Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่ม PLC สายชั้น.6

รูปเล่ม PLC สายชั้น.6

Published by Supakorn Sukjeen, 2022-03-08 03:39:57

Description: รูปเล่ม PLC สายชั้น.6

Search

Read the Text Version

46 ภาพการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม PLC ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกล่มุ “PLC Teaching for the Critical Thinking” การสะทอ้ นผลการปฏบิ ัตขิ องครรู ่วมเรยี นรู้ โดยดำเนินการในวันที่ 4 กุมภาพนั ธ์ 2565

47 แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรู้สาระหลัก โรงเรียนปทุมานุกลู ชอื่ กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครงั้ ท่ี 14 ภาคเรยี นท่ี 2/25634 วัน/เดอื น/ปี : 11 กมุ ภาพันธ์ 2565 เริ่มดำเนนิ การเวลา 14.55 น. เสรจ็ สิ้นเวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทั้งส้ิน 2 ชัว่ โมง กิจกรรมคร้ังนส้ี อดคล้องกับการพฒั นาบทเรยี นรว่ มกนั ( Lesson study ) ( ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในชอ่ ง  )  ขั้นท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบัติและสังเกตการเรยี นรู้ (Do& See)  ขนั้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ี่เขา้ ร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ชอื่ -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่อื 1. นายมนตรี เจยี รมาศ ผู้อำนวยการโรงเรยี น 2. นายณฎั ฐพ์ ีรพล มบี ุญมาก ผ้เู ชยี่ วชาญ 3. นายณฐั พงศ์พรหมทอง 4. นางจีราภรณ์ รตั นมณี ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซ่เฮา่ ครูรว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวปาริชาติ ผลสด ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวชลดิ า ประกอบชาติ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายศุภกร สุขจีน ครูรว่ มเรยี นรู้ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 1. สภาพหรือกลุ่มปญั หา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ทำใหไ้ ม่สามารถจดั การเรยี นการสอนได้ตามปกติ 2. งาน/กิจกรรม สรุปรายงานผล ครัง้ ท่ี 2 (การสรปุ ผล และเสนอแนะแนวทางในการพฒั นา) 3. สรปุ สังเคราะหก์ ารเรยี นรจู้ ากสมาชกิ ในทีม จดุ อ่อน จดุ เดน่ ของการดำเนินการ 3.1 ประเดน็ ดา้ นผูเ้ รียน - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการสอน บทเรียน ออนไลน์ และจากเวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ ท่ีครแู นะนำ ทำให้การจัดการเรียนการสอนครอบคลมุ ตามเนือ้ หาการเรียนรู้ - ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความตั้งใจใฝ่หาความรู้ ใหมๆ่ ตรงกบั ระบบการเรียนรู้ทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นศนู ย์กลาง โดยมีผ้สู อนเปน็ เพียงผแู้ นะนำ ท่ีปรึกษา และแนะนำ แหล่งความรู้ใหม่ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกับการเรียน ผู้เรียนสามารถทราบผลย้อนกลับของการเรียน รู้ความก้าวหนา้ ได้ จากการประเมินผล การประเมนิ ย่อย โดยใช้เว็บไซต์เปน็ ท่ีสอบ และการประเมินผลรวม ท่ีใชก้ ารสอบแบบปกติ ในหอ้ งเรียน เพอ่ื เปน็ การยืนยนั ว่าผเู้ รยี นเรียนจริงและทำข้อสอบจริงได้หรือไม่อย่างไร

48 3.2 ประเด็นด้านกจิ กรรม - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็น ลกั ษณะการเรียนรจู้ ากแหล่งเรยี นรนู้ อกชน้ั เรยี นท่ีทำใหผ้ เู้ รียนสามารถเรยี นรู้ไดท้ กุ ที่ทุกเวลา - การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนออนไลนท์ ำให้การเรียนการสอนครอบคลุมตามเน้ือหา 3.3 ประเดน็ ด้านครู - ครจู ะทำหน้าที่คอยให้ความชว่ ยเหลือ ให้คำปรกึ ษา และดงึ ศกั ยภาพของผู้เรยี นให้สามารถเรียนรู้ได้ ดว้ ยตนเอง สรา้ งแรงจูงใจและแรงบนั ดาลใจในการเรียน 3.4 ประเดน็ สอ่ื การสอน - ส่ือกิจกรรมและแหลง่ การเรียนรู้มคี วามถูกต้องเหมาะสมมีประสิทธภิ าพ (ด้านคุณภาพ) - สื่อมคี วามเพยี งพอเหมาะสม (ดา้ นปรมิ าณ) - ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้ง่าย โดยจะใช้ Google meet , you tube ,Google from ,PPT ใดกไ็ ด้ ผ้เู รียนสามารถเรยี นจากเครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ใี่ ดก็ได้ และในปจั จุบันน้ีการเข้าถึง เครือข่ายอินเตอร์เน็ตกระทำได้ง่ายขึ้นมาก และยังมีค่าเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตที่มีราคาต่ำ ลงมากว่าแต่ก่อนอีก ด้วย 3.5 ประเด็นด้านบรรยากาศ - การออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนแบบออนไลน์ เป็นสิ่งที่สำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนให้ความสนใจ ใคร่รูแ้ ละพร้อมที่จะร่วมพดู คยุ แลกเปลีย่ นเรียนรู้อยา่ งมสี ว่ นรว่ มมากขนึ้ จุดแข็งจดุ อ่อนของการสอน - มีการนำเทคโนโลยเี ข้ามาบรู ณาการ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน - กระบวนการทำงานพัฒนาวชิ าชีพครแู บบชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ มรี ะบบการทำงานตามรูปแบบ PDCA - เพ่มิ ประสิทธิภาพการเรยี นการสอน - สนบั สนุนการเรยี นการสอน - เน้นการเรยี นแบบผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง ตรงตามหัวใจของการปฏริ ปู การศึกษา 4. ผลการดำเนินงาน นำการจัดการเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียน การสอน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย น่าสนใจ และทำให้ผู้เรียนสามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ทุกท่ี ทุกเวลา 5. ร่องรอย/หลักฐาน 5.1 แผนการจดั การเรยี นรู้หน้าเดยี ว พร้อมบนั ทึกหลังการสอน 5.2 ภาพการพูดคยุ ปรกึ ษากับสมาชิกกล่มุ PLC 5.3 ภาพกิจกรรมการเรยี นการสอน 5.4 แบบสงั เกตการณ์จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 5.5 ภาพการนเิ ทศการสอน 6. ผลลัพธ์ทไ่ี ดจ้ ากกิจกรรม 6.1 ผลลพั ธท์ เี่ กิดจากกระบวนการ

49 1) มอี งค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรทู้ ี่นา่ สนใจ ทเ่ี กิดข้ึนจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ สมาชิกในสายชั้น ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้ อยา่ งเปน็ รูปธรรม (สมาชกิ เครือขา่ ยมกี ารนำไปใชไ้ ด้อยา่ งชัดเจน) 2) มรี ่องรอยการรายงานผลการนำองคค์ วามรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ทน่ี ่าสนใจ ที่เกิดข้ึน ของสมาชิกเครือข่ายไปใช้ตลอดระยะท่ีดำเนนิ โครงการทุกคร้ังท่ีมกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้โดยสมาชิกทุกคน 3) ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มา อภปิ รายเพอ่ื แลกเปลี่ยนความคดิ โดยมคี รูผู้สอนหลกั เป็นผู้สะทอ้ นความคดิ เก่ยี วกบั ความสำเรจ็ จุดเดน่ และจดุ ทต่ี ้องพัฒนาในการจดั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 6.2 ผลลัพธท์ ่ีเกดิ กบั ผ้เู รยี น / ครู / สมาชกิ ท่ีเข้าร่วมเครอื ขา่ ย PLC 1) ผ้เู รยี นไดก้ ารเรยี นร้ตู ามเปา้ หมาย และวัตถปุ ระสงค์ทีก่ ำหนดไว้ทุกประการ และมีความชดั เจน ทง้ั เชิงปริมาณและคุณภาพ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น และทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะอย่าง ชดั เจน 3) ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการ จดั การเรียนรู้ และผู้สอนไดร้ ับนวตั กรรมและเรม่ิ วางแผนจดั ทำวจิ ยั ปฏิบตั กิ ารในชน้ั เรยี น 4) ผู้สอนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ท่ีได้รบั จากการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถนำวัตกรรมการเรียนรู้ที่ได้รับจากการทำวิจัยปฏิบัติการใน ชั้นเรียนไปใชพ้ ฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้ 6.3 คณุ คา่ ท่เี กิดตอ่ วงการศกึ ษา 1) มีการปฏิบัติทช่ี ัดเจน เปน็ รปู ธรรมและมีแนวโน้มการเกดิ เครือข่ายเพิ่มขึ้น 2) การร่วมกันรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ให้ผลการเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัว นักเรยี น โดยครูในสายชัน้ สมาชิกในชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพทกุ คนวางเปา้ หมายรว่ มกนั เลกิ ประชุมเวลา 16.55 น. ลงช่ือ.......................................................... ผบู้ นั ทึก (นางสาวปารชิ าติ ผลสด) ลงชือ่ ลงชือ่ ( นายณฐั พงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณิศา บุญไกร) ครผู ้สู อนภาษาอังกฤษ รองผู้อำนวยการปทมุ านกุ ูล ลงชอื่ ........................................................ผ้รู บั รอง ( นายมนตรี เจียรมาศ ) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนปทุมานกุ ลู

50 ภาพการปฏิบตั กิ ิจกรรม PLC ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” การสะท้อนผลการปฏบิ ัติของครรู ว่ มเรียนรู้ โดยดำเนินการในวนั ที่ 11 กมุ ภาพนั ธ์ 2565

51 แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สาระหลัก โรงเรียนปทมุ านกุ ูล ชื่อกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครัง้ ท่ี 15 ภาคเรยี นที่ 2/2564 วนั /เดอื น/ปี : 25 กุมภาพันธ์ 2565 เริม่ ดำเนินการเวลา 14.55 น. เสร็จส้ินเวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 2 ชั่วโมง กิจกรรมคร้ังนส้ี อดคล้องกบั การพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน ( Lesson study ) ( ทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ ง  )  ขน้ั ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏิบตั แิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do& See)  ขนั้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่ีเขา้ รว่ มกิจกรรม 8 คน โดยมรี ายชื่อและบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชอ่ื 1. นายมนตรี เจียรมาศ ผู้อำนวยการโรงเรียน 2. นายณฎั ฐ์พีรพล มบี ุญมาก ผเู้ ชยี่ วชาญ 3. นายณฐั พงศ์พรหมทอง ครผู ู้สอนภาษาอังกฤษ 4. นางจีราภรณ์ รตั นมณี ครรู ว่ มเรียนรู้ 5. นางสาคร แซเ่ ฮา่ ครรู ว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวปารชิ าติ ผลสด ครูรว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวชลดิ า ประกอบชาติ ครรู ่วมเรยี นรู้ 8. นายศภุ กร สขุ จนี ครูรว่ มเรียนรู้ 1. สภาพหรอื กลุม่ ปญั หา ปัญหาการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไมส่ ามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ 2. งาน/กิจกรรม เผยแพร่กิจกรรม/ช้นิ งาน/นวัตกรรม (Best Practices) 3. ผลการดำเนนิ งาน 4.1 ไดน้ วัตกรรมในการแก้ไขปญั หา 4.2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี นดีขึ้น หรอื เปน็ ไปตามเกณฑท์ ตี่ กลงกนั ไว้ 4.3 พฤติกรรมการตดิ ตามงานของนักเรยี นที่มีปญั หาเปลยี่ นไปในทางทด่ี ีขนึ้ ตามข้อตกลงที่ตั้งไว้ 4.4 นำไปสกู่ ารอบรมพัฒนาครู และรวบรวมส่ง เพ่อื เก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานต่อไป 4. รอ่ งรอย/หลกั ฐาน 4.1 แผนการจดั การเรยี นรู้ พรอ้ มบนั ทึกหลังการสอน 4.2 ภาพการพูดคยุ ปรกึ ษากับสมาชกิ กลุ่ม PLC 4.3 ภาพกิจกรรมการเรียนการสอน 4.4 แบบสังเกตการณ์จดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 4.5 ภาพการนิเทศการสอน

52 5. การเผยแพร่กิจกรรม/ชิ้นงาน/นวตั กรรม 5.1 รวบรวมเอกสารร่องรอยหลักฐานต่าง ๆ ที่เกิดจากการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 5.2 จดั ทำรปู แบบการนำเสนอเปน็ หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื E-Book เพือ่ การนำเสนอทน่ี ่าสนใจ 5.3 เผยแพรไ่ ฟล์กิจกรรมผา่ นเพจโรงเรยี น กล่มุ ไลน์ของโรงเรียน เลิกประชุมเวลา 16.55 น. ลงชอื่ .......................................................... ผู้บนั ทกึ (นางสาวปารชิ าติ ผลสด) ลงชื่อ ลงช่อื ( นายณฐั พงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณิศา บญุ ไกร) ครูผูส้ อนภาษาองั กฤษ รองผ้อู ำนวยการปทุมานุกูล ลงช่อื ........................................................ผูร้ บั รอง ( นายมนตรี เจียรมาศ ) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนปทมุ านุกูล

53 ภาพการปฏิบตั กิ ิจกรรม PLC ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” การสะท้อนผลการปฏบิ ัติของครรู ว่ มเรียนรู้ โดยดำเนินการในวนั ที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2565

54


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook