Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore knowledge manangment

knowledge manangment

Published by sirawanapaijit22, 2021-09-30 16:54:43

Description: knowledge manangment

Search

Read the Text Version

รายงาน ขอ้ สอบ take home การจัดการความรู้ เพื่อการพฒั นาสังคม เสนอ ผศ.ดร.กนกพร ฉมิ พลี รายงานเล่มนเ้ี ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวิชา การจดั การความรู้เพ่อื การพัฒนาสงั คม ( 219331 ) สาขาวิชาการพัฒนาสงั คม มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ภาคเรียนท1ี่ ปีการศกึ ษา 2564

ก คำนำ รายงสนฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาสังคม โดยมีขุดประสงค์ เพ่ือศึกษาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ ( Knowledgemanagement )ท้ังน้ีรายงานน้ีมีเนื้อหา ประกอบด้วยความรเู้ กีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ตลอดจนการประยกุ ตใ์ ช้ในสาขาวชิ าการพฒั นาสงั คม ผจู้ ดั ทาไดเ้ ลอื กหวั ข้อน้ใี นการจดั ทารายงาน เนอื่ งมาจาก ผศ.ดร.กนกพร ฉมิ พลีไดใ้ หน้ กั ศึกษาหา ความรเู้ กย่ี วกบั การจัดการความรู้ และเปน็ ผลคะแนนสอบ หวงั วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชนแ์ ก่ผู้อา่ น ทุกๆท่าน ไม่มากกน็ อ้ ย หากมีเสนอแนะประการใดผจู้ ัดทาขอรับไวด้ ว้ ยความขอบพระคณุ อยา่ งยงิ่

ข สำรบญั คำนำ__________________________________________________________________________ ก สำรบญั ________________________________________________________________________ ข 1.จงอธิบายกระบวนการเกดิ ความรู้ พร้อมยกตัวอยา่ งประกอบเพือ่ สงั เคราะหก์ ระบวนการเกิดความรู้ ของตนเองอยา่ งละเอยี ด _________________________________________________________ 1 2.กระบวรการสร้างความรู้ หรือ seci model มลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไรและทา่ นมีแนวทางการสรา้ งความรู้ จาก model ดังกลา่ วได้อยา่ งไร____________________________________________________ 2 3.จงวิเคราะหก์ ระบวนการจดั การความรู้ โดยอธิบายว่าแตกต่างระหวา่ งกระบวนการจดั การความรทู้ ี่ ประยกุ ตใ์ ช้ในภาคองค์กรและกระบวนการจดั การความรู้ในชุมชน อย่างละเอียด __________________ 4 4.ในฐานะทที่ า่ นเปน็ นกั พฒั นาสงั คม จงอธบิ ายแนวทางการจดั การความรู้เพอื่ การพฒั นาบัณฑิตสาขา การพฒั นาสังคมในอนาคต ว่าควรมีรปู แบบอย่างไร/แนวทางเปน็ อยา่ งไรทีจ่ ะสง่ ผลใหบ้ ัณฑิตสาขาวชิ า การพฒั นาสงั คม เปน็ บณั ฑติ ทม่ี คี ุณภาพ _____________________________________________ 5 อ้างอิง_________________________________________________________________________ ค

1 1.จงอธบิ ายกระบวนการเกิดความรู้ พรอ้ มยกตัวอยา่ งประกอบเพื่อสังเคราะหก์ ระบวนการเกิดความรู้ ของตนเองอย่างละเอียด ควำมรู้ สำรสนเทศทน่ี ำไปสกู่ ำรปฏิบัติ เป็นเนอ้ื หำข้อมลู ซึง่ ประกอบดว้ ยขอ้ เทจ็ จริง ควำมคิดเห็น ทฤษฎี หลกั กำร รูปแบบ กรอบควำมคดิ หรอื ข้อมลู อ่ืนๆ ทีม่ ีควำมจำเปน็ และเปน็ กรอบของกำรผสมผสำนระหว่ำง ประสบกำรณ์ คำ่ นิยม ควำมรอบรู้ในบริบท สำหรับกำรประเมินคำ่ และกำรนำเอำประสบกำรณ์กบั สำรสนเทศ ใหม่ ๆ มำผสมรวมเขำ้ ดว้ ยกัน ควำมรนู้ นั้ มี 2 ชนิดคอื 1. ควำมร้ทู ่ฝี งั อยูใ่ นสมอง ( Tacit Knowledge ) อำจเรียกง่ำยๆ ว่ำ ควำมร้ใู นตวั คน ได้แก่ ควำมรูท้ ่ี เป็นทกั ษะ ประสบกำรณ์ ควำมคิดรเิ ริม่ พรสวรรค์ หรือสัญชำติญำณของบุคคลในกำรทำควำมเขำ้ ใจ ส่งิ ตำ่ งๆ บำงครั้งเรยี กว่ำควำมร้แู บบนำมธรรม 2. ควำมรทู้ ่ชี ัดแจ้ง ( Explicit Knowledge ) อำจเรียกวำ่ ควำมรนู้ อกตัวคน เปน็ ควำมรู้ที่สำมำรถ รวบรวม ถ่ำยทอดได้ โดยผ่ำนวิธตี ำ่ งๆ เชน่ กำรบันทึกเป็นลำยลักษณอ์ ักษร เปน็ หนังสอื ตำรำเอกสำร กฎระเบียบ วธิ ปี ฏบิ ัตงิ ำน เปน็ ต้น บำงคร้ังเรียกว่ำเปน็ ควำมรู้แบบรปู ธรรม ชั้นของควำมรเู้ ปน็ อย่ำงไร? ข้อมูล (Data) เป็น ข้อมลู ดิบทีย่ งั ไม่ไดผ้ ำ่ นกระบวนกำรประมวลผล หรือเปน็ กลมุ่ ของขอ้ มูลดิบทเ่ี กิดขึ้นจำก กำรปฏิบัตงิ ำน สำรสนเทศ (Information) เป็น ข้อมูลทผี่ ำ่ นกระบวนกำรประมวลผลโดยรวบรวมและสังเครำะห์เอำเฉพำะ ขอ้ มลู ที่มีควำมหมำยและเป็นประโยชน์ต่องำนทีท่ ำ ควำมรู้ (Knowledge) เป็น ผลจำกกำรขดั เกลำและเลือกใชส้ ำรสนเทศ โดยมกี ำรจดั ระบบควำมคดิ เสยี ใหม่ให้ เปน็ “ควำมรูแ้ ละควำมเชยี่ วชำญเฉพำะเรือ่ ง” ควำมเฉลียวฉลำด (Wisdom) เป็น กำรนำเอำควำมรตู้ ำ่ ง ๆ มำบรู ณำกำรเข้ำดว้ ยกนั เพ่ือใชใ้ หเ้ กิดเป็น ประโยชน์ตอ่ กำรทำงำนในสำขำวิชำชีพต่ำง ๆ เชำวนป์ ญั ญำ (Intelligence) เป็น ผลจำกกำรปรุงแต่งและจดจำควำมรู้และใชค้ วำมเฉลยี วฉลำดต่ำง ๆใน สมอง ทำใหเ้ กดิ ควำมคดิ ทร่ี วดเร็วและฉบั ไว สำมำรถใชค้ วำมรูแ้ ละควำมเฉลยี วฉลำดโดยใช้ชว่ งเวลำสั้นกว่ำ หำกนำเอำมำจดั ลำดับเป็นข้นั ตอนของกำรเรียนรู้สำหรบั มนษุ ย์แตล่ ะบคุ คลจะได้ดังน้ี

2 ตัวอยา่ ง 1. เรำมคี วำมรู้เรือ่ งอะไรและเรำตอ้ งกำรจะรอู้ ะไรเช่นกำรเล่นบำสเก็ตบอล 2. เรำจะเร่มิ หำขอ้ มลู ได้จำกท่ไี หนและจะต้องทำอะไรบ้ำง เช่น กำรหำวิธีกำรยนื ทีถ่ กู ต้องในกำรชูต้ บำส กำรใชข้ อ้ มอื ในกำรชู้ตบำส กำรเลง็ ก่อนช้ตู บำส เปน็ ตน้ 3. เรำจะนำขอ้ มลู ทไี่ ดม้ ำนน้ั มำฝกึ ฝนใหเ้ กดิ ตวำมรูอ้ ยำ่ งแทจ้ ริงจนเกิดควำมเช่ียวชำญ 4. เมอ่ื เรำมคี วำมเชีย่ วฉำญแลว้ เรำจะนำควำมรนู้ ี้ไปเผยแพร่ใหผ้ ูอ้ ่ืนอย่ำงไรเชน่ กำรทำวดี โิ อแนะนำ กำรช้ดู บำสเก็ตบอล 2.กระบวรการสรา้ งความรู้ หรอื seci model มลี ักษณะเปน็ อยา่ งไรและทา่ นมีแนวทางการสรา้ งความรู้ จาก model ดังกลา่ วได้อยา่ งไร (SECI Model) คือ แผนภำพแสดงควำมสมั พนั ธ์กำรหลอมรวมควำมร้ใู นองคก์ รระหว่ำงควำมรฝู้ ังลึก กบั ควำมรู้ ชดั แจ้ง ใน 4 กระบวนกำร เพอ่ื ยกระดับควำมรู้ให้สงู ข้ึนอย่ำงต่อเนื่องเปน็ วฎั จักร เรมิ่ จำก กำรแลกเปลี่ยน เรียนรู้ กำรสกดั ควำมรูอ้ อกจำกตัวคน กำรควบรวมควำมรู้ และกำรผนกึ ฝังควำมรู้ และวนกลับมำเรมิ่ ต้นทำซ้ำ ที่กระบวนกำรแรก เพอ่ื พฒั นำกำรจดั กำรควำมรูใ้ ห้เปน็ งำนประจำทีย่ ัง่ ยืน 1.กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Socialization) S กระบวนกำรที่ 1 อธิบำยควำมสมั พนั ธท์ ำงสังคม ในกำรส่งต่อระหวำ่ งควำมรูฝ้ งั ลกึ ดว้ ยกนั เปน็ กำรแบ่งปนั ประสบกำรณ์แบบเผชญิ หนำ้ ระหวำ่ งผ้รู ู้ เชน่ กำร ประชมุ กำรระดมสมอง ทมี่ ำจำกควำมรู้ กำรเรียนรู้ และประสบกำรณ์ของแตล่ ะบคุ คล เฉพำะเรือ่ ง เฉพำะ พน้ื ที่ แล้วนำมำแบ่งปนั แลกเปลยี่ นเรียนรใู้ นสภำพแวดล้อมเดยี วกนั ที่มใิ ชเ่ ปน็ เพียงกำรอำ่ นหนังสือ คูม่ อื หรือตำรำ

3 2.กำรสกัดควำมรอู้ อกจำกตวั คน(Externalization) E กระบวนกำรที่ 2 อธบิ ำย ควำมสมั พนั ธก์ ับภำยนอกในกำรสง่ ตอ่ ระหว่ำงควำมร้ฝู งั ลึกกบั ควำมรูช้ ดั แจ้ง อำจเป็นกำรนำเสนอในเวที วชิ ำกำร หรือบทควำมตพี มิ พ์ เป็นกำรพฒั นำองค์ควำมร้ทู ีถ่ กู ฝงั อยใู่ นควำมร้ฝู งั ลกึ ใหส้ ่ือสำรออกไปภำยนอก อำจเป็นแนวคดิ แผนภำพ แผนภูมิ เอกสำรที่สนบั สนนุ ให้เกดิ กำรสอ่ื สำรระหว่ำงผเู้ รยี นรดู้ ้วยกันทเ่ี ข้ำใจได้ง่ำย ซ่งึ ควำมรฝู้ ังลกึ จะถูกพัฒนำใหต้ กผลกึ และถกู กลัน่ กรอง แลว้ นำไปสกู่ ำรแบง่ ปัน เปลย่ี นเปน็ ฐำนควำมรใู้ หมท่ ่ี ถกู นำไปใชส้ รำ้ งผลติ ภณั ฑ์ใหม่ในกระบวนกำรใหม่ 3.กำรควบรวมควำมรู้ (Combination) C กระบวนกำรท่ี 3 อธบิ ำยควำมสัมพันธ์กำร รวมกันของควำมรูช้ ดั แจง้ ทผี่ ำ่ นกำรจัดระบบ และบรู ณำกำรควำมรู้ทีต่ ำ่ งรปู แบบเขำ้ ดว้ ยกนั เช่น นำควำมรไู้ ป สรำ้ งตน้ แบบใหม่ ไปสรำ้ งสรรคง์ ำนใหม่ ไดค้ วำมรใู้ หม่ โดยควำมร้ชู ดั แจง้ ได้จำกกำรรวบรวมควำมร้ภู ำยในหรอื ภำยนอกองคก์ ร แลว้ นำมำรวมกนั ปรบั ปรุง หรือผำ่ นกระบวนกำรทท่ี ำใหเ้ กดิ ควำมรู้ใหม่ แล้วควำมรใู้ หมจ่ ะถูก เผยแพร่แกส่ มำชกิ ในองคก์ ร 4.กำรผนึกฝังควำมรู้ (Internalization) I กระบวนกำรที่ 4 อธิบำยควำมสัมพนั ธภ์ ำยในทมี่ ี กำรสง่ ตอ่ ควำมรชู้ ดั แจ้ง สู่ควำมรู้ฝังลึก แลว้ มกี ำรนำไปใช้ในระดบั บุคคล ครอบคลมุ กำรเรียนรู้และลงมือทำ ซ่ึง ควำมรชู้ ดั แจ้งถกู เปลี่ยนเปน็ ควำมรฝู้ ังลึกในระดับบคุ คลแลว้ กลำยเปน็ ทรพั ย์สินขององค์กร แนวทำงกำรสรำ้ งควำมรู้จำก seci model 1. กำรแลกเปลีย่ นควำมรู้อย่ำง เชน่ ตัวเรำต้องกำรจะรู้เรื่องกำรเลน่ กฬี ำฟตุ บอลเรำกจ็ ะต้องมีกล่มุ มี สงั คมทีเ่ ล่นกฬี ำฟตุ บอลเหมอื นกันเพอ่ื แลกเปลย่ี นควำมรแู้ ละทกั ษะตำ่ งๆในกำรเลน่ ฟตุ บอล 2. กำรสกดั ควำมรู้ออกจำกตวั คน เชน่ กำรทีเ่ รำเผยแพร่ควำมรูท้ ำงทกั ษะกำรเลีย้ งฟุตบอลทเ่ี รำมใี ห้ผ้อู น่ื รู้และเขำ้ ใจงำ่ ยไมว่ ่ำจะเป็นแผนภำพ แนวคดิ หรือกำรปฏิบตั ใิ หด้ ู 3. กำรควบรวมควำมรู้ เชน่ เมอ่ื เรำมีทักษะกำรเล้ียงบอลอยู่แล้วเรำจะนำควำมรใู้ หมค่ ือกำรครึงบอลเข้ำ มำผสมผสำนดว้ ยในกำรเล่นฟุตบอลของเรำเพือ่ ให้มีมิติมำกข้นึ ในกำรเลย้ี งลูกฟุตบอล 4. กำรผนึกฝังควำมรู้ เช่น กำรทีเ่ รำนำควำมรทู้ ัง้ หมดมำฝกึ จนกลำยเปน็ ควำมร้ฝู งั ลกึ ในตวั เรำหรือ เรยี กวำ่ ทักษะควำมสำมำรถทีเ่ รำมีในระดบั สูงกวำ่ คนอืน่ เช่น นกั ฟตุ บอลที่ช่ือ lionel messi เขำมี กำรเลี้ยงบอลดว้ ยควำมเร็วมำกและมีควำมคลอ่ งแคลว่ ที่หำใครทำตำมได้ยำก

4 3.จงวเิ คราะหก์ ระบวนการจดั การความรู้ โดยอธบิ ายว่าแตกตา่ งระหวา่ งกระบวนการจัดการความรทู้ ี่ ประยุกต์ใชใ้ นภาคองค์กรและกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน อยา่ งละเอียด กระบวนกำรจดั กำรควำมรู้ในภำคองคก์ รหรือองค์กรแห่งกำรเรียนรู้ คอื องค์กรจะพฒั นำตนเองให้เป็น องคก์ รแหง่ กำรเรยี นรู้ก็จำเปน็ จะต้องบริหำรจัดกำรควำมรู้ภำยในองคก์ รใหเ้ ปน็ ระบบเพอ่ื ส่งเสรมิ ใหบ้ ุคลำกร เรยี นรไู้ ดจ้ ริงและตอ่ เน่ือง หำกองค์กรใดมกี ำรจดั กำรควำมรโู้ ดยไม่มีกำรสรำ้ งบรรยำกำศแหง่ กำรเรยี นรใู้ ห้ เกิดขึน้ ภำยในองค์กร ก็นับเป็นกำรลงทนุ ทส่ี ูญเปล่ำได้เชน่ กัน อยำ่ งไรก็ตำม กำรบรหิ ำรจัดกำรควำมรู้ มคี วำม ซับซ้อนมำกกวำ่ กำรพัฒนำบุคลำกรด้วยกำรฝกึ อบรม เพรำะเปน็ กระบวนกำรท่ตี ้องดำเนนิ กำรต่อภำยหลงั จำก ท่ีบคุ ลำกรมีควำมรู้ควำมชำนำญแล้ว องค์กรจะทำอยำ่ งไรให้บคุ ลำกรเหลำ่ นั้นยินดถี ำ่ ยทอด และแลกเปลย่ี น ควำมรู้กับผ้อู นื่ และในขัน้ ตอนสุดท้ำย องค์กรจะต้องหำเทคนิคกำรจัดเกบ็ ควำมรู้เฉพำะไว้กบั องคก์ รอย่ำงมี ระบบเพ่อื ทจ่ี ะนำออกมำใชไ้ ดอ้ ย่ำงมปี ระสิทธิภำพ กระบวนกำรจัดกำรควำมรู้ในชุมชนหรอื ชุมชนนกั ปฏบิ ตั ิ คอื คนกลมุ่ เลก็ ๆ ซึง่ ทำงำนด้วยกันมำระยะ หนงึ่ มเี ปำ้ หมำยรว่ มกนั และตอ้ งกำรทีจ่ ะแบง่ ปนั แลกเปลี่ยนควำมรู้ ประสบกำรณ์จำกกำรทำงำน กลุม่ ดงั กล่ำวมักจะไมไ่ ดเ้ กิดจำกกำรจดั ต้ังโดยองค์กำร เปน็ กลมุ่ ทีเ่ กดิ จำกควำมตอ้ งกำรทำงสงั คม และควำม พยำยำมท่ีจะทำใหบ้ รรลผุ ลสำเร็จ เปน็ กลุม่ ทไี่ ม่มอี ำนำจ ไม่มกี ำรกำหนดไว้ในแผนภมู โิ ครงสร้ำงองคก์ ร และ อำจจะมีเปำ้ หมำยทข่ี ดั แย้งกบั ผนู้ ำองคก์ ร ในหน่ึงองคก์ รอำจจะมชี มุ ชนนักปฏบิ ตั จิ ำนวนมำก และคนคนหน่ึง จะเปน็ สมำชกิ ในหลำยชุมชน ซ่งึ แสดงใหเ้ หน็ วำ่ ทัง้ กระบวนกำรจดั กำรควำมร้ใู นภำคองค์กรและกระบวนกำรจัดกำรควำมรใู้ นชุมชนน้ัน ไมไ่ ดม้ ีควำมแตกต่ำงกนั เพรำะท้ังภำคองคก์ รและภคชุมชนน้นั ตำ่ งตอ้ งกำรพัฒนำควำมรู้ใหค้ งอย่ไู ม่สญู หำยไปตำมบุ คลที่ ลำออกไป หรือสญู เสยี ไป เพ่ือยังคงมีควำมรตู้ ำ่ งๆนั้นอยใู่ นชมุ ชนหรอื องค์กรต่อไปโดยม่ีวธิ ีที่แตกต่ำงกนั ออกไป ไม่ว่ำจะเป็นในรูปแบบเอกสำรหรือควำมรฝู้ งั ลกึ

5 4.ในฐานะที่ท่านเป็นนกั พฒั นาสังคม จงอธบิ ายแนวทางการจดั การความรู้เพอ่ื การพัฒนาบัณฑติ สาขา การพฒั นาสังคมในอนาคต ว่าควรมีรูปแบบอย่างไร/แนวทางเปน็ อยา่ งไรทีจ่ ะส่งผลให้บณั ฑิตสาขาวิชา การพฒั นาสังคม เป็นบณั ฑิตท่มี ีคุณภาพ 1. เริม่ ตน้ จำกกำรทีเ่ รำตอ้ งกำหนดเป้ำหมำยหลักท่ชี ดั เจนว่ำเรำตอ้ งกำรอะไรจำกกำรศึกษำท่ีสำขำวิชำกำร พฒั นำสงั คมและกำหนดเป้ำหมำยหลกั มำเพอ่ื จะทำใหส้ ำเรจ็ 2. เรยี นรู้เพ่มิ เตมิ อยเู่ สมอไมห่ ยดุ นงิ่ หำควำมรู้ ทักษะ ใหม่ๆเขำ้ มำเติมเตม็ ตวั เรำในหลำยๆด้ำนไม่ใช่เพียง แค่เร่อื งกำรเรียนเพยี งอย่ำงเดย่ี วเพือ่ จะทำให้เรำพัฒนำศกั ยภำพตนเองอย่ตู ลอด 3. หมนั่ ทบทวนควำมร้เู สมอเพอ่ื ไมใ่ หค้ วำมรู้นน้ั ถกู ลืมไปและสดุ ท้ำยคอื อยำ่ ลืมทบทวนตวั เองดว้ ยวำ่ ตัวเรำนน้ั ผิดผลำดอะไรตรงไหนบำ้ งเพื่อหำขอ้ ผิดผลำดน้นั มำแกไ้ ขตัวเรำเอง

ค อา้ งองิ http://ks.rmutsv.ac.th/th/whatiskm http://www.dla.go.th/work/km/home/kmstory/kmstory4.htm https://sites.google.com/view/education-km/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook