Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานการวิจัย นายณัฏฐ์พีรพล

งานการวิจัย นายณัฏฐ์พีรพล

Published by Supakorn Sukjeen, 2022-01-18 02:44:30

Description: งานการวิจัย นายณัฏฐ์พีรพล

Search

Read the Text Version

การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวทิ ยาศาสตร์เรอ่ื ง เงา อปุ ราคา และ เทคโนโลยอี วกาศของนักเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู โดยการสอนแบบการสบื เสาะหาความร้แู บบ 5 Es ผสมผสานร่วมกับแอปพลเิ คชัน่ ต่างๆ นายณัฏฐ์พรี พล มบี ุญมาก ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู สังกัดสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ชือ่ งานวจิ ยั การพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวิทยาศาสตร์เรอ่ื งเงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศของนักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนปทมุ านุกลู โดยการสอนแบบการสบื เสาะหาความรแู้ บบ 5 Es ผสมผสาน ร่วมกบั แอปพลเิ คชน่ั ต่างๆ ผู้วจิ ัย นายณฏั ฐ์พีรพล มีบญุ มาก บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เร่ือง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนปทุมานุกูลก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการสอนแบบการสืบเสาะหาความรแู้ บบ 5 Es ผสมผสานรว่ มกับแอปพลิเคชนั่ ต่างๆ ประชากรท่ีใช้ในการวจิ ัยคร้ัง นไ้ี ด้แก่ นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6/3 โรงเรยี นปทมุ านุกูล รวมประชากรท้งั สนิ้ 30 คน โดยวิธกี ารส่มุ แบบเจาะจง ( Purposive sampling ) เครอื่ งมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ วิชาวิทยาศาสตร์แบบ5 Es ผสมผสานร่วมกับแอปพลิเคชั่นต่างๆ จำนวน 6 แผน เวลา 6 ชั่วโมง 2)แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เร่ือง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ซึ่งเป็นแบบปรนัยชนิดเลือก ตอบ 4 ตัวเลอื ก จำนวน 20 ขอ้ สถิติท่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่ คา่ ร้อยละของนักเรยี นทเ่ี รียนเปน็ รายคน ผลการวิจัย พบว่า ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวทิ ยาศาสตรเ์ ร่ือง เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 6 โรงเรียนปทุมานุกุล หลังการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานร่วมกับแอปพลิเคช่ันต่างๆ ภาพรวมมีการพัฒนาข้ึนทุกคนคะแนนเฉล่ียก่อนเรียนร้อยละ 65.00 หลังเรียนร้อยละ 95.00 คะแนนเพ่ิมข้ึนร้อยละ 30.00 (1)

กติ ตกิ รรมประกาศ งานวิจัยฉบับนส้ี ำเร็จลลุ ว่ งไดด้ ้วยความกรณุ าและใหค้ ำปรึกษาอยา่ งดียงิ่ ของ ผศ.นิตยารตั น์ คงนาลึก คณะ ครศุ าสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช อาจารย์ทปี่ รกึ ษาวิจัยหลกั ท่ไี ด้กรณุ าถ่ายทอดความรู้แนวคิด วธิ กี าร และตรวจสอบแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใสย่ ง่ิ ท่กี รุณาตรวจสอบแนะนำงานวิจยั นี้ จนมีความถูกตอ้ ง สมบรู ณ์ ผู้วิจยั ขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูง ขอขอบพระคณุ นายมนตรี เจียรมาศ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนปทุมานุกลู นางเกษณศิ า บุญไกรและนางชธรพร ร่มแก้ว รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนปทมุ านกุ ลู ทกี่ รณุ าอำนวยความสะดวกในการเกบ็ ข้อมลู รวมถงึ ขอขอบใจนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6/3 โรงเรียนปทมุ านุกลู ทกุ คน ท่ีเปน็ กลมุ่ ตวั อยา่ งในการวิจัย ทำใหก้ ารเก็บรวบรวมขอ้ มูลดำเนนิ ไปได้ ด้วยดี ขอขอบคุณเพ่ือนครทู ุกทา่ นท่ีคอยใหค้ วามชว่ ยเหลือ สนบั สนุนทง้ั ดา้ นกำลงั ใจ กำลงั กาย รวมทง้ั แก้ไขปญั หา อปุ สรรคตา่ งๆ จนวิจัยสำเรจ็ ลุลว่ ง คณุ คา่ ทงั้ หลายทไ่ี ดร้ ับจากการทำวจิ ัยฉบบั นี้ ผวู้ จิ ยั ขอมอบเป็นกตัญญกู ตเวทีแด่ บิดามารดาและบรู พาจารยท์ เี่ คยอบรมสงั่ สอน รวมทงั้ ผมู้ พี ระคณุ ทุกทา่ น ณฏั ฐพ์ รี พล มีบุญมาก (2)

สารบญั หน้า บทคัดยอ่ ......................................................................................................................................................... (1) กิตตกิ รรมประกาศ......................................................................................................................................... (2) สารบัญ............................................................................................................................................................ (3) ความเป็นมาและวามสำคัญของปญั หา..............................................................................................................1 วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั .................................................................................................................................. 3 สมมติฐานของการวจิ ยั ...............................................................................................................................……..3 เน้อื หา................................................................................................................................................................4 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา..................................................................................................... ...........................4 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ...............................................................................................................................................4 ประโยชนข์ องการวิจยั ........................................................................................................................................5 นยิ ามศัพท์เฉพาะตัวแปรท่ศี ึกษา........................................................................................................................6 วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ยั ...............................................................................................................................................6 ผลการวิจัย.........................................................................................................................................................7 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ...............................................................................................................8 สรปุ ผล................................................................................................................................................................8 อภปิ รายผล..........................................................................................................................................................9 ข้อเสนอแนะ........................................................................................................................................................10 บรรณานกุ รม.......................................................................................................................................................11 ภาคผนวก............................................................................................................................................................12 เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย......................................................................................................................................13 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1...................................................................................................................................14 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 2...................................................................................................................................19 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 3...................................................................................................................................23 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4...................................................................................................................................25 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 5...................................................................................................................................30 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 6...................................................................................................................................36 แบบทดสอบก่อนเรียน.........................................................................................................................................40 แบบทดสอบหลังเรยี น.........................................................................................................................................42 (3)

การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวิทยาศาสตร์เรอ่ื งเงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศของนักเรียน ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นปทุมานุกลู โดยการสอนแบบการสบื เสาะหาความรูแ้ บบ 5 Es ผสมผสานรว่ มกับแอปพลเิ คชัน่ ต่างๆ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยมี ีความจำเป็นและเพมิ่ ความสำคัญเป็นลำดับมากขนึ้ ตอ่ การดำรงชีวติ ของมนุษย์ แม้วา่ การพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยจี ะเอือ้ อำนวยในดา้ นชวี ิตความเป็นอย่ทู ีส่ ะดวกสบายและอายุยนื ยาวมากขนึ้ หากการนำวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยมี าใช้ โดยมิไดพ้ ิจารณาอยา่ งสุขุมรอบคอบและกว้างไกลแลว้ ยอ่ มเกิดผลเสียต่อ สภาพแวดล้อมและสมดุลทางธรรมชาตอิ ย่างมหันต์ เมอื่ มองไปข้างหนา้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควรชว่ ยเตรยี มให้ มนุษย์มีความพร้อมท่ีจะเผชิญกับปัจจัยพ้ืนฐานในการดำรงชีวิต และปัญหาอันเก่ียวเนื่องกับมนุษย์และส่ิงแวดล้อม ข้อที่พึงตระหนัก คือ การดำรงชีวิตของมนุษย์มิใช่เพ่ือกอบโกยผลประโยชน์จากธรรมชาติหรือการทำตนอยู่เหนือ ธรรมชาติ หากแต่มนุษยต์ อ้ งเรียนรู้ธรรมชาตทิ ่ีจะดำรงชีวติ อย่างสันติรว่ มกับผูอ้ ่ืน กับสงั คมวฒั นธรรม และกับธรรมชาติ ดังนน้ั ในชีวติ ประจำวันของมนษุ ย์ทกุ คน จะต้องเกย่ี วข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลา เกี่ยวข้องกับ ววิ ัฒนาการทางด้านความรู้ ทำให้มีการเปล่ยี นแปลงหลาย ๆ ด้าน จงึ มีความจำเป็นอยา่ งย่ิงที่จะทำให้บุคคลในสังคม รู้จักวิธีการคดิ อยา่ งมีเหตุผล มีวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีมีระบบ อันจะสง่ ผลให้เกิดการพัฒนาด้านสตปิ ัญญาซึ่งวธิ ีการ คิดน้ันเป็นวธิ ีเดยี วกนั กับที่ใช้อยใู่ นกระบวนการแสวงหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ (สิปปนนท์ เกตุทตั ม, 2555 : 541-561) ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษามาตรา 22 การจัดการ ศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องสง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ มาตรา 24 การจัด กระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศกึ ษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดงั ต่อไปนี้ (1) จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้ สอดคล้องกบั ความสนใจและความถนัดของผเู้ รียน โดยคำนึงถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล (2) ฝึกทกั ษะ กระบวนการ คิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกตค์ วามรู้มาใชเ้ พ่ือปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา (3) จัดกิจกรรมให้ ผเู้ รียนไดเ้ รียนรจู้ ากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติใหท้ ำได้ คดิ เปน็ ทำเป็น รกั การอ่านและเกิดการใฝ่ร้อู ยา่ งต่อเนอ่ื ง (4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ังปลูกฝังคุณธร รม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวกเพ่ือให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรแู้ ละมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้ การวิจัยเปน็ ส่วนหนงึ่ ของกระบวนการเรียนรู้ ท้งั นี้ ผ้สู อนและผ้เู รยี นอาจเรยี นรไู้ ปพรอ้ มกันจากสอ่ื การเรยี นการสอนและ แหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ (6) จัดการเรียนร้ใู ห้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชมุ ชนทกุ ฝ่ายเพื่อรว่ มกันพฒั นาผูเ้ รียนตามศักยภาพ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2553 : 17) ผู้วิจัยตระหนัก ถึงการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้ศึกษาค้นคว้า วิธีสอนแบบต่าง ๆ ตลอดทั้งศึกษางานวิจยั ท่ี เกี่ยวกับวธิ สี อนแบบต่างๆ เพอ่ื แก้ไขทงั้ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (2546, น.219 - 220) ไดน้ ำเสนอข้ันตอนการจัดการเรยี นรู้ด้วยการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5Es ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ 1) ข้ันสร้างความสนใจ 2) ขน้ั สำรวจและค้นหา 3) ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรปุ 4) ข้ัน ขยายความรู้ และ 5) ข้นั ประเมนิ ซึง่ การสอนแบบการสืบเสาะหาความร้แู บบ 5Es นั้นไดเ้ นน้ ใหผ้ ูเ้ รียน สรา้ งองค์ความรู้ ด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตทิ ่ีมีการสืบคน้ เสาะหา สำรวจตรวจสอบ และคน้ คว้าด้วยวิธีการต่าง ๆ แล้ว นายณัฏฐพ์ รี พล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านุกลู 1

เช่ือมโยงเขา้ กบั ประสบการณ์ของผู้เรียนเอง เป็นการช่วยสรา้ งกิจกรรม ให้ผู้เรียนพยายามสร้างความรู้ใหม่ โดยอาศัย ฐานความรู้เดิมเป็นการฝกึ ให้นักเรยี นเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่ง จะทำให้ผ้เู รยี นเห็นความสำคญั และเขา้ ใจในสาระทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ นอกจากนีไ้ ด้ค้นพบใน งานวิจัยของปิยะฉัตร์ ชัยมาลา (2550, บทคัดย่อ) เพ็ญสุดา แข็งกลาง (2550, บทคดั ย่อ) และ ศริ ลิ ักษณ์ นาไชย (2553, บทคัดย่อ) ที่ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวทิ ยาศาสตร์ พบว่า การสอนแบบการสืบเสาะหา ความรู้ แบบ 5Es ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังการเรียนของผู้เรียนท่ีได้รับการสอนแบบ การ สืบเสาะหาความรแู้ บบ 5 Es สูงกวา่ ผูเ้ รียนทไ่ี ดร้ ับการสอนตามปกตอิ ยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05 ดงั นัน้ วิธสี อน แบบการสบื เสาะหาความรู้แบบ 5Es ซง่ึ เปน็ ยุทธวิธีในการจัดการเรยี นการสอนที่ เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั ผู้เรียนสามารถ สรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง ไดเ้ รียนรูร้ ว่ มกนั และสามารถประเมนิ ผลการเรียนดว้ ยตนเองเปน็ การสอนท่ีเน้นให้ผเู้ รียน คิดและลงมือปฏิบัติเอง พฒั นาทักษะกระบวนการคดิ การแก้ปญั หา โดยท้ังนีส้ ถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (สสวท.) ในฐานะหน่วยงาน ท่ีรับผิดชอบหลักสูตรและการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ให้ ความสำคญั ต่อการพฒั นา และส่งเสรมิ การจัดกระบวนการเรยี นรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Approach) ที่บูรณา การเช่ือมโยง ระหว่างเนื้อหาสาระการเรียนวิทยาศาสตร์กับการพัฒนากระบวนการคิด การสำรวจตรวจสอบเพ่ือการ คน้ พบ และการแก้ปญั หาซง่ึ เป็นการปลกู ฝงั คุณลกั ษณะของนักวิทยาศาสตร์ ให้เกดิ ขนึ้ ในตวั เด็ก ทีส่ ำคญั ทสี่ ุด ก็คอื การ พฒั นาปลูกฝังให้ “เดก็ คิดเปน็ ทำเปน็ แกป้ ัญหาเปน็ ” โดยการจดั กระบวนการเรยี นรูแ้ บบสืบเสาะหาความรู้ 5 ข้ันตอน สามารถพัฒนาผู้เรียนให้กล้าคิด กล้าทำ กล้าซักถาม กล้าโต้แย้ง กล้า แสดงออก รู้จักคิดวิเคราะห์ มีความคิด หลากหลาย มจี ิตวิทยาศาสตร์ บรรยากาศการเรียนการสอนดี เป็นบรรยากาศการเรยี นรู้อย่างอสิ ระและสร้างสรรค์ ซึ่ง เป็นปัจจัยหนึ่งท่ีสำคัญในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ที่เอ้ือให้ผู้เรียน กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก และพัฒนา กระบวนการคิด โดยเฉพาะอย่างย่ิง เมื่อผู้เรียนได้ทำการทดลอง และมีการอภิปรายซักถาม แลกเปล่ียนเรียนรู้และ สามารถโต้แย้งกันได้ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย,ี 2548) จากสภาพปัญหาการจัดการเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในปัจจุบันผู้เรียน ไม่ค่อยมี พัฒนาการด้านทักษะกระบวนการคิด โดยเฉพาะทกั ษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา ซงึ่ เป็นทักษะทม่ี ีความสำคัญต่อการ พัฒนาด้านสติปญั ญาของเด็ก เป็นคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของเด็กไทยและเป็นเป้าหมายสำคัญของการจดั การศึกษา ประกอบกับการศึกษาข้อมลู จากสภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนปทุมานุกลู ซึ่งเป็น โรงเรียนที่มีการเน้นนักเรียนในด้านวิชาการของศูนย์เครือข่ายท่าศาลา 2 สำนักงานเขตพื้นท่ีการประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 มีเอกลักษณ์ด้านวชิ าของโรงเรียน คอื ผนู้ ำทางวชิ าการ ซ่ึงด้านวิชาการเป็นเปา้ หมายหลักของ โรงเรียน พบวา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับเรื่อง เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศรอ้ ยละ 55.00มี ผลสัมฤทธิต์ ำ่ กวา่ เป้าหมายของโรงเรียนที่ตง้ั ไว้ร้อยละ 70 (แบบบนั ทึกผลการเรยี นประจำรายวิชา (ปพ.5) ปทมุ านุกูล ,2563:3) ผู้วจิ ยั ไดศ้ ึกษาข้อมูลจากผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล และนำผลมาวเิ คราะหไ์ ดข้ อ้ สรุปของปญั หาดงั น้ี คอื 1) ผเู้ รียนมี ปัญหาในการเรยี นวิทยาศาสตรด์ ้านการคิด เช่น ขาดทักษะ การคดิ วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คดิ อย่างสร้างสรรคแ์ ละคิด อย่างเป็นระบบ 2) ผู้เรียนมีปัญหาด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การตั้งปัญหา การต้ังสมติฐาน การ ออกแบบการทดลอง และการสรุปผลการทดลอง 3) ผู้เรียนไม่ได้ค้นคว้าและเรียนรู้ด้วยตนเอง 4) ส่ือการสอนไม่ ทนั สมัย ไม่ช่วยกระตุ้นส่งเสริมการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหาที่มีความซับซอ้ น จากปัญหาดงั กลา่ ว จะเหน็ ได้ ว่าการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ยังไม่บรรลุเป้าหมายในการพัฒนาให้ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น จึงเป็น สิ่งจำเปน็ อย่างย่งิ หากผู้เรยี นเกดิ กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบมีขน้ั ตอนท่ีถกู ต้อง ทั้งนปี้ ัญหาดังกลา่ วเป็นเพราะเม่ือ ผู้เรียนพบเจอกับปัญหาต่าง ๆ ในระหว่างท่ีเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์ ผู้เรยี นยงั ไม่สามารถแก้ไขปัญหาน้ันไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง นายณัฏฐ์พรี พล มีบญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู 2

และเหมาะสม เนื่องจากผู้เรียนไม่มีความรู้ความเข้าใจการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างเพียงพอ ทำให้ ผู้เรียนมีพฤติกรรมทางการเรยี นวิทยาศาสตร์ท่ีไมพ่ ึงประสงค์ จึงทำให้สง่ ผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในช่วงสภานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID - 19 ในจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นพนื้ ท่ีสแี ดงมา ตงั้ แตร่ ะลอกที่ 2 ทำใหก้ ารจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนเริ่มมีการเปลีย่ นแปลง จัดให้มกี ารเรียนการสอนในรูปแบบ On-Air , On-Line , On-demand, On- hand และ on-site เพ่อื หลกี เล่ยี งหรือลดความเสย่ี งต่อการแพร่กระจายของ เชอื้ ไวรสั COVID -19 ผปู้ กครอง ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาจึงมีความห่วงใยผู้เรียน และคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานโรงเรียนปทุมานุกูลได้จดั ประชุมเตรยี มความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรยี น ปกี ารศึกษา 2564 ได้ประชุมวางแผน ในจัดการเรียนการสอนแบบ On-Line และ On hand และมีการเตรียมความพร้อมจัดอบรมครูให้ความรู้ด้าน เทคโนโลยี ที่จะนำไปใช้จัดการเรียนการสอน ผ่านหลายช่องทาง ตามความถนัดและธรรมชาติวิชาของครูผู้สอนแต่ ละวิชา จากปัญหาท่ีเกิดขึ้นดังกล่าวมาน้ัน ผู้วิจัยได้ศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่าน On line อีกทั้งพยายาม พฒั นาตนเองเรียนรู้โดยการอบรมออนไลน์ในการพัฒนาตนเองด้านเทคโนโลยี ศึกษาความรู้เพ่ิมเติมจาก you tube และได้อบรมการใช้แพลตฟอร์มทางการศึกษา ผู้วิจัยจึงต้ังเป้าหมายที่จะพัฒนาความสามารถการเรียนรู้กลุ่มสาระ วทิ ยาศาสตร์เรือ่ ง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการสอนแบบการสืบ เสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานร่วมกับแอปพลิเคช่ันต่างๆทำให้ครูมีเวลาชี้แนะผู้เรียนและชว่ ยผู้เรยี นสร้างสรรค์ แนวคดิ ตา่ งๆ ได้ มากขึ้น มกี ารจดั ระบบการจดั การเรียนการสอนของครูบนระบบแพลตฟอรม์ ดังน้ันผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาการพัฒนาความสามารถการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้การสอนแบบการสืบ เสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานรว่ มกับแอปพลิเคชั่นตา่ งๆเพอ่ื พัฒนาความสามารถการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาความสามารถการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์เรื่อง เงา อุปราคา และ เทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสาน ร่วมกบั แอปพลิเคช่นั ตา่ งๆ เพิม่ สงู ข้ึน และย่งั ยนื ตลอดไป วัตถุประสงค์ของการวิจยั เพื่อเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิทยาศาสตรเ์ รอ่ื งเงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศของนกั เรียน ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู กอ่ นเรียนและหลงั เรียนโดยการสอนแบบการสบื เสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานร่วมกับแอปพลเิ คชน่ั ต่างๆ สมมตฐิ านของการศกึ ษา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องเงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปที ่ี 6 หลงั เรียนดว้ ยวิธีการสอนโดยใช้การสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานร่วมกับแอปพลิเคชั่น ตา่ งๆ สูงกวา่ ก่อนเรียน นายณัฏฐพ์ รี พล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 3

เน้ือหา เน้ือหาท่ีใช้ในการศึกษา เป็นเน้ือหาสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการและหลักสูตรโรงเรียนปทุมานุกูลฉบับ ปรับปรงุ 2564 เรื่อง เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ซงึ่ มเี นอ้ื หายอ่ ยตามหัวข้อตอ่ ไปนี้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ตรงกบั มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของ พลงั งาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ ง สสารและพลังงาน พลงั งานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณท์ เ่ี ก่ยี วขอ้ งกับเสยี ง แสง และ คลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมทง้ั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตัวชีว้ ัด ว 2.3 ป.6/7 อธบิ ายการเกิดเงามืด เงามัวจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ว 2.3 ป.6/8 เขยี นแผนภาพรังสีของแสง แสดงการเกิดเงามดื เงามัว ว 2.3 ป.6/1 สรา้ งแบบจำลองท่ีอธบิ ายการเกดิ และเปรยี บเทียบปรากฏการณส์ ุริยปุ ราคาและ จนั ทรปุ ราคา ว 2.3 ป.6/2 อธบิ ายพัฒนาการของเทคโนโลยอี วกาศและยกตัวอยา่ งการนำเทคโนโลยอี วกาศมาใช้ ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 เรอ่ื ง เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 1.1 เงาและอปุ ราคา จำนวน 1 ช่วั โมง 1.2 การเกิดเงา จำนวน 1 ชวั่ โมง 1.3 เงาเกดิ ขน้ึ ได้อย่างไรและ มีลกั ษณะอย่างไร จำนวน 1 ชั่วโมง 1.4 การเกิดสรุ ิยปุ ราคาและจันทรุปราคา จำนวน 1 ช่วั โมง 1.5 รจู้ กั เทคโนโลยีอวกาศ จำนวน 1 ช่ัวโมง 1.6 เทคโนโลยอี วกาศมีประโยชน์อยา่ งไร จำนวน 1 ช่ัวโมง ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการศึกษา ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา ผู้วิจยั ทำการสอนด้วยโดยใช้การสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานร่วมกับแอปพลเิ คชัน่ ต่างๆ ในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 6 ชว่ั โมง นยิ ามศัพท์เฉพาะ เพอ่ื ให้เข้าใจความหมายเฉพาะของคำทใี่ ช้ในการศกึ ษาคร้ังนตี้ รงกนั จงึ ได้นิยาม ความหมายไว้ดังน้ี 1. การพัฒนาความสามารถการเรียนรู้วชิ าวิทยาศาสตร์ หมายถึง การท่ีนักเรียนสามารถเรียนรู้โดยใช้การสอน แบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es ซึ่งมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ขึ้น จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 2. วิธีการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es หมายถึง รูปแบบการสอนท่ีใช้ ในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ โดยยึดแนวคิดของ (สถาบัน ส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2548) ทม่ี งุ่ เนน้ ใหผ้ ู้เรียนค้นหาความรใู้ หมด่ ้วยตนเอง โดยผา่ นกระบวนการคิด การปฏบิ ัติ และใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย 5 ขัน้ ตอน ดงั นี้ 2.1 ขนั้ สร้างความสนใจ ครูกระตุ้นให้ผูเ้ รียนสนใจ สงสัย อยากรู้ อยากเห็นต้อง การศกึ ษาคน้ ควา้ ทดลองหรือ แกป้ ญั หาด้วยตนเองในเรอื่ งเงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ นายณัฏฐพ์ ีรพล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 4

2.2 ข้นั สำรวจและค้นหา ผู้เรียนวางแผนกำหนดแนวทางในการสำรวจตรวจสอบ คน้ หาปัญหาหรือประเดน็ ท่ี ผ้เู รยี นสนใจในเร่อื งเงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 2.3 ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป ผู้เรียนนำความรู้ในเร่ืองเงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ จาก การสำรวจ ตรวจสอบ ค้นหา มาอภปิ รายร่วมกันแล้ววิเคราะห์ แปลผล สรุปผล 2.4 ขนั้ ขยายความรู้ ผู้เรยี นนำความรู้ที่สร้างขึ้นใหม่ มาเชื่อมโยงกบั ความรู้เพ่ือ เพิ่มเติมความรู้ ความเขา้ ใจใน องคค์ วามรู้ เรื่องเงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ไดอ้ ย่างกวา้ งขวางและลึกซึ้งย่ิงขนึ้ 2.5 ขั้นประเมิน ผู้เรียนได้ประเมินความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการเรียนรู้ ความสามารถของตนเองและครู ประเมนิ นักเรียนในเรื่องเงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 3. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิทยาศาสตร์หมายถึงความสามารถทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนในเรือ่ ง เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ ประกอบด้วย ด้านความรู้ ความคดิ วัดได้จากแบบทดสอบวัด ผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียน เร่ือง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ซึ่งเปน็ แบบปรนยั ชนิดเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื กที่ผวู้ จิ ัย สร้างขึ้นตามตาราง การวเิ คราะห์หลักสูตรซึ่งครอบคลมุ พฤติกรรมด้าน ความรู้ ความจำ ความเขา้ ใจ การนำไปใช้ วิเคราะห์จำนวน 20 ขอ้ 4. การจัดการเรยี นรแู้ บบผสมผสานร่วมกับแอปพลิเคชนั่ ต่างๆ หมายถึง กระบวนการจดั การเรยี นรู้ทผ่ี สมผสาน เทคนิควิธี กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายมาใช้ให้เข้ากับบริบทน้ัน ๆ ร่วมกับแอปพลิเคช่ันต่างๆ เช่น you tube/ livework sheets/ blooket/ PowerPoint/google from ใช้ประกอบในการสอน ประโยชน์ของการวจิ ัย 1.การสอนโดยใช้แบบการสบื เสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานรว่ มกับแอปพลเิ คชัน่ ต่างๆ ทำให้นักเรียน สามารถแกป้ ัญหาดว้ ยตนเองและมกี ารชว่ ยเหลอื กันภายในกลมุ่ และทำใหม้ ผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้นึ 2. นกั เรยี นมคี วามสามารถในการคิดแก้ปญั หาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 3. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ศึกษาค้นคว้านำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหา พัฒนาตนเอง และใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ 4.ผสู้ อนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรส์ ามารถนำแนวทางการเรียนรจู้ ากการเรยี นรู้โดยใชก้ ารสอนแบบการ สบื เสาะหาความรู้แบบ 5 Es สมผสานร่วมกบั แอปพลเิ คชั่นตา่ งๆ ไปใชก้ บั นักเรยี นในระดบั อืน่ ได้ นายณัฏฐ์พรี พล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู 5

นิยามศพั ท์เฉพาะตัวแปรที่ศกึ ษา 1. ตวั แปรต้น (Independent Variable) ไดแ้ ก่ วธิ กี ารสอนโดยใช้การสอนแบบการสบื เสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานร่วมกับแอปพลิเคชั่น ตา่ งๆกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์เรื่อง เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยี อวกาศ สำหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 2. ตวั แปรตาม (Dependent Variable) ไดแ้ ก่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์เรอื่ ง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี อวกาศ ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 6 วธิ ีดำเนินการวิจยั 1. กลมุ่ เปา้ หมาย นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6/3 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรียนปทมุ านุกลู อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 30 คน โดยวิธีการสมุ่ แบบเจาะจง( Purposive sampling ) 2. เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวิจยั 2.1 แผนการจดั การเรยี นรู้เรื่อง เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ วชิ าวิทยาศาสตร์แบบ5 Es ท่ี ผสมผสานรว่ มกบั แอปพลเิ คชั่นต่างๆ จำนวน 6 แผน เวลา 6 ช่วั โมง 2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิทยาศาสตรเ์ รื่อง เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ซ่ึง เปน็ แบบปรนยั ชนิดเลอื ก ตอบ 4 ตวั เลือก จำนวน 20 ขอ้ โดยแบ่งการวดั พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ของนกั เรียน ด้าน ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ วิเคราะห์ กำหนดเกณฑ์การให้ คะแนน ดงั นี้ ขอ้ ท่ถี ูกให้คะแนนเปน็ 1 คะแนน ขอ้ ทต่ี อบผิด ไม่ไดต้ อบ หรือตอบเกนิ 1 ข้อ ให้ 0 คะแนน 3. วิธดี ำเนินการแก้ปัญหา/เกบ็ รวบรวมข้อมูล 1. ผ้วู จิ ยั นำแผนการจดั การเรียนรู้ ท่ปี รบั ปรงุ แกไ้ ข สมบรู ณ์แลว้ ไปใชจ้ ดั กิจกรรม การเรยี นการสอน กบั กลมุ่ ตัวอย่างซึง่ เปน็ นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6/3 โรงเรียนปทมุ านุกลู ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 30 คน ใชร้ ะยะเวลาในการทดลองรวม 6 ชั่วโมง โดยดำเนินการดงั นี้ 1.1 ชี้แจงใหผ้ เู้ รียนเข้าใจถงึ วิธกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรูข้ องแผนการจัดการเรยี นรู้ 1.2 ทดสอบกอ่ นเรียน 1.3 ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมโดยใชแ้ ผนการจัดการเรียนรทู้ ่ีไดจ้ ดั เตรยี มไว้จำนวน 6 แผน โดยใช้เวลา 6 ช่วั โมง 1.4 ดำเนินการทดสอบหลงั เรียนโดยใช้แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน นายณัฏฐ์พีรพล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 6

ผลการวิจัย การวิจัย เร่ือง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์เร่ืองเงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียนปทมุ านุกูลโดยการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสาน รว่ มกับแอปพลิเคช่ันต่างๆ การดำเนินงาน การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงก่งึ ทดลอง (Quasi-Experimental Design) ดำเนินการทดลอง ตามแบบแผนการวจิ ยั แบบกลมุ่ เดยี วก่อนหลงั (One-Group Pretest – Posttest Design) ผวู้ ิจัยนำเสนอผล การวจิ ัย ตามลำดบั ดงั ตอ่ ไปนี้ - การนำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู เปรียบเทียบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น การวเิ คราะหข์ อ้ มูล/วิเคราะหผ์ ลการแก้ปญั หา ตอนท่ี 1 ผลการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวิทยาศาสตร์เรอื่ งเงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศของ นกั เรียนช้ันประถม ศึกษาปีท่ี 6 ระหว่างก่อนกับหลังการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานรว่ มกับ แอปพลิเคชั่นตา่ งๆ ลำดับท่ี ก่อนเรยี น ร้อยละ หลงั เรยี น รอ้ ยละ ผลการพฒั นา ร้อยละ (20 คะแนน) (20 คะแนน) 1 2 10 50.00 18 90.00 +8 40.00 3 4 12 60.00 19 95.00 +7 35.00 5 12 60.00 18 90.00 +6 30.00 6 16 80.00 20 100.00 +4 20.00 7 13 65.00 19 95.00 +6 30.00 8 9 15 75.00 20 100.00 +5 25.00 10 8 40.00 16 80.00 +8 40.00 11 8 40.00 16 80.00 +8 40.00 12 8 40.00 17 85.00 +9 45.00 13 16 80.00 20 100.00 +4 20.00 14 15 18 90.00 20 100.00 +2 10.00 16 14 70.00 20 100.00 +6 30.00 17 18 90.00 20 100.00 +2 10.00 18 15 75.00 20 100.00 +5 25.00 19 12 60.00 17 85.00 +5 25.00 20 8 40.00 16 80.00 +8 40.00 12 60.00 19 95.00 +7 35.00 8 40.00 17 85.00 +9 45.00 9 45.00 18 90.00 +9 45.00 16 80.00 20 100.00 +4 20.00 นายณัฏฐ์พรี พล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 7

21 13 65.00 20 100.00 +7 35.00 22 13 65.00 20 100.00 +7 35.00 23 18 90.00 20 100.00 +2 10.00 24 8 40.00 16 80.00 +8 40.00 25 13 65.00 20 100.00 +7 35.00 26 13 65.00 20 100.00 +7 35.00 27 17 85.00 20 100.00 +3 15.00 28 17 85.00 20 100.00 +3 15.00 29 8 40.00 17 85.00 +9 45.00 30 13 65.00 20 100.00 +7 35.00 คะแนนเฉล่ีย 13 65.00 19 95.00 +6 30.00 จากตารางที่ 1 พบว่า เม่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนโดยการสอนแบบ การสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานร่วมกับแอปพลิเคชั่นต่างๆภาพรวมมีการพัฒนาข้ึนทุกคนคะแนนเฉล่ีย ก่อนเรียนรอ้ ยละ 65.00 หลังเรียนรอ้ ยละ 95.00 คะแนนเพิ่มขึน้ ร้อยละ 30.00 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ การวิจัย เร่ือง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์เร่ืองเงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนปทุมานุกลู โดยการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสาน ร่วมกับแอปพลิเคชั่นต่างๆคร้ังน้ี มี วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เร่ือง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนปทุมานุกูลก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการสอนแบบการสืบเสาะหาความรูแ้ บบ 5 Es ผสมผสานรว่ มกับแอปพลิเคชนั่ ต่างๆ ประชากรท่ีใช้ในการวจิ ยั คร้ัง น้ี ได้แก่ นกั เรยี น ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6/3 โรงเรยี นปทุมานุกูล รวมประชากรทงั้ สิ้น 30 คน โดยวธิ กี ารสุ่มแบบเจาะจง ( Purposive sampling ) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เร่ือง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ วชิ าวิทยาศาสตร์แบบ5 Es ที่ผสมผสานร่วมกับแอปพลิเคชั่นต่างๆ จำนวน 6 แผน เวลา 6 ช่ัวโมง 2)แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์เร่ือง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ซ่ึงเป็นแบบปรนัยชนิดเลือก ตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ขอ้ สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ไดแ้ ก่ ค่ารอ้ ยละของนักเรยี นท่ีเรียนเป็นรายคน ผู้วจิ ัย ได้ สรปุ ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ดังตอ่ ไปน้ี นายณัฏฐ์พีรพล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 8

สรุปผลการวจิ ัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรเ์ รื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษา ปีท่ี 6 โรงเรียนปทุมานุกุล หลังการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานร่วมกับแอปพลิเคชั่นต่างๆ ภาพรวมมีการพัฒนาข้ึนทุกคนคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนร้อยละ 65.00 หลังเรียนร้อยละ 95.00 คะแนนเพ่ิมข้ึนร้อยละ 30.00 อภปิ รายผล จากการวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เร่ือง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนกั เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนปทมุ านุกลู โดยการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสาน รว่ มกับแอปพลิเคชั่นต่างๆในครั้งน้ี ผู้วิจยั อภิปรายผลไดด้ ังน้ี 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการสอน แบบการสืบเสาะหาความรแู้ บบ 5 Es ผสมผสานรว่ มกับแอปพลเิ คชั่นต่างๆ หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนทกุ คน ผลการวิจัย พบว่า คะแนนผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิทยาศาสตร์ ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษา ปที ่ี 6 ก่อนการสอนแบบการสบื เสาะหาความรู้แบบ 5 Es ผสมผสานร่วมกบั แอปพลิเคช่ันตา่ งๆ นักเรียนไดค้ ะแนนต่ำ และคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่6หลังการสอนแบบการสืบเสาะหา ความรู้แบบ5Es ผสมผสานร่วมกับแอปพลิเคชั่นต่างๆนักเรียนมีคะแนนเพิ่มขึ้นทุกคนในภาพรวม ซ่ึงสอดคล้องกับ สมมติฐาน รวมท้ังสอดคล้องกับงานวิจัย อับดุลเลาะ อูมาร์ (2560, น.98) ได้ศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้ แบบสืบ เสาะหาความรู้ (5Es) เรอ่ื ง สมดุลเคมี ท่ีมีต่อแบบจำลองทางความคิด ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน และความพงึ พอใจ ของ นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นเดชะปัตตนยานุกูล จังหวัดปัตตานี ผลการวิจัย พบว่านกั เรียนที่ได้รับการจัดการ เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เคมีหลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรยี น อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 สอดคล้องกับงานวิจัยของสุเมธ เนาว์รุ่งโรจน์ (2561, น. 25) ได้ทำการศึกษา เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม ท่ีจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ของนักเรียน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นหว้ ยยอด จังหวัดตรงั ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นก่อนเรยี นเฉลี่ย คอื 12.04 คะแนน (S.D. = 2.75) และเมื่อนักเรียนที่เป็นประชากรใน การวิจัยคร้ังน้ี ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสมผสานร่วมกับแอปพลิเคช่ันต่างๆ พบว่าผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน หลังเรียนเฉล่ยี สงู กว่า ก่อนเรียนทุกคน สอดคล้องกับงานวิจัยของเสาวลักษณ์ หล้าสิงห์. (2558). ท่ีศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความร้แู บบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นการศกึ ษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและ เจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์ โดยใช้ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ด้วยสือ่ ประสม เรอื่ ง ระบบประสาทและอวัยวะรับ ความรู้สึก สำหรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5. มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน หลังเรียนสูงกว่ากอ่ นเรียน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 และนริศรา จันทะนาม (2553, บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการคดิ วเิ คราะห์และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรข์ องผเู้ รยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี1 เร่อื ง สารในชวี ิตประจำวนั โดยใชว้ ฏั จักรการสืบเสาะหา ความร(ู้ Inquiry Cycle) พบว่า การศกึ ษา การคิดวิเคราะห์ ของผู้เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ทีเ่ รียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง สาร ในชีวิตประจำวัน โดยใช้ วฏั จักรการสืบเสาะหาความรู้มผี ู้เรยี น จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 79.41 จากจำนวนผ้เู รยี นทง้ั หมด 34คน ซ่ึงผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม 2 การศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ าง การเรียน ของผู้เรยี นทเ่ี รยี นกลุม่ สาระวทิ ยาศาสตรเ์ รอื่ ง สารในชีวติ ประจำวนั โดยใช้วัฏจกั รการสบื เสาะ หาความรู้มีผู้เรียนจำนวน 29 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 85.29 จากจำนวนผเู้ รียนทั้งหมด 34 คน ซ่งึ ผา่ น เกณฑ์รอ้ ยละ 70 ของคะแนนเตม็ นายณัฏฐ์พีรพล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 9

ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ 1.1 ครูผสู้ อนรายวิชาวทิ ยาศาสตร์สามารถนำผลการวิจัยครงั้ นี้ไปใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการพัฒนาการสอนแบบ การสบื เสาะหาความรูแ้ บบ 5 Es ทตี่ อ้ งการใหเ้ กิดขนึ้ แก่ผเู้ รยี นในระดับชน้ั ตา่ งๆ ได้ 1.2 ครคู วรใหก้ ำลงั ใจ ยกย่องชมเชยแกน่ กั เรียน เพ่อื เป็นการสง่ เสริมให้นักเรยี น เกิดความมมุ านะในการเรยี น วิชาคณิตศาสตรแ์ ละมโี อกาสทจี่ ะมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นสูงขึ้น 1.3 ครคู วรกระตุน้ ให้นกั เรียนได้ทดลองด้วยตนเองกอ่ น โดยครูทำหน้าทเ่ี ปน็ เพยี ง ผู้ช้ีแนะหรอื ใหค้ ำปรึกษา เพอื่ เปิดโอกาสให้นกั เรียนไดเ้ รียนร้อู ย่างเตม็ ที่ 1.4 ควรมกี ารร่วมมือกนั ศึกษา และพฒั นาการสอนแบบการสืบเสาะหาความรแู้ บบ 5 Es ในกลุ่มสาระการ เรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ระหว่างโรงเรยี น กลุ่มโรงเรียน โดยทำเปน็ เครือขา่ ยร่วมกนั พฒั นา 2. ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยคร้งั ต่อไป 2.1 ควรนำแผนการจัดการเรยี นร้กู ารสอนแบบการสบื เสาะหาความรแู้ บบ 5 Es ทผี่ ู้วิจยั จดั ทำข้ึน ไปใช้กบั นกั เรียนโรงเรยี นอื่น เพอ่ื ศึกษาเชงิ เปรียบเทียบถงึ บริบทที่แตกต่างกบั การศึกษา ในครง้ั น้ี เชน่ ขนาดของโรงเรียน จำนวนนักเรยี นในช้ันเรยี น เป็นต้น 2.2 ควรศกึ ษาถงึ ตวั แปรตา่ งๆ ทมี่ ผี ลต่อการเรียนของนกั เรียนหลงั จากเรยี นแบบ การสบื เสาะหาความร้แู บบ 5 Es เช่น ความคงทนในการเรียนรู้ แรงจงู ใจ ปญั หาและอปุ สรรค เปน็ ต้น 2.3 ควรทำวิจัยเกย่ี วกับการสอนแบบการสบื เสาะหาความรแู้ บบ 5 Esกับรายวิชา อ่ืนหรอื ระดบั ชน้ั อ่ืน เพ่ือ ศึกษาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นและเจตคติตอ่ การเรยี นของนกั เรีย นายณัฏฐ์พรี พล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 10

บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2553). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ: โรง พิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. นรศิ รา จันทะนาม. (2553). การคิดวิเคราะห์และผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 เรอ่ื ง สารในชีวติ ประจ าวนั โดยใช้วฏั จกั ร การสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle). วทิ ยานิพนธ์การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวชิ า หลักสตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, ขอนแก่น. ปยิ ะฉตั ร ชัยมาลา. (2550). ความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาและผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟสิ ิกส์ ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โดยใช้รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้(5Es). วทิ ยานพิ นธก์ ารศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, ขอนแก่น. เพญ็ สดุ า แข็งกลาง. (2550). การพฒั นาผลการเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ เร่ือง คล่นื กล โดยใช้กระบวนการ เรียนรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 5 E ของนกั เรียนชั้นเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6. วทิ ยานพิ นธ์ ปรญิ ญาครุ ุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าวิจัยและการประเมนิ ผลการศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี โรงเรียนปทุมานกุ ลู (2564). หลกั สูตรกลุม่ สาระวทิ ยาศาสตรโ์ รงเรยี นปทุมานุกลู ฉบบั ปรบั ปรุง ศริ ลิ กั ษณ์ นาไชย. (2553). การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าพิสกิ ส์ และความสามารถในการ แกป้ ญั หาทาง วิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 โดยใชก้ ระบวนการสืบ เสาะหาความร.ู้ วิทยานพิ นธ์การศกึ ษา มหาบัณฑติ สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , ขอนแกน่ . สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2546). การจดั สาระการเรยี นรู้กล่มุ วิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน. กรงุ เทพฯ: สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี. . (2548). การพฒั นาศักยภาพการเรยี นรรู้ ปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle หรือ 5Es): เพอ่ื พฒั นาความคดิ ระดบั สูง สำหรบั ครผู สู้ อนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศกึ ษา. ม.ป.ท.: ม.ป.พ. สิปปนนท์ เกตทุ ัตม. (2555). “ ยทุ ธศาสตรก์ ารคิดแก้ปญั หา” . กรุงเทพฯ สเุ มธ เนาว์รงุ่ โรจน์. (2560). การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เรื่อง การถ่ายทอดลกั ษณะทาง พันธกุ รรม ทจี่ ัดการ เรยี นรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) และความพงึ พอใจในการจัดการ เรียนรู้ของนกั เรียนระดบั ช้ันมธั ยมศึกษา ปที ี่ 6 โรงเรยี นหว้ ยยอด จงั หวดั ตรัง. วารสาร นวัตกรรมการเรียนรู้, 4 (1), 23-34. เสาวลกั ษณ์ หล้าสงิ ห.์ (2558). การศึกษาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนและเจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์ โดยใช้ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ด้วยสื่อประสม เร่อื ง ระบบประสาทและอวัยวะรบั ความรสู้ กึ สำหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5. วทิ ยานพิ นธก์ ารศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา, ชลบรุ ี. อับดุลเลาะ อมู าร.์ (2560). ผลของการจดั การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) เรื่อง สมดลุ เคมที มี่ ี ตอ่ แบบจำลอง ทางความคดิ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น และความพงึ พอใจของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี นเดชะปัต ตนยานกุ ูล จงั หวดั ปัตตาน.ี วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนวิทยาศาสตร์และ คณติ ศาสตร์มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร,์ สงขลา. นายณัฏฐพ์ รี พล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 11

ภาคผนวก นายณัฏฐพ์ รี พล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านุกลู 12

เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ 2. แบบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น นายณัฏฐพ์ ีรพล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู 13

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว16101 ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี าวกาศ เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง เงาและอุปราคา ครูผ้สู อน นายณัฏฐพ์ ีรพล มบี ุญมาก 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลยี่ นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ ง สสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ติ ประจําวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ีเกีย่ วข้องกบั เสียง แสง และ คลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทงั้ นําความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. ตวั ชี้วัดชั้นปี ว 2.3 ป.6/7 อธบิ ายการเกดิ เงามืด งามัวจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ว 2.3 ป.6/8 เขยี นแผนภาพรังสีของแสง แสดงการเกิดเงามดื เงามวั 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจอธิบายการเกิดเงามืดและเงามัว (K) 2. นกั เรียนสามารถเขียนแผนภาพรังสขี องแสงแสดงการเกิด เงามืดและเงามัวได้ (P) 3. นกั เรียนมเี จตคตทิ ่ีดตี ่อวิชาวทิ ยาศาสตร์ และสามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ (A) 4. สาระการเรยี นรู้ - เรอื่ งที่ 1 การเกิดเงา - เรือ่ งท่ี 2 การเกดิ สรุ ิยุปราคาและจันทรปุ ราคา 5. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เมื่อนำวตั ถทุ บึ แสงมากนั้ ทางเดินของแสง จะเกิด เงาบนฉาก ปรากฏการณส์ รุ ยิ ุปราคาและจนั ทรุปราคา เกดิ ข้ึน จากการที่โลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์โคจรมา อยู่ในแนวเส้นตรงเดยี วกนั โลกหรอื ดวงจันทรซ์ ่งึ เป็นวัตถุ ทึบแสงก็จะ มาก้ันทางเดนิ ของแสงจากดวงอาทิตย์ทำให้ เกดิ เงาเช่นกนั 6. คุณลักษณะอันพงึ่ ประสงค์ 1. ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต 2. มีวินยั 3. ใฝ่เรยี นรู้ 4. ม่งุ มั่นในการทำงาน 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะการใช้ทักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี นายณัฏฐพ์ รี พล มีบญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านุกลู 14

8. ชน้ิ งาน/ภาระงาน 1. แบบบนั ทกึ กิจกรรมหน้า 62-91 9. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นำ นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เร่ือง เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ ผ่านเวบ็ ไซต์ https://docs.google.com/forms 9.1. ขน้ั กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนความรพู้ ้ืนฐานและตรวจสอบความรเู้ ดิมของนักเรียน โดยชักชวนนักเรียนให้ร่วมกันสังเกตรูปนำ หนว่ ยในหนงั สือเรียน หนา้ 72-73 จากนั้นครใู ช้คำถามดังน้ี 1.1 ดวงอาทิตย์ ดวงจันทรแ์ ละโลกเคลอ่ื นทีส่ ัมพันธก์ ันอย่างไร (โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ พรอ้ มกับที่ ดวงจันทรโ์ คจรรอบโลก) 1.2 นักเรยี นสังเกตเห็นรูป 1.3 นักเรียนเคยเห็นปรากฏการณ์เช่นในรูปหรือไม่ ปรากฏการณ์น้ีเรียกว่าอะไร (นักเรียนตอบตาม ประสบการณข์ องตนเอง ซง่ึ อาจมีทั้งเคยเห็นและไมเ่ คยเห็น เชน่ เคยเห็น โดยปรากฏการณน์ ี้เรยี กว่าสรุ ยิ ุปราคา) 1.4 นกั เรยี นคดิ ว่าส่ิงท่นี กั เรยี นเหน็ ในรูปเกี่ยวขอ้ งกับเงาหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจ เชน่ ส่งิ ทเ่ี ห็นในรูป เกย่ี วข้องกบั เงา โดยดวงจนั ทร์บงั ดวงอาทิตย์ ทำใหเ้ กิดเงา มาถึงบนโลก) 1.5 จากรูปนักเรียนคดิ ว่ามีสิ่งใดท่ีเกยี่ วข้องกับเทคโนโลยีอวกาศบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ ของตนเอง เชน่ กล้องทีใ่ ชถ้ ่ายรูปเปน็ เทคโนโลยีอวกาศ) 2. ครนู ักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ผา่ นเว็บไซต์ https://forms.gle/nSTeH9v3vWwKb6Hq8 ขั้นสอน 9.2. ขั้นสำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูชกั ชวนนักเรยี นศกึ ษาเรอ่ื ง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ โดยใหอ้ ่านชือ่ หน่วย และอา่ น คำถาม สำคญั ประจำหนว่ ยท่ี 5 ดงั น้ี 2.1 เงาเกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร 2.2 สรุ ิยุปราคาและจนั ทรปุ ราคาเกดิ ขึ้นไดอ้ ยา่ งไร นายณัฏฐ์พีรพล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 15

2.3 เทคโนโลยอี วกาศมปี ระโยชน์กับชวี ิตอยา่ งไร นกั เรียนตอบคำถาม โดยครยู งั ไม่ตอ้ งเฉลยคำตอบ และเมอ่ื เรียนจบหน่วยนีแ้ ล้ว ครูจะถามคำถามน้ีอกี ครง้ั เพือ่ ตรวจสอบ ความเขา้ ใจของนกั เรยี น 2. นักเรยี นอา่ น ช่ือบท และจดุ ประสงค์การเรยี นรปู้ ระจำบท ในหนงั สอื เรยี นหน้า 73 จากน้นั ครใู ช้คำถามเพ่ือ ตรวจสอบความ เข้าใจดังนี้ 2.1 บทน้ีนกั เรยี นจะไดเ้ รียนเรอ่ื งอะไร (เรอ่ื งเงาและอุปราคา) 2.2 จากจดุ ประสงค์การเรยี นรเู้ ม่อื เรยี นจบบทนี้แลว้ นกั เรยี น สามารถทำอะไรได้บ้าง (อธบิ ายการเกิด เงามืดและเงามวั เขียนแผนภาพรงั สีของแสงแสดงการเกิดเงามืดและเงามวั สรา้ งแบบจำลองท่ีอธบิ ายการเกิดและ เปรยี บเทยี บ ปรากฏการณส์ ุริยปุ ราคาและจนั ทรปุ ราคา) 3. นักเรยี นอ่านชอื่ บทและแนวคิดสำคญั ในหนงั สือเรยี นหนา้ 74 จากนนั้ ครูใช้คำถามดงั น้ี จากการอ่านแนวคดิ สำคัญ นักเรยี นคิดวา่ จะไดเ้ รยี นเกย่ี วกบั เร่ืองอะไรบา้ ง (การเกดิ เงาซง่ึ เกิดจากมี วตั ถุทบึ แสงกน้ั แสง การเกิดสุรยิ ปุ ราคาและจนั ทรปุ ราคา ซ่งึ เกิดจากโลก ดวงอาทิตยแ์ ละดวงจันทรอ์ ยใู่ นแนวเส้นตรงเดยี วกนั โดยโลก หรอื ดวงจนั ทรก์ ้นั ทางเดินของแสงจากดวงอาทติ ยท์ ำให้ เกิดเงา) ขนั้ สรปุ 9.3. ข้ันอธบิ ายความรู้ (Explain) ครูชักชวนให้นกั เรียนสงั เกตรูป โดยใช้คำถามดงั นี้ 1. จากรปู เงาปรากฏอยทู่ ีใ่ ด (เงาอยบู่ นพนื้ ) 2. เงาเกดิ ในเวลาใดได้บ้าง (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ เกดิ เวลากลางวนั หรอื เวลา กลางคนื ) 3. ในเวลากลางคนื ที่ไม่มแี สงใด ๆ จะเกิดเงาได้หรือไม่ เพราะเหตุใด (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจของ ตนเอง เช่น ไมเ่ กดิ เพราะไมม่ ีแสงที่จะทำใหเ้ กิดเงาได)้ 9.4. ข้นั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูชักชวนนกั เรยี นตอบคำถามเกี่ยวกบั เงาและอุปราคาในสำรวจความรูก้ อ่ นเรียน 2. นกั เรียนทำสำรวจความร้กู อ่ นเรยี น ในแบบบนั ทกึ กจิ กรรมเรอ่ื ง เงาและอปุ ราคา ผา่ นเว็บไซต์ https://www.liveworksheets.com/np2721824oq นายณัฏฐ์พรี พล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 16

9.5. ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate) ครสู ังเกตการตอบคำถามของนกั เรียนเพ่ือตรวจสอบวา่ นักเรียนมี แนวคดิ เก่ียวกับเงาและอุปราคาอยา่ งไรโดย อาจสุ่มให้นกั เรยี น 2-3 คน นำเสนอคำตอบของตนเอง ครยู งั ไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้นักเรียนยอ้ นกลบั มาตรวจสอบ อีกคร้ังหลังจากเรียนจบบทน้ี แล้ว ท้ังน้ีครูควรบันทึกแนวคิดคลาดเคลื่อนหรือแนวคิดที่ น่าสนใจของนักเรียน เพื่อ นำมาใช้ออกแบบการจดั การเรยี นรู้เพื่อ แก้ไขแนวคดิ คลาดเคลื่อนให้ถูกต้องและต่อยอดแนวคิดท่ี น่าสนใจของนักเรยี น ต่อไป 10. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ วธิ ีการวดั เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน 1. นกั เรียนมีความรู้ -ตรวจแบบทดสอบ - แบบประเมนิ - รอ้ ยละ 60 ผา่ น ความเข้าใจอธิบายการเกิด ก่อนเรียน กจิ กรรมเร่อื ง เงา และ เกณฑ์ เงามืดและเงามวั (K) - ตรวจใบกิจกรรม อุปราคา เรือ่ ง เงา และอปุ ราคา 2. นักเรยี นสามารถเขียน - ตรวจใบกจิ กรรม - แบบประเมิน - ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น แผนภาพรังสีของแสง เรอ่ื ง เงา และอปุ ราคา แสดงการเกดิ เงามดื และ กิจกรรมเรอ่ื ง เงา และ เกณฑ์ เงามวั ได้ (P) - สงั เกตพฤตกิ รรม 3. นกั เรยี นมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การทำงานรายบคุ คล อุปราคา วชิ าวทิ ยาศาสตร์ และ - สงั เกตพฤตกิ รรม สามารถนำไปใช้ใน การทำงานกลมุ่ - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น ชีวิตประจำวันได้ (A) - สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ และม่งุ ม่ัน การทำงานรายบุคคล เกณฑ์ ในการทำงาน - แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทำงานกลมุ่ - แบบประเมิน คุณลักษณะ อนั พึงประสงค์ 11. สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสือเรยี น ป. 6 เล่ม 2 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรมเร่ือง เงา อปุ ราคา ผา่ นเวบ็ ไซต์ https://www.liveworksheets.com/np2721824oq 3. แบบทดสอบกอ่ นเรียน ผ่านเวบ็ ไซต์ https://forms.gle/nSTeH9v3vWwKb6Hq8 4. พาวเวอร์พอ้ ย เร่อื ง เงา อุปราคา เเละเทคโนโลยอี าวกาศ นายณัฏฐพ์ รี พล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู 17

12. บันทกึ ผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น  ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มปี ัญหาของนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี))  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงช่ือ..................................................ครผู สู้ อน (นายณัฏฐพ์ ีรพล มบี ุญมาก) วันท่.ี ..........เดอื น....................................พ.ศ............... นายณัฏฐ์พรี พล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 18

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 2 กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว16101 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ เวลา 1 ช่ัวโมง เรื่อง การเกิดเงา ครูผูส้ อน นายณัฏฐพ์ ีรพล มบี ุญมาก 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่าง สสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ติ ประจาํ วนั ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณท์ ่เี ก่ียวขอ้ งกับเสยี ง แสง และ คล่ืน แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมทั้งนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. ตวั ช้วี ดั ชน้ั ปี ว 2.3 ป.6/7 อธบิ ายการเกิดเงามืด เงามัวจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจอธิบายการเกิดเงามดื และเงามวั (K) 2. นกั เรียนสามารถเขียนแผนภาพรงั สขี องแสงแสดงการเกดิ เงามดื และเงามวั ได้ (P) 3. นักเรียนมเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ วิชาวิทยาศาสตร์ และสามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ (A) 4. สาระการเรยี นรู้ ในเร่ืองน้ีนกั เรยี นจะได้เรียนรู้เก่ยี วกบั การเกิดเงา และ ลักษณะของเงามดื และเงามวั รวมทงั้ การเขยี นแผนภาพ รังสีของ แสงแสดงตำแหน่งการเกิดเงาของวัตถุบนฉากได้ 5. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เม่อื นำวัตถทุ ึบแสงมากัน้ ทางเดินของแสง จะเกดิ เงาบนฉาก ปรากฏการณส์ ุริยปุ ราคาและจันทรปุ ราคา เกดิ ขึน้ จากการที่โลก ดวงจันทร์ และดวงอาทติ ย์โคจรมา อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกนั โลกหรือดวงจนั ทร์ซง่ึ เป็นวตั ถุ ทึบแสงกจ็ ะ มาก้ันทางเดนิ ของแสงจากดวงอาทิตย์ทำให้ เกดิ เงาเชน่ กัน 6. คุณลักษณะอันพ่ึงประสงค์ 1. ซือ่ สตั ยส์ จุ ริต 2. มีวนิ ัย 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 4. ม่งุ มั่นในการทำงาน 7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะการใชท้ ักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี นายณัฏฐ์พีรพล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านุกลู 19

8. ชิน้ งาน/ภาระงาน 1. แบบบันทกึ กจิ กรรมหนา้ 65-71 9. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นำ 9.1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับแสง และการมองเห็นซึ่ง นักเรียนได้เรียนมาแล้วในช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 4 โดยใช้คำถาม ดงั น้ี 1.1 วัตถุใดบ้างท่ีสามารถให้แสงได้และเรียกวัตถุที่ให้แสงว่าอะไร (วัตถุที่ให้แสงได้ เช่น ดวงอาทิตย์ หลอดไฟฟา้ โคมไฟ และเรียกวัตถุทใี่ ห้แสงว่าแหล่งกำเนดิ แสง) 1.2 แสงเคล่อื นทจี่ ากแหลง่ กำเนิดแสงอย่างไร (แสงเคล่ือนท่ีออกจาก แหลง่ กำเนิดเป็นแนวตรง ในทุก ทิศทาง) 1.3 เราสามารถเขียนเสน้ รังสีของแสงแสดงการเคลอื่ นที่ของแสงจาก แหล่งกำเนิดแสงได้อย่างไร (ครู อาจให้ตัวแทนนักเรียนออกมาวาดภาพ บนกระดาน โดยวาดเส้นรังสีของแสงเป็นลูกศรเส้นตรง พุ่งออกจาก แหล่งกำเนดิ แสงทุกทิศทาง) 1.4 ส่ิงท่นี ำมากั้นทางเดนิ ของแสงแบ่งได้เปน็ ก่ีประเภท แตล่ ะประเภท แตกต่างกันอย่างไร (แบ่งได้ 3 ประเภท คือ ตัวกลางโปร่งใส ตัวกลาง โปร่งแสง และวัตถุทึบแสง เมื่อนำตัวกลางโปร่งใสมาก้ันทางเดินของ แสงจะ สามารถมองเห็นแสงได้อย่างชัดเจน แต่ถ้านำตัวกลางโปร่งแสงมากั้นทางเดินของแสงจะสามารถมองเห็นแสงได้แต่ไม่ ชดั เจน และเม่ือนำวตั ถุทึบแสงมากัน้ ทางเดินของแสงจะไม่สามารถมองเห็นแสงได้เลย) 2. ครเู ช่ือมโยงความร้ขู องนกั เรยี นเขา้ สู่การเรียนเรอ่ื ง การเกดิ เงาโดยใช้คำถาม ดังนี้ เงาเกิดข้ึนได้อยา่ งไร และ เกี่ยวขอ้ งกบั แสงหรอื ไม่ อย่างไร ข้ันสอน 9.2. ขน้ั สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครอู ธิบายเรอื่ ง การเกิดเงา 2. ครอู าจใหน้ ักเรียนสงั เกตรปู ดวงจนั ทร์บนทอ้ งฟ้า และมภี าพสะทอ้ นในนำ้ หรอื รูปตึกหรอื อาคารทม่ี ีภาพ สะทอ้ นในนำ้ เพ่อื ใหน้ กั เรียนเหน็ ภาพตัวอย่าง ในชวี ติ ประจำวนั มากขน้ึ 3. ครูใหน้ กั เรียนวาดภาพทก่ี ารสะทอ้ นลงในสมดุ ประจำวชิ าวิทยาศาสตร์ 4. ครูให้นกั เรียนดูนทิ านเรอื่ ง สุนัขกบั เงา ผา่ นเว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=k5IqNXl6fOw ขั้นสรุป 9.3. ขั้นอธิบายความรู้ (Explain) ครูตรวจสอบความเข้าใจจากการดูนิทางเรอ่ื ง สุนัขกบั เงา โดยใชค้ ำถามดงั น้ี 1. สุนขั ขโมยสิ่งใด และขโมยมาจากที่ใด (สุนัขขโมยช้ินเนอื้ มาจากตลาด) 2. ขณะที่สนุ ัขยืนอยบู่ นสะพานและมองลงไปในนำ้ สนุ ขั มองเห็นอะไร (มนั มองเห็นสนุ ขั อกี ตวั หนึ่ง กำลังคาบ ชิน้ เนือ้ ทม่ี ขี นาดใหญ่กว่าช้ินเนือ้ ของ ตน) นายณัฏฐ์พรี พล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 20

3. ข้อคดิ ของนทิ านเร่ืองน้ีตรงกับสำนวนไทยว่าอะไร เพราะเหตใุ ด (ข้อคดิ ของนทิ านเร่ืองนต้ี รงกบั สำนวน “โลภมาก ลาภหาย” ซงึ่ มีความหมาย ว่าย่งิ ละโมบอยากไดไ้ ม่รู้จกั พอ สุดท้ายกจ็ ะไม่ได้อะไรเลย เชน่ เดียวกบั สนุ ัขทีโ่ ลภ อยากไดช้ น้ิ เนื้อก้อนโตกว่าทม่ี นั เหน็ สุนัขอกี ตัวคาบในนำ้ สดุ ทา้ ยช้ินเนอื้ ท่คี าบมากต็ ก น้ำหายไป) 4. สง่ิ ทส่ี ุนขั บนสะพานมองเห็นเป็นสนุ ขั อกี ตวั หน่ึงในลำธารคืออะไร (คือภาพของตัวเองทีเ่ กิดจากการ สะท้อน ของแสง) 5. ตัวอยา่ งภาพท่ีเกดิ จากการสะทอ้ นของแสงมอี ะไรบา้ ง (นกั เรยี นตอบ ตามความเขา้ ใจ เช่น การ มองเหน็ สงิ่ ต่าง ๆ ในกระจกเงา การมองเห็น ภาพสะท้อนของดวงจนั ทร์ในนำ้ ) 9.4. ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. นักเรียนรว่ มกันสรุปเรอื่ งทอ่ี ่านซ่ึงควรสรปุ ไดว้ า่ จากนิทานสนุ ัขกับเงา สง่ิ ทสี่ นุ ขั บนสะพานมองเหน็ เป็นสุนขั อกี ตัวหน่งึ ในลำธาร คือ ภาพทเี่ กิดจากการ สะท้อนของแสง แต่ไม่ใชเ่ งาของสุนัขบนสะพาน 9.5. ข้นั ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรยี นตอบคำถามในรู้หรือยงั ในแบบบันทกึ กจิ กรรมเรอ่ื งการเกิดเงา https://forms.gle/dQr9xMHJf8kgaWM79 2. ครูและนักเรยี นร่วมกันอภิปรายเพ่ือเปรยี บเทียบคำตอบของนักเรียนใน รู้หรอื ยงั กบั คำตอบท่ีเคยตอบและ บันทึกไว้ในคดิ ก่อนอา่ น 3. นักเรียนอา่ นคำถามทา้ ยเร่ืองท่อี า่ นและลองตอบคำถาม ดังนี้ 3.1 เงามีลกั ษณะอยา่ งไร (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง) 3.2 เงาเกดิ ข้นึ ไดอ้ ย่างไร (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) ครูยงั ไม่เฉลยคำตอบแต่ ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการทำกจิ กรรม 10. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ วิธีการวดั เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนมีความรู้ - ตรวจใบกจิ กรรม - แบบประเมินกจิ กรรม - ระดับคุณภาพ 2 ความเข้าใจอธบิ ายการเกิด เร่ือง การเกิดเงา เร่ือง การเกิดเงา ผ่านเกณฑ์ เงามืดและเงามวั (K) 2. นกั เรยี นมเี จตคตทิ ่ดี ตี อ่ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2 วิชาวทิ ยาศาสตร์ และ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ สามารถนำไปใช้ใน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ชีวิตประจำวันได้ (A) การทำงานกลมุ่ การทำงานกลมุ่ - สังเกตความมวี ินัย - แบบประเมิน ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มั่น คณุ ลกั ษณะ ในการทำงาน อันพงึ ประสงค์ นายณัฏฐ์พรี พล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู 21

11. สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสือเรียน ป. 6 เล่ม 2 หนา้ 78-89 2. แบบบันทึกกจิ กรรมเรือ่ ง การเกดิ เงา https://forms.gle/dQr9xMHJf8kgaWM79 3. พาวเวอร์พอ้ ย เรอื่ ง การเกดิ เงา 12. บนั ทึกผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ด้านสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น  ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอนื่ ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมที่มปี ัญหาของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล (ถา้ มี))  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชือ่ ..................................................ครผู สู้ อน (นายณัฏฐพ์ รี พล มบี ญุ มาก) วนั ที.่ ..........เดือน....................................พ.ศ............... นายณัฏฐพ์ รี พล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 22

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว16101 ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอาวกาศ เวลา 1 ชั่วโมง เรือ่ ง กจิ กรรมที่ 1 เงาเกิดข้นึ ไดอ้ ย่างไรและ มลี กั ษณะอย่างไร ครูผู้สอน นายณัฏฐ์พรี พล มบี ุญมาก 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏสิ มั พันธร์ ะหว่าง สสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวติ ประจาํ วัน ธรรมชาตขิ องคล่นื ปรากฏการณ์ทเ่ี กี่ยวข้องกบั เสยี ง แสง และ คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมท้ังนาํ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ 2. ตวั ชว้ี ดั ช้ันปี ว 2.3 ป.6/7 อธิบายการเกดิ เงามืด เงามัวจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ว 2.3 ป.6/8 เขยี นแผนภาพรงั สีของแสง แสดงการเกิดเงามดื เงามัว 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจอธิบายการเกดิ เงามืดและเงามัว (K) 2. นกั เรยี นสามารถเขยี นแผนภาพรงั สีของแสงแสดงการเกิด เงามดื และเงามวั ได้ (P) 3. นักเรยี นมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อวิชาวทิ ยาศาสตร์ และสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ (A) 4. สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมนนี้ ักเรียนจะได้สงั เกตและอธบิ ายการเกิด เงา และลกั ษณะของเงาทม่ี ีทงั้ เงามดื และเงามวั รวมทง้ั ได้ เรยี นรกู้ ารเขียนแผนภาพรงั สขี องแสงแสดงการเกิดเงาของวตั ถุ 5. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เมอื่ นำวัตถทุ บึ แสงมากัน้ ทางเดนิ ของแสง จะเกิด เงาบนฉาก ปรากฏการณส์ รุ ยิ ปุ ราคาและจันทรุปราคา เกิดขน้ึ จากการทีโ่ ลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์โคจรมา อยใู่ นแนวเสน้ ตรงเดยี วกัน โลกหรือดวงจนั ทรซ์ ่งึ เปน็ วัตถุ ทบึ แสงกจ็ ะ มากั้นทางเดินของแสงจากดวงอาทิตย์ทำให้ เกิดเงาเชน่ กัน 6. คณุ ลักษณะอนั พึง่ ประสงค์ 1. ซ่อื สตั ย์สจุ รติ 2. มวี ินยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มนั่ ในการทำงาน 7. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะการใช้ทกั ษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี นายณัฏฐพ์ ีรพล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านุกลู 23

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. แบบบันทกึ กจิ กรรมเรือ่ ง เงาเกดิ ขน้ึ ได้อยา่ งไรและ มลี กั ษณะอย่างไร 9. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นำ 9.1. ข้ันกระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูให้นักเรียนเล่นเกมส์ทดสอบความร้เู ดมิ และกระตุ้นนกั เรียน ผ่านเวบ็ ไซต์ https://www.blooket.com/dashboard 2. ครูตรวจสอบความรเู้ ดิมเกี่ยวกบั การเกดิ เงา โดยใหน้ ักเรียนชมวดี ิทศั น์การแสดงละครเงา โดยใช้สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ได้แก่ มือ นิว้ และแขน ประกอบดนตรี จาก ผา่ นเว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=BF_YAJf4slk จากน้นั นกั เรียนและครูรว่ มกนั อภปิ รายตามแนวคำถามดังน้ี 2.1 จากวดี ิทัศน์ นกั เรยี นสงั เกตเห็นอะไรบ้าง (นักเรยี นตอบตามที่สังเกตได้ เช่น เห็นเงารปู รา่ งต่าง ๆ เงามสี ีดำ) 2.2 เงาเกิดได้อยา่ งไร และมีลักษณะอยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ ของตนเอง เช่น เกดิ จากมี วัตถุวางด้านหลังของแหล่งกำเนิดแสง มีสีดำ) ครูยังไม่เฉลยคำตอบ แต่ชักชวนให้นักเรียนค้นพบคำตอบจากการทำ กิจกรรม ขั้นสอน 9.2. ข้นั สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูนำหนงั ตะลงุ มาใหน้ ักเรียนดู จาก https://www.youtube.com/watch?v=MKtdgfvpLuM จากน้ันนักเรียนและครรู ่วมกนั อภิปรายตามแนวคำถามดังนี้ 1.1 เงาทเี่ กดิ ข้ึนมลี กั ษณะอย่างไร 1.2 ลกั ษณะของเงาเปน็ อย่างไร 2. ครูอธิบายเรือ่ ง การเกดิ เงา ลกั ษณะของเงา แผนภาพรงั สีของแสงแสดงการเกิดเงา ผา่ นโปรแกรม PowerPoint 3. ครใู ห้นกั เรยี นทำกจิ กรรมที่ 1 เรื่อง เงาเกิดข้ึนไดอ้ ย่างไรและ มลี กั ษณะอย่างไร ขนั้ สรุป 9.3. ขัน้ อธบิ ายความรู้ (Explain ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภิปราย ผลการทำกจิ กรรม จากขอ้ มูลในตารางโดยอาจใช้คำถามดังน้ี 1. เมอ่ื เล่ือนดินนำ้ มันเข้าใกลไ้ ฟฉาย และเลอื่ นดินนำ้ มนั เขา้ ใกล้ฉาก ลกั ษณะเงาของดนิ น้ำมันแตกตา่ งกนั หรือไม่ อยา่ งไร (แตกตา่ งกนั โดย เมอื่ เล่อื นดนิ น้ำมนั เข้าใกล้ไฟฉาย เงาทเ่ี กิดข้นึ จะมีวงสดี ำอยตู่ รงกลาง แล้วมีเงาวงสี เทาขนาดใหญล่ ้อมรอบ แต่ถ้าเล่อื นดินน้ำมนั เข้าใกล้ฉาก ทง้ั เงาวงสีดำตรงกลางและเงาวงสเี ทาทีล่ อ้ มรอบจะมีขนาดเลก็ ลง) นายณัฏฐพ์ รี พล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านุกลู 24

2. เมอื่ เปรยี บเทยี บการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเงาของกระปอ๋ งแต่ละ ดา้ น เมอ่ื เลือ่ นกระปอ๋ งเขา้ ใกลไ้ ฟ ฉาย และเล่อื นเขา้ ใกลฉ้ ากเหมอื น หรือแตกต่างกบั การเปลยี่ นแปลงลกั ษณะของเงาของดนิ นำ้ มันเม่อื เลอื่ นดินนำ้ มัน หรอื ไม่ อยา่ งไร (การเปลย่ี นแปลงลักษณะเงาของ กระปอ๋ งเมื่อเลื่อนกระปอ๋ งเข้าใกลไ้ ฟฉาย และเมื่อเล่ือนกระปอ๋ งเขา้ ใกล้ฉากจะเหมือนกบั การเปลย่ี นแปลงลักษณะของเงาของดนิ น้ำมัน โดยเม่ือเล่ือนกระป๋องเขา้ ใกลไ้ ฟฉาย เงาที่เกดิ ข้นึ จะ มีวงสดี ำอยตู่ รง กลาง แลว้ มเี งาวงสเี ทาขนาดใหญล่ ้อมรอบ แต่ถ้าเล่อื นกระปอ๋ งเข้าใกล้ ฉาก ทั้งเงาวงสีดำตรงกลางและ เงาวงสเี ทาท่ลี ้อมรอบจะมขี นาดเลก็ ลง) 9.4. ขั้นขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรียนซักถามในสง่ิ ที่อยากรเู้ พม่ิ เติมเกีย่ วกบั การเกิดเงา และลกั ษณะของเงา จากนน้ั ร่วมกันอภปิ รายและลงข้อสรปุ วา่ เงาเกดิ จาก วตั ถทุ บึ แสงก้ันทางเดินของแสง เงามลี กั ษณะคล้ายกบั วัตถุสว่ นทมี่ ากั้น แสง เงาแบ่งเปน็ เงามดื และเงามัว เราสามารถวาดตำแหนง่ เงาของวัตถุบน ฉากได้โดยการเขียนแผนภาพรังสขี องแสง 9.5. ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรียนทำแบบฝึกหัดท่ี 2 เร่ือง เงาเกิดขึ้นได้อย่างไรและ มีลักษณะอย่างไร ผ่านเว็บไซต์ https://docs.google.com/forms 2. นักเรยี นร่วมกันสรุปส่ิงที่ได้เรยี นรูใ้ นกิจกรรมนี้ จากน้นั นักเรยี นอ่าน สิ่งท่ไี ด้เรยี นรู้ และเปรยี บเทยี บ กับขอ้ สรุปของตนเอง 10. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วิธีการวดั เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมนิ - สมุดประจำตวั - รอ้ ยละ 60 ผา่ น 1. นักเรียนมคี วามรู้ - ตรวจสมดุ ประจำตวั เกณฑ์ ความเขา้ ใจอธบิ ายการเกดิ - ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ น เงามดื และเงามวั (K) เกณฑ์ 2. นักเรยี นสามารถเขียน - ตรวจใบกิจกรรม - แบบประเมิน แผนภาพรงั สีของแสง เรอื่ ง เงาเกิดข้ึนได้ กิจกรรมเรื่อง เงา แสดงการเกิด เงามืดและ อยา่ งไรและ มลี ักษณะ เกดิ ขึ้นไดอ้ ย่างไรและ เงามัวได้ (P) อยา่ งไร มลี ักษณะอย่างไร 3. นักเรียนมเี จตคติท่ีดีตอ่ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่าน วิชาวทิ ยาศาสตร์ และ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล เกณฑ์ สามารถนำไปใชใ้ น - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ชีวติ ประจำวนั ได้ (A) การทำงานกลมุ่ การทำงานกลมุ่ - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ ม่นั คุณลกั ษณะ ในการทำงาน อันพงึ ประสงค์ นายณัฏฐพ์ ีรพล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 25

11. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน ป. 6 เลม่ 2 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรมเรอื่ ง 3. เวบ็ ไซต์ https://www.blooket.com/dashboar 4. เว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=BF_YAJf4slk 5. เว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=MKtdgfvpLuM 6. เว็บไซต์ https://docs.google.com/forms 12. บนั ทกึ ผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น  ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่ีมปี ัญหาของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล (ถ้ามี))  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื ..................................................ครผู สู้ อน (นายณัฏฐพ์ รี พล มบี ุญมาก) วันท่.ี ..........เดอื น....................................พ.ศ............. นายณัฏฐ์พีรพล มีบญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู 26

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 4 กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว16101 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอาวกาศ เวลา 1 ชว่ั โมง เรือ่ ง การเกิดสุรยิ ปุ ราคาและจันทรปุ ราคา ครผู ้สู อน นายณฏั ฐพ์ รี พล มบี ญุ มาก 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ียนแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่าง สสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาตขิ องคลื่น ปรากฏการณ์ทเ่ี ก่ียวข้องกับเสียง แสง และ คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้งั นําความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. ตัวช้วี ดั ชั้นปี ว 2.3 ป.6/1 สร้างแบบจำลองทอี่ ธบิ ายการเกิดและเปรยี บเทียบปรากฏการณส์ รุ ยิ ปุ ราคาและจันทรปุ ราคา 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นกั เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจสร้างแบบจำลองและอธบิ ายความสัมพนั ธ์ ระหว่างการมองเหน็ ขนาดของดวง จนั ทร์และดวง อาทติ ยก์ บั ระยะทางได้ (K 2. นักเรยี นมคี วามสามรถ ความเขา้ ใจสร้างแบบจำลองและอธิบายการมองเห็นการบงั กนั ของดวงจนั ทรแ์ ละ ดวงอาทติ ยไ์ ด้ (P) 3. นักเรียนมีเจตคติที่ดตี อ่ วิชาวทิ ยาศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (A) 4. สาระการเรยี นรู้ ในเรื่องนน้ี กั เรียนจะไดเ้ รียนรเู้ กยี่ วกบั การสร้าง แบบจำลองการเกิดสรุ ยิ ุปราคาและจนั ทรปุ ราคาและ อธบิ าย การบงั กนั ของดวงอาทติ ย์ ดวงจันทรแ์ ละโลก การเกิดปรากฏการณ์สรุ ยิ ปุ ราคาและจันทรปุ ราคา 5. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เม่ือนำวัตถุทบึ แสงมาก้ันทางเดินของแสง จะเกิดเงาบนฉาก ปรากฏการณ์สรุ ิยุปราคาและจนั ทรุปราคา เกดิ ข้ึน จากการทโ่ี ลก ดวงจันทร์ และดวงอาทติ ย์โคจรมา อย่ใู นแนวเสน้ ตรงเดยี วกนั โลกหรอื ดวงจันทรซ์ ่ึงเป็นวัตถุ ทึบแสงกจ็ ะ มาก้นั ทางเดินของแสงจากดวงอาทติ ย์ทำให้ เกดิ เงาเช่นกนั 6. คณุ ลกั ษณะอันพ่ึงประสงค์ 1. ซื่อสตั ยส์ จุ รติ 2. มวี นิ ยั 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 4. มุง่ ม่ันในการทำงาน 7. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะการใชท้ กั ษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี นายณัฏฐพ์ รี พล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านุกลู 27

8. ช้นิ งาน/ภาระงาน 1. แบบบนั ทกึ กจิ กรรมเร่อื ง การเกดิ สรุ ิยุปราคาและจนั ทรุปราคา 9. กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันนำ 9.1. ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1.ครูให้นกั เรียนเล่นเกมส์ทดสอบความรเู้ ดิมและกระตนุ้ นกั เรยี น ผา่ นเว็บไซต์ https://www.blooket.com/dashboard 2. ครูให้นักเรยี นเรียงภาพจากนทิ านราหูจากนน้ั ให้นักเรียนช่วยกันเรยี งลำดับ เหตุการณ์ตามบัตรภาพ ผา่ น 123 45 6 78 9 10 นายณัฏฐ์พรี พล มีบญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู 28

3. ครใู ชค้ ำถามเพ่ือกระตุน้ ความสนใจ เกี่ยวกบั เหตุการณใ์ นบัตรภาพ ดงั นี้ - จากบัตรภาพ นกั เรยี นคิดว่าเปน็ เหตกุ ารณเ์ ก่ียวกบั เรอื่ งอะไร เพราะเหตุใดจึงคดิ วา่ เป็น เหตุการณน์ ี้(นกั เรียนตอบตาม ความคดิ ของตนเอง) 4. ครใู ห้นกั เรยี นดูวีดิทศั น์ เรอื่ ง นิทานราหู ผ่านเว็บไซต์ http://ipst.me/10931 ขั้นสอน 9.2. ขัน้ สำรวจคน้ หา (Explore) 1.ครูให้นักเรยี นดูวีดทิ ศั นเ์ รือ่ ง การเกดิ สรุ ิยุปราคาและจันทรปุ ราคา ผา่ นเว็บไซต์ http://ipst.me/10933 2. ครอู ธบิ ายเร่อื ง การเกิดสรุ ยิ ปุ ราคาและจนั ทรุปราคา ผา่ นโปรแกรม PowerPoint 3. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ หดั ท่ี 4 เร่ือง การเกิดสรุ ิยปุ ราคาและจันทรปุ ราคา ผ่านเว็บไซต์ https://docs.google.com/forms ข้ันสรปุ 9.3. ข้ันอธบิ ายความรู้ (Explain 1. ครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ เกี่ยว การเกิดปรากฏการณ์สรุ ิยปุ ราคาและปรากฏการณจ์ นั ทรปุ ราคา เหมือน และแตกตา่ งกนั อยา่ งไร ผา่ น ความเหมือนและความแตกต่าง ปรากฏการณ์สรุ ยิ ปุ ราคา ปรากฏการณจ์ ันทรุปราคา การเรยี งตวั ของดาว อยใู่ นแนวเส้นตรงเดยี วกนั อยูใ่ นแนวเส้นตรงเดยี วกัน เวลาท่ีเกิด การเกดิ เหมอื นกัน โดยดวงจันทรจ์ ะอยู่ เหมอื นกัน โดยโลกจะอยตู่ รง การมองเหน็ ตรงกลาง ระหว่างดวงอาทติ ยแ์ ละ กลางระหว่างดวงอาทิตยแ์ ละ ดวง โลก จันทร์ กลางวนั กลางคนื เงาของดวงจนั ทรท์ อดไปยงั โลก ดวงจันทรเ์ คลอ่ื นท่ีผา่ นเข้าไป ใน เงาของโลก คนท่อี ย่ใู นบรเิ วณเงาของดวง คนบนโลกที่อยใู่ นเวลากลางคืน จันทร์ สามารถเหน็ ปรากฏการณ์ เห็นปรากฏการณ์จันทรปุ ราคา ได้ สุรยิ ปุ ราคาได้ พร้อมกัน 9.4. ขน้ั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามในสงิ่ ทีอ่ ยากรเู้ พิ่มเติมเกี่ยวกบั การเกดิ ปรากฏการณส์ ุริยปุ ราคาและ ปรากฏการณ์จันทรุปราคา นายณัฏฐ์พรี พล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 29

9.5. ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครกู ระตุน้ ให้นักเรยี นตอบคำถามในชว่ งทา้ ยของเน้ือเร่ืองดังน้ี การสังเกตปรากฏการณ์สุรยิ ุปราคา และจันทรุปราคา ให้ปลอดภัยและ ชัดเจนยิ่งข้ึนอาจต้องอาศัยอุปกรณ์ช่วยสังเกต เช่น กล้องโทรทรรศน์ รู้หรอื ไม่ว่า กล้องโทรทรรศน์ เป็นเทคโนโลยีอวกาศ เทคโนโลยีอวกาศ คืออะไร และมีประโยชน์อย่างไร โดยให้นักเรียนร่วมกัน อภปิ รายและตอบคำถาม 10. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วธิ กี ารวดั เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมนิ - แบบฝึกหดั ผา่ นเวบ็ ไซต์ - รอ้ ยละ 60 ผ่าน 1. นักเรียนมีความรู้ - ตรวจแบบฝกึ หัด https://docs.google.com/forms เกณฑ์ ความเขา้ ใจอธิบายการเกิด - แบบประเมนิ กจิ กรรมเร่อื ง การเกดิ - ระดับคณุ ภาพ 2 สรุ ยิ ปุ ราคาและจนั ทรุปราคา ผ่านเกณฑ์ เงามดื และเงามวั (K) 2. นกั เรยี นสามารถเขียน - ตรวจใบกจิ กรรม แผนภาพรงั สขี องแสง เร่ือง การเกิด แสดงการเกดิ เงามืดและ สุรยิ ปุ ราคาและ เงามวั ได้ (P) จันทรปุ ราคา 3. นักเรียนมเี จตคตทิ ่ีดตี อ่ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2 วชิ าวิทยาศาสตร์ และ การทำงาน การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ สามารถนำไปใช้ใน รายบุคคล - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ชวี ติ ประจำวันได้ (A) - สงั เกตพฤตกิ รรม การทำงานกลมุ่ การทำงานกลมุ่ - แบบประเมนิ - สงั เกตความมวี นิ ัย คณุ ลักษณะ ใฝ่เรียนรู้ และ อันพงึ ประสงค์ มุ่งมน่ั ในการทำงาน 11. ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ 1. เว็บไซต์ https://www.blooket.com/dashboard 2. ผ่านเว็บไซต์ http://ipst.me/10931 3. เวบ็ ไซต์ http://ipst.me/10933 4. โปรแกรม PowerPoint เร่ือง การเกิดสรุ ิยุปราคาและจันทรปุ ราคา 5. เว็บไซต์ https://docs.google.com/forms นายณัฏฐ์พีรพล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 30

12. บันทกึ ผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น  ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเด่น หรอื พฤติกรรมที่มปี ญั หาของนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี))  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงช่ือ..................................................ครผู สู้ อน (นายณัฏฐพ์ รี พล มบี ญุ มาก) วันท่.ี ..........เดอื น....................................พ.ศ............... นายณัฏฐ์พรี พล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 31

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว16101 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ เวลา 1 ชว่ั โมง เร่อื ง รู้จักเทคโนโลยอี วกาศ ครูผ้สู อน นายณฏั ฐ์พีรพล มบี ุญมาก 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลยี่ นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่าง สสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณท์ ่เี ก่ยี วข้องกับเสยี ง แสง และ คลื่น แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทัง้ นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 2. ตัวชี้วดั ช้นั ปี ว 2.3 ป.6/2 อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศและยกตัวอยา่ งการนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวนั จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นกั เรียนมีความรู้ความเข้าใจอธบิ ายความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยอี วกาศจากอดตี จน ถึงปัจจบุ ันได้(K) 2. นักเรียนสามารถยกตวั อยา่ งประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศท่ีมตี อ่ มนษุ ย์ได้ (P) 3. นักเรยี นมเี จตคตทิ ่ดี ีตอ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (A) 4. สาระการเรยี นรู้ ในเรอ่ื งนนี้ กั เรียนจะได้เรียนร้เู กี่ยวกบั ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ ประโยชนข์ อง เทคโนโลยีอวกาศ รวมทัง้ การพฒั นาตอ่ ยอดจาก เทคโนโลยอี วกาศมาเปน็ เทคโนโลยที ี่ใชบ้ นโลก 5. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เทคโนโลยีอวกาศมพี ฒั นาการมาจากการสงั เกต ท้องฟ้าดว้ ยตาเปลา่ ของมนษุ ย์ ตอ่ มามกี ารใช้กลอ้ ง โทรทรรศน์ แบบต่าง ๆ ทั้งที่อยู่บนโลกและในอวกาศ จนกระท่ังการใช้ยานอวกาศแบบต่าง ๆ ในการสำรวจ อวกาศเพ่ือปฏิบัติ ภารกจิ มากมาย ย่ิงไปกว่านั้นเทคโนโลยี อวกาศยังเป็นจุดเรมิ่ ตน้ ของการพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ ทอ่ี ยรู่ อบตัวเรา ทั้งนี้ เพือ่ ใหม้ นษุ ยไ์ ด้ใช้ประโยชน์เพื่อการ ดำรงชีวิตในปัจจุบนั นายณัฏฐ์พรี พล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 32

6. คุณลักษณะอนั พงึ่ ประสงค์ 1. ซ่ือสัตยส์ จุ ริต 2. มวี ินยั 3. ใฝ่เรยี นรู้ 4. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะการใช้ทักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. แบบบนั ทกึ กจิ กรรมเรือ่ ง รู้จกั เทคโนโลยีอวกาศ 9. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันนำ 9.1. ข้ันกระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครใู ห้นกั เรียนเล่นเกมสท์ ายภาพ ผา่ นโปรแกรม PowerPoint 2. ครตู รวจสอบความรเู้ ดิมเกี่ยวกบั การเกิดเงา โดยใหน้ กั เรียนชมวีดทิ ศั น์เร่อื ง zooming out from Earth 4k จาก https://www.youtube.com 3. ครูให้นกั เรยี นตอบคำถามชวนคดิ ดังน้ี 3.1 จากวีดิทศั น์ นกั เรยี นสงั เกตเห็นอะไรบา้ ง (นกั เรยี นตอบส่งิ ที่เห็นใน วีดิทัศน์ เช่น พนื้ โลก เมฆ โลกท้ัง ใบ อวกาศ ดาวตา่ ง ๆ) 3.2 จากวีดทิ ัศน์ สง่ิ ใดบ้างท่เี ปน็ วัตถทุ ้องฟ้า (ดาวตา่ งๆ ) 3.3 นักเรยี นรจู้ ักวัตถุท้องฟา้ ใดอีกบา้ ง (อกุ กาบาต) 3.4 วตั ถุทอ้ งฟา้ อยู่บริเวณใด (อวกาศ) 3.5 อวกาศ คือ บริเวณใด มลี ักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจ เชน่ อวกาศ คือ บริเวณที่อยู่ เหนือพ้ืนโลกข้นึ ไปมากกวา่ 100 กิโลเมตร เปน็ บรเิ วณที่ไมม่ อี ากาศอยู่เลย ในอวกาศจะมวี ัตถุท้องฟา้ ) ข้ันสอน 9.2. ขั้นสำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูเชอื่ มโยงความร้เู ดิมของนักเรียนสู่การเรยี นเรอื่ งรู้จักเทคโนโลยีอวกาศ โดยใช้คำถามดงั นนี้ กั เรยี นอยากรู้ หรือไมว่ ่าเพราะเหตุใด นกั บินอวกาศจึงต้องสวมชุดอวกาศ และนกั บินอวกาศตอ้ งทำอยา่ งไร บา้ งจงึ จะสามารถออกไปสู่ อวกาศได้ 2. ครูอธบิ ายเร่ือง รจู้ กั เทคโนโลยอี วกาศ ผา่ นโปรแกรม PowerPoint 3. ครูใหน้ กั เรียนทำแบบฝกึ หัดท่ี 4 เรอื่ ง รจู้ กั เทคโนโลยีอวกาศ ผา่ นเวบ็ ไซต์ https://docs.google.com นายณัฏฐพ์ ีรพล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 33

9.3. ขั้นอธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูอธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกี่ยว การพฒั นาของเทคโนโลยีอวกาศ ข้ันสรุป 9.4. ขั้นขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนซกั ถามในส่ิงทอี่ ยากรเู้ พม่ิ เติมเก่ยี วกบั เทคโนโลยีอวกาศ (เทคโนโลยีอวกาศ เปน็ การ นำความรู้ดา้ นตา่ ง ๆ มาประยกุ ตเ์ พื่อใช้ในการสำรวจอวกาศ โดยการสำรวจอวกาศจะตอ้ งอาศัยนักบนิ อวกาศทีผ่ ่านการ ฝึกฝนใน ด้านตา่ ง ๆ และเพื่อใหส้ ามารถดำรงชีวติ อยู่ในยานอวกาศได้จึงตอ้ ง มกี ารพัฒนาเทคโนโลยีด้านอาหารสำหรับ นักบนิ อวกาศ) 9.5. ข้นั ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายคำถามดงั นี้ 1.1 นอกจากเทคโนโลยดี า้ นอาหารแลว้ ยังมกี ารพฒั นาเทคโนโลยี ด้านอนื่ ๆ ท่ีเก่ยี วข้องกับ เทคโนโลยีอวกาศอกี หรอื ไม่ (นักเรยี น ตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) 1.2 เทคโนโลยีอวกาศที่ใช้ในอวกาศมปี ระโยชน์ต่อมนุษย์บนโลก อย่างไร (นกั เรียนตอบตาม ความเขา้ ใจของตนเอง) 10. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ วธิ ีการวดั เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1. นักเรียนมคี วามรู้ ความ - ตรวจใบกจิ กรรม - แบบประเมนิ กจิ กรรม เร่ือง รู้จกั เทคโนโลยี เข้าใจอธิบายการเกิดเงามืด เรื่อง รูจ้ กั เทคโนโลยี อวกาศ และเงามัว (K) อวกาศ 2. นกั เรียนสามารถเขียน - ตรวจใบกิจกรรม - แบบประเมนิ กจิ กรรม - ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ น เรอื่ ง รจู้ กั เทคโนโลยี เกณฑ์ แผนภาพรงั สขี องแสงแสดง เร่ือง รู้จกั เทคโนโลยี อวกาศ - ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ น การเกดิ เงามืดและเงามัว อวกาศ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม เกณฑ์ การทำงานรายบุคคล ได้ (P) - แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทำงานกลมุ่ 3. นกั เรยี นมเี จตคติทีด่ ตี อ่ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมิน คณุ ลักษณะ วิชาวทิ ยาศาสตร์ และ การทำงานรายบคุ คล อนั พงึ ประสงค์ สามารถนำไปใช้ใน - สงั เกตพฤตกิ รรม ชวี ิตประจำวันได้ (A) การทำงานกลมุ่ - สังเกตความมวี นิ ยั ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่นั ในการทำงาน นายณัฏฐ์พีรพล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 34

11. ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี น ป.6 เล่ม 2 2. แบบบนั ทึกกิจกรรมเรือ่ ง ร้จู ักเทคโนโลยีอวกาศ เวบ็ ไซต์ https://docs.google.com 3. เกมสท์ ายภาพ ผา่ นโปรแกรม PowerPoint 4. วีดิทศั นเ์ รอ่ื ง zooming out from Earth 4k จาก https://www.youtube.com 12. บันทึกผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น  ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ด้านอน่ื ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤติกรรมท่ีมปี ัญหาของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงช่อื ..................................................ครผู สู้ อน (นายณัฏฐพ์ ีรพล มีบญุ มาก) วนั ท.่ี ..........เดือน....................................พ.ศ............... นายณัฏฐ์พรี พล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 35

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 6 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว16101 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ เวลา 1 ชั่วโมง เร่ือง เทคโนโลยอี วกาศมปี ระโยชน์อยา่ งไร ครูผู้สอน นายณฏั ฐ์พรี พล มีบุญมาก 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏิสมั พันธร์ ะหว่าง สสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคล่นื ปรากฏการณ์ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับเสยี ง แสง และ คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมทง้ั นําความรไู้ ปใช้ประโยชน์ 2. ตวั ชี้วัดชั้นปี ว 2.3 ป.6/2 อธบิ ายพฒั นาการของเทคโนโลยีอวกาศและยกตวั อย่างการนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ ในชีวติ ประจำวัน จากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรียนมีความรู้ความเขา้ ใจอธิบายความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีอวกาศจากอดตี จน ถึงปจั จบุ ันได้(K) 2. นักเรยี นสามารถยกตวั อยา่ งประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศทมี่ ตี อ่ มนุษยไ์ ด้ (P) 3. นักเรียนมเี จตคติทีด่ ีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ และสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ (A) 4. สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมนนี้ ักเรียนจะไดร้ วบรวมขอ้ มลู เทคโนโลยีอวกาศต่าง ๆ ท่มี กี ารพัฒนาขน้ึ และอธบิ าย ประโยชนข์ อง เทคโนโลยอี วกาศที่มีตอ่ มนษุ ย์ 5. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เทคโนโลยอี วกาศมีพฒั นาการมาจากการสงั เกต ท้องฟ้าดว้ ยตาเปลา่ ของมนษุ ย์ ต่อมามีการใชก้ ล้อง โทรทรรศน์ แบบต่าง ๆ ท้ังท่ีอยู่บนโลกและในอวกาศ จนกระทั่งการใช้ยานอวกาศแบบต่าง ๆ ในการสำรวจ อวกาศเพื่อปฏิบัติ ภารกจิ มากมาย ยิ่งไปกวา่ นัน้ เทคโนโลยี อวกาศยังเป็นจดุ เริม่ ตน้ ของการพัฒนาเทคโนโลยีตา่ ง ๆ ทีอ่ ย่รู อบตัวเรา ท้ังนี้ เพอ่ื ใหม้ นษุ ยไ์ ดใ้ ช้ประโยชน์เพ่อื การ ดำรงชีวติ ในปัจจบุ นั 6. คุณลักษณะอันพง่ึ ประสงค์ 1. ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ 2. มวี นิ ัย 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 4. มุ่งม่นั ในการทำงาน นายณัฏฐ์พรี พล มีบญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู 36

7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. แบบบันทกึ กิจกรรม 9. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นำ 9.1. ข้ันกระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครใู หน้ ักเรียนเลน่ เกมสก์ ระตุน้ นกั เรียน ผา่ นเว็บไซต์ https://www.blooket.com/dashboard 2. ครูทบทวนความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ และตรวจสอบ ความรู้เดิมเก่ียวกับประโยชน์ของ เทคโนโลยอี วกาศ โดยใช้คำถาม ดังน้ี 2.1 เพราะเหตุใดจึงมีการพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศ (เพ่อื ตอบสนองความ อยากรู้อยากเห็นเรอื่ งอวกาศของ มนุษย)์ 2.2 เทคโนโลยอี วกาศที่เรียนมาแล้วมีอะไรบ้าง (สิ่งท่ีเป็นเทคโนโลยี อวกาศท่ีเรียนมาแล้วมีหลายอย่าง เชน่ อาหารของนักบินอวกาศ กล้องโทรทรรศน์ จรวด ยานอวกาศ ยานขนส่งอวกาศ) 2.3 เทคโนโลยอี วกาศแตล่ ะอยา่ งมีประโยชน์อย่างไร (นักเรยี นตอบตาม ขอ้ มูลท่ีได้เรยี นมาและจากความ เข้าใจของตนเอง เชน่ กล้อง โทรทรรศนใ์ ช้สำหรบั ถ่ายภาพวัตถทุ อ้ งฟา้ ต่าง ๆ จรวดใชส้ ำหรบั ส่ง สิ่งตา่ ง ๆ ออกสู่อวกาศ อาหารของนักบินอวกาศเป็นอาหารทีจ่ ดั ทำ ขนึ้ สำหรบั ใหน้ ักบินอวกาศสามารถรบั ประทานไดส้ ะดวกและมี ประโยชน์ ครบถ้วน) ขนั้ สอน 9.2. ขน้ั สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูอธบิ ายเรอื่ ง ประโยชนข์ องอวกาศ ผา่ นโปรแกรม PowerPoint 2. ครใู หน้ กั เรียนทำกจิ กรรมเรอ่ื ง ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศดา้ นใดนำมาใชท้ ำเทคโนโลยบี นโลก 9.3. ขัน้ อธิบายความรู้ (Explain) 1. หลังจากทำกจิ กรรมแล้ว นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายผลการทำกจิ กรรม โดย ใช้แนวคำถามดังนี้ 1.1 เทคโนโลยีอวกาศมปี ระโยชน์เฉพาะการสำรวจอวกาศใช่หรือไม่ เพราะเหตใุ ด (ไม่ใช่ เพราะเทคโนโลยี อวกาศนอกจากมปี ระโยชนใ์ น การศึกษาอวกาศแล้ว ยังมีประโยชนใ์ นการนำข้อมูลทีไ่ ดจ้ าก ดาวเทียมมาใช้บนโลก นอกจากนยี้ งั มีการตอ่ ยอดพฒั นาเทคโนโลยี อวกาศต่าง ๆ มาเปน็ เทคโนโลยที ่ใี ชบ้ นโลกอกี ด้วย) 1.2 เทคโนโลยีอวกาศมปี ระโยชนท์ างการแพทยห์ รอื ไม่ อยา่ งไร (เทคโนโลยีอวกาศบางอยา่ งมปี ระโยชน์ ทางการแพทย์ เชน่ การ ประยุกตร์ ะบบจ่ายเช้อื เพลงิ ของยานอวกาศมาใชเ้ ป็นแนวคดิ ใน การสรา้ งเครอ่ื งป๊มั หัวใจเทียม สำหรบั คนทเ่ี ปน็ โรคหวั ใจ) นายณัฏฐ์พรี พล มีบญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 37

ขั้นสรปุ 9.4. ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) ครเู ปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นซักถามในสิง่ ที่อยากรู้เพม่ิ เติมเกี่ยวกบั ประโยชน์ ของเทคโนโลยีอวกาศ จากนั้นร่วมกัน อภิปรายและลงข้อสรปุ ว่า เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชน์ทั้งในการศึกษาอวกาศ และมีประโยชน์ต่อ มนษุ ยท์ ่ีอยู่บนโลก ทั้งท่ีเป็นประโยชน์โดยตรงจากการใช้ข้อมูลที่ได้จาก เทคโนโลยีอวกาศท่ีส่งไปนอกโลก เช่น ข้อมูลจากดาวเทียม กล้องโทรทัศน์ รวมท้ังประโยชนท์ างอ้อมจากการพัฒนาต่อยอด เทคโนโลยีอวกาศมาเป็นเทคโนโลยีตา่ ง ๆ ที่สามารถ นำมาใช้ใน ชีวิตประจำวัน เช่น อาหารของทารกที่มสี ารอาหารสูงซง่ึ พัฒนามาจาก อาหารของนักบินอวกาศ 9.5. ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นกั เรียนรว่ มกันสรปุ สงิ่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ในเรอื่ ง เทคโนโลยอี วกาศ 2. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ ผ่านเวบ็ ไซต์ https://docs.google.com/forms 10. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ วิธกี ารวดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมนิ 1. นักเรยี นมีความรู้ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบประเมิน - รอ้ ยละ 60 ผา่ น ความเข้าใจอธบิ ายการเกดิ หลงั เรียน เงามดื และเงามวั (K) แบบทดสอบหลงั เรียน เกณฑ์ 2. นกั เรียนสามารถเขียน - ตรวจใบกจิ กรรม - แบบประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น แผนภาพรังสขี องแสง เรอื่ ง ประยกุ ตใ์ ช้ กจิ กรรมเรอื่ ง เกณฑ์ แสดงการเกิด เงามดื และ เทคโนโลยอี วกาศด้าน ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี เงามัวได้ (P) ใดนำมาใชท้ ำ อวกาศดา้ นใดนำมาใช้ เทคโนโลยีบนโลก ทำเทคโนโลยบี นโลก 3. นกั เรียนมเี จตคติท่ดี ีต่อ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน วิชาวิทยาศาสตร์ และ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล เกณฑ์ สามารถนำไปใชใ้ น - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ชีวิตประจำวนั ได้ (A) การทำงานกลมุ่ การทำงานกลมุ่ - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มัน่ คุณลักษณะ ในการทำงาน อันพึงประสงค์ นายณัฏฐ์พรี พล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 38

11. สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียน ป.6 เลม่ 2 2. แบบทดสอบหลงั เรียน เรอ่ื ง เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ผ่านเว็บไซต์ https://docs.google.com/forms 3. PowerPoint เร่ือง ประโยชน์ของอวกาศ 4. เกมส์ เว็บไซต์ https://www.blooket.com/dashboard 12. บนั ทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ดา้ นอน่ื ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤตกิ รรมท่ีมปี ัญหาของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงช่ือ..................................................ครผู สู้ อน (นายณัฏฐ์พีรพล มบี ุญมาก) วนั ท.ี่ ..........เดือน....................................พ.ศ............... นายณัฏฐ์พีรพล มีบญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู 39

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 5 เรือ่ ง เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนเลอื กคำตอบทสี่ ุดเพียงขอ้ เดียว 1. เมอื่ วางวตั ถุแสงระหวา่ งเทยี นไขทจ่ี ดุ แลว้ กับฉากจะเกดิ ขนึ้ อย่างไร ก. เงามดื ข. เงามวั ค. การสะทอ้ นแสง ง. เงามดื และเงามวั 2. ขอ้ ใดเป็นสมบัตขิ องแสงที่ใช้อธบิ ายว่าทำไมจงึ เกิดเงาและเกิดจันทรปุ ราคา ก. แสงเป็นพลงั งานรปู หนง่ึ ข. แสงเดินทางเป็นเส้นตรง ค. แสงสามารถสะท้อนได้ ง. แสงเดินทางดว้ ยความเรว็ สูง 3. ข้อคือปจั จยั ท่ที ำให้ขนาดของเงาเปลี่ยนแปลง ก. ระยะหา่ งระหว่างเงากบั ผสู้ ังเกต ข. ระยะห่างระหวา่ งฉากกบั ผสู้ งั เกต ค. ระยะหา่ งระหว่างวัตถกุ ับแหลง่ กำเนดิ ง. ระยะหา่ งระหว่างแหลง่ กำเนดิ กบั ฉาก 4. อุปกรณใ์ นข้อใดท่ีใช้กั้นแสงแล้วไมท่ ำใหเ้ กิดเงามดื ก. มือ ข. กระดานดำ ค. ขวดพลาสติกใส ง. กล่องดินสอ 5. สรุ ิยปุ ราคาเกิดขึน้ เวลาใด ก. เช้า ข. กลางวัน ค. กลางคืน ง. เชา้ และเย็น 6. เมอ่ื ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในเงามืดของโลกจะเกดิ ปรากฏการณ์ใด ก. สรุ ยิ ปุ ราคา ข. จนั ทรปุ ราคา ค. ดวงจนั ทรว์ นั เพญ็ ง. ไม่เห็นดวงจนั ทร์ตลอดท้ังคืน 7. ข้อใดไมใ่ ชผ่ ลจากทด่ี วงจันทรโ์ คจรรอบโลก ก. สุริยปุ ราคา ข. จันทรุปราคา ค. ฤดกู าล ง. ข้างขนึ้ ขา้ งแรม 8. ถา้ เงามืดของดวงจนั ทรม์ าตกลงบนพนื้ โลกจะเกิดปรากฏการณ์ใด ก. สุริยปุ ราคา ข. จนั ทรปุ ราคา ค. ดวงจนั ทร์วนั เพญ็ ง. ดวงจันทรม์ ืดหมดท้งั ดวง 9. คนบนโลกมองเหน็ ดวงจันทร์ไดเ้ พราะอะไร ก. ดวงจนั ทรอ์ ย่ใู กล้โลก ข. โลกหมุนรอบดวงจนั ทร์ ค. ดวงจันทร์เป็นบรวิ ารของโลก ง. ดวงจนั ทร์สะทอ้ นแสงดวงอาทิตยม์ ายงั โลก 10. คนท่ีอยบู่ ริเวณใดของโลกจึงจะเห็นสรุ ิยปุ ราคาเต็มดวง ก. ใตเ้ งามืดของดวงจนั ทร์ ข. ใต้เงามวั ของดวงจันทร์ ค. ใต้เงามืดของดวงจันทรด์ วง ง. ใตเ้ งามดื ของดวงจันทรเ์ พยี งบางส่วน นายณัฏฐพ์ ีรพล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านกุ ลู 40

11. จนั ทรุปราคาเกดิ จากการเรียงลำดบั การโคจรในลกั ษณะใด ก. ดวงจันทร์ โลก ดวงอาทิตย์ ข. ดวงอาทิตย์ โลก ดวงจนั ทร์ ค. โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ ง. ดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์ โลก 12. การดสู รุ ยิ ปุ ราคาเป็นอนั ตรายตอ่ สายตา เพราะเหตุใด ก. เงามดื ทำให้สายตาพลรา่ มัวได้ ข. เงามวั ทำให้สายตาพลรา่ มวั ได้ ค. แสงอาทติ ยจ์ ้ามากอาจทำให้ตาบอดได้ ง. แสงอาทิตย์ส่งมาสสู่ ายตาไม่สมำ่ เสมอ ทำใหแ้ สบลูกตาได้ 13. ข้อใดไมใ่ ชก่ ารคน้ พบจากการใชก้ ลอ้ งโทรทรรศน์ของกาลเิ ลโอ ก. พบบริวารของดาวพฤหสั 4 ดวง ข. เหน็ จดุ ดำบนดวงอาทติ ย์ ค. เห็นดาวหาง ง. เห็นดวงจันทร์มพี ้นื ผวิ ขรขุ ระ 14. จรวดและยานขนส่งอวกาศเหมอื นกันและแตกตา่ งกันอยา่ งไร ก. ใช้ขนสง่ ยานอวกาศเหมอื นกัน แต่จรวดใชไ้ ดค้ ร้ังเดียวสว่ นยานขนส่งอวกาศนำมาใชใ้ หม่ได้ ข. ใชข้ นส่งยานอวกาศเหมือนกัน แตจ่ รวดนำมาใช้ใหมไ่ ดส้ ว่ นยานขนส่งอวกาศใช้ได้คร้งั เดียว ค. ตอ้ งใชม้ นุษย์ขึ้นไปบงั คับเหมอื นกัน แตจ่ รวดใชไ้ ด้ครง้ั เดียวสว่ นยานขนส่งอวกาศนำมาใช้ใหม่ได้ ง. ต้องใช้มนุษย์ข้ึนไปบงั คับเหมือนกนั แตจ่ รวดนำมาใชใ้ หม่ไดส้ ่วนยานขนส่งอวกาศใชไ้ ด้ครงั้ เดยี ว 15. การพยากรณ์สภาพอากาศในแต่ละวนั ใช้ประโยชน์จากดาวเทยี มประเภทใด ก. ดาวเทยี วส่ือสาร ข. ดาวเทียมอุตุนยิ มวิทยา ค. ดาวเทยี มสำรวจทรัพยากร ง. ดาวเทียมเพอ่ื การวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ 16. การสบื ค้นหาความรจู้ ากขอ้ มลู ทางอินเทอรเ์ น็ต เป็นการใชป้ ระโยชนจ์ ากดาวเทียมชนิด ก. ดาวเทยี มสอ่ื สาร ข. ดาวเทยี มอุตนุ ิยมวทิ ยา ค. ดาวเทียมสำรวจทรพั ยากร ง. ดาวเทียมเพอ่ื การวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร์ 17. ข้อใดคอื การเรียงลำดับของดวงดาวในการเกิดสรุ ยิ ปุ ราคาและจันทรุปราคา ตามลำดบั ก. ดวงอาทติ ย์ - ดวงจันทร์ - โลก ข. ดวงอาทติ ย์ - โลก - ดวงจันทร์ ค. ดวงจนั ทร์ - ดวงอาทติ ย์ - โลก (ว 3.1 ป.6/1) ก. ข้อ ก และ ข ข. ขอ้ ก และ ค ค. ข้อ ข และ ค ง. ข้อ ข และ ก 18. ดาวเทียมดวงแรกทส่ี หภาพโซเวียดสง่ ขึ้นไปโคจรรอบโลกได้สำเรจ็ คอื อะไร ก. สปุตนกิ 1 ข. แลนด์แซต ค. ไพโอเนียร์ 10 ง. วอยเอจเยอร์ 1 นายณัฏฐ์พีรพล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู 41

19. การทำใหจ้ วดเคลือ่ นที่ไปขา้ งหน้าจนสามารถหลดุ พน้ แรงโน้มถว่ งของโลกได้นั้นทำได้โดยวธิ ีใด ก. ใชแ้ รงดนั โดยใช้เทคโนโลยคี วบคุม ข. อัดอากาศเข้าสถู่ งั เก็บอากาศดา้ นทา้ ย ค. เผาไหมเ้ ช้ือเพลงิ ทำใหเ้ กดิ แกส๊ ร้อนเพื่อใช่เป็นแรงขบั ดัน ง. ใชเ้ ครื่องยนต์ขนาดใหญ่บงั คบั ทศิ ทางให้เคลอื่ นที่ได้ 20. ดาวเทยี มดวงแรกของโลก มชี ่ือวา่ อะไร ก. ธรี ์เดย์ ข. ธอี อล ค. ไทยคม ง. เทลสตาร์ เฉลยทดสอบก่อนเรียน 1. ง 2. ข 3. ค 4. ค 5.ข 6. ข 7. ค 8. ก 9. ง 10. ค 11. ข 12. ก 13. ค 14 ก 15.ข 16. ก 17. ก 18. ก 19. ง 20. ค นายณัฏฐ์พรี พล มบี ญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านุกลู 42

แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยที่ 5 เรือ่ ง เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ คำช้แี จง ให้นกั เรียนเลือกคำตอบทสี่ ุดเพยี งข้อเดียว 1. อุปกรณ์ในขอ้ ใดทใ่ี ช้ก้ันแสงแลว้ ไม่ทำให้เกิดเงามืด ก. มอื ข. กระดานดำ ค. ขวดพลาสตกิ ใส ง. กลอ่ งดินสอ 2. สรุ ิยุปราคาเกิดขนึ้ เวลาใด ก. เช้า ข. กลางวัน ค. กลางคนื ง. เช้าและเย็น 3. เมอ่ื วางวัตถแุ สงระหวา่ งเทียนไขทจี่ ุดแล้วกบั ฉากจะเกิดขนึ้ อยา่ งไร ก. เงามืด ข. เงามวั ค. การสะทอ้ นแสง ง. เงามดื และเงามัว 4. ข้อใดเป็นสมบตั ขิ องแสงที่ใช้อธบิ ายวา่ ทำไมจึงเกดิ เงาและเกิดจนั ทรปุ ราคา ก. แสงเป็นพลงั งานรปู หน่งึ ข. แสงเดินทางเป็นเสน้ ตรง ค. แสงสามารถสะท้อนได้ ง. แสงเดนิ ทางดว้ ยความเรว็ สงู 5. ข้อคอื ปจั จัยทที่ ำให้ขนาดของเงาเปลี่ยนแปลง ก. ระยะหา่ งระหว่างเงากบั ผสู้ งั เกต ข. ระยะหา่ งระหวา่ งฉากกบั ผสู้ งั เกต ค. ระยะห่างระหว่างวัตถกุ ับแหล่งกำเนิด ง. ระยะหา่ งระหวา่ งแหล่งกำเนดิ กบั ฉาก 6. เมอ่ื ดวงจนั ทรโ์ คจรมาอย่ใู นเงามดื ของโลกจะเกิดปรากฏการณ์ใด ก. สุรยิ ปุ ราคา ข. จนั ทรปุ ราคา ค. ดวงจันทร์วนั เพญ็ ง. ไม่เหน็ ดวงจันทรต์ ลอดท้ังคืน 7. คนบนโลกมองเห็นดวงจันทรไ์ ดเ้ พราะอะไร ก. ดวงจันทรอ์ ยู่ใกล้โลก ข. โลกหมุนรอบดวงจนั ทร์ ค. ดวงจันทร์เป็นบริวารของโลก ง. ดวงจันทรส์ ะท้อนแสงดวงอาทติ ยม์ ายงั โลก 8. คนทอ่ี ยบู่ รเิ วณใดของโลกจงึ จะเห็นสรุ ยิ ปุ ราคาเตม็ ดวง ก. ใต้เงามืดของดวงจันทร์ ข. ใต้เงามวั ของดวงจนั ทร์ ค. ใตเ้ งามดื ของดวงจันทรด์ วง ง. ใต้เงามืดของดวงจันทรเ์ พียงบางสว่ น 9. ข้อใดไมใ่ ชผ่ ลจากทด่ี วงจันทร์โคจรรอบโลก ก. สุริยปุ ราคา ข. จันทรปุ ราคา ค. ฤดกู าล ง. ข้างข้นึ ขา้ งแรม 10. ถา้ เงามดื ของดวงจันทรม์ าตกลงบนพ้ืนโลกจะเกดิ ปรากฏการณ์ใด ก. สรุ ิยปุ ราคา ข. จันทรปุ ราคา ค. ดวงจนั ทร์วันเพญ็ ง. ดวงจนั ทรม์ ดื หมดท้งั ดวง นายณัฏฐ์พีรพล มบี ญุ มาก โรงเรียนปทมุ านุกลู 43

11. จันทรปุ ราคาเกิดจากการเรียงลำดบั การโคจรในลกั ษณะใด ก. ดวงจนั ทร์ โลก ดวงอาทติ ย์ ข. โลก ดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์ ค. ดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์ ง. ดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ โลก 12. ขอ้ ใดไม่ใชก่ ารค้นพบจากการใช้กล้องโทรทรรศน์ของกาลเิ ลโอ ก. พบบรวิ ารของดาวพฤหสั 4 ดวง ข. เห็นจดุ ดำบนดวงอาทติ ย์ ค. เหน็ ดาวหาง ง. เห็นดวงจันทร์มีพ้นื ผิวขรุขระ 13. จรวดและยานขนส่งอวกาศเหมอื นกนั และแตกต่างกันอย่างไร ก. ใช้ขนสง่ ยานอวกาศเหมอื นกนั แตจ่ รวดใชไ้ ดค้ รั้งเดียวสว่ นยานขนสง่ อวกาศนำมาใชใ้ หมไ่ ด้ ข. ใชข้ นส่งยานอวกาศเหมอื นกนั แตจ่ รวดนำมาใช้ใหม่ไดส้ ่วนยานขนส่งอวกาศใช้ได้ครงั้ เดียว ค. ตอ้ งใช้มนษุ ย์ขน้ึ ไปบงั คับเหมอื นกัน แตจ่ รวดใชไ้ ด้คร้งั เดยี วสว่ นยานขนส่งอวกาศนำมาใชใ้ หม่ได้ ง. ต้องใช้มนษุ ย์ขึน้ ไปบงั คับเหมือนกนั แต่จรวดนำมาใช้ใหมไ่ ดส้ ่วนยานขนสง่ อวกาศใชไ้ ด้คร้ังเดียว 14. การสบื ค้นหาความรจู้ ากขอ้ มลู ทางอนิ เทอร์เน็ต เป็นการใชป้ ระโยชนจ์ ากดาวเทยี มชนิด ก. ดาวเทยี มสอ่ื สาร ข. ดาวเทียมอุตนุ ยิ มวิทยา ค. ดาวเทียมสำรวจทรพั ยากร ง. ดาวเทยี มเพอ่ื การวิจยั ทางวทิ ยาศาสตร์ 15. ดาวเทยี มดวงแรกทสี่ หภาพโซเวียดส่งขน้ึ ไปโคจรรอบโลกได้สำเรจ็ คืออะไร ก. สปตุ นกิ 1 ข. แลนด์แซต ค. ไพโอเนยี ร์ 10 ง. วอยเอจเยอร์ 1 16. การดสู รุ ยิ ปุ ราคาเป็นอันตรายต่อสายตา เพราะเหตใุ ด ก. เงามดื ทำให้สายตาพลรา่ มัวได้ ข. เงามวั ทำใหส้ ายตาพลรา่ มัวได้ ค. แสงอาทิตยจ์ ้ามากอาจทำใหต้ าบอดได้ ง. แสงอาทติ ย์สง่ มาสสู่ ายตาไม่สม่ำเสมอ ทำใหแ้ สบลูกตาได้ 17. การพยากรณส์ ภาพอากาศในแตล่ ะวัน ใชป้ ระโยชน์จากดาวเทยี มประเภทใด ก. ดาวเทียวส่อื สาร ข. ดาวเทยี มอุตนุ ยิ มวิทยา ค. ดาวเทียมสำรวจทรพั ยากร ง. ดาวเทียมเพ่ือการวิจัยทางวทิ ยาศาสตร์ 18. ดาวเทียมดวงแรกของโลก มชี ่อื ว่าอะไร ก. ธีรเ์ ดย์ ข. ธีออล ค. ไทยคม ง. เทลสตาร์ นายณัฏฐพ์ ีรพล มีบญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ลู 44

19. ขอ้ ใดคอื การเรียงลำดับของดวงดาวในการเกดิ สุริยปุ ราคาและจนั ทรปุ ราคา ตามลำดับ ก. ดวงอาทติ ย์ - ดวงจันทร์ - โลก ข. ดวงอาทิตย์ - โลก - ดวงจันทร์ ค. ดวงจันทร์ - ดวงอาทิตย์ - โลก ก. ข้อ ก และ ข ข. ขอ้ ก และ ค ค. ข้อ ข และ ค ง. ขอ้ ข และ ก 20. การทำใหจ้ วดเคล่ือนที่ไปข้างหนา้ จนสามารถหลุดพ้นแรงโนม้ ถว่ งของโลกไดน้ ัน้ ทำไดโ้ ดยวิธีใด ก. ใชแ้ รงดัน โดยใชเ้ ทคโนโลยีควบคมุ ข. อัดอากาศเข้าสู่ถงั เก็บอากาศด้านทา้ ย ค. เผาไหม้เชื้อเพลงิ ทำให้เกิดแก๊สรอ้ นเพอ่ื ใช่เป็นแรงขบั ดนั ง. ใชเ้ ครื่องยนตข์ นาดใหญบ่ งั คับทิศทางใหเ้ คลอ่ื นทไ่ี ด้ เฉลยทดสอบหลังเรยี น 1. ค 2. ข 3. ง 4. ข 5.ค 6. ข 7. ง 8. ค 9. ค 10. ก 11. ค 12. ค 13. ก 14 ก 15.ก 16. ค 17. ข 18. ค 19. ก 20. ง นายณัฏฐ์พีรพล มีบญุ มาก โรงเรยี นปทมุ านุกลู 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook