1.2.2 ดำเนนิ การตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ด้านวชิ าการท่ีสงเสริมการบูรณาการหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การเรยี นรู 1.2.3 ติดตามผล แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดา้ นวิชาการทส่ี งเสรมิ การบูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารเรยี นรู 1.2.4 นําผลการติดตามไปพัฒนา แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ด้านวชิ าการที่สงเสริมการบรู ณาการ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การเรยี นรู 1.3 ดา้ นงบประมาณ 1.3.1 มีการวางแผนการบริหารจดั การงบประมาณของสถานศึกษาท่ีสอดคลองกับหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 1.3.2 ดำเนนิ การตามแผนงบประมาณของสถานศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1.3.3 ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานตามแผนงบประมาณของสถานศกึ ษา ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1.3.4 นาํ ผลการติดตามมาพัฒนาและปรบั ปรุง การบริหารจัดการงบประมาณ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 1.4 ดา้ นอาคารสถานท/ี่ แหลง่ เรียนรู 1.4.1 บริหารอาคาร สถานที่ และจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 1.5 ดานความสัมพนั ธกบั ชุมชน 1.5.1 ประสานสัมพนั ธ์กับชมุ ชนให้มสี ่วนร่วมในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพือ่ เสรมิ สรา้ งคณุ ลกั ษณะ “อยู่ อยา่ งพอเพียง” ของผู้เรยี น 2. การดำเนนิ งานด้านหลกั สตู รและการจดั กิจกรรมการเรียนรู 2.1 หน่วยการเรียนรูหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2.1.1 มีหนว่ ยการเรยี นรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ 2.1.2 มีการนเิ ทศ/ตดิ ตาม/ประเมนิ หน่วยการเรียนร้หู ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชใ้ นการจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ 2.1.3 มีการศึกษา/วเิ คราะห/์ วิจยั เพื่อพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูหน่วยการเรียนรหู ลกั ปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพียง 2.2 การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนรู 2.2.1 มีแผนจดั การเรยี นรูบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในกลุมสาระการเรยี นรูตาง ๆ ตามมาตรฐานการเรียนรู 2.2.2 คุณภาพของแผนจัดการเรยี นรูที่บูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในกลุมสาระ การเรยี นรตู าง ๆ 2.2.3 จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทบี่ รู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในกลุม่ สาระการเรยี นรตู้ ่าง ๆ 2.2.4 ผู้เรยี นมีสวนร่วมในการจดั กิจกรรมการเรียนรทู ี่บรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.3 สอ่ื และแหล่งเรียนรเู ก่ียวกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.3.1 จดั หา หรอื ผลิตส่ือท่ีใช้ในการจัดการเรยี นรูเ้ พอื่ บรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 2.3.2 จัดทำ/พฒั นา และเผยแพร่ผลงานแหลง่ เรียนรใู้ นสถานศกึ ษาเพ่อื สนับสนุนการเรยี นร้เู กย่ี วกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2.3.3 ใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ินในชมุ ชนทีเ่ สรมิ สรา้ งการพฒั นาคณุ ลักษณะ “อยอู่ ยา่ งพอเพียง” ของผเู้ รียน 2.4 การวัดและประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรูตามหลกั ปรชั ญาองเศรษฐกิจพอเพียง 2.4.1 จดั ทำเครอ่ื งมือวัด และประเมนิ ผลที่หลากหลาย และสอดคลองกับวตั ถุประสงคของหน่วย การเรียนรทู ี่บูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2.4.2 ใช้วธิ ีการวัดและประเมนิ ผลท่ีหลากหลาย สอดคล้องกบั การจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ บี่ รู ณาการ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.4.3 รายงานผลการประเมนิ และนาํ มาปรับปรงุ /พัฒนา การจัดกจิ กรรมการเรียนรูท่ีบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.4.4 จัดแสดง/เผยแพร่/ประกวด/แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ผลงานของผู้เรียนทเ่ี กิดจากการนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ 3. การดำเนนิ งานด้านการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 3.1 การแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รียน 3.1.1 มกี ารวางแผนแนะแนวเพอื่ สนับสนุนการดำเนนิ ชีวติ ท่สี อดคล้องกับหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง 3.1.2 จดั กจิ กรรมแนะแนวใหผู้เรยี นไดร้ จู ักการวางแผนชีวิตของตนเองได้อยา่ งสอดคลองกบั หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.1.3 มรี ะบบดแู ลช่วยเหลือผู้เรียนใหสามารถแกปญหาและพฒั นาตนเองได้อยา่ งสอดคลองกับหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3.1.4 ตดิ ตามผลการจัดกจิ กรรมแนะแนว และระบบดูแลช่วยเหลอื ผู้เรียนตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง 3.1.5 นำผลการตดิ ตามมาใช้ในการพัฒนาการจดั กิจกรรมแนะแนวและระบบดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรียนตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3.2 ด้านกิจกรรมผู้เรยี น 3.2.1 มีแผนงาน/โครงการสงเสริมกิจกรรมนกั เรียน เพือ่ ใหผู้เรียนมคี ณุ ลกั ษณะ “อย่อู ยา่ งพอเพยี ง” 3.2.2 จัดกิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี/ยวุ กาชาด หรือผู้บําเพญ็ ประโยชนสอดคลองกบั หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 3.2.3 สงเสริมใหมีการจัดตัง้ ชุมนมุ /ชมรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.2.4 มีการประยกุ ตใ์ ช้ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ วฒั นธรรม หลกั คำสอนทางศาสนาในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3.2.5 ติดตามผลการจัดกิจกรรมนกั เรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.2.6 นาํ ผลการตดิ ตามมาปรับปรุง/พัฒนากิจกรรมนักเรยี นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3.3 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน 3.3.1 มีกิจกรรมเพ่อื สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ผู้เรยี นเกดิ จติ อาสา และมีส่วนร่วมในกจิ กรรมเพือ่ สังคมและ สาธารณะประโยชน์ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.3.2 ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการแก้ปญั หา/พฒั นาสถานศึกษา/ชมุ ชน ด้านเศรษฐกจิ สังคม สงิ่ แวดล้อม วัฒนธรรม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3.3.3 ตดิ ตามผลการดำเนินกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนของผู้เรยี น ตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3.3.4 นําผลการตดิ ตามมาปรับปรุง/พัฒนาการดำเนนิ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชนของ ผ้เู รยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. การดำเนินงานด้านการพัฒนาบคุ ลากรของสถานศกึ ษา 4.1 การพัฒนาบคุ ลากรตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4.1.1 มีแผนงาน/โครงการ พฒั นาบุคลากรของสถานศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และ ตระหนักในคุณค่าของหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4.1.2 ประชมุ /อบรม/สมั มนา/ศึกษาดงู านแหล่งเรียนรูต้ า่ ง ๆ เพ่ือสง่ เสรมิ การประยกุ ตใ์ ชห้ ลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งในการดำเนินชวี ิตและปฏิบัติภารกจิ หน้าที่ 4.1.3 สงเสริมใหบุคลากรแสวงหาความรูเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อย่างสม่ำเสมอ 4.1.4 จดั กิจกรรมส่งเสริมการดำเนินชวี ติ และการปฏิบัติภารกิจ หน้าท่ี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงแกบ่ ุคลากรของสถานศกึ ษา

4.2 การติดตาม ประเมินผล และขยายผล 4.2.1 ตดิ ตามผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม พฒั นาบคุ ลากรเพื่อสง่ เสริมการดำเนนิ ชีวติ และปฏิบัติ ภารกิจหน้าทีต่ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4.2.2 นาํ ผลการติดตามมาปรบั ปรงุ /พัฒนาการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมพัฒนาบุคลากรเพอ่ื สงเสริม การดำเนนิ ชีวิตและปฏิบัติภารกจิ หนาทตี่ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4.2.3 ขยายผลและเผยแพรผลการดำเนินชีวิตและปฏิบัตภิ ารกิจ หนา้ ท่ี ของบคุ ลากรตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 5. ดา้ นผลลพั ธ/ภาพความสำเร็จ 5.1 สถานศึกษา คณุ ลกั ษณะของสถานศึกษาพอเพียง 5.2 ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา คุณลักษณะของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาพอเพยี ง 5.3 บุคลากรของสถานศกึ ษา 5.3.1 บุคลากรของสถานศกึ ษา มีความรูความเขาใจเกยี่ วกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5.3.2 บคุ ลากรจัดการทรัพยากร และดำเนนิ ชีวติ ด้านเศรษฐกจิ อย่างสอดคลองกบั หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 5.3.3 บุคลากรอยรู่ ว่ มกับผู้อนื่ ในสงั คมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถเป็นแบบอยา่ ง ทดี่ ีในการปฏบิ ัติตน เพือ่ สว่ นรวมและสาธารณะประโยชน์ 5.3.4 บุคลากรรูจกั ใชและจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอมได้อยา่ งสมดุล และพรอมรับตอ การเปลีย่ นแปลงตาง ๆ 5.3.5 บุคลากรดำเนนิ ชวี ติ อยา่ งมฐี านรากทางวัฒนธรรมและพร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม จากกระแสโลกาภิวฒั น์ 5.4 ผเู้ รียน 5.4.1 ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามมาตรฐานการเรยี นร้ขู อง แต่ละระดบั ชว่ งช้ันการศึกษา 5.4.2 ผู้เรียนปฏบิ ตั ิตนใหดำเนนิ ชีวติ ไดอ้ ย่างสมดุล และพรอมรบั ตอการเปลี่ยนแปลง ในด้านวตั ถ/ุ เศรษฐกจิ 5.4.3 ผเู้ รยี นปฏิบตั ใิ ห้ดำเนนิ ชวี ิตไดอ้ ย่างสมดุล และพรอ้ มรบั ต่อการเปล่ยี นแปลงในดา้ นสังคม 5.4.4 ผ้เู รียนปฏบิ ัตติ นให้ดำเนินชวี ติ ไดอ้ ยา่ งสมดุลและพรอ้ มรับตอ่ การเปลี่ยนแปลงดา้ นสิ่งแวดล้อม 5.4.5 ผเู้ รยี นปฏิบตั ติ นให้ดำเนินชวี ิตไดอ้ ย่างสมดุลและพร้อมรบั ต่อการเปลย่ี นแปลงในด้านวัฒนธรรม ข้นั ตอนการดำเนนิ งานตามวงจรคุณภาพ PDCA ข้ันวางแผน (Plan) 1. แต่งตง้ั คณะกรรมการ คณะทำงานขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภาคการศกึ ษา และแจง้ เวียน บุคลากรทกุ คนในสถานศกึ ษาทราบ 2. ศึกษา คนควา วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ขอมูลทเี่ กยี่ วของ เพอ่ื กำหนดรูปแบบแนวทาง การจัดการ

ศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. ประชุมชีแ้ จง/อบรมใหความรูแนวทางการขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสสู่ ถานศึกษาแก่ บุคลากรในสถานศกึ ษา 4. กำหนดโครงการ/กิจกรรมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระบใุ นแผนการ ปฏิบัติงานประจำปขี องสถานศึกษา 5. ประสานความร่วมมอื ของภาคเี ครอื ข่าย จัดทำบันทึกข้อตกลง (MOU) ในการขับเคล่ือนปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งภาคการศกึ ษา 6. จดั ทำคมู่ ือ หลกั สตู ร แผนการจัดการเรียนรู้ สอื่ การเรียนรู้ เคร่ืองมือวัดและประเมินผล แบบติดตามการนำ ความรู้ไปใช้ ขน้ั ปฏบิ ตั ิ (Do) 7. ดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม ตามทีก่ ำหนดในแผนปฏบิ ัติการประจำปขี องสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ 7.1 การบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการจดั การเรียนการสอน 5 กลมุ่ สาระวชิ า ตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 7.2 โครงการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นการเรยี นรูห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง/ลูกเสอื /ยวุ กาชาด 7.3 โครงการฝกึ อบรมประชาชนเรียนร้หู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 7.4 การศกึ ษาตามอัธยาศยั /กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นหอ้ งสมดุ ประชาชน/บ้านหนังสอื ชมุ ชน/สง่ เสรมิ การ อา่ นออนไลน์เกีย่ วกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ข้ันตรวจสอบ (Check) 8. วัดผลความรู้ หรือทกั ษะ ตามทหี่ ลกั สูตรกำหนด 9. ประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ รียน และผู้รับบริการ 10. ติดตามประเมนิ ผลการขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศึกษา 11. รวบรวม สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรม เสนอผบู้ ริหารทราบ ขน้ั การพฒั นา ปรบั ปรงุ การดำเนนิ งานใหเ้ หมาะสม (Act) 12. ประชุม /สนทนากล่มุ รว่ มกับภาคีเครือข่าย ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น เพอ่ื ถอดบทเรียนการดำเนินงานการ จัดการเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของสถานศกึ ษา 13. จดั นทิ รรศการ หรือจัดประกวด และเผยแพร่ผลการดำเนินงานอย่างแพรห่ ลาย เชน่ Facebook YouTube Website เปน็ ต้น 14. ขยายผลและพัฒนาภาคีเครอื ขายให้มคี วามเข้มแขง็ และมีสว่ นรว่ มในการจัดการเรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งมากข้ึน 15. พัฒนาสถานศึกษาใหสามารถน้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปจดั กิจกรรมการเรยี นรูและ การบริหารจัดการในสถานศกึ ษาได้และสามารถผ่านเกณฑประเมินศนู ยก์ ารเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดา้ นการศึกษา

แผนผังขัน้ ตอนการดำเนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA แต่งตงั้ คณะกรรมการ วดั และประเมินผล ติดตามผล/ รวบรวมสรปุ รายงาน ศึกษาขอ้ มลู ดาเนิ นโครงการ/ ถอดบทเรยี น ประชมุ ชีแ้ จง กิจกรรม แผนปฏิบตั ิการ เผยแพรผ่ ลงาน/ ค่มู อื /หลกั สตู ร/ จดั นิทรรศการ เครื่องมอื วดั และ เข้ารบั การประเมิน ประเมินผล ศนู ยเ์ รียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ประสานเครอื ข่าย พอเพยี ง ด้าน การศึกษา

แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี ง เอกสาร 2 เพ่ือเป็นศนู ยก์ ารเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศกึ ษา ชอื่ สถานศกึ ษา สงั กัด สถานทีต่ ัง้ โทรศพั ท์ โทรสาร Website ชือ่ - สกลุ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา โทรศพั ท์ โทรสาร E – mail คะแนนประเมิน ตวั ชวี้ ัด คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้ ๑. บคุ ลากร คะแนนรวม (คะแนนเฉล่ยี รายดา้ น) ๓๕ (๕) ๑.๑ ผ้บู รหิ าร ๑.๒ ครู ๑.๓ นักเรยี น ๑.๔ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ๒. การจดั การสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ คะแนนรวม (เฉล่ยี รายดา้ น) ๑๐ (๕) ๒.๑ อาคาร สถานทีแ่ ละส่งิ แวดล้อม ๒.๒ ฐานการเรยี นรู้ ปศพพ. และ/หรอื กจิ กรรมการเรียนรู้ ปศพพ. ๓. ความสัมพันธก์ ับหนว่ ยงานภายนอก คะแนนรวม (เฉลีย่ รายดา้ น) ๑๐ (๕) ๓.๑ ความสัมพนั ธก์ ับสถานศกึ ษาอ่ืนในการขยายผลการขบั เคลือ่ น ปศพพ. ๓.๒ ความสัมพันธ์กบั หน่วยงานทส่ี งั กดั และ/หรอื หน่วยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน) (ลงชอ่ื )..........................................................ผู้ประเมินตนเอง (……………………………………….) ตำแหน่ง วันที่

เอกสาร 2 - 1 ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรียนร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา คำชแี้ จง ให้สถานศึกษาพอเพียงทม่ี ีความประสงค์ ขอรับการประเมนิ เปน็ ศูนย์การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชยาของ เศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา จัดทำรายงานขอ้ มลู ตามหัวข้อด้านลา่ ง ประกอบการคดั กรอง ความยาวไม่เกิน 20 หน้ากระดาษ เอ 4 (ไมร่ วมภาคผนวก) โดยขอใหม้ ีข้อมูลท่เี กี่ยวขอ้ งให้ครบทุกขอ้ กรณีปกี ารศึกษาให้ปรบั ตามปีทส่ี ง่ ประเมินและปรบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ระดบั ชั้น ตามบริบทของระดับการศึกษา เชน่ อาชีวศึกษา /กศน. ชือ่ สถานศกึ ษา สังกัด สถานที่ตัง้ โทรศพั ท์ โทรสาร Website ชื่อ - สกลุ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา โทรศพั ท์ ชอ่ื - สกลุ ครูแกนนำ โทรศัพท์ 1. เหตุผลทส่ี ถานศึกษาขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการศึกษา 2. ข้อมลู ทั่วไปประกอบดว้ ย 2.1 จำนวนครู และบุคลากรทางการศกึ ษา (รวมครูอตั ราจา้ ง) ปีการศึกษา 2564 จำนวนจำแนกตามระดบั การศกึ ษา/กลุม่ สาระการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ตำ่ กว่าปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท สูงกว่าปรญิ ญาโท รวม ทักษะการเรียนรู้ ความร้พู ้ืนฐาน การประกอบอาชีพ ทกั ษะการดำเนนิ ชีวติ การพฒั นาสังคม

2.2 จำนวนนกั ศกึ ษาจำแนกตามระดับช้ันประจำปี 2564 ระดบั ชั้น จำนวนนักศึกษา ทัง้ หมด นกั ศึกษาทีม่ คี ุณลกั ษณะ จำนวนนกั ศึกษาแกนนำ ขับเคล่อื น ภาคเรยี นที่ ภาคเรียนที่ รวม อยอู่ ยา่ งพอเพียง 2/63 1/64 (จำนวนคน) ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รวมท้ังส้ิน 2.3 บริบทของสถานศึกษา/ลกั ษณะชมุ ชน/ภูมิสังคม 2.4 เอกลักษณ์ของสถานศึกษา / อตั ลกั ษณข์ องนักศึกษา 2.5 แหล่งเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (มีอะไรบา้ ง / ใชป้ ระโยชนอ์ ย่างไร) 2.5.1 แหลง่ เรียนร้ภู ายในสถานศึกษา 2.5.2 แหล่งเรยี นรู้ภายนอกถานศึกษา 3. แนวทางในการดำเนนิ การในด้านตา่ งๆ ซึ่งสมควรไดร้ ับการประเมนิ ผา่ นเป็นศนู ย์การเรยี นรู้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา 3.1 การบริหารจัดการ 3.2 บคุ ลากร 3.3 งบประมาณ 3.4 แหล่งเรียนรู้

3.5 วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา (เอกสารแนบในภาคผนวก) 4. ข้อมลู ดา้ นบคุ ลากร 4.1 ผบู้ ริหาร 4.1.1 ความรู้ความเขา้ ใจหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4.1.2 ปฏิบัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี 4.1.3 ความสามารถในการบรหิ ารจัดการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.1.4 วิสัยทัศน์ในการจดั การศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.1.5 การสรา้ งความสัมพนั ธก์ ับครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา ผู้เรยี น ผู้ปกครองและประชาชนเปา้ หมาย ในชมุ ชน ภาคีเครือขา่ ย 4.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษา 4.2.1 ความรูค้ วามเขา้ ใจตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4.2.2 การพฒั นาและการปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงที่เป็นแบบอย่างทด่ี ี 4.2.3 ความสามารถในการพัฒนาหลักสูตร หน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4.2.4 พฤตกิ รรมการจัดการเรียนรู้ สือ่ การวัดผลและการประเมนิ ผล การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงทหี่ ลากหลายและเป็นแบบอย่างทด่ี ี 4.2.5 การสร้างความสัมพนั ธ์กับเพอ่ื นครู ผเู้ รียน และชุมชน 4.2.6 ครทู กุ กลุ่มสาระการเรียนรู้เขียนเล่าเรื่องของครูในการนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ใช้ในการจัดการเรียนรู้ / ตัวอย่างการออกแบบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างหลักคิดหลักปฏิบัติให้แก่ผู้เรียน (เอกสารแนบในภาคผนวก) 4.3 ผ้เู รยี น 4.3.1 มีความเขา้ ใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.3.2 มีความสามารถในการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.3.3 มีความรู้คุณลกั ษณะอยู่อยา่ งพอเพียงตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นแบบอยา่ งทีด่ ี 4.3.4 มคี วามสำเร็จทเี่ กดิ จากการนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏบิ ตั ิ

4.3.5 มีส่วนรว่ มในการพฒั นาสถานศกึ ษาและชมุ ชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4.4 คณะกรรมการสถานศึกษา 4.4.1 ความรู้ ความเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4.4.2 บทบาทในการใหก้ ารสนบั สนนุ ส่งเสรมิ สถานศึกษาในการขับเคลือ่ นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง 5. ขอ้ มลู ด้านอาคารสถานท่/ี แหลง่ เรยี นรู้/สงิ่ แวดล้อม 5.1 ความพร้อมของอาคารสถานที่ที่เอื้ออำนวยต่อการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5.2 มีแหล่งเรียนรู้หลากหลายเพอื่ สรา้ งเสริมอปุ นสิ ัยอย่อู ย่างพอเพียงอย่างเหมาะสมและเพียงพอกับ จำนวนผ้เู รยี น 5.3 สง่ิ แวดลอ้ มที่เอื้ออำนวยตอ่ การจดั การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 6. ความสัมพันธ์กับชมุ ชนและหน่วยงานภายนอก 6.1 การวางแผนและการดำเนนิ การสร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของสถานศึกษา 6.2 ชมุ ชนให้ความไว้วางใจ ใหก้ ารสนับสนนุ สง่ เสรมิ และมีส่วนรว่ มในการขบั เคลือ่ นปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งส่สู ถานศกึ ษา 6.3 สถานศึกษามีส่วนรว่ มและให้การสนบั สนุนชมุ ชนและหน่วยงานอนื่ ในการขับเคลื่อนหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 6.4 สถานศึกษาบริหารการจัดการศึกษาและจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงจนสามารถเปน็ แบบอย่างแก่สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานอ่ืนได้ 6.5 ผลความสำเร็จทเี่ กดิ จากความร่วมมือกันระหว่างสถานศกึ ษากับชมุ ชนและหนว่ ยงานอ่ืน

องค์ประกอบ เกณฑป์ ระเมินศนู ย์การเรยี นรตู้ ามห ระดับคุณภาพ และสถานศกึ ษาพอเพียงต ๑. ด้านบคุ ลากร มีท้งั หมด ๓ ด ๑.๑ ผบู้ ริหาร(๑๐ คะแนน) ระดับ๑ ระดบั ๒ มคี วามรู้ ความเข้าใจใน - ตามระดบั ๑ และ หลัก ปรชั ญาของ - ปฏบิ ตั ิตนตาม ปศพ. เศรษฐกิจพอเพยี ง และ (ปศพ.) อยา่ งถกู ต้อง - นำ ปศพ. มาใช้ในการ บรหิ าร จัดการสถานศึกษ หลกั ฐาน/ร่องรอย วธิ ีประเมิน -สัมภาษณ์ ผู้บรหิ าร - กระบวนการวิเคราะห์ - หนงั สอื เชิญผู้บรหิ าร ทฤษฎี หลักปรัชญา เป็น วิทยากรให้ความรู้ เศรษฐกิจ พอเพียง - วสิ ัยทัศน หมายเหตุ: ๑. ปศพ. หมายถึง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. การขบั เคลอื่ น ปศพ. หมายถึง การขบั เคลือ่ นหลักปรชั ญาของเศรษฐ ๓. การขยายผลการขบั เคล่อื น ปศพ. หมายถึง การชยายผลการขับเคลอื่

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา ต้นแบบ (เกณฑก์ ้าวหน้า) ระดับ๔ ระดับ๕ ดา้ น ๘ ตัวบง่ ชี้ ระดบั ๓ - ตามระดบั ๒ และ - ตามระดับ ๓ และ - ตามระดับ ๔ และ - ชุมชนหรอื หน่วยงาน - สามารถถา่ ยทอด - ขยายผลการขับเคลอื่ น ภายนอกเห็น คุณค่า ยอมรบั และให้ความ ประสบการณก์ ารนำ ปศพ. ปศพ. สภู่ ายนอก รว่ มมอื ในการขยายผล การขับเคล่ือน ปศพ. มาใช้ในสถานศกึ ษา และ สถานศกึ ษา เช่นชุมชน - หลักฐานการไดร้ บั การ ยอมรบั จาก ชมุ ชน ษา - มงุ่ มั่นในการขบั เคล่อื นปศพ. สถานศกึ ษาอื่น ฯลฯ หน่วยงานอน่ื ในสถานศึกษา - อบรมครใู นโรงเรยี น - หลกั ฐานการขยายผลสู่ - อบรมนกั เรยี น ชุมชน/สถานศกึ ษาอนื่ ฐกิจพอเพยี งภายในสถานศึกษาตนเอง อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูห่ นว่ ยงานภายนอก เชน่ ชมุ ชน สถานศึกษาอนื่

องค์ประกอบ เกณฑ์ประเมินศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ระดับคณุ ภาพ และสถานศึกษาพอเพยี งต มที ้งั หมด ๓ ด ๑. ดา้ นบุคลากร ๑.๒ ครู ระดบั ๑ ระดับ๒ หลักฐาน/ร่องรอย วิธีประเมิน ร้อยละ ๒๕ ของจำนวน - ตามระดับ ๑ และ ครูใน สถานศกึ ษา มี - ปฏิบตั ิตนตาม ปศพ. ความรู้ ความ เขา้ ใจ และ และ อธบิ าย ปศพ. ได้ อย่าง - น า ปศพ. มาใช้ ถูกต้อง ออกแบบและ จัดกิจกรรม การเรยี นรู้ท่ี รับผิดชอบจน เหน็ ผล - สอบถามครู/บุคลากร - ครูทุกคนจัดทำแผนการ - อบรมให้ความรูค้ รู จัดการเรยี นรตู้ ามหลัก - สือ่ นวัตกรรม ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและออกแบบการ จดั การเรียนรทู้ ุกคน

ชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา ระดับ๔ ระดับ๕ ตน้ แบบ (เกณฑ์กา้ วหนา้ ) ดา้ น ๘ ตัวบ่งชี้ ระดบั ๓ - ตามระดบั ๒ และ - ตามระดบั ๓ และ - ตามระดบั ๔ และ - ถา่ ยทอดประสบการณ์ให้ - มีครูแกนนำขยายผลการ - ครูมากกวา่ กง่ึ หน่งึ จดั เพอ่ื นครใู นสถานศึกษา จนมี จดั การเรยี นรูต้ าม ปศพ. สู่ กิจกรรมการ เรยี นร้ตู าม ครทู ุกระดบั ชั้น และทุกกลุม่ ภายนอกสถานศึกษาจนเหน็ ปศพ. อย่างตอ่ เนอ่ื ง และ ม สาระจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ผล - ครใู นสถานศกึ ษารว่ มมอื น ตาม ปศพ. จนเห็นผล ในการ ขยายผลการ ขับเคล่อื นอยา่ ง สม่ำเสมอ - มีการถา่ ยทอดประสบการณ์ - มีครแู กนนำขยายผลการ - ครูมากกว่าก่ึงหนง่ึ จัด ให้เพ่ือนครใู นสถานศกึ ษา จน จัดการเรียนรตู้ าม ปศพ. สู่ กิจกรรมการ เรียนรูต้ าม มีครทู กุ ระดับช้นั และทกุ ภายนอกสถานศึกษาจนเหน็ ปศพ. อย่างตอ่ เนอ่ื ง และ ร กลุม่ สาระจัดกิจกรรมการ ผล ครูในสถานศกึ ษารว่ มมอื เรยี นร้ตู าม ปศพ. จนเห็นผล ใน การขยายผลการ เป็นท่ปี รากฏชดั เจน ขับเคล่ือนอยา่ ง สมำ่ เสมอ

องค์ประกอบ เกณฑ์ประเมินศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ระดบั คณุ ภาพ และสถานศึกษาพอเพยี งต มที ้งั หมด ๓ ด ๑. ด้านบคุ ลากร ระดบั ๑ ระดับ๒ ๑.๓ ผเู้ รียน มีผู้เรียนแกนนำที่มี - ตามระดบั ๑ และ ความรู้ ความเข้าใจ และ - ผู้เรียนแกนนำเกดิ การ อธบิ าย ปศพ. ไดอ้ ยา่ ง เรยี นรู้ และปฏิบัตติ นตาม ถูกตอ้ ง ปศพ. จนเห็นผล เหน็ คณุ ค่า และเกดิ ศรทั ธา หลกั ฐาน/รอ่ งรอย วธิ ปี ระเมนิ รายช่อื ผู้เรียนแกนนำทุก - สร้างผู้เรยี นแกนนำ กลมุ่ สาระ - ฝึกผู้เรยี นแกนนำ - สมั ภาษณ์ผู้เรียนแกน นำ

ชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา ระดับ๔ ระดบั ๕ ต้นแบบ (เกณฑก์ า้ วหน้า) ด้าน ๘ ตัวบ่งช้ี ระดับ๓ ตามระดับ ๒ และ - ตามระดบั ๓ และ ตามระดบั ๔ และ - ผ้เู รียนแกนนำมสี ว่ นร่วมใน - ผู้เรียนแกนนำมสี ว่ นรว่ ม - ผเู้ รียนแกนนำเปน็ หลัก ม การขบั เคล่อื น ปศพ. ใน ใน การขบั เคลอ่ื น ปศพ. สู่ ในการจดั กจิ กรรม สถานศึกษาจนมีผเู้ รียนทม่ี ี ภายนอกสถานศกึ ษา และ ขับเคลอื่ น ปศพ. ภายใน คณุ สมบัติอยู่อย่างพอเพยี ง - ผูเ้ รียนแกนนำได้นำ ปศพ. สถานศกึ ษาและ/หรือ จดั จำนวนเพ่ิมขนึ้ มาพฒั นาตนเองอยา่ ง กิจกรรม ขยายผล ปศพ. สู่ ต่อเน่ือง ภายนอก สถานศึกษา - หลกั ฐานผเู้ รยี นแกนนำ หลักฐานผู้เรยี นแกนนำ - หลักฐานผู้เรยี นแกนนำ ขยายผลในสถานศกึ ษา ขยายผลสู่ภายนอก จดั กิจกรรมภายในและ ภายนอก

เกณฑ์ประเมินศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัช และสถานศกึ ษาพอเพียงต มที ้งั หมด ๓ ด องคป์ ระกอบ ระดับ๑ ระดับ๒ ระดับคุณภาพ ๑. ดา้ นบุคลากร ๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา รับรู้การขับเคลอ่ื น ปศพ. ตามระดบั ๑ และ ของสถานศกึ ษา - มคี วามสนใจและมีสว่ น รว่ ม ในการขบั เคลื่อน ปศพ. ของ สถานศึกษา หลักฐาน/รอ่ งรอย วธิ ปี ระเมิน - หนังสอื เชญิ -การเข้ารว่ มกจิ กรรม คณะกรรมการ (บันทกึ การประชมุ / สถานศึกษา รายชื่อ/การลงเวลา/ภาพ - บนั ทกึ การประชุม กิจกรรม/ความคดิ เห็นจาก คณะกรรมการ Social Media) สถานศึกษาแจง้ การ ขับเคลอื่ น ปศพพ

ชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา ระดบั ๔ ระดบั ๕ ตน้ แบบ (เกณฑ์กา้ วหนา้ ) ด้าน ๘ ตัวบ่งชี้ ระดับ๓ ตามระดบั ๒ และ ตามระดับ ๓ และ - ตามระดบั ๔ และ - เหน็ คุณค่า และศรัทธาใน - สนับสนนุ กจิ กรรมการ - สนบั สนุนกจิ กรรมการ การขบั เคล่ือน ปศพ. ของ ขบั เคล่ือน ปศพ.ของ ขยายผลการ ขับเคลอ่ื น สถานศกึ ษา สถานศึกษาจนเหน็ ผล ปศพ. ส่ภู ายนอกจนเห็น ผล -หลกั ฐานแสดงความคิดเห็น/ - การใหก้ ารสนบั สนนุ - หลักฐานแสดงการ สนับสนนุ กจิ กรรมขยาย ชื่นชมตอ่ การดำเนินงานของ (ความคิด รว่ มปฏิบัติ ผลสู่ภายนอก - ผลที่เกดิ จากการขยาย สถานศกึ ษา แรงกาย งบประมาณ) ผล ก - ผลงาน/รางวัลตา่ งๆของ สถานศกึ ษา ผู้บรหิ าร ครู ผ้เู รยี น

เกณฑป์ ระเมนิ ศูนยก์ ารเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั และสถานศึกษาพอเพียงต มที งั้ หมด ๓ ด องค์ประกอบ ระดับ๑ ระดับ๒ ระดับคุณภาพ ๒. ด้านการจัดการสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ๒.๑ อาคาร สถานที่ และ มีผู้รบั ผิดชอบการใช้ - ตามระดับ ๑ และ สงิ่ แวดลอ้ ม ปรบั ปรงุ ดูแล รักษา - มแี ผนงาน/โครงการ อาคารสถานทแ่ี ละ จดั การ งบประมาณ และ สภาพแวดล้อมสำหรบั ผูร้ บั ผิดชอบในการปรับใช การเรียนรูอ้ ย่างเหมาะสม อาคารสถานท่ี สภาพแวดล้อมให้เป็นไป ตาม ปศพ. หลักฐาน/รอ่ งรอย วธิ ปี ระเมิน - คำส่ังการปฏิบตั ิงานของ แผนปฏิบตั ิการประจำปี/ สถานศึกษา (งานอาคาร กิจกรรม สถานที)่ - คำสง่ั การดแู ลเขตพื้นท่ี - คำส่ังการดแู ลเขตพื้นที่ กจิ กรรม ๕ส กจิ กรรม ๕ ส - ตารางการใช้อาคาร สถานที่ เกณฑ์ประเมินศนู ย์การเรยี นร้ตู ามหลักปรัช

ชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา ระดบั ๔ ระดบั ๕ ต้นแบบ (เกณฑก์ ้าวหนา้ ) ด้าน ๘ ตัวบง่ ชี้ ระดับ๓ - ตามระดับ ๒ และ - ตามระดบั ๓ และ ตามระดบั ๔ และ - มศี ูนย์รวมขอ้ มูลการ ขับเคลอ่ื น - ครแู ละนกั เรยี นมีส่วน - ชมุ ชน หรือหนว่ ยงานอืน่ ได้ ปศพ. ของ สถานศกึ ษา และ รว่ มใน การดูแลรกั ษา ใช้ ประโยชน์ และมีสว่ นร่วม ช้ - มีแผนผังแสดงแหล่งเรียนรู้/ ฐาน สิง่ แวดล้อม อาคาร ในการ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การ กิจกรรมการเรียนรู้ ปศพ. ใน สถานที่ ใหเ้ ออ้ื ตอ่ การ ดแู ลรักษา และพฒั นาอาคาร สถานศกึ ษา และ มสี ภาพแวดลอ้ ม เรยี นรู้ตาม ปศพ. สถานท่ี สภาพแวดลอ้ มของ ทเ่ี ออื้ ตอ่ การ เรียนรตู้ าม ปศพ. เช่น สถานศึกษา อยา่ งสม่ำเสมอ สะอาด ร่มรื่น ปลอดภยั ฯลฯ - ศนู ยก์ ารเรียนรูเ้ ศรษฐกิจ -คำสั่งการดูแลเขต -สมดุ บนั ทึกเยี่ยมชมฐานการ พอเพยี ง พนื้ ท่ี กิจกรรม ๕ส เรยี นรู้ เศรษฐกจิ พอเพียง - แผนผังแสดงศนู ยก์ ารเรยี นรู้ - - ป้ายวทิ ยากรครู - ภาพถ่าย แผนผังโรงเรียน ผู้เรียน ประจำฐานการ เรยี นรู้ เศรษฐกิจ พอเพียง ชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา

และสถานศึกษาพอเพียงต มที ัง้ หมด ๓ ด องค์ประกอบ ระดับ๑ ระดับ๒ ระดับคุณภาพ ๒. ด้านการจัดการสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ๒.๒ แหล่งเรียนร/ู้ ฐานการ มกี ารจัดฐาน/กจิ กรรม - ตามระดบั ๑ และ เรยี นรู้และ/หรอื กจิ กรรมการ การเรียนรู้ ปศพพ. ใน - มีสื่อประกอบการเรยี นร เรียนรู้เพ่ือสร้างอุปนสิ ัยอยู่อยา่ ง สถานศึกษาท่ี สอดคลอ้ ง ประจำฐาน/กจิ กรรมการ พอเพียง กบั ภมู สิ งั คมของ เรียนรู้ ปศพพ. สถานศึกษา หลักฐาน/รอ่ งรอย วิธปี ระเมิน ฐานการเรยี นร้ขู อง - แผนพับ สถานศึกษาทั้งหมด - ช้ินงานทีส่ อดคล้องกบั จำนวน ๙ ฐาน กิจกรรม

ต้นแบบ (เกณฑก์ า้ วหนา้ ) ระดบั ๔ ระดบั ๕ ด้าน ๘ ตัวบง่ ชี้ ระดบั ๓ ตามระดับ ๒ และ ตามระดบั ๓ และ บุคลากร - ตามระดับ ๔ และ รู้ - มีวิทยากรรบั ผดิ ชอบฐาน ในสถานศกึ ษา สามารถเปน็ - มีการประเมนิ ผลการใช้ การเรียนรู้ ปศพพ. และ วิทยากร อธบิ ายการใช้ ฐาน/ กิจกรรมการเรียนรู้ - มีแผนการจัดการเรยี นรู้ของ ประโยชน์จาก ฐาน/ ปศพพ. อย่าง เป็น ฐาน/กจิ กรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ปศพพ. รปู ธรรม และ ปศพพ. ในการเสรมิ สร้างอปุ นิสัย อยู่ - มกี ารพฒั นาฐาน/ อยา่ งพอเพียงไดอ้ ย่าง กจิ กรรมการ เรียนรู้ ชัดเจน ปศพพ. อย่างตอ่ เนอ่ื ง รายช่ือวิทยากรครู และ การเข้าอบรมของบุคลากร สรุปผลการประเมนิ ผล ผู้เรียนประจำฐาน ทกุ คน การใชฐ้ าน - แผนผงั ผู้รบั ผิดชอบ - แผนการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ประจำฐาน

เกณฑป์ ระเมนิ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัช และสถานศึกษาพอเพียงต มีท้งั หมด ๓ ด องคป์ ระกอบ ระดบั ๑ ระดับ๒ ระดบั คณุ ภาพ ๓. ดา้ นความสัมพันธก์ บั หนว่ ยงานภายนอก ๓.๑ ความสัมพนั ธ์กับ มีเครือขา่ ยการเรยี นรู้ - ตามระดบั ๑ และ - มปี ระสบการณ์ในการรบั สถานศึกษาอน่ื ในการขยายผล ปศพพ. สถานศกึ ษาอื่นมาศึกษา ด การขบั เคล่ือน ปศพพ. งาน หลักฐาน/รอ่ งรอย วิธปี ระเมนิ - ทะเบยี นเครือข่ายการ - แฟ้มหลกั ฐานการเข้า เรยี นรู้ เชน่ ชมุ ชน ศกึ ษาดูงานของหนว่ ยงาน หมบู่ ้าน อบต. เป็น ต้น ภายนอกหรอื สถานศึกษา - ทะเบียนสถิติการใช้ อื่น แหลง่ เรยี นรู้

ชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา ระดับ๔ ระดับ๕ ตน้ แบบ (เกณฑ์ก้าวหนา้ ) ดา้ น ๘ ตัวบง่ ชี้ ระดับ๓ - ตามระดบั ๒ และ - ตามระดบั ๓ และ ตามระดบั ๔ และ บ - สามารถบริหารจัดการเพ่อื - เป็นสถานศึกษาแกนนำ - สามารถเปน็ พเ่ี ลีย้ งใน ดู รองรับการขอศึกษาดงู านจาก ของเครอื ขา่ ยขับเคลื่อน การพฒั นา สถานศึกษาอน่ื สถานศึกษาอืน่ โดยไม่กระทบ ปศพพ. ใหเ้ ป็นสถานศึกษา ภารกจิ หลักของสถานศกึ ษา พอเพยี งไดอ้ ยา่ งน้อย ๑ แห่ง - แฟม้ บนั ทกึ ขัน้ ตอน/วิธกี าร/ รายช่ือสถานศกึ ษาเครือข่าย - รายชอื่ สถานศึกษาท่เี ป็น น กระบวนการ รองรับ เครอื ขา่ ย ได้รับเป็น การศึกษาดูงาน โดยไม่ สถานศกึ ษาพอเพยี ง กระทบภารกิจหลกั ของ สถานศกึ ษา

เกณฑ์ประเมินศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั และสถานศกึ ษาพอเพียงต มีทั้งหมด ๓ ด องค์ประกอบ ระดับ๑ ระดับ๒ ระดับคุณภาพ ๓. ด้านความสมั พันธก์ บั หนว่ ยงานภายนอก ๓.๒ ความสมั พันธ์กบั มคี วามสัมพนั ธอ์ ันดกี บั - ตามระดบั ๑ และ หนว่ ยงานทสี่ ังกัดและ/หรือ หน่วยงานตา่ งๆ - ประสานความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานต่างๆเพ่อื ให้ หน่วยงานภายนอก (ภาครฐั และ/ หรือรับการ ภาคเอกชนและ ชุมชน) สนับสนนุ เพ่อื การ ขับเคล่อื น ปศพพ. หลักฐาน/รอ่ งรอย วิธีประเมิน - สมดุ เยี่ยม - หนังสอื สง่ ออกขอ - ภาพถ่าย สนับสนุนถึง หน่วยงาน ต่างๆ - ทะเบียนรายชอื่ หนว่ ยงานตา่ งๆ

ชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา ระดับ๔ ระดบั ๕ ตน้ แบบ (เกณฑ์ก้าวหนา้ ) ดา้ น ๘ ตัวบง่ ช้ี ระดบั ๓ - ตามระดบั ๒ และ - ตามระดบั ๓ และ - ตามระดบั ๔ และ - ประสานความรว่ มมอื กับ บ - สามารถบรหิ ารจดั การ - ได้รับการยอมรบั และ หน่วยงานตา่ งๆจน สามารถพฒั นาสถานศกึ ษา ความสมั พนั ธ์กบั หน่วยงาน ความรว่ มมือจากหน่วยงาน อื่นให้เปน็ สถานศึกษา พอเพียงได้ อย่างนอ้ ย ๑ ต่างๆในการขับเคลอื่ น ต่างๆในการขยายผลการ แห่ง - รายช่อื สถานศึกษาท่เี ปน็ ปศพพ. ได้อยา่ งเหมาะสมและ ขบั เคล่ือน ปศพพ. สู่ เครอื ขา่ ย ไดร้ ับเป็น สถานศกึ ษาพอเพยี ง มี ประสิทธิภาพ หนว่ ยงานภายนอก - ขนั้ ตอนการสร้าง - หนังสือขอบคุณการขยาย ความสัมพันธก์ บั หน่วยงาน ผล ต่างๆ - หนังสือชน่ื ชมจาก หนว่ ยงานภายนอก

บรรณานกุ รม สำนักสง่ เสรมิ กจิ การการศกึ ษา สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2559). คมู่ ือแนวทางการขับเคล่อื น การพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในภาคการศึกษา. สืบคน้ 20 กันยายน 2564 , จาก http://www.sisaketedu1.go.th/news/?p=13088

ทป่ี รกึ ษา คณะผูจ้ ดั ทำ 1. นางวบิ ูลผล พรอ้ มมลู ผอู้ ำนวยการ สำนกั งาน กศน.จังหวดั ปทุมธานี 2. นายอภชิ าติ โชติแสงทอง รองผ้อู ำนวยการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั ปทุมธานี ผอู้ ำนวยการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดปทมุ ธานี 3. นางพิมพา หาญวัฒนะชัย ผู้เรียบเรียง/บรรณาธกิ าร ขา้ ราชการ ครู กศน.อำเภอคลองหลวง นางอภิรดี รัตนจ์ นิ ดามขุ ออกแบบปก ครูศูนย์การเรยี นชุมชน กศน.อำเภอคลองหลวง นายชัยวัฒน์ อินปาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook