Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษาอนามัยสิ่งแวดล้อม 2564

คู่มือนักศึกษาอนามัยสิ่งแวดล้อม 2564

Published by นรา ระวาดชัย, 2021-08-03 16:45:54

Description: คู่มือนักศึกษาอนามัยสิ่งแวดล้อม 2564

Search

Read the Text Version

1 คู่มอื นักศกึ ษาหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าอนามยั สงิ่ แวดล้อม ปีการศึกษา 2564

2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอนามยั ส่ิงแวดล้อม หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562 ชอื่ สถาบันอดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า คณะ คณะสาธารณสุขศาสตร์ 1. ชอ่ื หลกั สูตร หมวดท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป รหัสหลกั สูตร 20192150111012 ภาษาไทย หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าอนามยั สิง่ แวดล้อม ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Environmental Health 2. ชื่อปรญิ ญาและสาชาวชิ า ภาษาไทย ชื่อเตม็ วิทยาศาสตรบัณฑติ (อนามัยส่งิ แวดลอ้ ม) ชื่อย่อ วท.บ. (อนามยั สงิ่ แวดล้อม) ภาษาอังกฤษ ชื่อเตม็ Bachelor of Science (Environmental Health) ชอื่ ย่อ B.Sc. (Environmental Health) 3. วิชาเอก ไม่มี 4. จำนวนหน่วยกิตทเี่ รยี นตลอดหลกั สตู ร ไม่นอ้ ยกวา่ 150 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลกั สตู ร 5.1 รูปแบบ หลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรี หลกั สตู ร 4 ปี 5.2 ประเภทของหลักสูตร ปริญญาตรีทางวชิ าการ 5.3 ภาษาทใ่ี ช้ ภาษาไทย 5.4 การรบั เขา้ ศกึ ษา รบั นกั ศกึ ษาไทย และนักศกึ ษาตา่ งประเทศท่ีสามารถใชภ้ าษาไทยได้เป็นอย่างดี 5.5 ความรว่ มมือกับสถาบนั อน่ื ไมม่ ี 5.6 การให้ปริญญาแกผ่ ้สู ำเร็จการศกึ ษา ใหป้ ริญญาเพียงสาขาวิชาเดยี ว 6. อาชีพทส่ี ามารถประกอบได้หลงั สำเรจ็ การศึกษา ผ้ทู ่สี ำเร็จการศกึ ษาจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาอนามัยส่ิงแวดลอ้ ม สามารถประกอบ อาชีพในหน่วยงานทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกจิ และภาคเอกชน หรือประกอบอาชพี อิสระ โดยสามารถประกอบ อาชพี ในตำแหน่งตา่ ง ๆ เช่น

3 1. นักวชิ าการด้านอนามยั สิง่ แวดล้อม 2. นักวิชาการสขุ าภิบาล 3. นกั วิชาการสาธารณสขุ 4. นักวิทยาศาสตรส์ ง่ิ แวดลอ้ ม 5. เจ้าหนา้ ทส่ี ิง่ แวดล้อม 6. ทีป่ รกึ ษาดา้ นสงิ่ แวดล้อม 7. สถานที่จัดการเรยี นการสอน อาคารปฏิบตั ิการรวม (อาคาร 38) ภายในมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า อำเภอเมือง จังหวดั นครราชสีมา หมวดที่ 2 ข้อมลู เฉพาะของหลักสตู ร 1. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสตู ร 1.1 ปรชั ญา รอบรดู้ ้านอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม เพียบพรอ้ มดว้ ยคุณธรรม 1.2 ความสำคัญ อนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาธารณสุข ที่นำหลัก วิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ เพื่อจัดการหรือควบคุมปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่เป็นหรืออาจจะเป็นอันตรายต่อ สุขภาพ รวมถงึ สรา้ งส่งิ แวดล้อมที่ดีเอ้ือต่อสุขอนามัยของประชาชน หลักสตู รน้จี งึ มงุ่ ผลติ บัณฑติ ทีม่ คี วามรู้ และมี ทักษะในการจัดการปัญหาอนามัยส่ิงแวดล้อม เพื่อทำให้ประชาชนมสี ุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย หรือเป็นโรคที่มาจาก สิ่งแวดล้อม 1.3 วัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร เพ่อื ผลติ บณั ฑิตท่ีมีคุณลักษณะดังน้ี 1.3.1 มีความรอบรูใ้ นศาสตรด์ า้ นอนามัยสงิ่ แวดล้อมและศาสตร์ทเ่ี ก่ียวข้อง สามารถบรู ณาการ องค์ความรู้ในการรกั ษาคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อมและป้องกันการเส่ือมคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม อันส่งผลกระทบต่อ สุขภาพอนามยั ของมนุษย์ 1.3.2 สำรวจวนิ ิจฉยั และวิเคราะห์ปัญหาอนามยั สิ่งแวดล้อมทเ่ี กดิ ขึน้ เพื่อบ่งชี้ และประเมินผล กระทบรวมทั้งความเส่ยี งดา้ นตา่ งๆ 1.3.3 เกบ็ ตวั อย่างวิเคราะหแ์ ละวางแผนเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตลอดจนดแู ลควบคมุ ระบบควบคุมมลพิษส่งิ แวดล้อม และเลือกใช้เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมในการรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ 1.3.4 ศึกษาคน้ คว้าหาความรู้และประสบการณจ์ ากภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินและแหลง่ ความรู้อื่นๆ โดยใช้กระบวนการวิจัยในการพัฒนางาน และองค์ความรดู้ ้านอนามยั สิ่งแวดล้อม 1.3.5 บริหารจดั การและให้การอบรมทางวิชาสุขาภบิ าลและอนามยั สงิ่ แวดล้อมท่ที ันสมยั และ เท่าทันการเปล่ียนแปลง เพื่อให้เกิดการพฒั นาอนามัยสงิ่ แวดล้อมอย่างย่ังยนื ตลอดจนดำเนินการตามกฎหมาย

4 1.3.6 ควบคมุ คุณภาพของสภาพแวดลอ้ มใหอ้ ยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดล้อมและการ จัดการสงิ่ แวดลอ้ มด้านตา่ งๆ ได้ 1.3.7 ประเมินการเปล่ียนแปลงของสงิ่ แวดล้อมอนั เน่ืองจากการกระทำของมนุษย์ และ ผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มและสุขภาพอนามัยของมนุษยอ์ นั เปน็ ผลสืบเนอ่ื งจากกิจกรรมนั้นๆ 1.3.8 ดำเนนิ งานเปน็ ระบบตามจรรยาบรรณวชิ าชพี มมี นุษยสัมพันธ์ คุณธรรม และจริยธรรม และดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการสร้างระบบส่งิ แวดลอ้ มทีเ่ อ้ือหนุนสุขภาพได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศกึ ษา การดำเนนิ การ และโครงสร้างของหลกั สตู ร 1. ระบบการจดั การศกึ ษา 1.1 ระบบการจดั การศึกษาในหลักสูตร ระบบทวิภาค 1 ปกี ารศกึ ษามี 2 ภาคการศึกษา ภาคการศกึ ษาละ 15-16 สปั ดาห์ ได้แก่ - ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ตั้งแต่ เดือนมิถุนายน ถึง เดือนกันยายน - ภาคการศึกษาที่ 2 ตั้งแต่ เดือนพฤศจกิ ายน ถงึ เดอื นกุมภาพนั ธ์ - ภาคฤดูรอ้ น ตัง้ แต่ เดือนมีนาคม ถึง เดอื นพฤษภาคม 1.2 การจดั การศึกษาภาคฤดรู อ้ น เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกติ ในระบบทวิภาค เปน็ ไปตามข้อบงั คับของมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2560 2. การดำเนนิ การหลกั สูตร 2.1 วันเวลาในการดำเนนิ การเรียนการสอน ภาคปกติ วนั จันทร์-วนั ศกุ ร์ เวลาราชการปกติ 2.2 คณุ สมบัตขิ องผเู้ ข้าศึกษา 2.2.1 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ โปรแกรมที่เน้นวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ หรอื มคี ุณวฒุ ิเทียบเท่าจากสถาบนั การศกึ ษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการรบั รอง 2.2.2 มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่เจ็บป่วยหรือเป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือมีความ ผดิ ปกตทิ ่เี ปน็ อปุ สรรคตอ่ การศึกษา 2.2.3 มคี ุณสมบัติครบถว้ นตามระเบยี บและประกาศของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า 2.3 แผนการรบั นักศกึ ษาและผสู้ ำเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี - ภาคปกติ ปีละ 45 คน

5 2.4 ระบบการศึกษา ใชร้ ะบบช้ันเรยี น 2.5 การเทยี บโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนขา้ มมหาวิทยาลัย 1) การเทียบโอนหน่วยกิตและรายวิชาระหว่างหลักสูตรในมหาวิทยาลัย ต้องได้รับการอนุมัติ จากประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย และคณบดี คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ 2) การเทยี บโอนผลการเรยี น หนว่ ยกติ รายวิชา เปดิ ใหเ้ ฉพาะหลักสูตรที่ดำเนนิ การตาม มาตรฐานคุณวุฒสิ าขาวิชาอนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม โดยต้องเปน็ ไปตามระเบียบมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา วา่ ด้วยการโอนผลการเรียน การเทยี บโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์เข้า สกู่ ารศกึ ษาในระบบ ระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2560 3. หลกั สูตรและอาจารย์ผูส้ อน 3.1 หลักสตู ร หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าอนามัยสง่ิ แวดล้อม ใชร้ ะยะเวลาในการสำเรจ็ การศึกษาไม่ เกนิ 8 ปี 3.1.1 จำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกว่า 150 หนว่ ยกิต 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 1) หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป ไมน่ ้อยกว่า 30 หน่วยกติ - กลุม่ วชิ าภาษา 9-14 หนว่ ยกิต - กลุ่มวิชามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 11-16 หนว่ ยกิต - กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5-10 หนว่ ยกิต 2) หมวดวชิ าเฉพาะ ไมน่ ้อยกวา่ 114 หน่วยกติ - กลุ่มวิชาพ้ืนฐานวชิ าชีพ 31 หนว่ ยกิต - กลุ่มวิชาชีพสาธารณสขุ 33 หนว่ ยกติ - กล่มุ วิชาชพี เฉพาะสาขา 50 หน่วยกิต 3) หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต 3.1.3 รายวิชาในหลักสตู ร 1) ความหมายของเลขประจำวิชา - หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป เลขประจำวิชาหมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป ประกอบด้วยเลข 6 หลกั มคี วามหมาย ดังนี้ ลำดบั เลขตำแหนง่ ท่ี 1-3 หมายถงึ หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป ใชเ้ ลข 061 เป็นเลขของหมวดวชิ า ลำดบั เลขตำแหน่งที่ 4 หมายถงึ กลุ่มวชิ าของหมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป เลข 1 หมายถึง กลุม่ วชิ าภาษา

6 เลข 2 หมายถึง กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ เลข 3 หมายถงึ กล่มุ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดบั เลขตำแหนง่ ท่ี 5-6 หมายถึง ลำดับรายวชิ าในกลุม่ วิชา - หมวดวิชาเฉพาะ เลขประจำวชิ าในหลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาอนามยั สง่ิ แวดล้อม ประกอบด้วยเลข 6 หลัก มีความหมายดังน้ี ลำดบั เลขตำแหนง่ ท่ี 1-3 ของสาขาวชิ าอนามยั สง่ิ แวดล้อม คอื 602 ลำดบั เลขตำแหนง่ ที่ 4 หมายถึง ชน้ั ปหี รอื ความยาก เลข 1 หมายถึง ชั้นปที ่ี 1 หรอื ความยากของวิชาลำดบั ท่ี 1 เลข 2 หมายถึง ชนั้ ปที ี่ 2 หรอื ความยากของวชิ าลำดับที่ 2 เลข 3 หมายถึง ชัน้ ปีที่ 3 หรอื ความยากของวิชาลำดบั ที่ 3 เลข 4 หมายถงึ ชน้ั ปีท่ี 4 หรอื ความยากของวิชาลำดบั ที่ 4 ลำดบั เลขตำแหน่งที่ 5 หมายถึง กลุ่มย่อยของสาขาวิชา เลข 0 หมายถงึ กล่มุ วิชาพนื้ ฐานวชิ าชีพ เลข 1 หมายถึง กลมุ่ วชิ าชีพสาธารณสขุ เลข 2 หมายถึง กลุ่มวิชาชพี เฉพาะสาขา วชิ าเอกบงั คับ เลข 3 หมายถึง กลมุ่ วชิ าชีพเฉพาะสาขา วชิ าเอกเลือก ลำดับเลขตำแหน่งท่ี 6 หมายถงึ ลำดบั ของวิชาในกลุ่มย่อย 2) รายวิชาตามโครงสรา้ งหลกั สูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าอนามัยสิ่งแวดล้อม มรี ายวิชาตามโครงสร้างหลกั สูตร ดังน้ี ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ต้องเรยี นทกุ กลุ่มวชิ ารวมไม่น้อยกวา่ 30 หน่วยกิต โดยมี รายวิชาบงั คับจำนวน 25 หน่วยกติ และรายวิชาเลอื กอยา่ งนอ้ ย 5 หนว่ ยกติ จากรายวชิ าเลือกในกลุม่ วชิ าใดก็ ได้ ดงั น้ี 1. กลมุ่ วิชาภาษา 1.1 บังคบั เรยี น 9 หนว่ ยกติ 061101 ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร 3(3-0-6) 061102 ภาษาองั กฤษ 1 2(1-2-3) 061103 ภาษาองั กฤษ 2 2(1-2-3) 061104 ภาษาอังกฤษ 3 2(1-2-3) 1.2 เลอื ก เรยี น 0 – 5 หน่วยกติ 061105 ภาษาไทยเพ่ืองานอาชพี 3(3-0-6) 061106 ความงดงามทางภาษาไทย 3(3-0-6)

7 061107 ภาษาอังกฤษ 4 2(1-2-3) 061108 ภาษาจีนกลางพ้ืนฐาน 3(3-0-6) 061109 ภาษาญ่ีป่นุ พื้นฐาน 3(3-0-6) 061110 ภาษาเขมรพื้นฐาน 3(3-0-6) 061111 ภาษาฮินดีพืน้ ฐาน 3(3-0-6) 061112 ภาษาฝร่ังเศสพนื้ ฐาน 3(3-0-6) 061113 ภาษาลาวพนื้ ฐาน 3(3-0-6) 061114 ภาษาพมา่ พื้นฐาน 3(3-0-6) 061115 ภาษาเวยี ดนามพื้นฐาน 3(3-0-6) 061116 ภาษาเกาหลพี น้ื ฐาน 3(3-0-6) 2. กลุม่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 2.1 บังคบั เรียน 9 หน่วยกิต 061201 ศาสตรพ์ ระราชาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รชั กาลท่ี 9 (1-2-3) 061202 ความเป็นไทย 3(3-0-6) 061203 อาเซยี นศึกษาและความเป็นพลเมืองอาเซียน 2(1-2-3) 061204 การคดิ เพอื่ การดำเนนิ ชวี ิต 2(1-2-3) 2.2 บังคบั เลือก เรยี น 2 หน่วยกติ 061205 การเปน็ ผู้ประกอบการสมยั ใหม่ 2(1-2-3) 061206 เศรษฐกิจกับวถิ ีชวี ิต 2(1-2-3) 061207 การจดั การตนเองเพอื่ การพฒั นางาน 2(1-2-3) 2.3 เลือก เรียน 0 – 5 หน่วยกติ 061208 จิตวิทยาเพื่อการดำเนนิ ชีวติ 3(3-0-6) 061209 มนษุ ย์กบั สุนทรียภาพ 3(3-6) 061210 การใชเ้ หตุผลในสังคม 2(2-0-4) 061211 ความรูเ้ กีย่ วกับระบบโลก สังคมโลกในปจั จุบนั และอนาคต 3(3-0-6) 061212 มนุษย์กับอารยธรรม 2(2-0-4) 061213 กฎหมายในการดำรงชวี ิต 3(3-0-6) 061214 แหล่งและวธิ ีการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง 2(2-0-4) 3. กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3.1 บงั คับ เรยี น 3 หน่วยกิต 061301 คณิตศาสตร์เพื่อการตดั สินใจ 2(1-2-3) 061302 วิทยาศาสตรก์ ารกีฬาเพ่ือสุขภาพ 1(0-2-1)

8 3.2 บังคบั เลือก เรียน 2 หน่วยกิต 061303 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจดั การสารสนเทศออนไลน์ 2(1-2-3) 061304 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การสอื่ สารและส่อื ประสม 2(1-2-3) 061305 เทคโนโลยสี ารสนเทศสำหรับสำนกั งานอตั โนมัติ 2(1-2-3) 3.3 เลอื ก เรยี น 0 – 5 หน่วยกติ 061306 สิง่ แวดล้อมและพลงั งานเพอ่ื ความยัง่ ยืนแห่งชวี ิต 3(3-0-6) 061307 อาหารเพื่อชีวิต 2(1-2-3) 061308 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน 2(1-2-3) ข. หมวดวิชาเฉพาะ เรยี นไม่น้อยกว่า 114 หนว่ ยกิต 1. กลมุ่ วิชาพ้ืนฐานวิชาชพี เรียน 31 หนว่ ยกิต 401101 ฟิสกิ ส์ 1 3(3-0-6) 402101 เคมี 1 3(3-0-6) 402102 ปฏบิ ตั ิการเคมี 1 1(0-3-2) 402121 เคมอี ินทรยี ์พ้ืนฐาน 2(2-0-4) 402241 ชีวเคมพี ้ืนฐาน 2(2-0-4) 402242 ปฏบิ ตั กิ ารชีวเคมพี ้ืนฐาน 1(0-3-2) 403101 ชีววิทยา 1 3(3-0-6) 403102 ปฏบิ ัตกิ ารชีววิทยา 1 1(0-3-2) 408101 แคลคลู ัส 1 3(3-0-6) 413101 การสาธารณสุข 1(1-0-2) 413102 จลุ ชีววทิ ยาและปรสิตวิทยาทางสาธารณสขุ 2(2-0-4) 413103 ปฏบิ ัติการจลุ ชวี วทิ ยาและปรสิตวิทยาทางสาธารณสขุ 1(0-3-2) 602101 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวทิ ยาของมนษุ ย์ 3(2-2-5) 602102 การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 2(2-0-4) 602103 ประชากรศาสตร์และการคำนวณสถิตชิ พี 1(1-0-2) 602301 ระเบยี บวิธวี ิจยั 2(1-2-3) 2. กลุ่มวิชาชพี สาธารณสขุ เรียน 33 หน่วยกิต 413213 อาชวี อนามัยและความปลอดภยั 3(3-0-6) 413214 โรคติดตอ่ และโรคไม่ติดตอ่ 3(3-0-6) 413215 วธิ ีการทางสถิติในงานวิจยั สขุ ภาพ 3(2-2-5) 413312 วิทยาการระบาด 3(3-0-6) 602111 อนามัยสงิ่ แวดล้อมเบ้อื งต้น 3(3-0-6)

9 602211 การปฐมพยาบาลและการบำบัดโรคเบ้ืองตน้ 3(2-2-5) 602311 สุขศกึ ษาและพฤติกรรมศาสตรส์ าธารณสขุ 3(3-0-6) 602312 กฎหมายสาธารณสขุ สิง่ แวดล้อม และจรยิ ธรรมวิชาชีพ 3(3-0-6) 602313 การบรหิ ารงานสาธารณสุข 3(3-0-6) 602411 สหกิจศึกษา 6(640) หรอื 602412 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพอนามยั สง่ิ แวดล้อม 6(640) 3. กลมุ่ วชิ าชพี เฉพาะสาขา เรียน 50 หนว่ ยกติ 3.1 บงั คบั 48 หน่วยกิต 602221 พษิ วิทยาสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) 602222 การสุขาภบิ าลอาหารและความปลอดภัยในอาหาร 3(2-2-5) 602223 การจดั การคุณภาพนำ้ ด่มื น้ำใช้ 3(2-2-5) 602321 การจดั การขยะมลู ฝอยและส่งิ ปฏกิ ูล 3(2-2-5) 602322 การจดั การกากอุตสาหกรรมและของเสียอันตราย 3(3-0-6) 602323 การจดั การมลพิษทางนำ้ และเทคโนโลยกี ารบำบดั น้ำเสีย 3(3-0-6) 602324 ปฏิบัตกิ ารคุณภาพนำ้ 1(0-3-2) 602325 การจดั การเหตุร้องเรยี นด้านอนามยั สง่ิ แวดล้อม 3(3-0-6) 602326 เทคโนโลยีการผลติ ทส่ี ะอาดเพ่ือการพฒั นาทย่ี ั่งยืน 3(3-0-6) 602327 การสอื่ สารความเส่ียงด้านสขุ ภาพ 3(3-0-6) 602328 การฝึกภาคสนามอนามยั สิ่งแวดล้อม 1(90) 602421 การสุขาภิบาลท่ีพักอาศัยและการจดั การพาหะนำโรค 3(3-0-6) 602422 การจดั การมลพิษทางอากาศ เสยี งและความสนั่ สะเทือน 3(3-0-6) 602423 ปฏบิ ตั กิ ารการเก็บตวั อย่างและการวิเคราะหค์ ุณภาพอากาศ เสยี ง และความสนั่ สะเทอื น 1(0-3-2) 602424 การประเมินผลกระทบทางอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม 3(2-2-5) 602425 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในงานอนามัยส่ิงแวดล้อม 3(2-2-5) 602426 ระบบมาตรฐานสำหรับการจัดการดา้ นสงิ่ แวดล้อม 2(2-0-4) 602427 สัมมนาอนามยั ส่งิ แวดล้อม 1(1-0-2) 602428 การศกึ ษาค้นควา้ อิสระทางอนามัยส่ิงแวดล้อม 2(1-2-3) 602429 การเตรยี มฝึกสหกิจศกึ ษาและประสบการณ์วิชาชีพ 1(0-45-0) 3.2 เลือก 2 หนว่ ยกติ 602331 การพฒั นาสื่อสารสนเทศด้านสุขภาพ 2(1-2-3) 602332 นโยบายสาธารณะเพือ่ สขุ ภาพ 2(2-0-4)

10 602333 ภัยพิบัตแิ ละผลกระทบต่ออนามัยสิง่ แวดลอ้ ม 2(2-0-4) 602334 เภสชั วิทยาเบือ้ งตน้ 2(2-0-4) 602335 การดูแลตนเองแบบทางเลอื กเพื่อพัฒนาสขุ ภาพ 2(2-0-4) ค. หมวดวิชาเลือกเสรี เรียนไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา โดยไมซ่ ้ำกับรายวชิ าท่ีเคยเรียนมาแลว้ และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวิชาทีก่ ำหนดให้เรียนโดยไม่นบั หน่วยกติ รวม ในเกณฑ์การสำเร็จหลกั สูตรของสาขาวิชานี้

3.1.4 แผนการศกึ ษา 11 ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หนว่ ยกติ หมวดวิชา รหสั และช่ือวิชา (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง) ศกึ ษาท่วั ไป 061101 ภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สาร 3(x-x-x) เฉพาะ 061102 ภาษาอังกฤษ 1 2(x-x-x) 401101 ฟสิ กิ ส์ 1 3(3-0-6) 402101 เคมี 1 3(3-0-6) 402102 ปฏบิ ัตกิ ารเคมี 1 1(0-3-2) 403101 ชวี วิทยา 1 3(3-0-6) 403102 ปฏบิ ัติการชีววิทยา 1 1(0-3-2) 408101 แคลคลู ัส 1 3(3-0-6) 413101 การสาธารณสขุ 1(1-0-2) 602102 การจัดการภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ 2(2-0-4) 22(x-x-x) รวม ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หมวดวิชา รหัสและช่ือวชิ า หนว่ ยกิต ศึกษาทว่ั ไป (ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) เฉพาะ 061103 ภาษาอังกฤษ 2 2(x-x-x) 061303 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดการสารสนเทศ 2(x-x-x) ออนไลน์ 402121 เคมีอนิ ทรีย์พน้ื ฐาน 2(2-0-4) 413102 จลุ ชีววิทยาและปรสติ วทิ ยาทางสาธารณสขุ 2(2-0-4) 413103 ปฏิบตั ิการจลุ ชีววิทยาและปรสิตวิทยาทางสาธารณสขุ 1(0-3-2) 602101 กายวิภาคศาสตร์และสรรี วิทยาของมนุษย์ 3(2-2-5) 602103 ประชากรศาสตร์และการคำนวณสถติ ชิ ีพ 1(1-0-2) 602111 อนามยั สิง่ แวดลอ้ มเบ้อื งต้น 3(3-0-6) 602211 การปฐมพยาบาลและการบำบดั โรคเบื้องต้น 3(2-2-5) รวม 19(x-x-x)

12 ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 หมวดวชิ า รหัสและชื่อวชิ า หน่วยกิต ศกึ ษาท่ัวไป (ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง) เฉพาะ 061104 ภาษาอังกฤษ 3 2(x-x-x) 061301 คณติ ศาสตรเ์ พื่อการตดั สินใจ 2(x-x-x) 061207 การจัดการตนเองเพอ่ื การพัฒนางาน 2(x-x-x) 402241 ชวี เคมีพื้นฐาน 2(2-0-4) 402242 ปฏบิ ตั กิ ารชวี เคมพี ื้นฐาน 1(0-3-2) 413213 อาชวี อนามยั และความปลอดภยั 3(3-0-6) 413214 โรคตดิ ต่อและโรคไม่ตดิ ต่อ 3(3-0-6) 602221 พิษวิทยาส่งิ แวดล้อม 3(3-0-6) 602222 การสุขาภบิ าลอาหารและความปลอดภัยในอาหาร 3(2-2-5) รวม 21(x-x-x) ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หมวดวิชา รหัสและช่ือวิชา หน่วยกิต ศึกษาทว่ั ไป 061201 ศาสตรพ์ ระราชาฯ (ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) เฉพาะ 061204 การคิดเพ่ือการดำเนินชีวิต 413215 วิธีการทางสถติ ใิ นงานวิจัยสุขภาพ 2(x-x-x) เลอื กเสรี 413312 วทิ ยาการระบาด 2(x-x-x) 602311 สขุ ศกึ ษาและพฤตกิ รรมศาสตรส์ าธารณสขุ 3(2-2-5) 602312 กฎหมายสาธารณสุข สิง่ แวดลอ้ ม และจรยิ ธรรม 3(3-0-6) วิชาชพี 3(3-0-6) 602223 การจัดการคณุ ภาพนำ้ ดืม่ นำ้ ใช้ 3(3-0-6) เลอื กเสรี 1 3(2-2-5) รวม 2(x-x-x) 21(x-x-x)

13 ปที ี่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 หมวดวิชา รหัสและชื่อวชิ า หนว่ ยกติ ศึกษาทัว่ ไป เฉพาะ (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง) เลือกเสรี 061203 อาเซียนศกึ ษาฯ 2(x-x-x) 061302 วทิ ยาศาสตร์การกีฬาเพอื่ สุขภาพ 1(x-x-x) 061xxx เลือกศึกษาทว่ั ไป (ไม่ตอ้ งระบุวชิ า) 3(x-x-x) 602301 ระเบยี บวธิ ีวิจยั 2(1-2-3) 602313 การบริหารงานสาธารณสขุ 3(3-0-6) 602321 การจัดการขยะมลู ฝอยและสิ่งปฏิกลู 3(2-2-5) 602322 การจัดการกากอุตสาหกรรมและของเสียอันตราย 3(3-0-6) 602326 เทคโนโลยกี ารผลิตที่สะอาดเพื่อการพัฒนาทย่ี ่ังยืน 3(3-0-6) เลือกเสรี 2 2(x-x-x) รวม 22(x-x-x) ปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หมวดวิชา รหัสและช่ือวิชา หน่วยกิต ศึกษาท่ัวไป เฉพาะ (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง) เลือกเสรี 061202 ความเป็นไทย 3(x-x-x) 061xxx เลือกศึกษาท่ัวไป (ไม่ตอ้ งระบุวชิ า) 2(x-x-x) 602323 การจัดการมลพษิ ทางน้ำและเทคโนโลยกี ารบำบดั นำ้ เสยี 3(3-0-6) 602324 ปฏบิ ตั ิการคณุ ภาพนำ้ 1(0-3-2) 602325 การจดั การเหตุรอ้ งเรียนด้านอนามัยส่งิ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) 602327 การสอ่ื สารความเส่ียงดา้ นสุขภาพ 3(3-0-6) 602328 การฝึกภาคสนามอนามัยสิ่งแวดล้อม 1(90) 602422 การจัดการมลพิษทางอากาศ เสียง และความส่ันสะเทือน 3(3-0-6) 602423 ปฏบิ ตั ิการการเกบ็ ตวั อยา่ งและการวเิ คราะห์ คณุ ภาพ 1(0-3-2) อากาศ เสยี ง และความสน่ั สะเทือน เลือกเสรี 3 2(x-x-x) รวม 22(x-x-x)

14 ปีท่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 1 หมวดวิชา รหสั และช่ือวชิ า หน่วยกิต เฉพาะ (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง) 602421 การสขุ าภิบาลทพี่ กั อาศัยและการจัดการพาหะนำโรค 3(3-0-6) 602424 การประเมนิ ผลกระทบทางอนามยั ส่งิ แวดล้อม 3(2-2-5) 602425 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ในงานอนามยั สงิ่ แวดลอ้ ม 3(2-2-5) 602426 ระบบมาตรฐานสำหรบั การจัดการด้านส่ิงแวดลอ้ ม 2(2-0-4) 602427 สัมมนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 1(1-0-2) 602428 การศึกษาค้นควา้ อิสระทางอนามยั สง่ิ แวดล้อม 2(1-2-3) 602429 การเตรียมฝึกสหกิจศึกษาและประสบการณว์ ิชาชีพ 1(0-45-0) xxxxxx บังคบั เลือก 2(x-x-x) รวม 17(x-x-x) ปที ่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2 หมวดวชิ า รหัสและชื่อวิชา หน่วยกิต เฉพาะ 602411 สหกิจศึกษา (ทฤษฎี-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง) หรือ 602412 การฝึกประสบการณ์วชิ าชีพอนามยั สิ่งแวดล้อม 6(640) รวม 6(640) 6(640)

15 3.1.5 คำอธิบายรายวิชา ก. หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป รหัสวชิ า 1. กลมุ่ วิชาภาษา น(ท-ป-ศ) 061101 ช่อื และคำอธิบายรายวิชา 3(3-0-6) ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai for Communication) ความสำคญั ของภาษาไทยในฐานะเปน็ เครื่องมือส่อื สาร กระบวนการพฒั นา ทักษะการพูด การฟงั การอ่าน และการเขยี น การใชภ้ าษาไทยในชวี ิตประจำวนั การย่อความ การสรปุ ความ การใชภ้ าษาไทยในการส่อื สาร ทีเ่ ป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ การเขียนรายงาน การนำเสนอ ผลงานโดยใช้สือ่ และเทคโนโลยี 061102 ภาษาอังกฤษ 1 2(1-2-3) (English 1) การฟงั การพดู การอา่ นและการเขียนภาษาอังกฤษเบ้ืองต้นเพอ่ื การสื่อสาร ในชวี ิตประจำวัน ในการทักทาย การแนะนำตวั การบรรยายบุคคล การบรรยายส่ิงของ การบรรยาย สถานท่ี การบรรยายเหตุการณต์ า่ ง ๆ การระบคุ วามสนใจและงานอดิเรก และการวางแผนอนาคต 061103 ภาษาอังกฤษ 2 2(1-2-3) (English 2) การฟัง การพูด การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารใน ชีวิตประจำวัน ในระดับที่สูงขึ้น การขอข้อมูลและการให้ข้อมูลทั่วไป การให้ข้อเสนอแนะ การแสดง ความคดิ เห็น การแสดงความรู้สึก การตคี วาม การสรปุ ความ การจบั ใจความสำคัญ 061104 ภาษาองั กฤษ 3 2(1-2-3) (English 3) การฟงั การพดู การอา่ นและการเขยี นภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรบั การเตรียมข้อมูลเพื่อใช้ในการสมัครงาน การอ่านประกาศรับสมัครงาน การสมัครงาน การสอบถาม ข้อมูลเกี่ยวกับงาน การเขยี นประวัติยอ่ และจดหมายสมคั รงาน รวมถึงการสมั ภาษณ์งาน 061105 ภาษาไทยเพ่ืองานอาชีพ 3(3-0-6) (Thai for Career) ทักษะการใช้ภาษาไทยในการสื่อสารสำหรับงานอาชีพอย่างมีศิลปะ ถูกต้อง ตามกาลเทศะ บุคคล และโอกาส การนำเสนอในเชิงให้ความรู้ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ การเขียน ประชาสัมพันธ์และโฆษณา การเขียนโครงการ การเขียนรายงานสำหรับงานอาชีพ และการเขียน จดหมาย

16 061106 ความงดงามทางภาษาไทย 3(3-0-6) (Aesthetics of Thai Language) ความสำคญั และคุณคา่ ของภาษาไทยในเชิงวรรณศิลป์ การรับร้ถู งึ ความงดงาม ทางภาษา การประเมินคุณค่าให้สอดคล้องกบั เนื้อหา และการถา่ ยทอดความงดงามทางภาษาในรปู แบบ ตา่ ง ๆ 061107 ภาษาองั กฤษ 4 2(1-2-3) (English 4) การฟัง การพูด การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ในการ ทำงาน ได้แก่ การทักทาย การต้อนรับ การนัดหมาย การถามและการให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพ การจด บนั ทกึ การเขยี นจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ และการนำเสนองาน 061108 ภาษาจีนกลางพ้นื ฐาน 3(3-0-6) (Fundamental Chinese) ทักษะการฟัง พูด ภาษาจีนกลางเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน การอ่าน ออกเสียง ภาษาจีนกลางตามมาตรฐาน ระบบเสียงภาษาจีนกลางเบื้องต้น ทักษะการอ่านอักษรพินอิน หลักการเขียนอกั ษรจีนเบ้ืองต้น 061109 ภาษาญี่ปุน่ พนื้ ฐาน 3(3-0-6) (Fundamental Japanese) คำศัพท์ รูปประโยค ไวยากรณ์พื้นฐานภาษาญี่ปุ่นโดยตัวอักษรโรมัน และการ สนทนาที่ใช้ในชีวิตประจำวนั 061110 ภาษาเขมรพื้นฐาน 3(3-0-6) (Fundamental Khmer) โครงสร้างพืน้ ฐานของภาษาเขมร ทักษะการฟงั การพูด การอ่าน และการ เขยี นการสนทนาในชวี ิตประจำวนั ทส่ี อดคลอ้ งกับวฒั นธรรมของชาวกมั พูชา 061111 ภาษาฮินดีพนื้ ฐาน 3(3-0-6) (Fundamental Hindi) โครงสร้างพื้นฐานทางภาษาฮินดี ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการ เขยี นการสนทนาในชีวิตประจำวนั ท่ีสอดคลอ้ งกบั วฒั นธรรมของชาวอนิ เดยี 061112 ภาษาฝร่งั เศสพนื้ ฐาน 3(3-0-6) (Fundamental French) ตัวอกั ษรภาษาฝรั่งเศส และไวยากรณ์ ทกั ษะเบ้อื งต้นการฟงั การพดู การอ่าน และการเขียน การสนทนาในชีวติ ประจำวัน

17 061113 ภาษาลาวพ้ืนฐาน 3(3-0-6) (Fundamental Laos) โครงสรา้ งพน้ื ฐานทางภาษาลาว ทกั ษะการฟงั การพดู การอ่าน และการเขียน การสนทนาในชีวติ ประจำวันท่สี อดคล้องกับวฒั นธรรมของชาวลาว 061114 ภาษาพม่าพ้นื ฐาน 3(3-0-6) (Fundamental Burmese) โครงสร้างพื้นฐานทางภาษาพม่า ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนการ สนทนาในชวี ิตประจำวนั ท่สี อดคล้องกับวฒั นธรรมของชาวพม่า 061115 ภาษาเวยี ดนามพ้นื ฐาน 3(3-0-6) (Fundamental Vietnamese) โครงสร้างพื้นฐานทางภาษาเวียดนาม ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน การสนทนาในชีวิตประจำวนั ที่สอดคล้องกับวฒั นธรรมของชาวเวยี ดนาม 061116 ภาษาเกาหลพี ืน้ ฐาน 3(3-0-6) (Fundamental Korean) โครงสร้างพื้นฐานของภาษาเกาหลี ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการ เขยี น การสนทนาในชีวติ ประจำวนั ท่สี อดคล้องกับวฒั นธรรมของชาวเกาหลี 2. กล่มุ วิชามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รหสั วชิ า ช่อื และคำอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 061201 ศาสตร์พระราชาของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว 2(1-2-3) รชั กาลที่ 9 (King Bhumibol Adulyadej’s Science) แนวทางการเรยี นรูศ้ าสตรพ์ ระราชาในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลย เดชหลกั การทรงงาน โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริและปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการประยกุ ตใ์ ช้ เพ่ือนำไปสูก่ ารพฒั นาอย่างยง่ั ยนื 061202 ความเป็นไทย 3(3-0-6) (Thainess) ความหมายคุณค่าของชีวิต คุณธรรม จริยธรรมตามหลักศาสนา หลักสิทธิ มนุษยชนเพื่อการดำรงชีวิต การตัดสินคุณค่าและมาตรฐานทางจริยธรรม ค่านิยม วัฒนธรรมและ ประเพณีไทย การปฏิบัติตนตามศาสนพิธีและวันสำคัญต่าง ๆ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ภูมิศาสตร์ประเทศไทยที่มผี ลต่อเศรษฐกิจและสังคมของภูมภิ าคตา่ ง ๆ รวมถึงอัตลักษณท์ ้องถ่นิ ไทยและท้องถนิ่ โคราช

18 061203 อาเซยี นศึกษาและความเป็นพลเมืองอาเซยี น 2(1-2-3) (ASEAN Studies and ASEAN Citizen) ความเป็นมาของประชาคมอาเซียน บริบททางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ วฒั นธรรม และภมู ิรฐั ศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน กฎบตั รอาเซียน และความรว่ มมือของประเทศ สมาชิกอาเซียน อาเซียนกับกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศอื่น ๆ การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตาม สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ตามกฎเกณฑ์ของสังคม การทำกิจกรรมจิตอาสา และการอยู่ รว่ มกนั อย่างสันตใิ นประชาคมอาเซยี น 061204 การคิดเพ่อื การดำเนินชีวติ 2(1-2-3) (Thinking for Living) ความหมาย ความสำคัญของการคดิ มโนทัศน์ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการคดิ ประสาท วิทยาศาสตร์การคิด ความสัมพันธ์ของการคิด การเรียนรู้ ความรู้และความจำ ประเภทการคิด ทักษะ และกระบวนการคิด การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดสร้างสรรค์ และการคิดแก้ปัญหา เน้นการฝึก ปฏิบตั ิและการประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ อย่างมคี ุณภาพ 061205 การเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่ 2(1-2-3) (Modern Entrepreneurs) แนวคิดพื้นฐานและจริยธรรมทางธุรกิจสำ หรับการเป็นผู้ประกอบการ การ วิเคราะห์โอกาสและการจัดตั้งธุรกิจ หลักการเขียนแผนธุรกิจเบื้องต้น การตลาด การจัดการการผลิต และการปฏบิ ัตกิ าร การจดั การทรัพยากรมนุษย์ การบัญชสี ำหรบั ผู้ประกอบการ การจดั การการเงิน โดย การประยกุ ตใ์ ช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำเนินธรุ กจิ ในศตวรรษท่ี 21 061206 เศรษฐกจิ กับวถิ ีชีวติ 2(1-2-3) (Economy and Ways of Life) วิวัฒนาการของโครงสร้างการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม การ จดั การทรัพยากร รายจ่าย การบริโภคและการออม การผลิต การตลาด การเงนิ การคลัง การค้าระหว่าง ประเทศ สภาพปญั หาเศรษฐกิจ สงั คมและแนวทางการแก้ไข การประยุกตใ์ ช้หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือการดำรงชีวติ ในสภาพเศรษฐกจิ สงั คมในยคุ โลกาภิวัตน์ 061207 การจัดการตนเองเพื่อการพัฒนางาน 2(1-2-3) (Self-Management for Work Development) แนวคิดพื้นฐานเรื่องการประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการทำงาน การ ตั้งเป้าหมายในการทำงาน การจัดการอุปสรรคในการทำงาน การพัฒนาบุคลิกภาพ การสร้างความ เชื่อมนั่ ในตนเอง เทคนิควิธใี นการทำงานรว่ มกบั ผู้อื่น การจดั การความขัดแยง้ การจัดการสำนักงาน การ จัดการตนเองภายใตก้ ารเปล่ยี นแปลง

19 061208 จติ วิทยาเพอ่ื การดำเนินชีวิต 3(3-0-6) (Psychology for Living) ความเข้าใจเกี่ยวกับมนุษย์ พฤติกรรมและวิธีการศึกษาพฤติกรรม ปัจจัยที่ เก่ียวขอ้ งกับพฤติกรรมการศึกษาและพัฒนาตน การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างเข้าใจ การเปน็ ผนู้ ำ-ผู้ตาม และ การทำงานเปน็ ทมี ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ การสร้างแรงจูงใจในการทำงาน การสร้างความสุขในการดำเนินชีวิต ตามแนวคดิ จิตวทิ ยา พทุ ธศาสนา และทฤษฎเี ศรษฐกิจพอเพียง 061209 มนุษยก์ บั สนุ ทรยี ภาพ 3(3-0-6) (Man and Aesthetics) ทฤษฎสี ุนทรยี ศาสตร์ ความหมาย ความเป็นมาทางวชิ าการกบั ปรากฏการณ์ ทางสุนทรีย์ ความซาบซึ้งในคุณค่าความงดงาม ทั้งทางศิลปะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ศาสนา และ วัฒนธรรม การเขา้ ถึงความหมาย และความสขุ จากส่งิ สนุ ทรยี ์ 061210 การใชเ้ หตุผลในสังคม 2(2-0-4) (Reasoning in Society) ลักษณะของเหตุผล การคิดอย่างมีเหตผุ ลรูปแบบตา่ ง ๆ การนำเหตุผลไปใช้ใน การวิเคราะห์ข้อเท็จจริงอย่างเป็นระบบ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ และนำไปประยุกต์ใช้กับ วิชาชีพและการดำเนินชวี ติ อย่างมคี ณุ ค่า 061211 ความรู้เกย่ี วกบั ระบบโลก สงั คมโลกในปัจจบุ นั และอนาคต 3(3-0-6) (Present World System and Future World Society) แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการศึกษาระบบความเป็นไปของโลกทั้งในปัจจบุ ันและ อนาคต ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แนวโน้มของปัญหาประชากร สิ่งแวดล้อม พลังงาน เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และจริยธรรม ในบริบท กระบวนทัศน์ พลวัต และผลกระทบต่อ อนาคต การเตรียมความพร้อม สำหรับการเปลี่ยนแปลงสังคมโลกและสังคมไทยในอนาคต 061212 มนุษย์กับอารยธรรม 2(2-0-4) (Man and Civilization) การสร้างอารยธรรมของมนุษยชาติ อารยธรรมตะวันออกและตะวันตก พัฒนาการอารยธรรมตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัยปัจจุบัน การวิเคราะห์กระบวนการรังสรรค์ อารยธรรมในบรบิ ททางเศรษฐกิจ การเมอื ง สังคม วัฒนธรรม และภูมริ ฐั ศึกษา 061213 กฎหมายในการดำรงชวี ติ 3(3-0-6) (Law for Living) กฎเกณฑ์ควบคุม ความประพฤติของสมาชิกในสังคม วิวัฒนาการของ กฎหมาย ความหมายและประเภทของกฎหมาย ระบบกฎหมาย การใช้และการตีความกฎหมาย สิทธิ หน้าที่ขั้นพื้นฐานของบุคคลและการใช้สิทธิ หลักทั่วไปกฎหมายแพ่ง เกี่ยวกับบุคคล ทรัพย์สิน นิติกรรม

20 สญั ญาหนี้ ละเมดิ ครอบครัว และมรดก การกระทำความผดิ ทางอาญา รวมทัง้ กระบวนการยุติธรรมของ ไทย 061214 แหล่งและวธิ กี ารเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 2(2-0-4) (Sources and Methods of Autonomous Learning) ความหมาย ความสำคัญ ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ การค้นคว้าจาก แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึง และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรสารสนเทศในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตลอดชีวิต การจัดเก็บและค้นคืนทรัพยากรสารสนเทศ การประเมินค่าสารสนเทศ การจดบันทึกทาง วชิ าการ การทำรายการบรรณานกุ รมและการอา้ งอิง 3. กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวชิ า ชื่อและคำอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 061301 คณติ ศาสตรเ์ พอ่ื การตัดสนิ ใจ 2(1-2-3) (Mathematics for Decision Making) การให้เหตุผล การใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ และกระบวนการตัดสินใจ โดย เน้นทักษะการคดิ คำนวณและการประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั 061302 วิทยาศาสตร์การกฬี าเพื่อสขุ ภาพ 1(0-2-1) (Sports Science for Health) การนำหลกั การทางด้านวิทยาศาสตรก์ ารกีฬาแขนงต่าง ๆ มาประยกุ ตใ์ ช้ใน การทดสอบระดับความสามารถของร่างกาย และฝึกปฏิบัติกิจกรรมการออกกำลงั กาย เพื่อการประเมนิ และสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายที่ส่งผลต่อการมีสขุ ภาพท่ดี ีในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั 061303 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือจัดการสารสนเทศออนไลน์ 2(1-2-3) (Information Technology for Online Information Management) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปญั ญา การ ใช้งานอินเทอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูลทางวิชาการเพื่อรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอข้อมูล สร้าง เอกสารหรอื แบบสอบถามออนไลน์ การใชส้ ารสนเทศรว่ มกันบนเครือข่ายคลาวด์คอมพิวติง้ 061304 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การสอื่ สารและสือ่ ประสม 2(1-2-3) (Information Technology for Communication and Multimedia) การประยกุ ต์ใชค้ อมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ การประยุกตใ์ ช้งานสื่อ ประสม การใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อการส่ือสารและสืบค้นสารสนเทศ การนำเสนอขอ้ มูล การประยุกต์ใช้ สื่อประสมและสอ่ื สังคมออนไลน์ กฎหมายที่เกยี่ วข้องกับเทคโนโลยสี ารสนเทศและบทลงโทษ

21 061305 เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรบั สำนักงานอตั โนมัติ 2(1-2-3) (Information Technology for Office Automation) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสำนักงาน โปรแกรมประมวลผลคำ โปรแกรมตารางคำนวณ โปรแกรมนำเสนอผลงาน การแสวงหาความรูแ้ ละแหล่งขอ้ มูลจากอนิ เทอร์เน็ต เพือ่ การทำรายงาน การคำนวณข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนำเสนอผลงาน 061306 สิ่งแวดลอ้ มและพลงั งานเพอื่ ความยงั่ ยนื แหง่ ชีวติ 3(3-0-6) (Environment and Energy for Sustainability of Life) ความหมายและประเภทของพลังงาน การใช้พลังงานในอดีตถึงปัจจุบัน ปัญหาการใช้พลังงาน ที่มีผลกระทบต่อ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม การ อนุรักษพ์ ลงั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม สภาวะโลกรอ้ น ภยั พบิ ัติ มลภาวะในรูปแบบต่าง ๆ และแนวทางปอ้ งกันแกไ้ ข 061307 อาหารเพ่ือชวี ติ 2(1-2-3) (Food for Life) หลักการผลิต ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรทั้งทางด้านพืชและสัตว์ การ ผลิตเกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดสารพิษ และการเกษตรในโครงการพระราชดำริ การเสื่อมเสียของ อาหาร และการควบคุมคุณภาพ หลักและวิธีในการเลือกซื้ออาหาร คุณค่าทางโภชนาการ หลักเบื้องตน้ ในการถนอมและแปรรูปอาหารโดยใช้ความร้อน ความเย็น การทำแห้ง หมักดอง การใช้สารเคมี รังสี และไมโครเวฟ 061308 เทคโนโลยใี นชีวติ ประจำวัน 2(1-2-3) (Technology in Daily Life) ความรู้และหลักการ ในการเลือก การติดตั้ง การบำรุงรักษาเกี่ยวกับอุปกรณ์ ไฟฟา้ เทคโนโลยสี อ่ื สาร เทคโนโลยยี านยนต์ ท่ีใช้ในชีวติ ประจำวัน ข. หมวดวิชาเฉพาะ 1. กล่มุ วชิ าพน้ื ฐานวชิ าชีพ รหัสวชิ า ชอ่ื และคำอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 401101 ฟสิ กิ ส์ 1 3(3-0-6) (Physics 1) กลศาสตร์พื้นฐาน การสั่นและคลื่น ความร้อนและอุณหพลศาสตร์ สมบัติ เชงิ กลของสสาร กลศาสตร์ของไหล สนามไฟฟา้ และสนามแม่เหลก็ คลนื่ เสยี งและแสง ฟิสิกส์แผนใหม่ 402101 เคมี 1 3(3-0-6) (Chemistry 1) โครงสร้างอะตอม พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัตขิ องธาตุเรพรีเซนเททีฟ และ ธาตุแทรนซชิ นั ของเหลวและสารละลาย สมดลุ เคมี กรด - เบส เคมสี ่งิ แวดลอ้ ม

22 402102 ปฏบิ ตั ิการเคมี 1 1(0-3-2) (Chemistry Laboratory 1) พื้นความรู้ : ศกึ ษาพร้อมกับรายวชิ า 402101 เคมี 1 หลักปฏิบัติทั่วไปในการทำปฏิบัติการเคมี ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ เกรดและการใช้สารเคมี การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือพื้นฐานทางเคมี และปฏิบัติการเกี่ยวข้องกับ ปฏิกริ ยิ าเคมี ปรมิ าณสารสมั พนั ธ์ การเตรยี มสารละลาย สมดลุ เคมี และกรด - เบส เป็นต้น 402121 เคมีอินทรียพ์ ้ืนฐาน 2(2-0-4) (Fundamental of Organic Chemistry) พื้นความรู้ : สอบผา่ นรายวิชา 402101 เคมี 1 การเกิดไฮบริดออร์บิทัล สเตอริโอเคมี ชนิดของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ การ เรียกช่ือ สมบตั ทิ างกายภาพ การเตรียมและปฏิกิรยิ าของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน สารประกอบอะโร เมติกและสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชันชนิดต่าง ๆ เช่น เฮไลด์ อัลกอฮอล์ อีเทอร์ อัลดีไฮด์ คีโตน เอมีน กรดคาร์บอกซิลิก และอนุพันธ์ เอมีน และสารประกอบโมเลกุลใหญ่ต่าง ๆ เช่น ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต 402241 ชวี เคมีพืน้ ฐาน 2(2-0-4) (Fundamental of Biochemistry) พน้ื ความรู้ : สอบผ่านรายวิชา 402121 เคมอี ินทรีย์พ้นื ฐาน ประวตั ิและความหมายของชีวเคมี พเี อชและบัฟเฟอรใ์ นสิง่ มชี ีวิต โครงสร้างและ หน้าที่ของชีวโมเลกุล การประยุกต์ใช้ชีวโมเลกุลในด้านต่างๆ เอนไซม์ ฮอร์โมน วิตามิน และเมแทบอลิซึม เบือ้ งต้น 402242 ปฏบิ ตั กิ ารชวี เคมพี นื้ ฐาน 1(0-3-2) (Fundamental of Biochemistry Laboratory) พื้นความรู้ : เคยศึกษาหรือศึกษาพร้อมกับรายวิชา 402241 ชีวเคมีพ้นื ฐาน ปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้สารละลายบัฟเฟอร์ในทางชีวเคมี การทดสอบเชิง คุณภาพ และการวิเคราะห์เชิงปรมิ าณของสารชวี โมเลกุล การทดสอบเอนไซม์เบื้องต้น และกระบวนการเม แทบอลซิ ึมของคาร์โบไฮเดรต 403101 ชีววิทยา 1 3(3-0-6) (Biology 1) สมบัติของสิ่งมีชีวิต การจัดระบบสิ่งมีชีวิต ระเบียบวิธีวิทยาศาสตร์ สารประกอบในสิ่งมีชีวิต เซลล์และเมแทบอลิซึม พันธุศาสตร์ กลไกของวิวัฒนาการ ความหลากหลาย ของส่งิ มีชีวติ โครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องพชื โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของสตั ว์ นเิ วศวิทยาและพฤติกรรม

23 403102 ปฏบิ ตั กิ ารชวี วิทยา 1 1(0-3-2) (Biology Laboratory 1) พ้ืนความรู้ : ศกึ ษาพร้อมกับรายวชิ า 403101 ชีววทิ ยา 1 ปฏิบัติการเรื่องการใช้อุปกรณ์และระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การใช้ กล้องจุลทรรศน์ การทดสอบสารประกอบในสิ่งมีชีวิต เซลล์และการแบ่งเซลล์ พันธุศาสตร์ ความ หลากหลายของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของพืช โครงสร้างและหน้าที่ของสัตว์ นิเวศวิทยาและ พฤตกิ รรม 408101 แคลคูลัส 1 3(3-0-6) (Calculus 1) ลมิ ติ และความต่อเนื่องของฟังก์ชนั การหาอนพุ นั ธ์ของฟงั ก์ชันตวั แปรเดียว การประยกุ ตอ์ นุพนั ธ์ การหาปรพิ นั ธ์ไมจ่ ำกัดเขต เทคนิคการหาปรพิ ันธแ์ ละการประยุกตป์ รพิ ันธ์ 413101 การสาธารณสขุ 1(1-0-2) (Public Health) ความหมาย ความสำคญั ของการสาธารณสขุ ประวตั ิความเปน็ มา แนวคิดและ ขอบเขตงานสาธารณสุข กองทุนหลักประกันสุขภาพ บทบาทของนักวิชาการด้านสาธารณสุข สถานการณ์ดา้ นสาธารณสขุ 413102 จลุ ชวี วทิ ยาและปรสติ วทิ ยาทางสาธารณสขุ 2(2-0-4) (Microbiology and Parasitology in Public Health) โครงสร้าง ลักษณะ คุณสมบัติ และสรีรวทิ ยาของจลุ นิ ทรีย์และปรสิตที่ก่อโรค ในมนุษย์ การติดต่อ การแพร่กระจาย การก่อโรคของจุลินทรีย์และปรสิต การติดเชื้อและกลไกการ ต้านทานโรคของร่างกาย หลักการทำลายและยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์และปรสิต การเก็บ ตัวอย่างและ การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ ปัญหา ความสำคัญ การป้องกันและการควบคุม จลุ ินทรยี ์และปรสิตในทางสาธารณสุข 413103 ปฏบิ ตั กิ ารจุลชีววทิ ยาและปรสติ วทิ ยาทางสาธารณสุข 1(0-3-2) (Microbiology and Parasitology Laboratory in Public Health) การศึกษาจุลินทรีย์และปรสิตที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขโดยการใช้กล้อง จุลทรรศน์ เทคนิคปลอดเชื้อ เทคนคิ การเพาะเล้ียงเช้ือ การควบคุม การทำลายจุลินทรีย์และปรสิต การ เกบ็ ตวั อยา่ งและการตรวจวินิจฉยั ทางห้องปฏิบตั ิการ 602101 กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรีรวทิ ยาของมนษุ ย์ 3(2-2-5) (Human Anatomy and Physiology) บทนำทางกายวิภาคศาสตร์และสรรี วิทยาของมนุษย์ โครงสร้างและหน้าท่ีการ ทํางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ ได้แก่ ระบบปกคลุมร่างกาย ระบบโครงร่าง ระบบกล้ามเนื้อ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบน้ำเหลือง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก ระบบหายใจ ระบบย่อย อาหาร ระบบต่อมไรท้ อ่ ระบบขับถา่ ยปสั สาวะ ระบบสืบพนั ธ์ุ และการควบคุมสมดุลของรา่ งกาย

24 602102 การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 2(2-0-4) (Public Health Emergency Management) ขอบเขตของเครื่องมือ วิธีการ กระบวนการ การพัฒนานโยบาย การวางแผน และการพัฒนาศักยภาพในการจดั การภาวะฉกุ เฉินทางด้านสาธารณสุข 602103 ประชากรศาสตรแ์ ละการคำนวณสถติ ชิ ีพ 1(1-0-2) (Demography and Vital Statistics Calculation) ขนาด โครงสรา้ ง การกระจายตัว และการเปลีย่ นแปลงของประชากร ภาวะเจริญ พนั ธ์ุ ภาวะการตาย การย้ายถิ่น เทคนคิ วธิ ีทางประชากรศาสตร์ แหลง่ ข้อมูลและการคำนวณสถติ ิชพี 602301 ระเบียบวธิ วี ิจัย 2(1-2-3) (Research Methodology) หลักการและวธิ วี จิ ัยทางสาธารณสุข การเขยี นโครงร่างวิจยั การสร้างเคร่อื งมือ การเก็บรวบรวมข้อมลู การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผล การสรปุ ผล การเขียนรายงานการวิจัยรวมทั้ง การฝึกปฏิบตั กิ ารวจิ ยั ทางสาธารณสขุ 2. กลุม่ วิชาชีพสาธารณสขุ รหสั วิชา ช่ือและคำอธบิ ายรายวชิ า น(ท-ป-ศ) 413213 อาชีวอนามยั และความปลอดภัย 3(3-0-6) (Occupational Health and Safety) ความหมายและความสำคัญของอาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อมในการทำงาน การย ศาสตร์ โรคจากการประกอบอาชีพ อุบัติเหตุและความปลอดภัยในการทำงาน วิธีควบคุมและป้องกัน อนั ตรายจากการทำงาน การประเมินความเสีย่ ง มาตรฐานและกฎหมายทเี่ ก่ยี วข้องกับงานอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย 413214 โรคติดตอ่ และโรคไม่ตดิ ตอ่ 3(3-0-6) (Communicable and Non-Communicable Disease) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ ด้วย การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โรคติดต่อจากอาหารและน้ำ โรคติดต่อที่นำโดยแมลง โรคติดต่อระหว่าง สัตว์และคน กลุ่มโรคหวั ใจหลอดเลือดและเบาหวาน กล่มุ โรคพันธกุ รรม โรคมะเรง็ และโรคทเี่ กย่ี วกับมลพิษ สง่ิ แวดล้อม

25 413215 วิธกี ารทางสถิตใิ นงานวจิ ัยสุขภาพ 3(2-2-5) (Statistical Method in Health Research) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ การเก็บรวบรวม การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ สถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงของข้อมูล การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์สถิติ อนุมาน การแปลผลและการตีความหมายของค่าสถิติ การคำนวณขนาดตัวอย่าง และการเลือกสถิติ ตลอดจนการฝึกปฏบิ ตั ิในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลดา้ นสขุ ภาพ 413312 วทิ ยาการระบาด 3(3-0-6) (Epidemiology) แนวคิดพื้นฐานของวิทยาการระบาด วิวัฒนาการและประวัติความเป็นมาของ วิทยาการระบาด ความหมาย วัตถุประสงค์ ขอบเขต และประโยชน์ของวิทยาการระบาด ธรรมชาติและ องค์ประกอบของการเกิดโรค ลักษณะและการกระจายของโรค ดัชนีที่ใช้วัดสภาวการณ์เจ็บป่วยและ การ ตาย การเฝา้ ระวังทางวทิ ยาการระบาด การสอบสวนโรค หลักการป้องกันและควบคมุ โรค รปู แบบการศกึ ษา ทางวทิ ยาการระบาด การประยุกต์วิทยาการระบาดเพอ่ื ใช้ในงานสาธารณสุข 602111 อนามยั สงิ่ แวดล้อมเบอื้ งตน้ 3(3-0-6) (Introduction to Environmental Health) ความรู้พื้นฐานทางอนามัยสิ่งแวดลอ้ ม การสุขาภิบาลน้ำดืม่ น้ำใช้ การสุขาภิบาล อาหาร การบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูล การบำบัดน้ำเสีย การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย การ ควบคุมและป้องกันสัตว์และแมลงพาหะนำโรค การจัดการและควบคุมมลพิษทางอากาศ การควบคุมเหตุ รำคาญ การจัดการและวางแผนอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชนและท้องถิ่น และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ สิ่งแวดล้อม 602211 การปฐมพยาบาลและการบำบัดโรคเบอ้ื งต้น 3(2-2-5) (First Aid and Primary Medical Care) ความหมายและความสำคัญของการปฐมพยาบาล หลักการปฐมพยาบาล การยก และเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บในภาวะฉุกเฉิน การช่วยฟื้นคืนชีพ รวมถึงกระบวนการ ประเมินภาวะสุขภาพเพื่อการวินิจฉัยโรคเบื้องต้น การซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจทาง หอ้ งปฏิบตั กิ าร การบำบัดโรคเบ้ืองตน้ ตามกล่มุ โรคและอาการท่ีเปน็ ปัญหาท่ีพบบ่อยในระดบั ปฐมภมู ิ 602311 สุขศึกษาและพฤตกิ รรมศาสตรส์ าธารณสุข 3(3-0-6) (Health Education and Public Health Behavir) ความหมายของสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบของพฤติกรรม สุขภาพ ตัวกำหนดสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง ทฤษฎีพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญ กลยุทธ์การส่งเสริม สุขภาพ ความหมายของสุขศึกษา วิธีการสุขศึกษา การดำเนินงานสุขศึกษา การประเมินผลงานสุขศึกษา มาตรฐานงานสขุ ศกึ ษา และความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ

26 602312 กฎหมายสาธารณสขุ สิ่งแวดล้อม และจริยธรรมวิชาชีพ 3(3-0-6) (Public Health Laws, Environmental Laws and Professional Ethics) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย กฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ การ สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม แนวคิด ความหมาย และความสำคัญของจริยธรรม จรรยาบรรณในงาน สาธารณสุข การประยุกต์ใช้กฎหมายในงานสาธารณสขุ และสิ่งแวดล้อม 602313 การบรหิ ารงานสาธารณสุข 3(3-0-6) (Public Health Administration) ความสำคัญของการบริหารสาธารณสุข แนวคิด ทฤษฎี หลักการ การบริหาร สาธารณสุข การกำหนดกลยุทธ์โดยใช้เครื่องมือ SWOT Analysis การกำหนดแผนงาน/โครงการ แก้ปัญหาสาธารณสุข การนำกระบวนการจัดการความรู้และกฎหมายสาธารณสุขมาใชใ้ นการบริหารงาน สาธารณสขุ ระบบสขุ ภาพไทย เศรษฐศาสตรส์ ่งิ แวดล้อม ระบบสารสนเทศทางสุขภาพและสง่ิ แวดลอ้ ม 602411 สหกิจศกึ ษา 6(640) (Co-operative Education) ฝึกปฏิบัติงานด้านวิชาชีพตามสาขาวิชาที่ศึกษาในสถานประกอบการหรือองค์กร ผู้ใช้บัณฑติ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 640 ชั่วโมง โดยบูรณาการความรู้ที่ได้จากการศกึ ษาในหลกั สูตรการศึกษา กับการปฏบิ ัติงานจริงเสมือนหนึง่ เป็นพนักงาน การจัดทำโครงการ การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน การเขียน รายงานโครงการ และการนำเสนอโครงการตามคำแนะนำของพนักงานที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาหรือ อาจารยน์ ิเทศ เพ่ือใหเ้ กิดทักษะ องค์ความรู้ในวิชาชีพและคุณธรรม จรยิ ธรรมในวชิ าชพี มีลักษณะนิสัยหรือ บุคลิกภาพที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน เพื่อให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงานที่พรอ้ มจะทำงานไดท้ ันทีเมื่อสำเรจ็ การศึกษา 602412 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพอนามัยส่งิ แวดลอ้ ม 6(640) (Field Practicum in Environmental Health) ฝึกปฏิบัติงานด้านวิชาชีพตามสาขาวิชาที่ศึกษาในหน่วยงานของภาครัฐหรือ ภาคเอกชน เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 640 ชั่วโมง โดยบูรณาการความรู้ที่ได้จากหลักสูตรการศึกษา ท้ัง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์นิเทศ เพื่อให้ได้รับความรู้ พัฒนาทักษะ เจตคติ และประสบการณใ์ นวชิ าชพี 3. กลุ่มวิชาชีพเฉพาะสาขา รหสั วชิ า ชอ่ื และคำอธบิ ายรายวชิ า น(ท-ป-ศ) 602221 พษิ วิทยาสิง่ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) (Environmental Toxicology) ความหมาย ความสำคัญและขอบเขตงานด้านพิษวิทยา แหล่งกำเนิด และ ช่องทางการได้รับสัมผัสสารพิษเข้าสู่ร่างกาย การดูดซึม การแพร่กระจาย การเปลี่ยนโครงสร้างและการ

27 กำจัดสารพิษออกจากร่างกาย กลไกการเกิดพิษในสิ่งแวดล้อม หลักการทดสอบความเป็นพิษของสารพิษ ระบบภูมิคมุ้ กนั ของร่างกาย อนั ตรายและผลกระทบของสารพษิ ตอ่ รา่ งกาย 602222 การสุขาภิบาลอาหาร และความปลอดภยั ในอาหาร 3(2-2-5) (Food Sanitation and Food Safety) ความสำคัญและหลักการสุขาภิบาลอาหาร โภชนาการเบือ้ งตน้ ความปลอดภัยใน อาหาร โรคและโทษที่เกิดจากอาหาร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสุขาภิบาลอาหาร การควบคุมป้องกัน อาหารให้สะอาดปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัย การป้องกันการปนเปื้อนจากเชื้อโรคและสารอันตราย การ สุขาภิบาลโรงฆ่าสัตว์ ตลาดสด ร้านจำหน่ายอาหาร โรงอาหาร แผงลอย และการสุขาภิบาลโรงงานผลิต อาหาร การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์เพื่อการเฝ้าระวังทางด้านสุขาภิบาลอาหาร การจัดการของเสีย มาตรฐานในการผลิตอาหาร 602223 การจัดการคณุ ภาพน้ำดม่ื น้ำใช้ 3(2-2-5) (Drinking Water and Water Supply Management) ความสำคญั และความต้องการนำ้ ด่ืมน้ำใชท้ างสาธารณสุข วัฏจกั รนำ้ นำ้ จาก บรรยากาศ นำ้ ใต้ดิน น้ำผวิ ดิน และคณุ ลักษณะของนำ้ ระบบการปรับปรงุ คุณภาพดว้ ยวิธีการทางภายภาพ และวธิ กี ารทางเคมี การสร้างและรวมตะกอน การตกตะกอน การกรอง การฆ่าเชอื้ โรค โรคทเี่ กดิ จากน้ำ เปน็ สอื่ มาตรฐานคุณภาพน้ำดืม่ น้ำใช้ การปรบั ปรงุ คณุ ภาพเพ่ือการอุตสาหกรรมและระบบการปรบั ปรุง คุณภาพนำ้ ขน้ั สงู การตดิ ตามตรวจสอบและเฝา้ ระวังคณุ ภาพน้ำดมื่ นำ้ ใช้ 602321 การจัดการขยะมูลฝอยและสิง่ ปฏกิ ูล 3(2-2-5) (Solid Waste and Excreta Management) สถานการณ์ ผลกระทบจากปัญหาขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล แหล่งกำเนิด ประเภท องค์ประกอบ การรวบรวม การเก็บขน การกำจัด หลักการและเทคโนโลยีในการจัดการขยะมูล ฝอยและสิ่งปฏิกูล กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ฝึกปฏิบัติการจัดการขยะ การติดตามตรวจสอบและ เฝา้ ระวังการจดั การขยะมูลฝอยและส่ิงปฏิกูล 602322 การจัดการกากอุตสาหกรรมและของเสยี อนั ตราย 3(3-0-6) (Industrial and Hazadous Waste Management) สถานการณ์ ผลกระทบจากปัญหากากอุตสาหกรรมและของเสียอันตราย แหล่งกำเนิด การจัดเก็บ การขนส่ง การกำจัด หลักการและเทคโนโลยีในการจัดการกากอุตสาหกรรม กฎหมายและขอ้ บังคับทเ่ี กย่ี วข้อง 602323 การจัดการมลพษิ ทางน้ำและเทคโนโลยกี ารบำบัดนำ้ เสีย 3(3-0-6) (Water Pollution Management and Waste Water Treatment Technology) แหลง่ กำเนิด ประเภท และคุณลกั ษณะของนำ้ เสีย ผลกระทบของนำ้ เสียตอ่ สุขภาพอนามยั ชมุ ชน และสงิ่ แวดลอ้ ม เทคโนโลยที ่ีใชใ้ นการบำบัดนำ้ เสียในระดบั ชมุ ชนและระดบั อุตสาหกรรม การออกแบบการควบคุมและการเดนิ ระบบบำบัดนำ้ เสีย มาตรฐานน้ำท้งิ และกฎหมายที่ เก่ยี วขอ้ งกับมลพิษทางน้ำ การเก็บและวธิ ีการตรวจวิเคราะห์คณุ ภาพน้ำและนำ้ เสีย การตดิ ตามตรวจสอบ และเฝา้ ระวงั มลพิษทางน้ำ

28 602324 ปฏิบตั ิการคณุ ภาพนำ้ 1(0-3-2) (Water quality Laboratory ) การเกบ็ ตวั อย่าง การตรวจวิเคราะห์คณุ ภาพนำ้ ทางด้านกายภาพ ชีวภาพและทาง เคมี การอา่ นผล การเปรยี บเทยี บผลกบั เกณฑ์มาตรฐานและการแปลผล 602325 การจดั การเหตุร้องเรียนดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) (Complain Management in Environmental Health) ความหมาย หลักการ ประเภทของกจิ การทเ่ี ป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพ แนวทางการ จัดการเหตุรอ้ งเรยี นด้านอนามยั สงิ่ แวดล้อม กฎหมายและขอ้ บงั คับทีเ่ กยี่ วขอ้ ง กรณีศกึ ษาด้านการจัดการ เหตรุ อ้ งเรยี นด้านอนามัยสิง่ แวดล้อม 602326 เทคโนโลยีการผลติ ทส่ี ะอาดเพอื่ การพฒั นาท่ีย่ังยนื 3(3-0-6) (Cleaner Production for Sustainable Development) แนวคิด หลักการเทคโนโลยีการผลิตทส่ี ะอาด การพัฒนาท่ียั่งยืน การวเิ คราะห์ กระบวนการผลิต การลดของเสีย การป้องกันมลพิษ การบริหารวางแผนจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการผลิตที่ สะอาด การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดเพ่ือการพฒั นาทีย่ งั่ ยนื ในภาคอุตสาหกรรม 602327 การสอื่ สารความเสี่ยงด้านสขุ ภาพ 3(3-0-6) (Health Risk Communication) ทฤษฎีและแนวคดิ ที่สำคญั ของการสอื่ สารความเส่ยี ง การประยุกต์วธิ ีการต่าง ๆ ในการเก็บรวบรวมและแลกเปลี่ยนข้อมูล การวางแผนการสื่อสารที่สอดคล้องกับสิ่งคุกคามสุขภาพ แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพ ทั้งระดับบุคคล องค์กร และสาธารณะ เทคนิคการเจรจาไกล่ เกลี่ยข้อพพิ าท 602328 การฝึกภาคสนามอนามยั สิง่ แวดล้อม 1(90) (Field Practicum in Environmental Health ) ฝึกปฏิบัติปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน การวินิจฉัยชุมชน การดำเนินงาน การพฒั นาสิง่ แวดลอ้ มในชมุ ชน การเขียนโครงการ และการประเมินผลโครงการอนามัยสงิ่ แวดลอ้ มในชุมชน 602421 การสุขาภิบาลที่พกั อาศยั และการจดั การพาหะนำโรค 3(3-0-6) (Housing Institution Sanitation and Pest Management) หลักการและวิธีการในการจัดสุขาภิบาลที่พักอาศัย อาคารสถานที่ การควบคุม แมลง และสัตว์นำโรค พาหะนำโรคที่มีความสำคัญทางด้านสาธารณสุข ลักษณะรูปร่าง วงจรชีวิต แหล่ง เพาะพนั ธแ์ุ ละที่พักอาศยั โรคและการนำโรค การป้องกัน ควบคมุ และการกำจัดพาหะนำโรค

29 602422 การจัดการมลพษิ ทางอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือน 3(3-0-6) (Air Pollution, Noise and Vibration Management) ลักษณะและแหล่งกำเนิดของมลพิษทาง อากาศ เสียงและความสั่นสะเทือน มลพษิ ทางอากาศที่เกิดจากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ ประเภทอุตสาหกรรมและมลพิษทางอากาศท่ีอาจจะเกิดข้ึน สถานการณก์ ารเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก หลกั การเบือ้ งต้นและอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการบำบัดมลพิษทาง อากาศ สมบัติทางกายภาพ การรับสัมผัสการจำแนกประเภทแหล่งกำเนิดมลพิษ ผลกระทบ การวัด การ ประเมินผลข้อมูลการวัดเสียงและความส่ันสะเทือน การป้องกันและการควบคุมมลพิษทางเสียง นโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบ มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับมลพิษทางอากาศ เสียงและความสั่นสะเทือน การติดตาม ตรวจสอบและการเฝา้ ระวังมลพษิ ทางอากาศ เสยี งและความส่นั สะเทอื น 602423 ปฏิบัติการการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์คุณภาพ 1(0-3-2) อากาศ เสยี ง และความสั่นสะเทือน ( Air quality, Noise and Vibration Laboratory ) การเกบ็ ตวั อยา่ ง การตรวจวิเคราะห์คณุ ภาพอากาศ เสยี ง และความสนั่ สะเทือน การอา่ นผล การเปรยี บเทยี บผลกับเกณฑ์มาตรฐานและการแปลผล 602424 การประเมนิ ผลกระทบทางอนามยั ส่งิ แวดล้อม 3(2-2-5) (Environmental Health Impact Assessment) ความหมาย ความสำคญั หลกั การ แนวคิด ประเภท กระบวนการ และประโยชน์ ของการประเมนิ ผลกระทบทางส่ิงแวดล้อมและสขุ ภาพ กฎหมายและข้อบงั คบั ทเี่ กีย่ วข้อง การฝึกปฏบิ ตั ิ ประเมนิ ผลกระทบทางสง่ิ แวดลอ้ มและสุขภาพ 602425 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตรใ์ นงานอนามัยส่ิงแวดลอ้ ม 3(2-2-5) (Geographic Information System in Environmental Health) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในงานสาธารณสุข ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับข้อมูลเชิง พื้นที่และการวิเคราะห์พื้นที่ โครงสร้าง แหล่งข้อมูล ประเภทของข้อมูล ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การประยุกต์ใช้ในงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การประเมินความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในชุมชน ด้วยระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ ฝกึ ปฏบิ ัติโปรแกรมสำเรจ็ รูปสำหรบั ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ 602426 ระบบมาตรฐานสำหรับการจัดการด้านส่งิ แวดลอ้ ม 2(2-0-4) (Standards for Environmental Management System) ระบบมาตรฐานระดบั ชาติและระดับสากลสำหรบั การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และข้อกำหนดของมาตรฐานต่างๆ ทส่ี ำคัญ เช่น ISO 14001 มาตรฐานระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health Accreditation : EHA) เปน็ ตน้

30 602427 สัมมนาอนามัยส่ิงแวดลอ้ ม 1(1-0-2) (Seminar on Environmental Health) ค้นคว้าแหล่งความรู้ที่นอกเหนือจากตำราที่เกี่ยวข้องกับงานด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม โดยตั้งอยู่บนพืน้ ฐานรายวิชาทางดา้ นอนามยั สิง่ แวดล้อม นำเสนอผลงานวิจัยหรือบทความทาง วิชาการและอภิปรายผลงานวิจัยท่ีเกีย่ วข้องกบั อนามยั สิ่งแวดล้อม โดยใชก้ ระบวนการสัมมนา 602428 การศกึ ษาค้นควา้ อิสระทางอนามยั สิ่งแวดล้อม 2(1-2-3) (Independent Study in Environmental Health) ความสำคญั ของการศกึ ษาค้นควา้ อสิ ระ ศึกษาคน้ คว้าโดยอสิ ระตามความสนใจ การทำวจิ ยั ในประเด็นปัญหาด้านอนามยั สิ่งแวดลอ้ ม ภายใต้การแนะนำของอาจารย์ที่ปรกึ ษา 602429 การเตรียมฝกึ สหกิจศกึ ษาและประสบการณ์วชิ าชีพ 1(0-45-0) (Preparation for Co-operative Education and Field Practicum) การเตรียมความพร้อมก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือสหกิจศึกษาในด้าน การรับรู้ ลักษณะ และโอกาสของการประกอบอาชีพ การพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ แรงจูงใจ และ คุณลักษณะทเี่ หมาะสมกับวชิ าชพี 602331 การพฒั นาสอ่ื สารสนเทศด้านสุขภาพ 2(1-2-3) (Health Information Media Development) ความหมาย ความสำคัญ ประเภท รูปแบบและช่องทางการสื่อสาร ประโยชน์ของ สื่อสารสนเทศด้านสุขภาพ แนวทางการพัฒนาสื่อสารสนเทศด้านสุขภาพ ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมพัฒนา สอื่ สารสนเทศด้านสุขภาพ 602332 นโยบายสาธารณะเพ่ือสขุ ภาพ 2(2-0-4) (Healthy Public Policy) ความหมาย ความสำคัญ หลักการ แนวคิด กระบวนการ และประโยชน์ของ นโยบายสาธารณะเพอ่ื สุขภาพ การพฒั นานโยบายสาธารณะเพื่อสขุ ภาพ กฎหมายและข้อบงั คบั ท่ีเกีย่ วข้อง 602333 ภยั พบิ ัติและผลกระทบตอ่ อนามัยสิ่งแวดล้อม 2(2-0-4) (Disaster and Environmental Health Impact) สถานการณ์การเกิดภัยพิบัติ ผลกระทบจากภัยพิบัติต่ออนามัยสิ่งแวดล้อม บทบาทและความสำคัญของนิเวศวิทยาในการวางแผนพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การประยุกต์ทฤษฎี ทางนเิ วศวิทยาไปใช้ในการศกึ ษาปญั หาทางอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม การป้องกันและควบคมุ โรคจากภัยพบิ ัติ

31 602334 เภสัชวิทยาเบอื้ งต้น 2(2-0-4) (Introduction to Pharmacology) หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับเภสัชวิทยา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา การแบ่งกลุ่ม ยา กลไกการออกฤทธิ์ทสี่ ำคญั สรรพคุณ วธิ ใี ช้ ขนาดท่ีใช้ อาการขา้ งเคยี งและขอ้ ห้ามของการใช้ยา บญั ชียา หลกั แหง่ ชาติ 602335 การดแู ลตนเองแบบทางเลือกเพ่อื พฒั นาสุขภาพ 2(2-0-4) (Alternative Selfcare for Health Improvement) ข้อจำกัดในการปอ้ งกันและรักษาโรคดว้ ยการแพทย์แผนปจั จบุ นั แนวคดิ ในการดแู ลสุขภาพ และรักษาโรคแบบทางเลือก นาฬิกาชวี ิต โรคและความเจบ็ ป่วยทีเ่ กิดจากการสะสมสารพิษและพลังงานพิษ การกินอาหารและดื่มน้ำอย่างถูกวิธี การปรับสมดุลธาตุด้วยสมุนไพรฤทธิ์ร้อนและฤทธิ์เย็น การออกกำลัง กายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบน้ำเหลือง การกัวซา การใช้น้ำอุ่นขับพลังงานพิษ การนวดฝ่าเท้าเพื่อ กระตุ้นการทำงานของอวยั วะภายใน การฝกึ จิตปล่อยวางอารมณ์ ค. หมวดวิชาเลือกเสรี เรียนไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยไม่ซ้ำ กับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การ สำเรจ็ หลักสูตรของสาขาวชิ าน้ี 3.2 ช่ือ-สกุล เลขบัตรประจำตวั ประชาชน ตำแหน่งทางวิชาการ และคุณวุฒิของอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ประจำ ท่ี เลขบัตรประจำตัวประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหสั วชิ า ชอ่ื รายวชิ า ช่อื –สกลุ ชื่อตำรา งานวจิ ยั ท่สี อนในหลกั สตู ร ตำแหน่งทางวิชาการ คุณวฒุ ิสูงสดุ (สาขาวชิ า) สถาบันการศกึ ษา (ปที ีส่ ำเรจ็ การศกึ ษา) สังกดั สาขาวชิ า/คณะ 1. 3730100353XXX ปราณตี ์ กลุ กระจ่าง และธนดิ า ผาติเสนะ. (2560). “ผล 602301 ระเบียบวิธีวิจัย นางธนิดา ผาตเิ สนะ ของโปรแกรมการส่งเสรมิ สุขภาพทมี่ ีตอ่ พฤติกรรมการลด รองศาสตราจารย์ น้ำหนักของนักศกึ ษาระดบั อุดมศกึ ษาทม่ี ีภาวะน้ำหนักตัว ส.ด. (สุขศึกษา) เกินมาตรฐาน”. วารสารวิจยั และพฒั นาระบบสขุ ภาพ. มหาวิทยาลยั มหิดล (2544) 10(3) : 79-87. สาขาวิชาสาธารณสุขชมุ ชน/ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์

32 ที่ เลขบตั รประจำตวั ประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหสั วชิ า ชือ่ รายวิชา ที่สอนในหลกั สตู ร ช่ือ–สกลุ ชอ่ื ตำรา งานวจิ ัย ตำแหนง่ ทางวิชาการ คุณวฒุ สิ ูงสดุ (สาขาวิชา) สถาบนั การศึกษา (ปที ีส่ ำเรจ็ การศกึ ษา) สงั กัดสาขาวิชา/คณะ มยรุ ี ประชน และธนดิ า ผาตเิ สนะ. (2560). “ผลของ โปรแกรมการส่งเสรมิ การรับรคู้ วามสามารถของตนเอง ของผู้ดูแลผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดสมอง”. วารสารวิจัยและ พฒั นาระบบสขุ ภาพ. 10(3) : 134-140. วชั ระ เกษทองมา และธนิดา ผาตเิ สนะ. (2560). “การ พฒั นาคณุ ภาพการให้บริการท่เี อ้อื อาทรกับผสู้ ูงอายทุ ี่มา รับบริการ ในคลินกิ เบาหวาน โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพ ตำบลหนองพลวงมะนาว อำเภอเมือง จงั หวัด นครราชสมี า”. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสขุ ภาพ. 10(3) : 151-158. Phatisena T, Bureemas J and Wongwarissara P. (November 2016). “A Study of Herbal Plants Biodiversity at Polsongkhram Community Forest for the Illness Treatment Used in Pharmaceutical Recipes of Folk Healer at Nakhon Ratchasima Province”. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Science and Technology). 11(Special Edition) : 78-87.. อญั ญาณี สาสวน และธนิดา ผาตเิ สนะ. (2558). “ผลของ โปรแกรมการเสรมิ สร้างพลังอำนาจทีม่ ีต่อการฟน้ื ฟสู ภาพ ของผปู้ ว่ ยหลังไดร้ ับการผา่ ตดั เปลยี่ นขอ้ เข่าเทยี ม”. ใน รายงานการประชมุ วชิ าการและเสนอผลงานวจิ ัย ระดับชาติ สรา้ งสรรคแ์ ละพฒั นา เพอ่ื กา้ วหน้าสู่ ประชาคมอาเซยี น ครง้ั ท่ี 2. หนา้ 110-119. นครราชสมี า : วิทยาลยั นครราชสมี า. จนั ทกานต์ วลัยเสถียร และธนดิ า ผาตเิ สนะ. (2558). “ผลของโปรแกรมการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพใน บุคลากรกลุ่มเส่ียงโรคความดันโลหิตสงู ของสำนักงาน

33 ที่ เลขบัตรประจำตัวประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหัสวชิ า ชือ่ รายวิชา ท่สี อนในหลกั สตู ร ช่อื –สกลุ ชอื่ ตำรา งานวิจยั ตำแหนง่ ทางวิชาการ คุณวฒุ สิ ูงสุด (สาขาวชิ า) สถาบนั การศึกษา (ปที สี่ ำเรจ็ การศึกษา) สังกดั สาขาวิชา/คณะ ป้องกันควบคมุ โรคที่ 5 จงั หวดั นครราชสมี า”. ใน รายงาน การประชมุ วชิ าการเสนอผลงานวจิ ยั ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา แหง่ ชาติ คร้ังท่ี 34. หน้า 750-759. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . จรวี ัฒนา กล้าหาญ และธนดิ า ผาตเิ สนะ. (2558). “แนวทางการพัฒนาจดั สวสั ดกิ ารสงั คมสำหรบั ผู้สูงอายทุ ่ี รับเบี้ยยังชีพ เทศบาลหนองไผล่ อ้ ม อำเภอเมอื ง จงั หวัด นครราชสมี า”. ใน รายงานการประชมุ วชิ าการและ นำเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาตแิ ละนานาชาติ คร้งั ท่ี 6. หน้า 137-146. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวน สุนันทา Phatisena, T. (2015). “A Study of Health Status and Health Care for Senior Citizen at Mueang District, Nakhon Ratchasima”. Review of Integrative Business and Economics Research. Vol 4(NRRU) : 175-182. Phatisena, T. (2015). “Knowledge Management of Local Wisdom in Health Care of Parpartum Women by Tub Moa Gluea Method”. In The International conference Proceeding ASEAN Community Knowledge Networks for the Economy Society, Culture, and Environment Stability. Chiang Rai : Chiang Rai Rajabhat University. ธนิดา ผาตเิ สนะ. (2557). “การศกึ ษาการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของผ้สู งู อายุในพ้ืนทเี่ มอื งชมุ ชนสามัคคี ตำบล

34 ท่ี เลขบตั รประจำตวั ประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหสั วชิ า ชอ่ื รายวชิ า ท่สี อนในหลกั สูตร ช่อื –สกลุ ช่ือตำรา งานวจิ ยั ตำแหน่งทางวชิ าการ คุณวุฒสิ งู สดุ (สาขาวิชา) สถาบันการศกึ ษา (ปีทส่ี ำเร็จ การศกึ ษา) สงั กดั สาขาวิชา/คณะ ตลาด อำเภอเมือง จงั หวัดมหาสารคาม”. วารสารวจิ ัย เพ่อื การพฒั นาเชิงพนื้ ที่. 6(6) : 68-69. Phatisena, T. (2014). “Folk Healers and Holistic Health Care : A Case Study of Polsongkram Subdistrict, Nonsong District, Nakhon Ratchasima Province”. In International Conference Proceedings ASEAN Community Knowledge Network for the Economy, Society, Culture, and Environment Stability. P275-281. Chiang Rai : Chiang Rai Rajabhat University. Satayavongthip B, Phatisena T, Santiwong C, Aeksanti T. (2014). “Teen-Parenting Behavior to Prevent a Teenager from Premature Pregnancy”. Review of Integrative Business and Economics Research. Vol3(NRRU) : 115-122. 2. 3409940652XXX พฒุ พิ งศ์ สตั ยวงศท์ ิพย์, อนุสรณ์ เปา๋ สูงเนิน และทิวากรณ์ 413101 การสาธารณสุข นายพฒุ พิ งศ์ สตั ยวงศ์ทิพย์ รองศาสตราจารย์ ราชูธร. (กนั ยายน - ธันวาคม 2560) “การพัฒนาความรู้ 602103 ประชากรศาสตรแ์ ละ ปร.ด. (ประชากรศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล (2544) และการปฏบิ ัตเิ รือ่ งการสขุ าภบิ าลอาหารของ การคำนวณสถติ ิชีพ สาขาวิชาอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย/ ผู้ประกอบการรถเร่จำหนา่ ยอาหารอำเภอสงู เนิน จงั หวดั 602334 เภสัชวิทยาเบื้องต้น คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ นครราชสมี า”. วารสารราชพฤกษ์. 15(3) : 79-87. 602313 การบรหิ ารงาน สาธารณสุข ณัฐยาน์ เรอื งธนรตั น์ และพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์. (2560). “ปจั จัยทส่ี ง่ ผลตอ่ พฤติกรรมการใช้ยาแก้ปวดของผู้มาซอื้ ยาทีร่ ้านขายยาประเภท ขย 2 ในอำเภอเทพสถิต จังหวดั ชยั ภมู ิ”. ใน รายงานสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการ และนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ คร้ังที่ 7 มหาวิทยาลัยเพื่อรับใชส้ งั คม พลังขับเคลื่อนประเทศไทย

35 ที่ เลขบตั รประจำตวั ประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหสั วชิ า ชอื่ รายวิชา ชื่อ–สกลุ ชือ่ ตำรา งานวจิ ยั ท่สี อนในหลกั สูตร ตำแหน่งทางวชิ าการ คณุ วฒุ สิ ูงสุด (สาขาวชิ า) สถาบันการศกึ ษา (ปที ี่สำเรจ็ การศึกษา) สงั กดั สาขาวชิ า/คณะ สู่ยุค 4.0. นครราชสมี า : มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า. ปวีณา ศริ ิโชติ และพุฒิพงศส์ ตั ยวงศท์ พิ ย์. (2560). “ปจั จัย ท่ีส่งผลตอ่ การปฏิบตั ติ ามนโยบายลดพงุ ลดโรคด้วยหลัก 3 อ ของบคุ ลากรโรงพยาบาลมหาราช นครราชสมี า”. ใน รายงานสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการและนำเสนอ ผลงานวจิ ัยระดับชาติ คร้งั ที่ 7 มหาวิทยาลยั เพื่อรบั ใช้ สังคม พลังขบั เคล่ือนประเทศไทยสยู่ คุ 4.0. นครราชสมี า : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า. มาตุภมู ิ พอกระโทก และพุฒิพงศ์ สตั ยวงศท์ พิ ย์. (2557). “การพฒั นาการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนในการเฝ้าระวังและ ปอ้ งกนั โรคไขเ้ ลือดออกโดยกระบวนการเสริมพลังอำนาจ ตำบลดา่ นเกวยี น อำเภอโชคชัย จงั หวัดนครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ์. 12(3) : 123-131. Satayavongthip B, Phatisena T, Santiwong C, Aeksanti T. (2014). “Teen-Parenting Behavior to Prevent a Teenager from Premature Pregnancy”. Review of Integrative Business and Economics Research. Vol3(NRRU) : 115-122. 3. 3360600629XXX ฐิตมิ า โพธ์ชิ ยั , สริ ิสุดา ฐานะปตั โต, ปนดั ดา วงษ์สนั เทยี ะ, 602331 การพัฒนาสอ่ื นางสาวฐติ มิ า โพธ์ชิ ัย ชญานิศ ภิรมยก์ ิจ และพงศธร ไขโพธ์ิ. (2561). สารสนเทศด้านสุขภาพ อาจารย์ “พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการของ วท.ม. (โภชนศาสตร์) นกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล (2550) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา”. ใน รายงานสืบ สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน/ เนือ่ งจากการประชมุ วิชาการระดับชาติ ครั้งท่ี 10 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม. หน้า 2036-2044. นครปฐม : มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม. 4. 3310900453XXX วราภรณ์ ชาตพิ หล, สิรสิ ดุ า ฐานะปัตโต, กรองกาญจน์ 602211 การปฐมพยาบาลและ นางสาวสริ สิ ดุ า ฐานะปัตโต จนั ทร์โพธิ์, ชลตกิ านต์ เพชรรัตน์ และเบญจวรรณ ชลอ การบำบดั โรคเบื้องต้น

36 ท่ี เลขบัตรประจำตัวประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหสั วิชา ชอื่ รายวชิ า ชือ่ –สกลุ ช่ือตำรา งานวิจยั ทสี่ อนในหลกั สตู ร ตำแหนง่ ทางวชิ าการ คุณวฒุ สิ ูงสุด (สาขาวิชา) สถาบนั การศึกษา (ปีทสี่ ำเร็จ การศกึ ษา) สังกดั สาขาวิชา/คณะ อาจารย์ กลาง. (2561). “ปัจจยั ทมี่ ีความสมั พันธ์กบั พฤตกิ รรมการ 602428 การศกึ ษาค้นคว้าอสิ ระ วท.ม. (โภชนศาสตร)์ บริโภคอาหารของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาตอนปลาย ของ ทางอนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล (2552) โรงเรยี นโรงเรียนแหง่ หนึง่ ในจงั หวัดนครราชสมี า”. ใน 602332 นโยบายสาธารณะเพื่อ สาขาวชิ าอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม/ รายงานสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการระดับชาติ สขุ ภาพ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ วทิ ยาลยั นครราชสมี า คร้ังท่ี 5 วิจัยและพัฒนาสกู่ าร 602327 การสือ่ สารความเสี่ยง ขบั เคลือ่ น อยา่ งยงั่ ยืน. หนา้ 406 - 418. นครราชสีมา: ด้านสุขภาพ วิทยาลยั นครราชสมี า. 413214 โรคตดิ ตอ่ และโรคไม่ Soraya J Kaewpitoon, Sirisuda Thanapatto, ตดิ ต่อ Wimonya Nuathong, Ratana Rujirakul, et al. (2016). “Effectiveness of a Health Educational Program based on Self-Efficacy and Social Support for preventing liver fluke infection in rural people of Surin Province, Thailand”. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention. 17(3) :1111–1114. 5. 3430101012XXX พฒุ ิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์, อนุสรณ์ เปา๋ สูงเนิน และทวิ ากรณ์ 602111 อนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม นายทิวากรณ์ ราชูธร ราชธู ร. (กนั ยายน - ธันวาคม 2560) “การพัฒนาความรู้ เบ้อื งต้น ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ และการปฏบิ ตั เิ ร่อื งการสขุ าภบิ าลอาหารของ 602333 ภัยพิบตั ิและผลกระทบ ส.ด. ผปู้ ระกอบการรถเรจ่ ำหน่ายอาหารอำเภอสงู เนนิ จงั หวดั ต่ออนามยั สิง่ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ (2561) นครราชสมี า”. วารสารราชพฤกษ์. 15(3) : 79-87. 602326 เทคโนโลยีการผลติ ที่ สาขาวชิ าอนามยั สงิ่ แวดลอ้ ม/ สะอาดเพ่อื การพัฒนาท่ีย่งั ยนื คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ทวิ ากรณ์ ราชูธร และนรา ระวาดชัย. (2560). “ปัจจัยท่ีมี 602411 สหกิจศึกษา ผลตอ่ คณุ ภาพน้ำด่ืมตหู้ ยอดเหรยี ญอตั โนมตั ิ ชมุ ชนหน้า 602412 การฝกึ ประสบการณ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา”. ใน รายงานสบื วิชาชพี อนามยั ส่งิ แวดล้อม เนือ่ งจากการประชมุ วชิ าการระดับชาตพิ บิ ลู สงคราม 602221 พษิ วิทยาสิง่ แวดล้อม วจิ ัย ครงั้ ที่ 3 Thailand 4.0 นวตั กรรมการวิจยั เพอื่ การ 602422 การจัดการมลพษิ ทาง พฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื . หน้า 179-185. พิษณโุ ลก : อากาศ เสยี งและความ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม. สน่ั สะเทือน

37 ท่ี เลขบัตรประจำตวั ประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหสั วชิ า ชื่อรายวชิ า ช่ือ–สกลุ ชือ่ ตำรา งานวิจัย ท่สี อนในหลกั สตู ร ตำแหน่งทางวิชาการ คณุ วุฒิสงู สดุ (สาขาวชิ า) สถาบันการศกึ ษา (ปที สี่ ำเรจ็ การศึกษา) สังกัดสาขาวิชา/คณะ ทิวากรณ์ ราชธู ร และนพรตั น์ สรฤทธิ์. (2558). “ทัศนคติ 602423 ปฏิบัติการเก็บตวั อย่าง และปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ พฤติกรรมการสบู บหุ ร่ีในช่วงอายุ 15- และการวเิ คราะห์คณุ ภาพอากาศ 18 ปี ของนกั เรยี นโรงเรยี นมัธยมศึกษาแหง่ หน่ึงในอำเภอ เสียงและความสัน่ สะเทือน โนนสงู จงั หวัดนครราชสีมา”ใน รายงานสบื เนื่องจากการ ประชมุ วิชาการระดับชาตพิ ะเยาวิจยั คร้ังท่ี 4. พะเยา : มหาวิทยาลยั พะเยา. ทิวากรณ์ ราชูธร และรัชนี แสงพรมพรึก. “พฤติกรรมเสยี่ ง ในการใชส้ ารเคมกี ำจดั ศตั รพู ืชของเกษตรกรในเขตพืน้ ที่ รบั ผิดชอบโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลด่านจาก อำเภอโนนไทย จังหวดั นครราชสมี า”. ใน รายงานสบื เนือ่ งจากการประชมุ วิชาการระดับชาตมิ หาวิทยาลัย ทกั ษิณ. สงขลา : มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ . 6. 3301201063XXX อรรถวิทย์ สงิ ห์ศาลาแสง และทองทิพย์ สละวงษล์ ักษณ.์ 413312 วทิ ยาการระบาด นายอรรถวทิ ย์ สงิ ห์ศาลาแสง (2561). “การพัฒนาสมรรถนะผ้นู ำนกั เรียนในการจัดการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ขยะในครวั เรอื น”. ใน รายงานสืบเน่ืองจากการประชมุ ส.ด. วชิ าการระดับชาติ ราชภัฏเลยวชิ าการ ประจำปี 2561. มหาวิทยาลยั ขอนแก่น (2560) หน้า 515-523. เลย : มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย. สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน/ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ทองทพิ ย์ สละวงษ์ลกั ษณ์, ธรี ะวุธ ธรรมกุล. และอรรถ วิทย์ สงิ หศ์ าลาแสง. (2560). “การพฒั นาศักยภาพของ อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหมบู่ า้ น ในการจดั การ ปญั หาสรุ าในชมุ ชนเขตเมอื งกึง่ ชนบท ตาบลตลาด อำเภอ เมืองนครราชสีมา จงั หวัดนครราชสีมา”. ใน รายงานสืบ เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ด้าน วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ ครงั้ ที่ 1. หน้า 1-8. เชียงราย : มหาวิทยาลยั แมฟ่ า้ หลวง. ก 7. 3300100060XXX ธวัชชัย เอกสนั ติ และวรลักษณ์ สมบรู ณ์นาดี. (2559). 413213 อาชีวอนามยั และ นางสาววรลกั ษณ์ “สถานการณแ์ ละแนวโน้มการใช้ชวี ิตดา้ นสขุ ภาพ ดา้ น ความปลอดภยั สมบรู ณน์ าดี การเรยี นรู้ และดา้ นสงั คมของเดก็ และเยาวชนในภาคตนั

38 ท่ี เลขบัตรประจำตัวประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหสั วิชา ช่อื รายวชิ า ชื่อ–สกลุ ชอ่ื ตำรา งานวิจัย ทสี่ อนในหลกั สตู ร ตำแหน่งทางวชิ าการ คณุ วุฒสิ งู สดุ (สาขาวชิ า) สถาบันการศกึ ษา (ปที ี่สำเร็จ การศึกษา) สังกัดสาขาวชิ า/คณะ อาจารย์ ออกเฉยี งเหนอื กรณศี กึ ษาเขตสขุ ภาพที่ 9 นครชัย วท.ม. (สขุ ศาสตร์อุตสาหกรรม บรุ ินทร์”. ใน รายงานสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการ และความปลอดภยั ) และเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ คร้ังที่ 3 กา้ วสู่ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล (2551) ทศวรรษท่ี 2 บรู ณาการงานวจิ ัย ใช้องคค์ วามร้สู คู่ วาม สาขาวชิ าอาชีวอนามัยและ ยัง่ ยนื . หนา้ 384-392. นครราชสมี า : วทิ ยาลัย ความปลอดภัย/ นครราชสมี า. คณะสาธารณสุขศาสตร์ 8. 3249900193XXX ปรัชญาพร รุจาคม และจารวุ รรณ ไตรทพิ ยส์ มบัติ. 413214 โรคติดต่อและโรคไม่ นางสาวจารุวรรณ (เมษายน-กนั ยายน 2560). “ผลของโปรแกรมสง่ เสรมิ ตดิ ต่อ ไตรทพิ ยส์ มบตั ิ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลกู โดยประยุกตใ์ ช้แบบ อาจารย์ แผนความเชอ่ื ด้านสุขภาพกบั แรงสนบั สนุนทางสงั คม ปร.ด. (ชวี เวชศาสตร)์ ของสตรอี ายุ 35-60 ปี”. วารสารวิชาการสำนกั งาน มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ (2555) ปอ้ งกนั ควบคุมโรคท่ี 9 นครราชสีมา. 23(2) : 35-55. สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน/ สภุ ารตั น์ สดี า และจารวุ รรณ ไตรทิพย์สมบตั ิ. (มกราคม- คณะสาธารณสุขศาสตร์ มีนาคม 2559). “ผลของโปรแกรมสขุ ศึกษาตอ่ การ ควบคุมระดบั ความดนั โลหิตในกลมุ่ เสี่ยงโรคความดนั โลหติ สงู ตำบลโคกสนวน อำเภอชำนิ จงั หวดั บรุ ีรมั ย์”. วารสารวิจยั สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . 9(1) : 40-47. จารวุ รรณ ไตรทพิ ยส์ มบตั ิ และนนั ทนา คะลา. (2559). “การปฏบิ ัตติ นทางด้านโภชนาการและสุขภาพของ นักศกึ ษา ท่มี ีภาวะนำ้ หนกั เกนิ มาตรฐานและอ้วน”. ศรนี ครินทร์เวชสาร. 31(4) : 224-230. ณรงค์ พันธศ์ รี และจารวุ รรณ ไตรทพิ ย์สมบตั ิ. (ตลุ าคม- ธันวาคม 2558). “ผลของโปรแกรมส่งเสรมิ สุขภาพ ในผู้ ที่มีนำ้ หนักเกนิ มาตรฐานและอว้ น ในตำบลเมอื งยาง อำเภอชำนิ จงั หวดั บุรรี มั ย์”. วารสารวิจัยสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . 8(4) : 42-49.

39 ท่ี เลขบตั รประจำตัวประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหสั วิชา ชื่อรายวิชา ชอ่ื –สกลุ ชอ่ื ตำรา งานวิจัย ทสี่ อนในหลกั สตู ร ตำแหน่งทางวชิ าการ คณุ วฒุ ิสูงสุด (สาขาวชิ า) สถาบันการศกึ ษา (ปีท่สี ำเรจ็ การศกึ ษา) สังกดั สาขาวิชา/คณะ จารุวรรณ ไตรทิพยส์ มบตั ิ และคณะ. (2558). “พฤติกรรม การดแู ลสขุ ภาพตามหลัก 11 อ. ของผู้สูงอาย”ุ . ศรีนครินทร์เวชสาร. 30(5) : 482-490. จารวุ รรณ ไตรทพิ ยส์ มบตั ิ และคณะ. (2557). “การศึกษาความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการใช้ สารเคมกี ำจดั ศตั รูพชื ของเกษตรกรบา้ นหว้ ยสามขา ตำบลทพั ร้ัง อำเภอพระทองคำ จงั หวดั นครราชสมี า”. ศรนี ครินทร์เวชสาร. 29(5) : 429-434. 9. 3310900536XXX นนั ทนา คะลา และคณะ. (2560). “สัมพันธภาพ 413213 อาชวี อนามยั และ นางสาวนันทนา คะลา ครอบครวั และสังคมกบั ภาวะความสุขของผู้สงู อายุ ในเขต ความปลอดภยั อาจารย์ พน้ื ท่รี บั ผดิ ชอบโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลพันดงุ วท.ม. (อาชีวอนามัยและความ ตำบลพันดงุ อำเภอขามทะเลสอ จังหวดั นครราชสีมา”. ใน ปลอดภัย) รายงาน สืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการปี 2560 มหาวทิ ยาลยั บรู พา (2555) มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้. เชยี งใหม่ : มหาวิทยาลยั แม่โจ.้ สาขาวิชาอาชีวอนามยั และ จารุวรรณ ไตรทิพยส์ มบตั ิ และนันทนา คะลา. (2559). ความปลอดภยั / “การปฏบิ ตั ติ นทางด้านโภชนาการและสขุ ภาพของ คณะสาธารณสุขศาสตร์ นกั ศึกษา ที่มีภาวะน้ำหนักเกนิ มาตรฐานและอ้วน”. ศรี นครินทรเ์ วชสาร. 31(4) : 224-230. นนั ทนา คะลา และคณะ. (2558). “ปัจจยั ทมี่ ผี ลตอ่ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษา ตอนต้น ในตำบลสะแกราช อำเภอปักธงชัย จังหวัด นครราชสมี า”. ใน รายงานสืบเน่อื งจากการประชุม วิชาการและการนำเสนอผลงานวจิ ยั ระดับชาติและ นานาชาติ ราชภัฏวิจัย ครงั้ ท่ี 3. หนา้ 6-14. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรธี รรมราช. 10. 3301200989XXX จิรญั ญา บรุ ีมาศ, ณฏั ฐป์ วินท์ ดีศาสตร์ และนรา 602101 กายวภิ าคศาสตร์และ นางสาวจริ ญั ญา บรุ ีมาศ อาจารย์ ระวาดชัย. (ตลุ าคม-ธนั วาคม 2561). “การประเมิน สรีรวิทยาของมนษุ ย์ วท.ม. (เภสัชวิทยา) หลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าสาธารณสุข ชมุ ชน (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2555) คณะสาธารณสขุ 602221 การปฐมพยาบาลและ การบำบัดโรคเบ้ืองต้น

40 ที่ เลขบัตรประจำตัวประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหสั วชิ า ชื่อรายวิชา ชอ่ื –สกลุ ช่อื ตำรา งานวจิ ยั ทีส่ อนในหลกั สูตร ตำแหน่งทางวิชาการ คุณวฒุ สิ ูงสดุ (สาขาวิชา) สถาบนั การศึกษา (ปที สี่ ำเรจ็ การศกึ ษา) สงั กัดสาขาวชิ า/คณะ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (2550) ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า”. วารสาร 602312 กฎหมายสาธารณสขุ สาขาวิชาอาชวี อนามยั และ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 20(4) : 13-21. สง่ิ แวดลอ้ ม และจรยิ ธรรม ความปลอดภยั / จริ ญั ญา บรุ มี าศ และณัฏฐ์ปวนิ ท์ ดีศาสตร.์ (2561). วชิ าชีพ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ “ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื ท่ีมีต่อ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น และทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ ง บคุ คล ในรายวิชากายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วิทยาของ มนษุ ย์ 2”. ใน รายงานสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการ ระดับชาติ คร้ังที่ 3 มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี วันท่ี 7 กันยายน 2561. หนา้ 422-430. กาญจนบรุ ี : มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ .ี จิรัญญา บุรีมาศ และคณะ. (2560). “พฤตกิ รรมการใช้ยา ชนิดรับประทานของผปู้ ่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อำเภอ โชคชยั จงั หวดั นครราชสีมา”. ใน รายงานสืบเนือ่ งจาก การประชมุ วิชาการประจำปี 2560 มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ.้ หนา้ 555-562. เชยี งใหม่ : มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ.้ จิรัญญา บุรีมาศ และคณะ. (2560). “ความชกุ และปจั จัย ท่ีมคี วามสมั พนั ธ์กบั ภาวะสมองเสอื่ มในผ้สู งู อายุ ตำบล เฉลยี ง อำเภอครบรุ ี จังหวดั นครราชสีมา”. ใน รายงานสืบ เนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการระดับชาติ มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏภูเกต็ คร้งั ที่ 9. หนา้ 1493-1501. ภูเกต็ : มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภูเกต็ . Phatisena T, Bureemas J and Wongwarissara P. (November 2016). “A Study of Herbal Plants Biodiversity at Polsongkhram Community Forest for the Illness Treatment Used in Pharmaceutical Recipes of Folk Healer at Nakhon Ratchasima Province”. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Science and Technology). 11(Special Edition) : 78-87..

41 ที่ เลขบตั รประจำตวั ประชาชน ผลงานทางวชิ าการ รหสั วิชา ช่ือรายวชิ า ท่สี อนในหลกั สูตร ชือ่ –สกลุ ช่อื ตำรา งานวิจัย ตำแหน่งทางวชิ าการ คณุ วุฒสิ งู สุด (สาขาวชิ า) สถาบนั การศึกษา (ปที ี่สำเร็จ การศกึ ษา) สังกัดสาขาวชิ า/คณะ จิรญั ญา บุรีมาศ และชนาธิป สันตวิ งศ.์ (มกราคม-เมษายน 2559). “การประเมินหลักสตู รสาธารณสขุ ศาตรบณั ฑิต พ.ศ. 2553 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า.” วารสารราชพฤกษ.์ 14(1) : 53-59. 11. 1309900078XXX ภษิ ณี วิจนั ทกึ , จรี าภรณ์ เจริญสุข, ธชิ าภรณ์ ขนุ แก้ว, 413312 วทิ ยาการระบาด นางสาวภิษณี วิจันทกึ วไิ ลพร แนวหาร, สริ วิ ิมล แววกระโทก และสภุ าพร มุง่ อาจารย์ อยากกลาง. (2560). “ความรู้และพฤตกิ รรมการออกกำลัง วท.ม. (สาธารณสขุ ศาสตร์) กายของนกั ศึกษาภาคปกติ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล (2555) มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา”. .ใน รายงานสบื สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน/ เน่ืองจากการประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ราชภฏั เพชรบุรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ วจิ ัย ศลิ ปวฒั นธรรม ครง้ั ที่ 4 ยกระดบั ภมู ิปัญญาสร้าง มูลค่าสงู สงั คม”. เพชรบุรี : มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี. ภษิ ณี วิจนั ทึก และคณะ. (2559). “พฤติกรรมการส่งเสรมิ สุขภาพของผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลดา่ นเกวยี น อำเภอ โชคชัย จงั หวดั นครราชสีมา”. ใน รายงานสบื เน่อื งจาก การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ และนานาชาติ ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานีวิจยั ครง้ั ที่ 12. หน้า 417-427. สุราษฎร์ ธานี : มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี. 12. 5660490009XXX ภิษณี วิจันทกึ , มารตุ ต้ังวัฒนาชุลพี ร และจักรกริช 413215 วิธีการทางสถิติใน นายรชานนท์ ง่วนใจรกั หิรัญเพชรรตั น.์ (2558). “ฤทธิย์ ับย้งั แบคทเี รียก่อโรคใน งานวิจยั สุขภาพ อาจารย์ ระบบทางเดินหายใจของสารสกดั บวั ผุด”. ใน รายงาน 602311 สขุ ศึกษาและ สบื เน่อื งจากการประชุมวิชาการระดบั ชาตกิ ารแพทย์ แผนไทย ครั้งที่ 1. หนา้ 95-102. สงขลา : มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร.์ รชานนท์ งว่ นใจรัก, พัชรี ศรกี ตุ า, นติ ยา ศรีบุญเรือง, ขวัญกมล พรมผล และจริ ัชยา นะรารมั ย์. (2560). “การ รบั รู้นิสยั การบรโิ ภคอาหารเสีย่ งตอ่ โรคพยาธใิ บไมต้ ับ ใน

42 ท่ี เลขบัตรประจำตวั ประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหัสวิชา ช่ือรายวชิ า ชือ่ –สกลุ ชอื่ ตำรา งานวจิ ยั ท่สี อนในหลกั สตู ร ตำแหนง่ ทางวชิ าการ คณุ วุฒิสูงสุด (สาขาวิชา) สถาบันการศกึ ษา (ปที ่สี ำเร็จ การศกึ ษา) สงั กดั สาขาวิชา/คณะ Ph.D. (Public Health) ชมุ ชนแหง่ หนง่ึ ”. ใน รายงานสืบเนือ่ งจากการประชมุ พฤติกรรมศาสตรส์ าธารณสุข มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (2559) วชิ าการประจำปี 2560 มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้. เชียงใหม่ : 602312 กฎหมายสาธารณสุข สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชุมชน/ มหาวทิ ยาลยั แม่โจ.้ สงิ่ แวดล้อม และจรยิ ธรรม คณะสาธารณสุขศาสตร์ พัชรี ศรกี ตุ า, นรา ระวาดชยั และรชานนท์ งว่ นใจรัก. วิชาชพี (2560). “ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความรู้ ทศั นคติ ต่อ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของเดก็ นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4-6 โรงเรยี นบา้ นบงึ สาร อำเภอเมืองนครราชสมี า จังหวดั นครราชสมี า”. ใน รายงานสบื เนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรู ณ์ คร้งั ที่ 4. หน้า 328-336. เพชรบูรณ์ : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ.์ Jirapornkul C, et al. (2016). “Stroke knowledge among various suburban communities in KhonKaen Province, Thailand”. J Pub Health Dev. 14(3) : 13-27. ชนากาน สงิ หห์ ลง, ชนญั ญา จริ ะพรกุล และรชานนท์ ง่วนใจรกั . (2558). “พฤติกรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพผสู้ ูงอายุ ตำบลเวยี งคำ อำเภอกุมภวาปี จงั หวดั อดุ รธานี”. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร. 18(3) : 219-229. 13. 3499900168XXX พัชรี ศรกี ตุ า, ณัฐธดิ า พมิ พท์ อง, วราภรณ์ ขานสันเทยี ะ, 602321 การจดั การมลู ฝอยและ นางพัชรี ศรกี ตุ า สกุลรตั น์ ใสพลกรงั , สุดารคั น์ ลศิ นันท์ และสุนสิ า หยุด สง่ิ ปฏกิ ลู 602322 การจัดการกาก อาจารย์ กระโทก. (2561). “สภาพปญั หาสขุ าภบิ าลของตลาดสด อตุ สาหกรรมและของเสยี ส.ด. ดา้ นกายภาพและด้านการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคของตลาด อนั ตราย มหาวิทยาลยั ขอนแก่น (2558) ประเภทท่ี 1 ในเขตเทศบาลนครนครราชสมี า จังหวดั 602325 การจัดการเหตุ สาขาวชิ าอนามัยสงิ่ แวดลอ้ ม/ นครราชสมี า”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ร้องเรียนดา้ นอนามยั สงิ่ แวดลอ้ ม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม คร้ังท่ี 10 น้อมนำศาสตร์ 602331 การพัฒนาสื่อ พระราชา สกู่ ารวิจัย และพฒั นาทอ้ งถน่ิ อย่างยัง่ ยืน”. สารสนเทศด้านสุขภาพ

43 ที่ เลขบัตรประจำตวั ประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหสั วชิ า ช่ือรายวิชา ชอ่ื –สกลุ ชื่อตำรา งานวิจยั ทส่ี อนในหลกั สูตร ตำแหน่งทางวิชาการ คุณวฒุ สิ งู สดุ (สาขาวิชา) สถาบันการศกึ ษา (ปีที่สำเรจ็ การศกึ ษา) สงั กดั สาขาวิชา/คณะ หน้า 1996-2006. นครปฐม : มหาวิทยาลยั ราชภฏั 602421 การสุขาภิบาลทีพ่ ัก นครปฐม. อาศยั และการจดั การพาหะนำ รชานนท์ งว่ นใจรัก, พัชรี ศรกี ุตา, นติ ยา ศรีบุญเรือง, โรค ขวัญกมล พรมผล และจริ ัชยา นะรารมั ย.์ (2560). “การ 602424 การประเมินผลกระทบ รบั รนู้ ิสยั การบรโิ ภคอาหารเส่ยี งตอ่ โรคพยาธิใบไมต้ บั ใน ทางส่ิงแวดล้อมและสุขภาพ ชมุ ชนแหง่ หน่ึง”. ใน รายงานสืบเน่ืองจากการประชมุ 602426 ระบบมาตรฐานสำหรับ การจัดการดา้ นอนามยั วชิ าการประจำปี 2560 มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้. เชยี งใหม่ : สงิ่ แวดลอ้ ม มหาวิทยาลยั แมโ่ จ.้ พชั รี ศรกี ตุ า, นรา ระวาดชัย และรชานนท์ งว่ นใจรกั . (2560). “ความสัมพันธ์ระหวา่ งความรู้ ทัศนคติ ตอ่ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของเด็กนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4-6 โรงเรยี นบา้ นบึงสาร อำเภอเมืองนครราชสมี า จังหวัดนครราชสมี า”. ใน รายงานสบื เนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรู ณ์ คร้งั ท่ี 4. หน้า 328-336. เพชรบรู ณ์ : มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ.์ พัชรี ศรีกุตา และคณะ. (2559). “การจดั การขยะมลู ฝอยในระดับครัวเรือนของหมู่บา้ นโป่งสรุ ยิ า ตำบลโป่ง แดง อำเภอขามทะเลสอ จงั หวดั นครราชสมี า”. ใน รายงานสบื เนือ่ งจากการประชมุ วชิ าการและนำเสนอ ผลงานวิจยั ระดับชาติ คร้งั ท่ี 6 ศาสตรแ์ ห่งวิทยาการ จัดการเพื่อรับใชส้ งั คม 3 ทศวรรษแห่งการตามรอยแม่ ของแผน่ ดนิ . หนา้ 1116-1122. นครราชสมี า : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า. ทองทิพย์ สละวงษล์ กั ษณ์ และคณะ. (2559). “ปัจจยั ที่ สง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคความดันโลหติ สงู ของ กลุ่มเส่ียงตำบลหนองไขน่ ำ้ อำเภอเมอื ง จังหวดั นครราชสมี า”. ใน รายงานสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการและเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 3 ก้าวสู่

44 ที่ เลขบตั รประจำตวั ประชาชน ผลงานทางวชิ าการ รหัสวิชา ชือ่ รายวชิ า ชื่อ–สกลุ ช่อื ตำรา งานวจิ ยั ทส่ี อนในหลกั สตู ร ตำแหน่งทางวิชาการ คณุ วฒุ สิ ูงสุด (สาขาวชิ า) สถาบันการศกึ ษา (ปีท่ีสำเรจ็ การศึกษา) สงั กดั สาขาวิชา/คณะ ทศวรรษที่ 2: บรู ณาการงานวิจยั ใชอ้ งคค์ วามรู้สู่ ความยั่งยืน. หนา้ 378-383. นครราชสมี า : วทิ ยาลยั นครราชสมี า. 14. 3460300581XXX นรา ระวาดชัย, คมอรญั ป้องนาน, ณัฐนนท์ พระสว่าง, 413215 วิธกี ารทางสถิติใน . นายนรา ระวาดชยั นฐั พงษ์ ศิริบุญ, สุรเกยี รติ ออมอด และอภิวัฒน์ งานวิจัยสขุ ภาพ อาจารย์ บวั ประชุม.(2560). “สขุ าภบิ าลอาหารและการปนเปื้อน 602111 อนามยั สง่ิ แวดล้อม ส.ม. (อนามัยสิ่งแวดล้อม) อาหารของ ตลาดนดั ในเทศบาลตำบลสรุ นารี อำเภอ เบอื้ งตน้ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ (2555) เมืองนครราชสีมา จังหวดั นครราชสมี า”. ใน การประชมุ 602222 การสุขาภบิ าลอาหาร สาขาวชิ าอนามัยสง่ิ แวดล้อม/ วชิ าการระดบั ชาตวิจัยรำไพพรรณี ครงั้ ท่ี 11. หนา้ 349- และความปลอดภัยในอาหาร คณะสาธารณสุขศาสตร์ 358. จนั ทบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณ.ี 602223 การจดั การคณุ ภาพ ทิวากรณ์ ราชธู ร และนรา ระวาดชัย. (2560). “ปัจจยั ทมี่ ี น้ำด่ืมน้ำใช้ ผลตอ่ คณุ ภาพน้ำดม่ื ตหู้ ยอดเหรยี ญอตั โนมตั ิ ชมุ ชนหนา้ 602323 การจดั การมลพิษทาง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา”. ใน รายงานสบื นำ้ และเทคโนโลยีการบำบดั นำ้ เน่อื งจากการประชมุ วชิ าการระดบั ชาตพิ ิบูลสงคราม เสีย วิจยั ครง้ั ท่ี 3 Thailand 4.0 นวตั กรรมการวจิ ยั เพอื่ การ 602324 ปฏิบตั ิการคณุ ภาพน้ำ พัฒนาอย่างย่ังยนื . หน้า 179-185. พิษณุโลก : 602425 ระบบสารสนเทศ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม. ภูมศิ าสตร์ในงานอนามยั พชั รี ศรกี ตุ า, นรา ระวาดชัย และรชานนท์ งว่ นใจรกั . สง่ิ แวดล้อม (2560). “ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความรู้ ทัศนคติ ตอ่ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของเดก็ นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6 โรงเรยี นบ้านบงึ สาร อำเภอเมืองนครราชสมี า จงั หวัดนครราชสมี า”. ใน รายงานสืบเนือ่ งจากการประชมุ วิชาการระดบั ชาติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์ ครัง้ ท่ี 4. หนา้ 328-336. เพชรบรู ณ์ : มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ.์ 15. 3361100396XXX พนิดา เทพชาลี และนพเก้า บัวงาม. (2561). “การ 413213 อาชีวอนามยั และ นางพนดิ า เทพชาลี บรหิ ารจดั การกระบวนการสหกิจศึกษา : กรณีศกึ ษา ความปลอดภยั อาจารย์ สาขาอาชวี อนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครราชสีมา”. ใน รายงาน สืบเนือ่ งจากการประชมุ วิชาการและนำเสนอ

45 ที่ เลขบัตรประจำตวั ประชาชน ผลงานทางวิชาการ รหัสวชิ า ชอื่ รายวชิ า ชอื่ –สกลุ ชอื่ ตำรา งานวิจัย ท่สี อนในหลกั สูตร ตำแหนง่ ทางวชิ าการ คณุ วฒุ ิสูงสุด (สาขาวชิ า) สถาบันการศึกษา (ปที ีส่ ำเร็จ การศกึ ษา) สังกัดสาขาวชิ า/คณะ วท.ม. (สขุ ศาสตรอ์ ุตสาหกรรม ผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 10. หนา้ 1313-1322. และความปลอดภยั ) นครราชสมี า : มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า. มหาวิทยาลยั มหิดล (2552) มะลิ โพธพิ ิมพ์ และพนิดา เทพชาล.ี (กรกฎาคม-ธันวาคม สาขาวิชาอาชวี อนามยั และ 2557). “การสรา้ งเสรมิ พฤติกรรมปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตจุ ราจร ความปลอดภัย/ มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลติ กลุ จงั หวัดนครราชสมี า”. วารสาร คณะสาธารณสุขศาสตร์ สาธารณสขุ มหาวิทยาลยั บูรพา. 9(2) : 21-32. 16. 1160100177XXX ปารชิ าติ วงษว์ ริศรา, พฤมล น้อยนรนิ ทร,์ กาญจนา หวัง 413102 จุลชวี วิทยาและปรสิต นางสาวพฤมล นอ้ ยนรนิ ทร์ ทอนกลาง, ธญั ญาพร ทองแจม่ , เกียรติศักดิ์ เถียนสงู เนิน, วิทยาทางสาธารณสขุ อาจารย์ ณรงค์เดช เพญ็ ศรี และณฏั ฐาพร มุง่ ชมกลาง. (2560). 413103 ปฏิบัตกิ ารจลุ ชีววทิ ยา ปร.ด. (จุลชีววิทยาทาง “ความรู้ และพฤตกิ รรมการใช้สารเคมีป้องกนั และกำจดั และปรสติ วทิ ยาทางสาธารณสขุ การแพทย์) ศตั รูพืชของเกษตรกรผู้ปลกู มันสำปะหลัง บา้ นหนองสรวง มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ (2560) พฒั นา ตำบลหนองสรวง อำเภอขามทะเลสอ จังหวดั สาขาวิชาอาชีวอนามัยและ นครราชสมี า”. ใน รายงานสบื เนอ่ื งจากการประชมุ ความปลอดภยั / วชิ าการเสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑิตศกึ ษาแห่งชาติ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ครัง้ ที่ 44. อบุ ลราชธานี : มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี 17. 1101500555XXX พนดิ า เทพชาลี และนพเกา้ บวั งาม. (2561). “การ 602328 การฝึกภาคสนาม นางสาวนพเกา้ บัวงาม บรหิ ารจดั การกระบวนการสหกิจศกึ ษา : กรณศี กึ ษา อนามัยส่ิงแวดลอ้ ม 602427 สมั มนาอนามัย อาจารย์ สาขาอาชีวอนามยั และความปลอดภัย คณะสาธารณสุข สงิ่ แวดล้อม ส.ม. (อนามยั ส่ิงแวดลอ้ ม) ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฎั นครราชสมี า”. ใน รายงาน 602429 การเตรยี มฝกึ สหกิจ สบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการและนำเสนอ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (2560) ผลงานวจิ ัยระดับชาติ ครัง้ ท่ี 10. หนา้ 1313-1322. สาขาวชิ าอนามยั สิง่ แวดล้อม/ นครราชสมี า : มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า. ศกึ ษาและประสบการณ์วชิ าชพี คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ 602411 สหกจิ ศกึ ษา 602412 การฝกึ ประสบการณ์ วชิ าชีพอนามัยสิง่ แวดลอ้ ม

46 4. องค์ประกอบเกย่ี วกบั การฝึกภาคสนาม การฝกึ งาน หรอื สหกจิ ศกึ ษา สำหรับการฝกึ ภาคสนามในหลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าอนามยั สิ่งแวดล้อม ได้แก่ รายวชิ าสหกจิ ศึกษา หรือการฝึกประสบการณ์วชิ าชีพอนามยั ส่ิงแวดล้อม ใช้เวลาในการฝึกภาคสนามรวม 640 ชว่ั โมง โดยมีรายละเอยี ดของแตล่ ะรายวิชา ดังนี้ (1) สหกิจศึกษา นักศึกษาฝึกปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการหรือองค์กรผู้ใช้บัณฑิต เป็น เวลาไม่นอ้ ยกว่า 640 ชั่วโมง โดยบูรณาการความรูท้ ีไ่ ด้จากการศกึ ษาในหลักสตู รกับการปฏิบตั งิ านจริงเสมือน หนึ่งเป็นพนักงาน การจัดทำโครงการ การรายงานผลการปฏิบัติงาน การเขียนรายงานโครงการ และการ นำเสนอโครงการตามคำแนะนำของพนักงานพี่เลี้ยง อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์นิเทศ เพื่อให้เกิดทักษะ องค์ความรู้ในวิชาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีลักษณะนิสัยหรือบุคลิกภาพที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน เพื่อให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน ที่พร้อมจะทำงานได้ทันทีเมื่อสำเร็จ การศกึ ษา (2) การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี อนามยั ส่ิงแวดล้อม นักศกึ ษาฝึกปฏิบัติงานในหนว่ ยงานของ ภาครัฐหรอื เอกชน เปน็ เวลาไมน่ ้อยกวา่ 640 ชวั่ โมง โดยบูรณาการความรจู้ ากการศึกษาในหลักสูตรทง้ั ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ภายใตก้ ารควบคุมดูแลของอาจารย์พ่ีเลี้ยงแหลง่ ฝกึ อาจารยท์ ป่ี รึกษาหรืออาจารย์ นเิ ทศ เพื่อให้ไดร้ บั ความรู้ พัฒนาทักษะ เจตคติ และประสบการณ์ในวิชาชพี 4.1 มาตรฐานผลการเรยี นรูข้ องประสบการณ์ภาคสนาม 4.1.1 สามารถให้คําแนะนําให้คําปรึกษาเกี่ยวกับการอนามัยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม สุขภาพ การป้องกันโรค การควบคุมโรค การบําบัดโรคเบื้องต้น และการฟื้นฟูสุขภาพตาม พ.ร.บ.วิชาชีพการ สาธารณสุขชมุ ชน มาตรา 3 4.1.2 สามารถตรวจประเมินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การบําบัดโรคเบื้องต้นการดูแลให้ ความชว่ ยเหลอื ผปู้ ่วย เพื่อการสง่ ต่อตาม พ.ร.บ.วชิ าชพี การสาธารณสุขชุมชน มาตรา 3 4.1.3 สามารถประเมินสถานการณ์ การวินิจฉัยการวางแผนงานโครงการสุขภาพการ ปฏิบตั ิตามแผนการติดตามและการประเมินผล 4.1.4 สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อการควบคุมป้องกัน ปัจจยั ท่ีทําให้เกิดโรคและลดความเสีย่ งการเจบ็ ปว่ ยต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน ตามมาตรฐานวิชาชพี 4.1.5 สามารถปฏบิ ัติทักษะทางวชิ าชพี ด้านอนามัยสิง่ แวดล้อมอย่างเปน็ องคร์ วม 4.1.6 สามารถใช้แบบจําลองทางคณิตศาสตร์ในการประเมนิ ผลกระทบทางสุขภาพอนามัย และคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อมได้ 4.2 ช่วงเวลาทจี่ ดั ประสบการณ์ ภาคการศึกษาที่ 2 สำหรับนกั ศกึ ษาช้นั ปที ี่ 4 4.3 การจดั เวลาและตารางสอน จดั เต็มเวลาใน 1 ภาคการศึกษา

47 5. ข้อกำหนดเก่ียวกับการทำโครงงานหรือวิจยั 5.1 คำอธบิ ายโดยย่อ การทำวิจัยในประเด็นด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน ตามความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน โดยกำหนดให้นักศึกษาทำวิจัยรายกลุ่ม นักศึกษาดำเนินการวิจัยให้เป็นไปตาม กระบวนการและระยะเวลาทีก่ ำหนด ภายใตก้ ารควบคุมและแนะนำของอาจารย์ทีป่ รกึ ษา ทง้ั นม้ี ีการสอบโครง ร่างงานวิจัย และนำเสนอผลการวิจัยต่อคณะกรรมการสอบ ซึ่งประกอบด้วยอาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ ประจำคณะสาธารณสุขศาสตร์ จำนวน 3 คน เมื่อนักศึกษาปรับปรุงหรือแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการแล้ว จึงส่งเล่มรายงานการวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์เสนอต่อคณบดี 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ 5.2.1 สามารถทำงานวจิ ยั ในประเดน็ ปัญหาด้านอนามัยส่งิ แวดล้อมอยา่ งเป็นระบบ และ ถกู ต้องตามหลักการวจิ ัย 5.2.2 สามารถทำงานเปน็ ทมี และมีความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ท่ีท่ีไดร้ บั มอบหมาย 5.2.3 สามารถใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางสถติ ิ และอภปิ รายผล 5.2.4 สามารถนำเสนอ และสอ่ื สารดว้ ยภาษาพูดและภาษาเขียน 5.3 ช่วงเวลา ภาคการศกึ ษาที่ 1 สำหรับนักศกึ ษาชั้นปีท่ี 4 5.4 จำนวนหนว่ ยกติ 2 หนว่ ยกิต หรือจำนวน 3 ชวั่ โมง 5.5 การเตรียมการ มีการกำหนดช่วั โมงการให้คำปรึกษา และรายงานความกา้ วหนา้ ในการทำวจิ ัย โดย อาจารย์ทีป่ รึกษา จดั ทำตัวอย่างงานวิจยั เพ่อื เปน็ ต้นแบบในการเรยี นรใู้ หก้ ับนักศึกษา 5.6 กระบวนการประเมินผล 5.6.1 ประเมินผลจากความก้าวหน้าในการทำวิจยั โดยอาจารย์ทปี่ รึกษา 5.6.2 ประเมินผลจากรายงานที่ได้กำหนดรปู แบบการนำเสนอตามระยะเวลา 5.6.3 นำเสนอผลงานวิจยั โดยมีคณะกรรมการสอบไม่ตำ่ กวา่ 3 คน

48

49

50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook