Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่ม PLC สายชั้น.6

รูปเล่ม PLC สายชั้น.6

Published by Supakorn Sukjeen, 2022-03-08 03:39:57

Description: รูปเล่ม PLC สายชั้น.6

Search

Read the Text Version



ก บันทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรียนปทมุ านุกูล วันท่ี 4 มีนาคม ๒๕๖5 ท่ี พเิ ศษ/2565 เร่อื ง รายงานผลการจัดกิจกรรมสร้างชุมชนการเรียนรูว้ ิชาชีพกล่มุ “PLC Teaching for the Critical Thinking” เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนปทุมานุกลู สง่ิ ท่สี ง่ มาดว้ ย รายงานผลการจัดกจิ กรรมสร้างชุมชนการเรียนรวู้ ิชาชีพ จำนวน ๑ เล่ม ด้วยข้าพเจ้า นายณัฏฐ์พีรพล มีบุญมาก ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไดด้ ำเนินการจัดกิจกรรมสร้างชุมชุมการเรียนรูว้ ิชาชีพ (Professional Learning Community) ภายในกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายใตช้ ่ือกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖4 เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลในการสรา้ งสื่อการเรียน การสอนออนไลน์ นนั้ บัดนี้ การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมดังกล่าวได้เสร็จส้ินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ขา้ พเจา้ ขออนุญาตส่งรายงานผลการจัด กิจกรรมสร้างชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” รวมระยะเวลาในการ ดำเนนิ กจิ กรรมทงั้ หมด ๓๐ ชั่วโมง ดงั เอกสารแนบมาพร้อมหนังสอื ฉบบั น้ี จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดทราบ ลงชื่อ (นายณัฏฐ์พีรพล มีบญุ มาก) ครู กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ความคิดเหน็ ของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ........................................................................................... ลงชอ่ื (นางเกษณิศา บญุ ไกร) รองผ้อู ำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ความคดิ เหน็ ของผู้อำนวยการ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ (นายมนตรี เจยี รมาศ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นปทุมานุกลู

ข บนั ทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู วนั ท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖4 ที่ พเิ ศษ/2564 เรอ่ื ง ขออนญุ าตจดั กจิ กรรมสร้างชมุ ชนการเรียนรู้วิชาชพี (Professional Learning Community) เรียน ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นปทุมานุกุล เนอ่ื งดว้ ยขา้ พเจา้ นายณัฏฐ์พีรพล มบี ุญมาก ตำแหนง่ ครู ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีหวั หนา้ สายช้ันประถมศึกษา ปีที่ 6 มีความประสงค์จะสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) ชื่อกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาหลัก เนื่องจากมีบริบท ใกลเ้ คยี งกนั ท้ังเนื้อหาสาระ ข้อมลู ด้านนักเรียน และสภาพปญั หา ดงั นน้ั เพอ่ื เปน็ การปรับปรุงแก้ปัญหาการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน และร่วมกันพัฒนานวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แก่ นักเรียนในแต่ละกจิ กรรมการเรียนรู้ ตลอดจนพัฒนาทกั ษะของนักเรียนให้ดียิง่ ข้ึน โดยมีกลุ่มในการสร้างชุมชน การเรียนรู้วิชาชีพ ได้แก่ ๑. นายมนตรี เจียรมาศ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน 2 นางเกษณิศา บญุ ไกร รองผู้อำนวยการฝ่ายงายวิชาการ ๓. นายณัฏฐ์พรี พล มบี ญุ มาก ผ้เู ชยี่ วชาญ ๔. นายณัฐพงศ์ พรหมทอง กลุม่ สาระภาษาองั กฤษ/ครูรว่ มเรยี นรู้ ๕. นางจีราภรณ์ รัตนมณี ครูผ้สู อนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์/ครรู ่วมเรยี นรู้ ๖. นางสาวปารชิ าติ ผลสด ครผู ู้สอนกลุ่มสาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี/ครรู ว่ มเรียนรู้ ๗. นางสาคร แซ่เฮา่ ครผู สู้ อนกลมุ่ สาระภาษาไทย/ครรู ่วมเรยี นรู้ ๘. นางสาวชลิดา ประกอบชาติ ครูผู้สอนกล่มุ สาระศลิ ปะครูร่วมเรียนรู้ การน้ี ข้าพเจา้ ขออนญุ าตจัดกิจกรรมการสรา้ งชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community) ทกุ วนั ศุกร์ คาบท่ี 6 ตงั้ แต่เวลา 14.30-15.30 น. ตามวนั และเวลาดังกล่าว จงึ เรียนมาเพอื่ โปรดพิจารณาอนญุ าต ลงชือ่ (นายณัฏฐพ์ รี พล มีบญุ มาก) หัวหนา้ สายช้นั ป.6 ความคิดเหน็ ของรองผู้อำนวยการกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ลงช่ือ (นางเกษณิศา บญุ ไกร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ ความคดิ เห็นของผู้อำนวยการ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ลงช่ือ (นายมนตรี เจียรมาศ) ผ้อู ำนวยการโรงเรียนปทมุ านุกูล

ค คำนำ รายงานผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC ) จัดทำข้นึ เพ่ือนำเสนอแนวทางในการดำเนนิ งานของกล่มุ “PLC Teaching for the Critical Thinking” กลุม่ สาระหลักเพ่ือแก้ไขปญั หาเร่ือง ปญั หาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจดั การเรียนการสอนได้ ตามปกติ ในการพัฒนารูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสอ่ื การเรียนการสอนออนไลน์ จากความรว่ มมือของครูประจำวิชา และเปน็ การสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจเร่ืองการปฏบิ ตั ิด้วยกระบวนการ PLC เพื่อแก้ไขปัญหาด้านพฤตกิ รรม รวมทงั้ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ การติดตามและประเมนิ ผลในการดำเนนิ งานของ โรงเรียนปทุมานุกลู ของครูผู้สอนในโรงเรยี น หวังเป็นอยา่ งย่ิงวา่ เอกสารเล่มน้ี จะเกิดประโยชนต์ ่อผู้ครผู ู้สอน ผูบ้ ริหารสถานศึกษาและบุคลากร ทางการศึกษา รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป ในการนำไปใช้เพื่อศึกษาเรียนรู้สร้างความเข้าใจและปฏิบัติตามแนวทาง ดังกลา่ วได้เป็นอย่างดี กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking”

ง สารบญั รายงานผลการจดั กิจกรรมสรา้ งชมุ ชนการเรียนรู้วชิ าชีพกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical หน้า Thinking” ก ขออนญุ าตจัดกจิ กรรมสรา้ งชุมชนการเรียนรวู้ ิชาชีพ (Professional Learning Community) คำนำ ข สารบัญ ค ผลการดำเนินกจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ ง ปฏิทนิ การดำเนนิ งานชมุ ชนการเรยี นรูว้ ชิ าชีพ (PLC) ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 1 กลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” 6 แบบบันทึกกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครง้ั ท่ี 1 7 แบบบันทึกกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครง้ั ที่ 2 10 แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครั้งที่ 3 14 แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครั้งท่ี 4 17 แบบบันทกึ กิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครงั้ ท่ี 5 20 แบบบันทึกกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) ครั้งท่ี 6 23 แบบบันทกึ กิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครง้ั ที่ 7 26 แบบบันทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครง้ั ท่ี 8 29 แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครง้ั ที่ 9 32 แบบบันทึกกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครั้งที่ 10 35 แบบบันทกึ กจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) คร้งั ที่ 11 38 แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครั้งท่ี 12 41 แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) ครงั้ ที่ 13 44 แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครั้งท่ี 14 47 แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) ครัง้ ท่ี 15 51

1 ผลการดำเนนิ กจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ 1. หลกั การและเหตุผล ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) หมายถึง การรวมกลุ่มกันของครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ในลักษณะของชุมชนเชิงวิชาการที่มีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้จากการปฏิบัติ การถอดบทเรียน และการแลกเปลีย่ น เรียนรู้ รว่ มกันอยา่ งตอ่ เนือ่ ง (ราชบัณฑิตยสถาน, 2558) จากผลการวิจัยของ สุรพล ธรรมร่มดี (2563) ยืนยันว่าการดำเนินการในรูปแบบ PLC นำไปสู่การ เปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน โดย มีผลดีทั้งต่อครูผู้สอนและนักเรียน ในแง่ผลดีต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเดี่ยวในงานสอนของครู เพิ่ม ความรสู้ กึ ผกู พันต่อพนั ธกิจและเปา้ หมายของโรงเรียนมากข้ึน โดยเพ่ิมความกระตือรือร้นท่ีจะปฏบิ ัติให้บรรลุพันธ กิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียน ถือเป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มีผลดียิ่งขึ้น รวมทั้งเข้าใจบทบาทและ พฤติกรรมการสอนที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด ซึ่งจะเกิดจากการคอยสังเกตอย่างใส่ใจในแง่ของ ผลดีต่อผู้เรียนพบว่า PLC สามารถลดอัตราการตกซ้ำชั้น และจำนวนชั้นเรียนที่ต้องเลื่อนหรือชะลอการจัดการ เรียนร้ใู หน้ อ้ ยลง อตั ราการขาดเรียนลดลงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวชิ าวิทยาศาสตร์ประวัติศาสตร์และวิชาการ อ่านที่สูงขึ้นอย่างเด่นชัด สุดท้ายคือมีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีภมู ิหลงั ไมเ่ หมอื นกันลดลงอยา่ งชดั เจน จากการศึกษาประโยชน์ของกระบวนการดังกล่าว ผู้จัดทำจึงเกิดความคิดที่จะนำกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) เพื่อเป็นการปรับปรุงแก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน และ ร่วมกันพัฒนานวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนพัฒนาทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของนักเรียนให้ดียิ่งขึ้น โดยได้เริ่มดำเนินกิจกรรมกับ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในห้องเรียน คือ “ปัญหาการจัดการเรียน การสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดการ เรียนการสอนได้ตามปกติ” เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการเว้นระยะห่างทางสังคม มีการแบ่งเวลาในการสอนออนไลน์ ทำให้เวลาเรียนในห้องเรียนน้อยลง สง่ ผลใหก้ ารจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลมุ ตามเนื้อหาการเรยี นรู้ 2. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมที ักษะในการฟงั และเหน็ คณุ ค่าของการเปน็ ผู้ฟังท่ีดี 2. เพอื่ ให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในระดบั ที่สงู ขน้ึ 3. เพ่มิ โอกาสในการเขา้ ถงึ เนื้อหาการเรยี นได้จากอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องคอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์มอื ถือ ผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต 4. มนี วัตกรรมหรือคู่มอื การใช้ที่มคี วามเหมาะสมและเรา้ ความสนใจของผู้เรยี น 3. วิธกี ารดำเนนิ งาน ➢ แนวทางการปฏิบัติกจิ กรรมการสร้างชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC) 1. แบง่ กลมุ่ ย่อย ตามความเหมาะสม 2. ให้แต่ละกลุ่มคิดแนวทางแก้ไขปัญหา 1 เร่ืองจากประเด็นต่อไปน้ี 2.1 ปัญหาการเรยี นรูข้ องนักเรียน 1 เรอ่ื ง/กลุ่ม 2.2 ปัญหาดา้ นการจัดการเรยี นการสอนของครู หรือเทคนิควิธีการสอนทีค่ รูควรพัฒนา จำนวน 1 เร่อื ง/กล่มุ 3. จัดทำโครงการ/กจิ กรรม การสร้างชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC)

2 ➢ กระบวนการของ PLC ขั้นตอนที่ 1 Community สรา้ งทีมครู ขั้นตอนที่ 2 Practice จัดการเรียนรู้ เช่นการวเิ คราะห์หนว่ ยการเรยี นรู้ ร่วมกันออกแบบกจิ กรรมการ เรียนรู้ในการจัดทำแผนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนา และนำสู่การปฏิบัติ โดยมีการเปิดห้องเรียน เพ่ือการสงั เกตการณ์สอน เคร่ืองมือในการประเมนิ - แบบนเิ ทศ 01 แบบสังเกตการณ์จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ขน้ั ตอนที่ 3 Reflection สะท้อนคดิ เพ่ือการพฒั นาการปฏบิ ัติ ขั้นตอนท่ี 4 Evaluation ประเมนิ เพือ่ พฒั นาสมรรถนะครู ขั้นตอนที่ 5 Network Development สรา้ งเครอื ข่ายการพัฒนา ➢ บทบาทหนา้ ทข่ี องสมาชิกกลมุ่ ตามกระบวนการ PLC - Model Teacher หมายถึง ครูผรู้ ับการนิเทศ หรือ ครูผู้สอน - Buddy Teacher หมายถึง ครูค่นู ิเทศ หรือ ครูรว่ มเรยี นรู้ - Mentor หมายถงึ ผสู้ อนสาระการเรยี นรู้หลกั - Expert หมายถึง ผู้เชยี่ วชาญ เช่น ครู คศ.3 - Administrator หมายถึง ผูบ้ รหิ ารโรงเรียน - Recorder หมายถึง ผ้บู ันทึกรายงานการประชุม 4. วนั เวลา สถานท่ี ในการดำเนินงาน ระยะเวลา : ต้ังแต่ วนั ท่ี 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 – 25 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2565 สถานท่ี : โรงเรยี นปทุมานกุ ลู 5. สรุปผลการดำเนนิ งาน ➢ ประเด็นด้านผเู้ รยี น - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการสอน/บทเรียน ออนไลน์ และจากเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ ทคี่ รูแนะนำ ทำให้นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ และพฒั นาความรคู้ วามสามารถครบตาม หลักสูตร - นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความตั้งใจใฝ่หา ความรูใ้ หม่ ๆ ตรงกับระบบการเรียนรทู้ ่เี น้นผู้เรยี นเป็นศูนย์กลาง โดยมผี ู้สอนเปน็ เพยี งผู้แนะนำ ทป่ี รึกษา และ แนะนำแหล่งความรู้ใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน ผู้เรียนสามารถทราบผลย้อนกลับของการเรียน รู้ความก้าวหน้าได้จาก E-Mail การประเมินผล การประเมินย่อย โดยใช้เว็บไซต์เป็นที่ทดสอบและการ ประเมินผลรวม ทีใ่ ชก้ ารสอบแบบปกติในห้องเรียน เพือ่ เปน็ การยืนยันว่าผู้เรยี นเรียนจริงและทำข้อสอบจริงได้ หรอื ไม่อย่างไร - สง่ เสรมิ ให้นักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการใชส้ ่ือสังคมออนไลน์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในทางที่เหมาะสม เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวนักเรียน เปรียบเสมือนเป็นตัวกรองที่คอยช่วยให้นักเรียน สามารถแยกแยะข่าวสารหรือข้อมูลทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใหร้ ับรู้ได้อย่างมีคุณภาพ - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนอย่างมีความสุขและมีปฏิสัมพันธ์ ระหวา่ งครกู ับนักเรียน และนักเรยี นกบั นักเรยี นดว้ ยกันเองเพ่ิมมากขนึ้ - นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์หลายประการ เช่น ได้พูดคุย ถกเถียง อย่างมีเหตุผล และยอมรับ ฟงั ความคิดเห็นของผู้อื่นมากข้ึน

3 ➢ ประเด็นด้านกจิ กรรม - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็น ลักษณะการเรียนร้จู ากแหล่งเรยี นรู้นอกชั้นเรียนที่ทำใหผ้ ู้เรียนสามารถเรยี นรู้ได้ทกุ ทที่ ุกเวลา - การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนออนไลน์ทำใหก้ ารเรยี นการสอนครอบคลมุ ตามเน้อื หา - ครจู ดั กจิ กรรมการเรียนการสอนผา่ นส่อื เทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็นลกั ษณะการเรียนร้จู ากแหล่งเรยี นรนู้ อกชั้นเรยี นทที่ ำใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรียนรู้ได้ทุกทที่ ุกเวลา - ครูและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้บรรยากาศการเรียนสอนดำเนินไปโดย เนน้ ผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลางการเรียนรู้ ➢ ประเด็นด้านครู - ครูจะทำหน้าเป็นผู้อำนวยที่คอยให้ความช่วยเหลือ คำปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียนให้ สามารถเรียนรู้ไดด้ ้วยตนเอง สรา้ งแรงจูงใจและแรงบันดาลใจในการเรียน ➢ ประเด็นสื่อการสอน - สื่อกจิ กรรมและแหล่งการเรียนรู้มคี วามถกู ต้องเหมาะสมมปี ระสิทธภิ าพ (ด้านคุณภาพ) - สอ่ื มีความเพยี งพอเหมาะสม (ดา้ นปริมาณ) - ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้ง่าย โดยจะใช้ web browser ใดก็ได้ ผเู้ รียนสามารถเรยี นจากเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ท่ีใดก็ได้ และในปจั จบุ นั นีก้ ารเข้าถงึ เครือข่ายอนิ เตอรเ์ นต็ กระทำได้ งา่ ยขน้ึ มาก และยงั มีค่าเช่ือมตอ่ อนิ เตอรเ์ นต็ ที่มีราคาต่ำ ลงมากว่าแตก่ ่อนอีกด้วย - นักเรยี นได้ใช้เครื่องมือที่ตนถนดั คือ เทคโนโลยีการส่ือสารสมัยใหม่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและสังคม ออนไลน์ เมื่อได้ใช้หรือทำอะไรที่ตนชอบหรือถนัด จึงทำให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้าเรียนด้วยตนเองได้อย่าง อตั โนมัติ ผเู้ รียนเกดิ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเป็นไปตามท่คี รตู อ้ งการใหเ้ กิดขึ้นในตัวผู้เรยี น ➢ ประเดน็ ดา้ นบรรยากาศ - การออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนแบบออนไลน์ เป็นสิ่งที่สำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนให้ความสนใจ ใครร่ ู้และพรอ้ มที่จะร่วมพูดคยุ แลกเปลยี่ นเรียนรู้อย่างมสี ว่ นร่วมมากขนึ้ 6. อภปิ รายผลการดำเนินงาน 6.1 ผลลัพธ์ทเี่ กดิ จากกระบวนการ 1) มอี งคค์ วามรู้ นวตั กรรม และประเด็นความรู้ทีน่ ่าสนใจ ที่เกดิ ข้นึ จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ สมาชิกเครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้ อย่างเปน็ รูปธรรม (สมาชิกเครอื ขา่ ยมกี ารนำไปใชไ้ ดอ้ ย่างชัดเจน) 2) มรี ่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ทนี่ า่ สนใจ ท่ีเกิดขึ้น ของสมาชกิ เครอื ข่ายไปใชต้ ลอดระยะทดี่ ำเนินโครงการทุกครงั้ ท่ีมีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้โดยสมาชกิ ทุกคน 3) ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มา อภปิ รายเพอื่ แลกเปลยี่ นความคดิ โดยมคี รูผสู้ อนหลักเปน็ ผสู้ ะทอ้ นความคิดเกยี่ วกบั ความสำเรจ็ จุดเดน่ และจุด ทตี่ อ้ งพัฒนาในการจดั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6.2 ผลลัพธ์ทีเ่ กิดกับผูเ้ รยี น / ครู / สมาชกิ ท่ีเข้าร่วมเครือขา่ ย PLC 1) ผูเ้ รยี นไดก้ ารเรียนรู้ตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้ทุกประการ และมีความชดั เจน ทงั้ เชิงปรมิ าณและคุณภาพ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น และทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะอย่าง ชดั เจน 3) ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรู้ และผสู้ อนได้รบั นวัตกรรมและเร่ิมวางแผนจดั ทำวจิ ยั ปฏบิ ัตกิ ารในชัน้ เรียน

4 4) ผสู้ อนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ท่ีได้รบั จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถนำวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีได้รับจากการทำวิจัยปฏิบตั ิการใน ช้นั เรียนไปใช้พัฒนาคุณภาพการจดั การเรียนรู้ 6.3 คุณค่าทเ่ี กดิ ตอ่ วงการศกึ ษา - การรว่ มกนั รบั ผิดชอบต่อการเรยี นรขู้ องนักเรียน ให้ผลการเรยี นรทู้ ่ีต้องการให้เกิดขึ้นในตวั นกั เรียน โดยครทู ีเ่ ป็นสมาชกิ ในชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี ทกุ คนวางเปา้ หมายร่วมกัน 7. ผลทเี่ กดิ จากการดำเนินงาน 7.1 ไดน้ วตั กรรมในการแก้ไขปญั หา 7.2 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี นดขี ึ้น หรือเป็นไปตามเกณฑท์ ต่ี กลงกนั ไว้ 7.3 พฤตกิ รรมของนกั เรยี นท่ีมปี ญั หาเปลย่ี นไปในทางทดี่ ีข้นึ ตามขอ้ ตกลงที่ตั้งไว้ 7.4 นำไปสู่การอบรมพัฒนาครู และรวบรวมส่ง เพอ่ื เก็บเป็นหลกั ฐานในการรายงานต่อไป 8. ร่องรอย/หลกั ฐาน 8.1 แผนการจัดการเรยี นรู้ พร้อมบนั ทึกหลังการสอน 8.2 ภาพการพูดคยุ ปรึกษากับสมาชิกกลมุ่ PLC 8.3 ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน 8.4 แบบสงั เกตการณ์จดั กิจกรรมการเรียนการสอน 8.5 ภาพการนเิ ทศการสอน 9. บทเรยี นทีไ่ ดจ้ ากการดำเนนิ งาน ครูผู้สอนได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่หลากหลายในห้องเรียน และพฤติกรรมของนักเรียนที่แตกต่างกันใน แต่ละบุคคล รวมไปถึงเรียนรู้ที่จะหาแนวทางในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่แตกต่างกันผ่านการอภิปราย รว่ มกนั กับเพอื่ นครูและนักเรยี น ชมุ ชนการเรียนรู้วิชาชีพ (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการท่มี ีประโยชน์และ คุ้มค่า สะท้อนผลเชิงวิชาชีพ โดยการพูดคุยสนทนากันระหว่างสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ ที่จะก่อให้เกิดผล ทางบวกต่อการเรียนการสอนและคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรือช่วยพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และส่งผลใหน้ กั เรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขนึ้ 10. สงิ่ ที่จะดำเนินการตอ่ ไป การจัดการเรียนการสอนออนไลนม์ าใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรยี นการ สอน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยส่ือการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย น่าสนใจ โดยพัฒนารูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนเป็นแบบ distance learning การเรยี นการสอนทางไกล ใช้ส่ือการเรียนออนไลน์ เชน่ Google Classroom , Google meet ,line กลุ่ม มาช่วยเพ่มิ เตมิ จากการเรียน ในห้องเรยี นปกติ และทำให้ผู้เรียนสามารถอ่านทบทวนเนื้อหายอ้ นหลงั ได้และยังเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนเข้าถึง แหล่งเรียนรู้ไดท้ ุกที่ ทุกเวลา จึงตอ้ งการเผยแพร่เทคนิคในการดูแลและบริหารชั้นเรียนให้กบั เพ่ือนครใู นชั้น เรยี นอื่น ๆ และ ผ้ทู ่ีสนใจต่อไป

5 11. ปัญหา /อปุ สรรค การพบปะพูดคุยระหว่างครูผู้สอนประจำวชิ าไมค่ ่อยตอ่ เนื่องเท่าที่ควร เนื่องด้วยขัดขอ้ งทางสัญญาณ โทรศัพท์ คาบการสอน และในบางครั้งครผู สู้ อนมภี าระนอกเหนืองานสอนมาก จงึ ไมส่ ะดวกในการแลกเปล่ียน เรียนรู้ 12. ข้อเสนอแนะ ควรมีเครือข่ายออนไลน์เป็นส่ือกลางในการติดต่อแลกเปล่ียนประสบการณร์ ะหว่างครทู ่ีทำงานร่วมกัน เช่น กลุ่ม Line หรือ Facebook และควรมีการวิจัยเพื่อหารูปแบบของบทเรียนออนไลน์ ที่เหมาะสมกับการ เรียนการสอนในระดับชั้นต่าง ๆ เพื่อรองรับการเรียนการสอน เพราะผู้เรียนแต่ละช่วงวัยมีด้านความรู้ และ ทักษะทแ่ี ตกตา่ งกัน

6 ปฏทิ ินการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้วชิ าชพี (PLC) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 กลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” ชว่ งเวลา กิจกรรม ผรู้ บั ผดิ ชอบ หมายเหตุ สปั ดาหท์ ่ี 1 - ครตู ัวแทนกล่มุ /คณะกรรมการฯ 5 พ.ย. 2564 - รวมกลุม่ เพือ่ จัดตงั้ กลมุ่ PLC และขอจดั ตั้งกลุ่ม - จัดทำปฏทิ นิ การดำเนนิ การงานชมุ ชนการเรยี นรู้วชิ าชีพ - Model Teacher ครั้งที่ 1 : สัปดาหท์ ี่ 2 (PLC) รว่ มกบั สมาชิกในกลุ่มPLC 5 พ.ย. 2564 - ประชุมกลุ่ม PLC วเิ คราะห์ปัญหา - สมาชกิ กลุ่ม PLC ครั้งที่ 2 : สัปดาหท์ ่ี 3 - การค้นหาปญั หา และหาสาเหตุของปัญหา 12 พ.ย. 2564 - กจิ กรรมหาแนวทางแก้ปัญหา ครั้งท่ี 3 : สปั ดาห์ที่ 4 15 พ.ย. 2564 - กจิ กรรมตดั สินใจเลอื กรูปแบบ/วธิ ีการ/นวตั กรรมในการ - สมาชกิ กลุ่ม PLC แก้ปัญหา - สมาชกิ กลุม่ PLC ครง้ั ที่ 4 : สปั ดาห์ที่ 5 19 พ.ย. 2564 - ออกแบบกจิ กรรมการแก้ปัญหา ครง้ั ที่ 5 : สปั ดาหท์ ี่ 6 - ออกแบบกิจกรรมตามวธิ ีการ/นวตั กรรมทก่ี ลมุ่ เลือก - สมาชิกกลมุ่ PLC 26 พ.ย. 2564 - กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเสนอแนะ (นำเสนอกจิ กรรมการ - สมาชิกกลุ่ม PLC นายณฎั ฐพ์ รี พล/ ครัง้ ท่ี 6 : สปั ดาห์ท่ี 7 แกป้ ญั หา ให้ผเู้ ชีย่ วชาญหรือผู้ท่ีมปี ระสบการณใ์ ห้ข้อเสนอแนะ) นายณัฐพงศ์ 3 ธ.ค. 2564 - Model Teacher - การนำสู่การปฏิบตั ิ และ สงั เกตการสอน ครั้งที่ 1 รว่ มกบั สมาชิกในกลุม่ PLC นางจีราภรณ์/ ครั้งท่ี 7 : สปั ดาหท์ ี่ 8 (การทดลองของ Model Teacher) - สมาชิกกลมุ่ PLC น.ส.ปาริชาติ 17 ธ.ค. 2564 - การสะทอ้ นผลการปฏิบัตขิ อง Model Teacher - ครูร่วมเรยี นรู้ นางสาคร/ ครงั้ ท่ี 8 : สัปดาห์ที่ 9 (After Action Review : AAR) รว่ มกับสมาชิกในกลมุ่ PLC น.ส.ชลดิ า 24 ธ.ค. 2564 - สมาชกิ กลมุ่ PLC - การนำสกู่ ารปฏบิ ตั ิ และ สงั เกตการสอน ครัง้ ที่ 2 คร้งั ที่ 9 : สัปดาห์ที่ 10 (การทดลองของสมาชิก 1) - ครูรว่ มเรยี นรู้ 7 มกราคม 2565 ร่วมกับสมาชิกในกลมุ่ PLC - การสะท้อนผลการปฏบิ ัตขิ องครรู ว่ มเรยี นรู้ - สมาชกิ กลุ่ม PLC ครั้งที่ 10 : สัปดาหท์ ่ี 11 (After Action Review : AAR) 14 มกราคม 2565 - สมาชิกกลมุ่ PLC - การนำส่กู ารปฏบิ ัติ และ สังเกตการสอน ครง้ั ท่ี 3 ครง้ั ท่ี 11 : สปั ดาห์ที่ 12 (การทดลองของสมาชิก 2) 21 มกราคม 2565 - การสะท้อนผลการปฏิบตั ิของครรู ่วมเรยี นรู้ คร้ังที่ 12 : สัปดาห์ท่ี 13 (After Action Review : AAR) 28 มกราคม 2565 - สรุปรายงานผล คร้งั ที่ 1 (การอภิปรายผล) ครั้งที่ 13 : สัปดาหท์ ่ี 14 4 กุมภาพนั ธ์ 2565 - สรุปรายงานผล คร้ังท่ี 2 (การสรปุ ผล และเสนอแนะแนวทาง - สมาชกิ กลุม่ PLC ครง้ั ท่ี 14 : สัปดาหท์ ่ี 15 ในการพัฒนา) 11กมุ ภาพันธ์ 2565 - เผยแพร่กิจกรรม/ช้นิ งาน/นวัตกรรม (Best Practices) - สมาชิกกลุม่ PLC ครัง้ ท่ี 15 : สัปดาหท์ ี่ 16 25กุมภาพันธ์ 2565 กมุ ภาพนั ธ์ 2565

7 แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สาระหลัก โรงเรยี นปทมุ านกุ ูล ชื่อกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครั้งท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2/2564 วัน/เดอื น/ปี : 5 พ.ย. 2564 เรม่ิ ดำเนนิ การเวลา 14.55 น. เสรจ็ ส้ินเวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาท้งั สน้ิ 2 ช่ัวโมง กิจกรรมครงั้ นอ้ี ยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขั้นที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขัน้ ที่ 2 ปฏบิ ัตแิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่เี ข้าร่วมกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชือ่ 1. นายมนตรี เจียรมาศ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน 2. นายณฎั ฐ์พรี พล มีบญุ มาก ผูเ้ ชี่ยวชาญ 3. นายณฐั พงศ์ พรหมทอง ครผู ู้สอนภาษาอังกฤษ 4. นางจรี าภรณ์ รัตนมณี ครรู ว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาคร แซ่เฮ่า ครรู ว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวปารชิ าติ ผลสด ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวชลิดา ประกอบชาติ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายศภุ กร สุขจนี ครรู ่วมเรียนรู้ 9. นางสาวยพุ ารัตน์ ชว่ ยชัย ครรู ว่ มเรยี นรู้ 10. นางสาวทพิ ย์มณฑา ไชยยัง ครูร่วมเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม การค้นหาปัญหา และหาสาเหตขุ องปัญหา 2. ประเด็นปัญหา/สงิ่ ที่ต้องการพัฒนา (เน้นทหี่ ้องเรียน) พูดคุยในเรื่องของปัญหาของเด็กท่ีเกดิ จากตวั ครู ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กทั้งห้อง เป็นเฉพาะกลุ่มก็ได้ โดยการสรุปเป็นปญั หาเดยี วกันในกลุ่ม เป็นปัญหาเร่งด่วนท่คี วรแกไ้ ขกอ่ น เพอ่ื ลดความโดดเด่ียวในการทำงาน และไม่ใช่ปัญหาจากความไม่พรอ้ มของส่ือ วสั ดอุ ปุ กรณ์ของหอ้ งเรียน 3. สมาชิกในกลุ่มนำเสนอปัญหา เนื่องจากในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นั้น ทำให้ไม่ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถครบ ตามหลักสตู รในชว่ งโรงเรยี นปิดในสถานการณแ์ พร่ระบาดของ COVID-19 สมาชกิ ในกลุ่มจึงมีความเห็นตรงกัน ว่าควรนำปญั หาดงั กล่าวมาปรับปรุงรปู แบบการจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ าของตนเอง 4. สมาชิกเลอื กปญั หา ที่จะนำมาแกไ้ ขรว่ มกัน จำนวน 1 ปญั หา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไมส่ ามารถจดั การเรยี นการสอนไดต้ ามปกติ

8 5. สมาชกิ ร่วมกนั วเิ คราะห์สาเหตขุ องปัญหา โดยสาเหตุของปัญหาทเี่ กดิ จากข้อสรปุ ของกลมุ่ สาเหตเุ กิดจากกระบวนการจดั การเรียนการสอน และ สาเหตไุ มใ่ ชป่ ญั หาเกิดจากความไมพ่ ร้อมของส่ือ วสั ดอุ ปุ กรณ์ของห้องเรยี น - ผลกระทบอันเนื่องมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ทำให้ครูผู้สอนและ นกั เรยี นตอ้ งปรับตวั สสู่ ภาวะการเรยี นร้ทู ่ีไม่คุน้ เคย นำไปส่ภู าระที่เพิม่ มากข้ึนทง้ั ในส่วนผู้สอนและผเู้ รยี น - การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนแบบออนไลน์ การเลือกวิธีผลิตสื่อและเผยแพร่ออนไลน์ใน หลายช่องทางภายในเวลาจำกัด เช่น วดิ ีโอสาธิต และการสอนสดผ่านโปรแกรม google meet - การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และการจัดการเรียนการสอนด้วยวีดิทัศน์ การสอนโดยครูต้นแบบและระบบออนไลน์ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของ สถานศึกษา - จดั ใหม้ กี ารเรียนการสอนตามหลักสูตรด้วยสื่อและช่องทางการส่ือสารทีม่ ีอยู่ สามารถส่งถึงผู้เรียนใน แตล่ ะกลุ่มเปา้ หมายได้ 6. ผลทไ่ี ดจ้ ากการจัดกจิ กรรม หัวหน้ากลุ่มสาระฯ มอบหมายให้ครูร่วมเรียนรู้ไปศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาจากสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และนโยบายการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อนำมาร่วมประชุม คร้ังต่อไป และนำผลการประชุม ของตนเอง เพอ่ื เก็บเปน็ หลกั ฐานในการรายงานต่อไป เลกิ ประชุมเวลา 16.55 น. ลงชอื่ .......................................................... ผู้บันทกึ (นางสาวปารชิ าติ ผลสด) ลงชื่อ ลงชื่อ ( นายณฐั พงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณิศา บญุ ไกร) ครูผสู้ อนภาษาอังกฤษ รองผ้อู ำนวยการปทุมานกุ ลู ลงชือ่ ........................................................ผู้รับรอง ( นายมนตรี เจียรมาศ ) ผู้อำนวยการโรงเรียนปทุมานกุ ูล

9 ภาพการปฏิบตั กิ ิจกรรม PLC ย ภาพการจัดกจิ กรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” ขน้ั ท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) โดยดำเนนิ การในวันที่ 5 พ.ย. 2564 เวลา 14.55 – 16.55 น.

10 แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สาระหลัก โรงเรียนปทมุ านุกูล ชือ่ กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” คร้ังท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2/2564 วัน/เดือน/ปี : 12 พ.ย. 2564 เริม่ ดำเนินการเวลา 14.55 น. เสร็จสิน้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 2 ชัว่ โมง กิจกรรมครั้งนีอ้ ยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขน้ั ท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ที่ ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชือ่ 1. นายมนตรี เจียรมาศ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน 2. นายณัฎฐ์พีรพล มบี ญุ มาก ผเู้ ชีย่ วชาญ 3. นายณฐั พงศ์ พรหมทอง 4. นางจรี าภรณ์ รัตนมณี ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซ่เฮ่า ครูรว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวปาริชาติ ผลสด ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวชลิดา ประกอบชาติ ครรู ่วมเรยี นรู้ 8. นายศุภกร สขุ จนี ครูร่วมเรยี นรู้ 9. นางสาวยุพารัตน์ ช่วยชัย ครูร่วมเรียนรู้ 10. นางสาวทิพยม์ ณฑา ไชยยัง ครูรว่ มเรยี นรู้ ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม แนวทางแก้ไขปญั หา และ การออกแบบกิจกรรม 2. ประเดน็ ปัญหา/ส่งิ ที่ต้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดการเรยี นการสอนได้ตามปกติ

11 3. สมาชกิ ในกล่มุ นำเสนอแนวทางแกไ้ ขปัญหา ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปญั หา หรือกระบวนการทจ่ี ะใชใ้ นการแก้ไขปญั หาดงั น้ี 1) ครูจีราภรณ์ : ครูควรมีการสืบเสาะแสวงหาสื่อการเรียนการสอนทางไกล หรือสื่อการเรียนการ สอนออนไลน์ โดยใช้งบประมาณให้น้อยท่ีสุด และให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากทีส่ ดุ 2) ครูปาริชาติ : ครูผู้สอนต้องพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ที่สำคัญครูผู้สอนต้องเข้าใจ ต้องเรียนรู้ และใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศนำมาประยุกต์ใช้ร่วมกบั การจดั การศึกษา 3) ครูสาคร : ครูควรนำเทคนิคการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ประกอบการเรียน เช่น บทเรยี นสำเรจ็ รปู บทเรียนออนไลน์ 4) ครูณัฐพงศ์ : เสนอแนะแนวทางการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอนต้องมีความสะดวกใช้และ สอดคลอ้ งกับความสามารถของผเู้ รียน 5) ครูณัฏฐ์พีรพล : เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา ครูควรพิจารณาปรับหรือเพิ่มเติมสาระ/สื่อ/ แบบฝกึ /มอบหมายงานเพม่ิ ให้เหมาะสม 6) ครูศุภกร: ครูควรมีการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ ทุกท่ที ุกเวลา 7) ครยู พุ ารตั น์ : เสนอแนะแนวทางการเลอื กควรใชส้ อ่ื ที่ครูผลิตได้เองแบบง่ายๆและเด็กเขา้ ใจ 8) ครูทิพย์มณฑา : เสนอแนะสื่อที่ใช้อาจเป็นสื่อที่เขาผลิตมาแล้วเรานำมาใช้ให้ตรงกับเนื้อหา จุดประสงค์ทสี่ อนแลว้ เขา้ ใจงา่ ยส้นั ๆ 9) ครูชลิดา : เสนอแนะการออกแบบสื่อการเรียนการต้องคำนึงถึง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา กจิ กรรมการเรยี นการสอน เพ่ือการออกแบบสอ่ื ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ 10) ครูจีราภรณ์ : หัวหน้าวิชาการ มอบหมายให้ครูร่วมเรียนรู้ไปศึกษาวิธีการนำเทคโนโลยีต่างๆ มา ใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งจะช่วยให้การนำเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนที่มีความน่าสนใจขึ้น และสร้างการมสี ว่ นรว่ มระหว่างนักเรียน และครูได้มากข้ึน แมใ้ นขณะที่ทุกคนต้องอาศัยภายในที่ พกั ของตนเองในชว่ งสถานการณ์ COVID-19 เพอ่ื ใหแ้ น่ใจไดว้ า่ นักเรยี นจะไม่พลาดการเรียนรู้ของ พวกเขา และช่วยใหเ้ สน้ ทางการเรยี นของนักเรียนสามารถเดินหน้าต่อไปได้ 11) ครณู ัฏฐพ์ รี พล:ผู้เชี่ยวชาญได้รว่ มเสนอแนะการจัดให้มกี ารเรียนการสอนตามหลักสตู รด้วยสื่อและ ช่องทางการสื่อสารที่มีอยู่ สามารถส่งถึงผู้เรียนในแต่ละกลุ่มเป้าหมายได้ โดยศึกษาจากวิธีการ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 4. สมาชกิ ร่วมกนั ออกแบบกจิ กรรมในการแกไ้ ขปัญหา การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลักสูตร โดยการสร้างสื่อ การเรยี นการสอนออนไลน์ 5. ประเดน็ / ความรแู้ ละขอ้ เสนอแนะทไ่ี ด้รบั จากการแลกเปล่ียนเรียนรคู้ ร้ังนี้ วิกฤตสู่โอกาส ปจั จุบนั เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทสำคัญและเปลีย่ นแปลงการดำเนินชีวิตของ ผู้คน ส่งผลกระทบทำให้หลายอาชีพถูกดิสรัปชัน (Disruption) ทำให้ในด้านการจัดการศึกษามีความจำเป็นที่ ต้องนำเทคโนโลยีดิจิทัลเขา้ มาเปน็ เครอื่ งมือ เพ่ือลดขอ้ จำกัด และเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดการเรยี นการสอน ให้มากยง่ิ ขึ้น อีกท้งั ยงั ชว่ ยสง่ ผลให้นักเรยี นที่อยหู่ ่างไกล สามารถมโี อกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 6. ผลที่ได้จากการจดั กจิ กรรม นำผลการประชมุ ไปบันทึกของตนเอง เพอื่ เกบ็ เปน็ หลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป

12 เลกิ ประชุมเวลา 16.55 น. ลงชือ่ .......................................................... ผู้บนั ทกึ (นางสาวปาริชาติ ผลสด) ลงชอื่ ลงชอื่ ( นายณัฐพงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณศิ า บุญไกร) ครผู ้สู อนภาษาอังกฤษ รองผอู้ ำนวยการปทุมานกุ ูล ลงชื่อ........................................................ผรู้ บั รอง ( นายมนตรี เจยี รมาศ ) ผู้อำนวยการโรงเรียนปทุมานกุ ูล

13 ภาพการปฏิบตั กิ จิ กรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนนิ การในวันที่ 12 พ.ย. 2564

14 แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สาระหลัก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู ช่ือกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครง้ั ท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2/2564 วนั /เดือน/ปี : 15 พ.ย. 2564 เรมิ่ ดำเนินการเวลา 14.55 น. เสรจ็ สนิ้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทัง้ สน้ิ 2 ชว่ั โมง กิจกรรมครง้ั นอี้ ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขนั้ ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do& See)  ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เี่ ข้ารว่ มกจิ กรรม 10 คน โดยมรี ายช่อื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้ ที่ ช่ือ-สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชื่อ 1. นายมนตรี เจยี รมาศ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น 2. นายณฎั ฐพ์ ีรพล มีบญุ มาก ผ้เู ชยี่ วชาญ 3. นายณฐั พงศ์ พรหมทอง 4. นางจรี าภรณ์ รตั นมณี ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซ่เฮา่ ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวปาริชาติ ผลสด ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวชลิดา ประกอบชาติ ครรู ่วมเรยี นรู้ 8. นายศุภกร สขุ จีน ครูรว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวยุพารัตน์ ช่วยชัย ครูร่วมเรียนรู้ 10. นางสาวทิพยม์ ณฑา ไชยยัง ครูรว่ มเรียนรู้ ครูร่วมเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม กจิ กรรมตัดสินใจเลอื กรูปแบบ/วิธีการ/นวตั กรรมในการแก้ปญั หา 2. ประเดน็ ปญั หา/ส่ิงที่ต้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำใหไ้ มส่ ามารถจัดการเรยี นการสอนได้ตามปกติ

15 3. สมาชกิ ในกลุ่มร่วมกนั จัดทำแผนกจิ กรรม จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ในสัปดาห์ที่ผ่านมาได้หวั ขอ้ การพัฒนานักเรียน คือ การพัฒนา รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่อื ให้นักเรียนไดเ้ รียนรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลักสูตร โดยการสร้างสื่อ การเรียนการสอนออนไลน์ จึงไดม้ กี ารวางแผนงาน เพอ่ื จัดทำแผนกจิ กรรมดงั น้ี 1) การวางแผน (Planning) การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือการ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใดในการเรียนการสอน และศึกษาแนวทางการเรียนการสอนล่วงหน้าผ่านเว็บไซต์ www.dltv.ac.th 2) การเตรียมการ (Preparation) เมื่อได้วางแผนเลือกใช้สื่อการสอนแล้ว ขั้นต่อมาคือการเตรียมการ สิ่งต่างๆ เพื่อให้การใช้สื่อการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตรงตามวัตถุประสงค์ ก่อนใช้สื่อการสอน ผสู้ อนควรเตรยี มความพรอ้ มในส่ิงต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 การเตรยี มความพรอ้ มของผสู้ อน 2.2 การเตรียมความพรอ้ มใหผ้ เู้ รยี น 2.3 การเตรียมความพรอ้ มของส่อื และอปุ กรณ์หรือเครือ่ งมอื ทีใ่ ช้รว่ มกัน 2.4 การเตรยี มความพรอ้ มของสภาพแวดล้อมและห้องสอน 3) ศึกษาเครื่องมือสำหรับพัฒนาสื่อการสอนการพัฒนาสื่อการสอนผ่านระบบเครือข่าย ซึ่งเกี่ยวข้อง กบั การสร้างโปรแกรมในการนำเสนอเนื้อหาบทเรยี น ในรปู แบบของขอ้ ความ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสยี ง ให้ สอดคลอ้ งกับเนือ้ หาและวตั ถุประสงคท์ ก่ี ำหนดไว้ 4) ตรวจสอบความก้าวหน้าของนักเรียนแตล่ ะคนในความรู้และทกั ษะแตล่ ะด้าน 5) ครูผู้สอนนำผลการประเมินและการวิจารณข์ องครูร่วมเรยี นรู้ มาปรบั ปรงุ และพฒั นาให้ดขี ึ้น 4. ประเด็น/ ความรแู้ ละขอ้ เสนอแนะท่ีได้รับจากการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้คร้ังน้ี การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ New Normal ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 และสถานการณ์ปกติ โดยการผสมผสานการเรียนออนไลน์ การเรียนในชั้นเรียน ร่วมกับการจัดการเรียนรู้ รูปแบบอืน่ สามารถวดั และประเมนิ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ 5. ผลทไ่ี ดจ้ ากการจดั กจิ กรรม นำผลการประชมุ ไป ของตนเอง เพือ่ เก็บเป็นหลกั ฐานในการรายงานต่อไป เลิกประชมุ เวลา 16.55 น. ลงช่อื .......................................................... ผบู้ ันทกึ (นางสาวปาริชาติ ผลสด) ลงชื่อ ลงช่ือ ( นายณัฐพงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณิศา บญุ ไกร) ครูผู้สอนภาษาองั กฤษ รองผอู้ ำนวยการปทมุ านกุ ูล ลงชอื่ ........................................................ผู้รบั รอง ( นายมนตรี เจยี รมาศ ) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนปทมุ านุกูล

16 ภาพการปฏิบตั กิ จิ กรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนนิ การในวันที่ 16 พ.ย. 2564

17 แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สาระหลัก โรงเรียนปทุมานุกูล ชื่อกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครงั้ ที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2/2564 วัน/เดอื น/ปี : 19 พ.ย. 2564 เร่ิมดำเนนิ การเวลา 14.55 น. เสรจ็ สิน้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทัง้ สน้ิ 2 ชวั่ โมง กจิ กรรมครัง้ น้ีอยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขั้นที่ 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ท่ี 2 ปฏบิ ตั ิและสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ีเ่ ข้าร่วมกิจกรรม 10 คน โดยมีรายชือ่ และบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ชอื่ -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชอ่ื 1. นายมนตรี เจียรมาศ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น 2. นายณฎั ฐพ์ รี พล มบี ญุ มาก ผู้เชี่ยวชาญ 3. นายณัฐพงศ์ พรหมทอง 4. นางจีราภรณ์ รตั นมณี ครูผ้สู อนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซเ่ ฮ่า ครูรว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวปาริชาติ ผลสด ครรู ว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวชลิดา ประกอบชาติ ครูรว่ มเรยี นรู้ 8. นายศภุ กร สขุ จนี ครรู ่วมเรียนรู้ 9. นางสาวยพุ ารตั น์ ชว่ ยชัย ครรู ่วมเรยี นรู้ 10. นางสาวทิพย์มณฑา ไชยยัง ครูร่วมเรยี นรู้ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การออกแบบกิจกรรมการแก้ปญั หา 2. ประเดน็ ปญั หา/สงิ่ ท่ตี ้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ 3. สมาชิกในกลุ่มร่วมกนั จดั ทำแผนกจิ กรรม จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ได้คัดเลือก ครูณัฐพงค์ พรหมทอง เป็นครูต้นแบบ (Model Teacher) ในการให้คำแนะนำการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่

18 ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่อื ใหน้ กั เรยี นไดเ้ รียนรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถ ครบตามหลักสูตร โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ จึงได้มีการร่วมวางแผนงาน เพื่อจัดทำและ ปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรรู้ ว่ มกนั ดังน้ี 1) คณะครูผเู้ ข้าร่วมประชมุ ไดศ้ กึ ษาขั้นตอนวิธกี ารจากครูต้นแบบ รว่ มกันแสดงความคิดเหน็ พูดคุย เพ่อื นำไปจัดทำและปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรูใ้ นรายวิชาของตนเอง 2) คณะครรู ว่ มแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ถงึ วิธีการข้นั ตอน เพื่อดำเนินการในขน้ั ต่อไป 3) คณะครูแต่ละท่านได้ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอน ออนไลน์ไปปรบั ใช้ในรายวิชาของตนเอง 4) รว่ มกันกำหนดบทบาทสมาชกิ ในการสงั เกตการณท์ ดลองใชร้ ูปแบบกิจกรรม 5) คณะครมู ีการนดั หมาย เพ่ือไปสงั เกตการณ์การสอนของครตู ้นแบบในการจดั กจิ กรรมการเรียนการ สอนโดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน และนำผลที่ได้จาก การจดั กจิ กรรมมาอภิปรายและสรปุ ผลรว่ มกนั เพอื่ หาแนวทางในการปรบั ปรงุ และพฒั นาต่อไป 4. ประเด็น/ ความรแู้ ละข้อเสนอแนะที่ได้รบั จากการแลกเปลย่ี นเรยี นรคู้ ร้งั นี้ สรุปความรู้และข้อเสนอแนะท่ีไดจ้ ากการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ในคร้ังน้ีคือ ในส่วนของแพลตฟอร์มออนไลน์ ทสี่ ามารถนำมาปรับใช้ เช่น Google meet ซง่ึ เปน็ แพลตฟอร์มทีเ่ ปิดให้ใช้ฟรี มีทั้งแบบแอพพลเิ คชัน่ และเว็บไซต์ คุณครูสามารถสร้าง Google meet แบบทดสอบผ่าน Google from สร้างและแจกจ่ายการบ้าน ตัดเกรด สื่อสารกับนักเรียนและผู้ปกครองได้ เมนูการใช้งานคล้ายคลึงกับการใช้ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ของ Google ซึ่งถ้าผู้ใช้ คุ้นเคยอยู่แล้วจะยิ่งเข้าใจง่าย นอกจากนี้ยังมี template เอกสารประกอบการเรียนวิชาต่าง ๆ ให้คุณครูมา เลือกใชไ้ ดด้ ว้ ย 5. ผลทีไ่ ดจ้ ากการจดั กิจกรรม นำผลการประชุมไป ของตนเอง เพอ่ื เกบ็ เป็นหลักฐานในการรายงานต่อไป เลกิ ประชมุ เวลา 16.55 น. ลงช่อื .......................................................... ผูบ้ ันทกึ (นางสาวปารชิ าติ ผลสด) ลงชือ่ ลงช่อื ( นายณัฐพงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณศิ า บญุ ไกร) ครผู สู้ อนภาษาองั กฤษ รองผอู้ ำนวยการปทมุ านกุ ูล ลงชอ่ื ........................................................ผรู้ บั รอง ( นายมนตรี เจยี รมาศ ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นปทุมานุกลู

19 ภาพการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม PLC ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนนิ การในวันท่ี 19พ.ย. 2564

20 แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรู้สาระหลัก โรงเรยี นปทุมานุกลู ชอื่ กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครั้งที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2/2564 วนั /เดือน/ปี : 26 พ.ย. 2564 เริม่ ดำเนนิ การเวลา 14.55 น. เสรจ็ สนิ้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทง้ั สิน้ 2 ชวั่ โมง กจิ กรรมครั้งน้ีอยูค่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขนั้ ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ที่ 2 ปฏิบตั ิและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ข้ันที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เี่ ข้าร่วมกิจกรรม 10 คน โดยมรี ายชื่อและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังนี้ ที่ ช่ือ-สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชื่อ 1. นายมนตรี เจียรมาศ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น 2. นายณฎั ฐพ์ ีรพล มบี ญุ มาก ผู้เชย่ี วชาญ 3. นายณฐั พงศ์ พรหมทอง 4. นางจีราภรณ์ รัตนมณี ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซเ่ ฮา่ ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวปารชิ าติ ผลสด ครรู ่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวชลดิ า ประกอบชาติ ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายศุภกร สุขจนี ครรู ว่ มเรยี นรู้ 9. นางสาวยพุ ารัตน์ ช่วยชัย ครูรว่ มเรยี นรู้ 10. นางสาวทพิ ย์มณฑา ไชยยัง ครรู ่วมเรยี นรู้ ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การออกแบบกิจกรรมตามวธิ ีการ/นวตั กรรมทกี่ ลุ่มเลอื ก 2. สมาชิกในกลมุ่ ร่วมกันจัดทำและปรบั ปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ จากปัญหาที่สำคัญที่สุดของกลุ่ม คือ “ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการ เรียนรู้” สมาชิกในกลุ่มจึงร่วมกันนำเสนอองค์ประกอบของนวัตกรรม กำหนดทิศทางและแนวทางการแก้ปัญหา ร่วมกันโดยใช้วิธีเดียวกันซึ่งสมาชิกในกลุ่มร่วมกันตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ปัญหา คือ ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนาความรู้ ความสามารถครบตามหลักสูตร จึงได้มีการร่วมจัดทำและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาของตนเอง รว่ มกัน โดยมีขัน้ ตอนการดำเนนิ การ ดงั นี้

21 1) กำหนดชอ่ื หนว่ ยการเรียนให้สอดคล้องกบั ประเดน็ ทจี่ ะแกป้ ัญหา 2) กำหนดขอบเขตของเนอ้ื หาให้สอดคลอ้ งกบั ประเดน็ ที่จะแก้ปญั หา 3) สร้างแผนการจดั การเรียนรเู้ ฉพาะหน่วยการเรยี นทใ่ี ช้นวตั กรรม 4) ทดลองนวตั กรรมใชก้ บั นักเรียน และรายงานการสร้างสอื่ นวัตกรรม 5) สมาชกิ ในกล่มุ PLC นัดหมายวนั และเวลาในการนำสือ่ นวัตกรรม เทคโนโลยใี ห้ผูน้ เิ ทศ/ ผู้เชีย่ วชาญทำการนิเทศ/ตรวจสอบ เพื่อแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ประสบการณ์ในการสร้าง 6) บันทึกผลการทดลองใช้ส่ือนวัตกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ 7) สะทอ้ นผลการใชส้ ือ่ นวัตกรรมในการแก้ปญั หา 8) สรปุ ผลการเข้าร่วมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ 9) จากการใช้กระบวนการ PLC แกป้ ัญหา นำไปส่รู ายงานการวิจัยในชน้ั เรียน 4. ประเดน็ / ความรู้และข้อเสนอแนะทีไ่ ด้รบั จากการแลกเปลย่ี นเรียนรคู้ รั้งนี้ ศึกษาทฤษฎีที่เก่ียวข้อง สมาชิกในกลุ่มร่วมกันเสนอแนะทฤษฎี/งานวิจัยที่เก่ียวข้อง ดังตอ่ ไปน้ี 1) การเรียนการสอนแนวใหม่เป็นการนำแนวคิด วิธีการ กระบวนการหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ มาใช้ใน การจัดการเรียนรู้ ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตามเปา้ หมายของ หลักสูตร ซึ่งจะช่วยให้การศึกษาและการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิด การเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมเหล่านั้น และประหยดั เวลาในการเรียนได้อีกดว้ ย 2) สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ช่วยกระตุ้นความสนใจและส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองแก่ ผเู้ รยี นสง่ เสริมให้ผ้เู รียนแสวงหาความรู้เพ่มิ เติมจากแหลง่ เรยี นรตู้ ่าง ๆ และเป็นสอื่ ทมี่ ีบทบาทสำคัญ ในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 3) การจัดการเรียนการสอนออนไลน์เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ถูกนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพ่ิม ศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากอำนวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการ สอนด้วยสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ ผเู้ รียนเขา้ ถงึ แหล่งเรยี นรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา 5. ผลท่ไี ดจ้ ากการจดั กจิ กรรม นำไปสู่การอบรมพัฒนาครู และนำผลการประชุมไปบันทึก ของตนเอง เพื่อเก็บเป็นหลักฐานในการ รายงานต่อไปทั้งนี้ได้นัดหมายวิธีการที่จะดำเนินการต่อไปในครั้งต่อไป คือ การจัดส่งแผนการจัดการเรียนรู้ เฉพาะหนว่ ยการเรียนที่จะดำเนนิ การใช้นวัตกรรม เลกิ ประชุมเวลา 16.55 น. ลงชือ่ .......................................................... ผบู้ นั ทกึ (นางสาวปาริชาติ ผลสด) ลงชือ่ ลงชื่อ ( นายณัฐพงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณศิ า บุญไกร) ครูผู้สอนภาษาองั กฤษ รองผู้อำนวยการปทุมานุกลู ลงช่อื ........................................................ผู้รบั รอง ( นายมนตรี เจียรมาศ ) ผู้อำนวยการโรงเรียนปทมุ านกุ ูล

22 ภาพการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม PLC ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนินการในวันท่ี 26 พ.ย. 2564

23 แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สาระหลัก โรงเรียนปทุมานุกลู ชื่อกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครัง้ ที่ 6 ภาคเรยี นที่ 2/2564 วัน/เดอื น/ปี : 3 ธันวาคม 2564 เรมิ่ ดำเนินการเวลา 14.55 น. เสร็จส้ินเวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทงั้ สิน้ 2 ช่วั โมง กิจกรรมครั้งนีอ้ ย่คู วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง ) ขั้นท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขนั้ ที่ 2 ปฏิบัติและสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขั้นที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เี่ ขา้ ร่วมกิจกรรม 10 คน โดยมรี ายชอ่ื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ที่ ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชื่อ 1. นายมนตรี เจยี รมาศ ผู้อำนวยการโรงเรียน 2. นายณัฎฐพ์ รี พล มีบญุ มาก ผเู้ ชยี่ วชาญ 3. นายณัฐพงศ์พรหมทอง 4. นางจีราภรณ์ รัตนมณี ครผู ู้สอนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซเ่ ฮา่ ครูร่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวปารชิ าติ ผลสด ครรู ว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวชลดิ า ประกอบชาติ ครูรว่ มเรยี นรู้ 8. นายศุภกร สขุ จีน ครรู ่วมเรียนรู้ 9. นางสาวยพุ ารัตน์ ชว่ ยชัย ครรู ว่ มเรียนรู้ 10. นางสาวทิพย์มณฑา ไชยยัง ครูร่วมเรียนรู้ ครูรว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม แลกเปล่ยี นเสนอแนะ (นำเสนอกจิ กรรมการแกป้ ัญหาให้ผเู้ ช่ียวชาญหรอื ผู้มี ประสบการณ์ให้ข้อเสนอแนะ) 2. สมาชิกในกลมุ่ ร่วมกนั จดั ทำและปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้ จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ได้คัดเลือก นายณัฐพงศ์ พรหมทอง เป็นครูผู้สอนหลัก (Model Teacher) เพ่อื ให้คำแนะนำในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสรา้ งส่ือการเรียนการ สอนออนไลน์ ซึ่งในครั้งนี้ได้มีการนัดหมายจัดส่งแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะหน่วยการเรียนที่จะดำเนินการใช้ นวัตกรรม เพือ่ ท่สี มาชิกในกลุ่มจะไดร้ ว่ มกนั ตรวจสอบ สงั เคราะห์ และปรบั ปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ จึงได้มีการ ร่วมวางแผนงาน ดังนี้

24 1. สมาชิกผู้เข้าร่วมประชุม ได้ศึกษาขั้นตอนวิธีการจากครูผู้สอนหลัก ร่วมกันแสดงความคิดเห็น พูดคุย เพือ่ นำไปจดั ทำและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง 2. สมาชิกในกลุ่มรว่ มแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ถึงวิธีการข้ันตอน เพอื่ ดำเนินการในข้ันต่อไป 3. สมาชิกในกลุ่มแต่ละท่านได้ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างเนื้อหาและสร้าง สือ่ การเรยี นการสอนออนไลน์ ไปปรบั ใช้ในรายวิชาของตนเอง 4. ร่วมกนั กำหนดบทบาทสมาชิกในการสังเกตการณ์ทดลองใชร้ ูปแบบกิจกรรม 5. สมาชกิ ในกลุ่มมีการนัดหมาย เพ่อื ไปสังเกตการณ์การสอนของครผู ูส้ อนหลักในการพัฒนารูปแบบการ จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยการสร้างเน้ือหาและสร้างสื่อการเรยี นการสอนออนไลน์ และนำผลท่ีได้จากการ จัดกิจกรรมมาอภิปรายและสรปุ ผลร่วมกัน เพ่อื หาแนวทางในการปรับปรุงและพฒั นาต่อไป 3. ประเดน็ / ความรู้และข้อเสนอแนะท่ีไดร้ ับจากการแลกเปลี่ยนเรยี นรคู้ รัง้ น้ี ชื่อสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพือ่ ให้นกั เรียนได้เรยี นรู้ และพฒั นาความรคู้ วามสามารถครบตามหลักสูตร นำไปใช้ในรายวิชา ภาษาอังกฤษ รหสั วชิ า อ 16101 เร่ือง Present Simple Tense ระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 จำนวน 1 ชัว่ โมง ใชว้ ิธกี ารสอนแบบ การสรา้ งเนือ้ หาและสร้างส่ือการเรยี นการสอนออนไลน์ รว่ มกบั ส่อื นวัตกรรม Google meet และ YouTube ทงั้ นไี้ ด้นัดหมายสงั เกตการณก์ ารสอนของครผู ู้สอนหลัก ในวันท่ี 17 ธันวาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15.30 – 16.30 น. ภาษาอังกฤษ รหสั วชิ า อ 16101 เร่อื ง Present Simple Tense 4. ผลท่ีได้จากการจดั กจิ กรรม นำไปสู่การอบรมพัฒนาครู และนำผลการประชุมไป ของตนเอง เพื่อเก็บเป็นหลักฐานในการรายงาน ต่อไป เลิกประชมุ เวลา 16.55 น. ลงชอ่ื .......................................................... ผ้บู ันทกึ (นางสาวปาริชาติ ผลสด) ลงชอ่ื ลงชอื่ ( นายณัฐพงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณศิ า บุญไกร) ครูผูส้ อนภาษาอังกฤษ รองผู้อำนวยการปทมุ านุกลู ลงชื่อ........................................................ผรู้ ับรอง ( นายมนตรี เจียรมาศ ) ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นปทุมานุกลู

25 ภาพการปฏบิ ตั ิกิจกรรม PLC ภาพการจัดกิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนินการในวนั ที่ 3 ธ.ค. 2564

26 แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สาระหลัก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู ชือ่ กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครั้งท่ี 7 ภาคเรียนท่ี 2/2564 วนั /เดอื น/ปี : 17 ธันวาคม 2564 เรม่ิ ดำเนนิ การเวลา 14.55 น. เสร็จสิน้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทัง้ สิ้น 2 ชั่วโมง กิจกรรมครง้ั นอ้ี ยคู่ วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ข้ันท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ข้ันท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ีเ่ ข้าร่วมกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้ ที่ ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชือ่ 1. นายมนตรี เจยี รมาศ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น 2. นายณฎั ฐ์พีรพล มีบุญมาก ผเู้ ช่ยี วชาญ 3. นายณัฐพงศ์พรหมทอง 4. นางจรี าภรณ์ รตั นมณี ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซ่เฮ่า ครูรว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวปารชิ าติ ผลสด ครรู ว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวชลดิ า ประกอบชาติ ครูร่วมเรยี นรู้ 8. นายศุภกร สขุ จีน ครูร่วมเรยี นรู้ 9. นางสาวยุพารัตน์ ช่วยชัย ครูร่วมเรยี นรู้ 10. นางสาวทิพย์มณฑา ไชยยัง ครรู ว่ มเรียนรู้ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนำสูก่ ารปฏบิ ัติ และ สงั เกตการสอน ครง้ั ที่ 1 (การทดลองของ Model Teacher) 2. ผลการสังเกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของนายณัฐพงศ์ พรหมทอง ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ภาษาอังกฤษ รหัสวิชา อ 16101 จากการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างส่ือ การเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนให้นักเรียนเล่นเกมแล้วสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการการใช้ Present Simple Tense ครูผู้สอนทบทวนและอธิบายการใช้ Present Simple Tense เพื่อให้นักเรียน เขา้ ใจเนือ้ ได้ดีขึน้ จากนน้ั ครูผู้สอนให้นกั เรียนทำแบบฝึกหัดผ่าน google from

27 3. จดุ เด่นในการจดั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ครผู ู้สอนเขา้ ใจเนื้อหาที่สอนอยา่ งแจ่มแจง้ (Insight) การสอนในลกั ษณะนค้ี รูผู้สอนมีการเตรยี มการ สอนมาเป็นอยา่ งดี เข้าใจเนื้อหาสาระท่ีสอนได้อยา่ งชัดเจน จึงสามารถสอนให้ผเู้ รียนเขา้ ใจในเน้ือหาจากงาย ไปหายากได้อยา่ งแจ่มแจง้ 4. จุดที่ตอ้ งพัฒนาในการจดั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่วมกันสะท้อนความคิดทั้งจุดเด่น จุดด้อย ปัญหา-อุปสรรค รวมท้ัง แนะนำวิธกี ารแก้ปัญหาโดยใชส้ ุนทรยี สนทนา ดังน้ี 1) ครผู ู้สอนควรใหน้ กั เรยี นแกป้ ัญหาด้วยตนเองอันจะนำไปสู่การคดิ เปน็ ทำเปน็ และแก้ปญั หาเปน็ 2) ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นหาสาเหตุ เหตุผล ความเป็นไปของสิ่งที่เรียน มีส่วนร่วมในการ วางแผน การดำเนินกิจกรรม และการประเมนิ ผลการเรียนการสอน 5. ผลลัพธ์ทไ่ี ดจ้ ากกิจกรรม ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซง่ึ เป็นประโยชน์ตอ่ การปรบั ปรุงและพัฒนาแผนการจดั การ เรียนรู้ และผู้สอนไดร้ ับนวตั กรรมและเริ่มวางแผนจดั ทำวจิ ยั ปฏิบัติการในชัน้ เรียน เลิกประชมุ เวลา 16.55 น. ลงชอื่ .......................................................... ผบู้ ันทึก (นางสาวปารชิ าติ ผลสด) ลงช่อื ลงช่ือ ( นายณฐั พงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณศิ า บุญไกร) ครูผู้สอนภาษาองั กฤษ รองผู้อำนวยการปทุมานุกูล ลงชอื่ ........................................................ผรู้ ับรอง ( นายมนตรี เจียรมาศ ) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนปทมุ านุกลู

28 ภาพการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม PLC ภาพการจัดกิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนนิ การในวันที่ 17 ธ.ค. 2564

29 แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรู้สาระหลัก โรงเรยี นปทมุ านุกลู ชื่อกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” คร้งั ที่ 8 ภาคเรียนที่ 2/2564 วัน/เดอื น/ปี : 24 ธนั วาคม 2564 เริ่มดำเนินการเวลา 14.55 น. เสรจ็ ส้ินเวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทัง้ สน้ิ 2 ชั่วโมง กจิ กรรมครั้งน้ีอยูค่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ข้ันท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขัน้ ท่ี 2 ปฏิบัติและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขัน้ ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูที่เขา้ ร่วมกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้ ท่ี ชอ่ื -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชอ่ื 1. นายมนตรี เจียรมาศ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน 2. นายณฎั ฐพ์ ีรพล มบี ญุ มาก ผ้เู ชี่ยวชาญ 3. นายณัฐพงศ์ พรหมทอง 4. นางจรี าภรณ์ รัตนมณี ครูผสู้ อนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซเ่ ฮา่ ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวปารชิ าติ ผลสด ครูร่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวชลิดา ประกอบชาติ ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายศุภกร สุขจนี ครูรว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวยพุ ารตั น์ ชว่ ยชัย ครูรว่ มเรยี นรู้ 10. นางสาวทพิ ยม์ ณฑา ไชยยัง ครูรว่ มเรียนรู้ ครรู ว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะท้อนผลการปฏิบัติของ Model Teacher (After Action Review : AAR 2. ครูผ้สู อนหลัก (Model teacher) สะท้อนผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรขู้ องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2/2564 ได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และ พัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลักสูตร พบว่าสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ช่วยกระตุ้นความสนใจและ ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองแก่ผู้เรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ

30 ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนมาก่อนล่วงหน้าและอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียน เข้าถงึ แหล่งเรยี นรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา 3. สะท้อนผลการใช้สื่อนวัตกรรมในการแกป้ ญั หา สมาชิกในกล่มุ PLC รว่ มกนั อภปิ รายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรียนรู้ของนกั เรยี น เพ่ือปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรียนรขู้ องครผู สู้ อน 4. ผลการนำสื่อนวตั กรรมฯไปแก้ปญั หา ประสบความสำเร็จ ประเด็นทนี่ ำไปส่รู ายงานการวจิ ัย เร่อื ง “การพัฒนารปู แบบการจดั การเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอน ออนไลน์ รายวิชา อ 16101 เรื่องการใช้ Present Simple Tense ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564” 5. สมาชิกร่วมกันปรับปรุงแบบกจิ กรรมตามท่ีได้สะทอ้ นผล และ ปรับแผนกจิ กรรม นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่ วม สังเกตการณ์ ซึ่งแผนการจัดการเรยี นร้นู ้มี ีข้ันตอนสำคัญในการจดั กจิ กรรมการสร้างเน้ือหาและการสร้างสื่อการ เรียนการสอนออนไลน์ คือ การนำเข้าสู่บทเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบไปด้วยขั้นสนใจ (Motivation) ขั้นศึกษาข้อมูล (Information) ขั้นพยายาม (Application) และขนั้ สำเรจ็ ผล (Progress) ซ่ึงครู มอบหมายใหน้ กั เรยี นเปน็ ผศู้ ึกษาต่อจากทไ่ี ดเ้ รียนผา่ นออนไลน์โดยดยู ้อนหลังจากคลิปการสอนที่ครไู ด้สร้างข้ึน จากน้ันครใู ห้นกั เรยี นทำแบบทดสอบผ่าน google from เพ่ือทดสอบความรู้ทีไ่ ดเ้ รยี นมา 6. กิจกรรมทไี่ ดร้ ่วมทำ ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง Present Simple Tense จากนั้นครูร่วม เรียนรู้ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้คำแนะนำในการ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิดหลัง ปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนั้นปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจัยปฏิบัติการในช้ัน เรียนต่อไป เลิกประชมุ เวลา 16.55 น. ลงชอื่ .......................................................... ผู้บันทึก (นางสาวปาริชาติ ผลสด) ลงชื่อ ลงชื่อ ( นายณฐั พงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณิศา บญุ ไกร) ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษ รองผูอ้ ำนวยการปทมุ านกุ ูล ลงชอื่ ........................................................ผรู้ ับรอง ( นายมนตรี เจยี รมาศ ) ผู้อำนวยการโรงเรียนปทุมานกุ ลู

31 ภาพการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม PLC ภาพการจัดกิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนนิ การในวันที่ 24 ธ.ค. 2564

32 แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรู้สาระหลัก โรงเรียนปทุมานกุ ูล ชอ่ื กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครัง้ ที่ 9 ภาคเรียนที่ 2/2564 วัน/เดือน/ปี : 7 มกราคม 2565 เร่ิมดำเนนิ การเวลา 14.55 น. เสร็จสนิ้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทง้ั สน้ิ 2 ชว่ั โมง กจิ กรรมคร้งั น้อี ยูค่ วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขน้ั ท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏิบัติและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทต่อกิจกรรม ดงั นี้ ท่ี ช่อื -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอื่ 1. นายมนตรี เจียรมาศ ผู้อำนวยการโรงเรียน 2. นายณฎั ฐพ์ รี พล มบี ญุ มาก ผูเ้ ชยี่ วชาญ 3. นายณัฐพงศ์พรหมทอง 4. นางจีราภรณ์ รตั นมณี ครูผ้สู อนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซเ่ ฮา่ ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวปาริชาติ ผลสด ครูรว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวชลดิ า ประกอบชาติ ครูร่วมเรียนรู้ 8. นายศภุ กร สขุ จนี ครรู ่วมเรียนรู้ ครูรว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม การนำสู่การปฏิบตั ิ และ สงั เกตการสอน ครง้ั ท่ี 2 (การทดลองของสมาชกิ 1) 2. สมาชิกในกลุม่ ร่วมกันจัดทำและปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของนายณัฐพงศ์ พรหมทอง ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา ภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการ สร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จัดทำสื่อวิชาภาษาอังกฤษ โดยเนื้อหามีเป้าหมาย หลักเพื่อพฒั นาผู้เรยี นให้มีความรู้ และทกั ษะการเรื่องการใช้ Present Simple Tense แกป้ ัญหาอย่างเป็น ขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวชิ าภาษาอังกฤษ ในการแก้ปัญหาท่ีพบในชวี ติ จริงไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ นำไปสู่การสร้างสรรค์งานในเชิงการออกแบบทางวิศวกรรม โดยการจัดรูปแบบให้นักเรียน เข้าศึกษาในเน้อื หาแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรู้ และทำใบงาน/แบบทดสอบ ส่งตามท่ีกำหนด

33 3. สะท้อนผลการใช้สื่อนวตั กรรมในการแก้ปัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC รว่ มกนั อภปิ รายพจิ ารณาทบทวนปญั หา อปุ สรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรยี นรู้ของนกั เรยี น เพอ่ื ปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ของครูผู้สอน 4. ผลการนำส่อื นวัตกรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวจิ ัย เรอ่ื ง “การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอน ออนไลน์ รายววชิ าภาษาอังกฤษ ระดับช้ันประถมศกึ ษปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564” เลิกประชมุ เวลา 16.55 น. ลงช่ือ.......................................................... ผู้บันทึก (นางสาวปาริชาติ ผลสด) ลงชอ่ื ลงชอ่ื ( นายณัฐพงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณศิ า บญุ ไกร) ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษ รองผู้อำนวยการปทมุ านุกลู ลงช่อื ........................................................ผรู้ บั รอง ( นายมนตรี เจยี รมาศ ) ผู้อำนวยการโรงเรียนปทุมานกุ ูล

34 ภาพการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม PLC ภาพการจัดกิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” การปฏิบัตแิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ คร้งั ที่ 2 การทดลองของสมาชกิ : นายณฐั พงศ์ พรหมทอง โดยดำเนินการในวันที่ 7 มกราคม 2565 1.

35 แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สาระหลัก โรงเรียนปทุมานุกลู ชอื่ กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” คร้ังท่ี 10 ภาคเรียนที่ 2/2564 วนั /เดอื น/ปี : 14 มกราคม 2565 เริ่มดำเนนิ การเวลา 14.55 น. เสร็จสน้ิ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาท้ังส้นิ 2 ชว่ั โมง กิจกรรมครงั้ นี้อยคู่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขั้นท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ท่ี 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขน้ั ท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ี่เข้าร่วมกิจกรรม 8 คน โดยมรี ายชอ่ื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังนี้ ท่ี ช่อื -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่อื 1. นายมนตรี เจียรมาศ ผ้อู ำนวยการโรงเรียน 2. นายณัฎฐ์พรี พล มีบุญมาก ผ้เู ชี่ยวชาญ 3. นายณฐั พงศ์พรหมทอง 4. นางจีราภรณ์ รตั นมณี ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซเ่ ฮ่า ครรู ว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวปาริชาติ ผลสด ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวชลดิ า ประกอบชาติ ครูรว่ มเรยี นรู้ 8. นายศภุ กร สขุ จีน ครรู ่วมเรยี นรู้ ครรู ่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะท้อนผลการปฏบิ ัตขิ องครรู ว่ มเรยี นรู้ (After Action Review : AAR) 2. ครูผู้สอนหลัก (Model teacher) สะท้อนผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรขู้ องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2/2564 ได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และ พัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลักสตู ร พบว่าเปน็ การจดั กจิ กรรมที่สามารถตอบสนองความต้องการของ ผู้เรียน มีความสนใจ กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพราะบทเรียนออนไลน์ เป็นสื่อที่มีความสวยงาม ทนั สมัย และเข้าถึงไดง้ า่ ยเรียนไดท้ กุ ท่ที ุกเวลา และสามารถเขา้ ถงึ กลมุ่ เปา้ หมายได้เป็นอย่างดี 3. สะท้อนผลการใชส้ ื่อนวตั กรรมในการแกป้ ัญหา สมาชกิ ในกลุม่ PLC รว่ มกนั อภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อปุ สรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรยี นรู้ของนักเรยี น เพอื่ ปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนรู้ของครูผสู้ อน

36 4. ผลการนำสอื่ นวตั กรรมฯไปแก้ปัญหา ประสบความสำเร็จ ประเด็นทน่ี ำไปสู่รายงานการวิจยั เร่ือง “การพฒั นารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพอื่ ให้นกั เรยี นได้เรียนรู้ และพฒั นา ความรู้ความสามารถครบตามหลกั สูตร รายวชิ ารายววิชาภาษาองั กฤษ ระดับช้นั ประถมศกึ ษปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564” 5. สมาชิกร่วมกนั ปรับปรงุ แบบกิจกรรมตามทีไ่ ด้สะทอ้ นผล และ ปรับแผนกจิ กรรม นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่วมสังเกตการณ์ ซ่ึ ง แผนการจัดการเรียนรู้นี้มีขั้นตอนสำคัญในการจัดกิจกรรมการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการสอนโดยactive learning ซึ่งครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจาก บทเรียนออนไลน์ที่ครูได้สร้างขึ้น และศึกษาเนื้อหาจากบทเรียนออนไลน์ด้วยตนเอง ซึ่งครูจะทำหน้าที่ชี้แนะ และอธิบายเพิม่ เตมิ จากน้นั ครแู ละนักเรยี นจะรว่ มกันสรุปองคค์ วามรทู้ ่ีไดจ้ ากการจดั กิจกรรมภายในชน้ั เรียน 6. กจิ กรรมท่ไี ดร้ ่วมทำ ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง กริยา 3 ช่อง จากบทเรยี นออนไลน์ จากนั้น ครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทงั้ ให้คำแนะนำในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อส้ินสดุ ขัน้ ตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบนั ทึกผล การสะท้อนคิดหลังปฏบิ ัติการ (After Action Review : AAR) จากนัน้ ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจัย ปฏบิ ัติการในชน้ั เรียนต่อไป 7. แนวทางการนำความรู้ไปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพื่อแลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่น และจุดที่ต้อง พฒั นาในการจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จากนั้นการใช้ กริยา 3 ช่อง ผลการประชมุ ไปบันทึกใน Log book ของตนเอง เพ่ือเก็บเปน็ หลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป เลกิ ประชมุ เวลา 16.55 น. ลงช่อื .......................................................... ผ้บู ันทึก (นางสาวปารชิ าติ ผลสด) ลงชือ่ ลงชื่อ ( นายณัฐพงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณิศา บุญไกร) ครผู ู้สอนภาษาองั กฤษ รองผู้อำนวยการปทมุ านุกูล ลงชื่อ........................................................ผู้รับรอง ( นายมนตรี เจยี รมาศ ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นปทุมานกุ ลู

37 ภาพการปฏิบตั กิ จิ กรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” การสะทอ้ นผลการปฏบิ ตั ิของครูรว่ มเรยี นรู้ โดยดำเนินการในวนั ที่ 14 มกราคม 2565

38 แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรู้สาระหลัก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู ช่ือกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครั้งท่ี 11 ภาคเรยี นท่ี 2/2564 วนั /เดอื น/ปี : 21 มกราคม 2565 เร่มิ ดำเนินการเวลา 14.55 น. เสร็จสิ้นเวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทง้ั ส้ิน 2 ชั่วโมง กจิ กรรมคร้ังน้ีอยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในช่อง )  ข้นั ท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขนั้ ที่ 2 ปฏบิ ตั ิและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขนั้ ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรม 8 คน โดยมีรายชอื่ และบทบาทต่อกจิ กรรม ดงั นี้ ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชอ่ื 1. นายมนตรี เจยี รมาศ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น 2. นายณฎั ฐ์พีรพล มบี ญุ มาก ผูเ้ ชี่ยวชาญ 3. นายณัฐพงศ์พรหมทอง 4. นางจีราภรณ์ รัตนมณี ครผู ูส้ อนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซเ่ ฮ่า ครรู ว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวปาริชาติ ผลสด ครูร่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวชลดิ า ประกอบชาติ ครรู ่วมเรยี นรู้ 8. นายศภุ กร สขุ จนี ครรู ว่ มเรยี นรู้ ครรู ่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนำสกู่ ารปฏบิ ัติ และ สงั เกตการสอน (การทดลองสมาชกิ 2) 2. สมาชิกในกลมุ่ ร่วมกนั จดั ทำและปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของนายณัฐพงศ์ พรหมทอง ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา ภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการ สร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จัดทำสื่อรายวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อนำมาใช้ศึกษา เนื้อหาบทเรียนจากบทเรียนออนไลน์ ผ่าน google meet ส่งผลให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในเรื่องที่จะ ศึกษาง่ายยิง่ ขึ้นทำได้และทำเสร็จในเวลาที่รวดเรว็ เนื้อหาที่ใช้ในการในการจัดการเรยี นการสอน ประกอบ ไปด้วยกริยา 3 ช่อง 3. สะท้อนผลการใช้สื่อนวัตกรรมในการแก้ปัญหา สมาชิกในกลุม่ PLC รว่ มกันอภปิ รายพจิ ารณาทบทวนปญั หา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรียนรูข้ องครูผสู้ อน

39 4. ผลการนำสอ่ื นวตั กรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสำเรจ็ ประเดน็ ทน่ี ำไปสรู่ ายงานการวจิ ัย เร่ือง “การพัฒนารูปแบบการจัดการเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอน ออนไลน์ รายวิชาภาษาอังกฤษ ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564” เลกิ ประชมุ เวลา 16.55 น. ลงชือ่ .......................................................... ผู้บนั ทกึ (นางสาวปารชิ าติ ผลสด) ลงชอ่ื ลงชอ่ื ( นายณัฐพงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณศิ า บุญไกร) ครผู สู้ อนภาษาองั กฤษ รองผอู้ ำนวยการปทุมานุกูล ลงชือ่ ........................................................ผูร้ บั รอง ( นายมนตรี เจยี รมาศ ) ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นปทุมานุกูล

40 ภาพการปฏิบตั กิ จิ กรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” การสะทอ้ นผลการปฏบิ ตั ิของครูรว่ มเรยี นรู้ โดยดำเนินการในวนั ที่ 21 มกราคม 2565

41 แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สาระหลัก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู ชอ่ื กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครั้งท่ี 12 ภาคเรยี นท่ี 2/2564 วนั /เดอื น/ปี : 28 มกราคม 2565 เรมิ่ ดำเนนิ การเวลา 14.55 น. เสรจ็ สิน้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทัง้ ส้นิ 2 ช่ัวโมง กิจกรรมคร้ังน้อี ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขั้นที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ท่ี 2 ปฏบิ ัติและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขัน้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ี่เข้ารว่ มกิจกรรม 8 คน โดยมรี ายชือ่ และบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ชอื่ -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่อื 1. นายมนตรี เจียรมาศ ผ้อู ำนวยการโรงเรียน 2. นายณัฎฐพ์ ีรพล มบี ญุ มาก ผ้เู ช่ียวชาญ 3. นายณัฐพงศ์พรหมทอง 4. นางจีราภรณ์ รตั นมณี ครูผ้สู อนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซเ่ ฮ่า ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวปาริชาติ ผลสด ครูรว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวชลดิ า ประกอบชาติ ครูร่วมเรียนรู้ 8. นายศุภกร สขุ จีน ครรู ว่ มเรียนรู้ ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม การสะทอ้ นผลการปฏบิ ตั ขิ องครรู ว่ มเรยี นรู้ (After Action Review : AAR) 2. ครูผู้สอนหลัก (Model teacher) สะท้อนผลการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ขู องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2/2564 ได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และ พัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลักสตู ร พบว่าเปน็ การจดั กจิ กรรมทส่ี ามารถตอบสนองความต้องการของ ผู้เรียน มีความสนใจ กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพราะบทเรียนออนไลน์ เป็นสื่อที่มีความสวยงาม ทันสมยั และเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยเรียนไดท้ ุกท่ีทุกเวลา และสามารถเขา้ ถงึ กลมุ่ เป้าหมายได้เปน็ อย่างดี 3. สะท้อนผลการใช้ส่ือนวตั กรรมในการแกป้ ัญหา สมาชกิ ในกลุ่ม PLC ร่วมกนั อภิปรายพจิ ารณาทบทวนปัญหา อปุ สรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรยี นรขู้ องนกั เรียน เพ่อื ปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นร้ขู องครผู ูส้ อน

42 4. ผลการนำสือ่ นวัตกรรมฯไปแกป้ ัญหา ประสบความสำเรจ็ ประเด็นท่นี ำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพฒั นารูปแบบการจดั การเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือให้นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ และพฒั นา ความรู้ความสามารถครบตามหลักสูตร รายวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564” 5. สมาชิกรว่ มกันปรับปรุงแบบกิจกรรมตามทไี่ ด้สะท้อนผล และ ปรับแผนกิจกรรม นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่วมสังเกตการณ์ ซึ่ง แผนการจัดการเรียนรู้นี้มีขั้นตอนสำคัญในการจัดกิจกรรมการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการสอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบ active learning ซึ่งครูมอบหมายให้ นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจากบทเรียนออนไลน์ที่ครูได้สร้างขึ้น และศึกษาเนื้อหาจากบทเรียนออนไลน์ด้วยตนเอง ซึ่งครูจะทำหน้าที่ช้ีแนะ และอธิบายเพิ่มเตมิ จากนั้นครูและนักเรียนจะร่วมกันสรุปองค์ความรู้ทีไ่ ด้จากการจดั กิจกรรมภายในช้นั เรียน 6. กจิ กรรมท่ไี ดร้ ว่ มทำ ผ้สู อนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่อื ง กรยิ า 3 ชอ่ ง จากบทเรียนออนไลน์ จากน้ัน ครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมท้งั ใหค้ ำแนะนำในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เมอ่ื สิ้นสุดขนั้ ตอนการสะท้อนคิดแลว้ ผ้สู อนบนั ทึกผล การสะท้อนคิดหลังปฏบิ ัติการ (After Action Review : AAR) จากนัน้ ปรบั ปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจัย ปฏบิ ัติการในชนั้ เรียนต่อไป 7. แนวทางการนำความรไู้ ปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพื่อแลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ต้อง พัฒนาในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นนำไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนำผลการประชุมไป บนั ทึกเพื่อเกบ็ เป็นหลักฐานในการรายงานต่อไป เลกิ ประชุมเวลา 16.55 น. ลงช่ือ.......................................................... ผบู้ ันทึก (นางสาวปารชิ าติ ผลสด) ลงชือ่ ลงชอ่ื ( นายณัฐพงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณศิ า บญุ ไกร) ครูผ้สู อนภาษาองั กฤษ รองผู้อำนวยการปทุมานกุ ูล ลงชื่อ........................................................ผู้รบั รอง ( นายมนตรี เจียรมาศ ) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนปทุมานุกูล

43 ภาพการปฏิบตั ิกจิ กรรม PLC ภาพการจดั กิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” การสะท้อนผลการปฏบิ ตั ขิ องครรู ว่ มเรียนรู้ โดยดำเนนิ การในวันท่ี 28 มกราคม 2565

44 แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรู้สาระหลัก โรงเรยี นปทมุ านุกลู ชอ่ื กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครง้ั ท่ี 13 ภาคเรียนท่ี 2/2564 วนั /เดือน/ปี : 4 กุมภาพนั ธ์ 2565 เร่มิ ดำเนินการเวลา 14.55 น. เสร็จส้นิ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาท้ังส้นิ 2 ช่ัวโมง กิจกรรมครั้งน้ีสอดคล้องกบั การพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน ( Lesson study ) ( ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง  )  ขั้นท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do& See)  ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูทีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมรี ายชอื่ และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ที่ ช่อื -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชือ่ 1. นายมนตรี เจยี รมาศ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน 2. นายณฎั ฐ์พีรพล มีบุญมาก ผูเ้ ชีย่ วชาญ 3. นายณฐั พงศ์พรหมทอง 4. นางจรี าภรณ์ รัตนมณี ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษ 5. นางสาคร แซ่เฮา่ ครรู ่วมเรียนรู้ 6. นางสาวปาริชาติ ผลสด ครรู ่วมเรียนรู้ 7. นางสาวชลดิ า ประกอบชาติ ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายศภุ กร สุขจนี ครูรว่ มเรียนรู้ ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม สรุปรายงานผล คร้ังท่ี 1 (การอภิปรายผล) 2. ประเดน็ ปัญหา/ประเดน็ การพัฒนา จากปัญหาที่สำคัญที่สุดของกลุ่ม คือ ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดการเรยี นการสอนได้ตามปกติ จำเปน็ ต้องมี การเว้นระยะห่างทางสังคม มีการแบ่งกลุ่มนักเรียน แบ่งเวลาเรียน ทำให้เวลาเรียนในห้องเรียนน้อยลงทำให้การ จัดการเรียนการสอนไมค่ รอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ ครผู ้สู อนและสมาชิกในกลมุ่ PLC ไดแ้ ลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาดงั กล่าว แล้วนำไปใช้จดั กจิ กรรมใหแ้ กผ่ ู้เรียน

45 3. สาเหตุของปญั หา เนื่องจากมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ทำให้มีการเว้นระยะห่างทาง สังคม มีการแบ่งกลุม่ นักเรียน แบ่งเวลาเรียน ทำให้เวลาเรยี นในห้องนอ้ ยลง ทำให้การจัดการเรียนการสอนไม่ ครอบคลมุ ตามเนื้อหา 4. ความรู้หรือหลกั การท่ีนำมาประยกุ ตใ์ ช้/แนวทางการแกไ้ ขปญั หา ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ร่วมกนั สะทอ้ นความคดิ ทั้งจดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย ปัญหา-อปุ สรรค รวมทงั้ แนะนำวิธีการ แก้ปัญหา โดยพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นแบบ distance learning การเรียนการ สอนทางไกล ใชส้ อื่ การเรียนออนไลน์ เชน่ Google meet , you tube ,Google from ,PPT มาช่วยเพ่ิมเติม จากการเรยี นในหอ้ งเรยี นปกติ ทำให้นักเรยี นศึกษาบทเรยี นย้อนหลังได้ทกุ ท่ี ทกุ เวลา 5. กิจกรรมทไ่ี ดร้ ่วมทำ (อธิบายลกั ษณะของกิจกรรม) ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และ ผเู้ ช่ียวชาญใหข้ ้อคิดเห็นเกี่ยวกบั จุดเด่น จดุ ด้อย ปญั หาและอปุ สรรค รวมทัง้ ให้คำแนะนำในการพัฒนาการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ เมื่อสนิ้ สดุ ข้นั ตอนการสะท้อนคดิ แลว้ ผูส้ อนบันทึกผลการสะท้อนคดิ หลังปฏิบตั ิการ (After Action Review : AAR) จากนน้ั ปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ และทำวจิ ยั ปฏบิ ตั กิ ารในชัน้ เรยี นต่อไป 6. สมาชิกร่วมกันอภิปรายผล นำการจัดการเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนการ สอน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย น่าสนใจ และ ทำใหผ้ เู้ รยี นสามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นเข้าถงึ แหล่งเรียนรูไ้ ด้ทุกที่ ทกุ เวลา เลิกประชมุ เวลา 16.55 น. ลงช่อื .......................................................... ผบู้ ันทึก (นางสาวปาริชาติ ผลสด) ลงช่ือ ลงชอื่ ( นายณฐั พงศ์ พรหมทอง ) (นางเกษณิศา บุญไกร) ครผู ูส้ อนภาษาอังกฤษ รองผู้อำนวยการปทมุ านกุ ลู ลงชอ่ื ........................................................ผรู้ บั รอง ( นายมนตรี เจียรมาศ ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นปทุมานุกูล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook