Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore annualreport2559

annualreport2559

Published by sukanya nunn, 2021-03-17 03:34:23

Description: annualreport2559

Search

Read the Text Version

งบก�ำ ไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็   ส�ำ หรับปีสิน้ สุดวนั ท่ี 30 กันยายน 2559 หนว่ ย : บาท รายได้ หมายเหตุ 2559 2558 รายได้คา่ ผา่ นทาง 4.20 รายไดเ้ งนิ อดุ หนนุ ดอกเบย้ี และคา่ ธรรมเนยี มทร่ี ฐั บาลรบั ภาระ 14,148,592,286.54 13,795,133,693.13 รายไดอ้ น่ื 4.21 - 726,113.70 รวมรายได้ คา่ ใชจ้ ่าย 2,257,822,718.54 2,264,765,175.26 ต้นทนุ บริการ 16,406,415,005.08 16,060,624,982.09 ค่าใช้จา่ ยในการขาย ค่าใช้จา่ ยในการบรหิ าร 4,863,546,255.02 4,781,194,064.59 ดอกเบย้ี จา่ ยและค่าธรรมเนียมท่รี ฐั บาลรบั ภาระ 118,501,278.89 115,203,204.53 รวมคา่ ใชจ้ ่าย ก�ำ ไรก่อนต้นทนุ ทางการเงิน 1,188,498,433.80 1,126,971,241.30 ตน้ ทนุ ทางการเงิน - 726,113.70 ก�ำ ไรสำ�หรบั ปี ก�ำ ไรขาดทุนเบ็ดเสรจ็ อืน่ 6,170,545,967.71 6,024,094,624.12 ขาดทุนจากการค�ำ นวณตามหลักคณติ ศาสตรป์ ระกันภยั 10,235,869,037.37 10,036,530,357.97 กำ�ไรเบด็ เสร็จรวมส�ำ หรับปี 1,604,374,643.57 1,311,145,665.45 8,432,155,714.40 หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เปน็ ส่วนหน่งึ ของงบการเงินน้ี 8,924,723,371.92 (51,472,039.12) - 8,380,683,675.28 8,924,723,371.92 งบแสดงการเปลยี่ นแปลงส่วนของทนุ   ส�ำ หรบั ปสี ิน้ สุดวันท่ี 30 กนั ยายน 2559 หนว่ ย : บาท รวม ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2557 ทุน ก�ำ ไรสะสม 106,644,990,469.40 การเปล่ยี นแปลงในส่วนของทนุ สำ�หรับปี 76,990,314,520.31 29,654,675,949.09 เงนิ น�ำ สง่ รฐั ปี 2557 (3,233,000,000.00) กำ�ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ รวมส�ำ หรับปี - (3,233,000,000.00) 8,380,683,675.28 ยอดคงเหลือ ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2558 - 8,380,683,675.28 111,792,674,144.68 ยอดคงเหลอื ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2558 76,990,314,520.31 34,802,359,624.37 111,792,674,144.68 การเปลี่ยนแปลงในสว่ นของทนุ สำ�หรบั ปี 76,990,314,520.31 34,802,359,624.37 เงนิ นำ�สง่ รัฐปี 2558 (6,302,606,000.00) กำ�ไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ รวมสำ�หรบั ปี - (6,302,606,000.00) 8,924,723,371.92 ยอดคงเหลอื ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2559 - 8,924,723,371.92 114,414,791,516.60 76,990,314,520.31 37,424,476,996.29 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปน็ ส่วนหนึ่งของงบการเงนิ น้ี 99รายงานประจำ�ปี 255๙

งบกระแสเงินสด  ส�ำ หรับปีสิน้ สดุ วันที่ 30 กนั ยายน 2559 หนว่ ย : บาท 2559 2558 กระแสเงินสดจากกจิ กรรมด�ำ เนนิ งาน 8,432,155,714.40 ก�ำ ไรส�ำ หรับปี 8,924,723,371.92 (1,190,390,876.16) (3,482,854.08) รายการปรบั กระทบก�ำ ไรส�ำ หรบั ปเี ปน็ เงินสดรับ (จา่ ย) จากกจิ กรรมด�ำ เนนิ งาน : (11,167,375.89) (63,980,347.11) รับรู้รายไดจ้ ากการร่วมทนุ (1,286,283,301.76) (726,113.70) - รบั รรู้ ายได้จากการบรจิ าค (3,575,770.75) - - รบั ร้รู ายไดจ้ ากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (16,358,974.06) 2,131,006,449.96 รายได้ดอกเบี้ยเงนิ ฝากธนาคาร (25,796,324.01) 5,509.83 เงนิ อุดหนุนดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมจากรฐั บาล - 96,300,066.57 1,589,465,158.63 กำ�ไรจากการจ�ำ หนา่ ยสินทรัพย์ (3,502,775.47) 10,979,185,332.45 รายไดค้ า่ ชดเชยความเสยี หายจากไฟไหม้ (8,321,869.35) (300,000,000.00) 1,150,638.56 กำ�ไรจากการประมาณการผลประโยชน์พนกั งาน (1,392,108.86) (1,852,028,959.27) คา่ เสื่อมราคา 2,185,832,791.93 1,239,466,666.67 ขาดทนุ จากการจ�ำ หน่ายสนิ ทรพั ย์ 244,569.02 415,666,270.39 78,804,750.84 ค่าใชจ้ ่ายผลประโยชนพ์ นกั งาน 183,066,597.29 - ค่าใช้จา่ ยดอกเบย้ี 1,253,130,096.54 (19,688,939.98) 73,121,320.88 กำ�ไรสำ�หรับปจี ากการดำ�เนนิ งานกอ่ นการเปลยี่ นแปลงในสนิ ทรพั ย์ 11,201,766,302.44 และหนี้สินด�ำ เนินงาน (564,832.79) (1,868,743.54) การเปลย่ี นแปลงในสินทรพั ย์ดำ�เนินงาน ลดลง (เพม่ิ ขน้ึ ) 10,613,243,504.21 67,027,362.61 ลูกหนบ้ี รษิ ทั ร่วมทุน ทีถ่ งึ กำ�หนดรบั ช�ำ ระคนื ภายในหนงึ่ ปี - (1,669,137,754.25) (18,421,817.71) ลูกหนี้อ่นื (3,178,585.05) 8,992,711,294.86 สินทรัพย์หมนุ เวียนอื่น 1,620,509,600.87 ลกู หน้ีบริษัทร่วมลงทนุ 939,466,666.67 การเปลี่ยนแปลงในหนีส้ ินดำ�เนินงาน เพิ่มข้นึ (ลดลง) เจ้าหนี้ (460,759,414.93) ค่าใชจ้ ่ายค้างจ่าย 19,371.37 รายได้น�ำ ส่งรัฐคา้ งนำ�ส่ง 958,606,000.00 รายได้รับล่วงหนา้ 66,182,086.45 หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ (49,632,770.26) เงินประกนั ผลงาน 13,816,514.62 เงนิ กองทุนสงเคราะห์ 1,272,307.23 เงนิ สดรับจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 14,288,068,079.41 รบั ดอกเบีย้ เงนิ ฝากธนาคาร 27,774,731.55 จา่ ยดอกเบี้ย (1,333,901,769.39) จ่ายผลประโยชน์พนักงาน (139,015,883.00) เงนิ สดสทุ ธิไดม้ าจากกจิ กรรมด�ำ เนินงาน 12,842,925,158.57 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ เป็นสว่ นหนึ่งของงบการเงนิ นี้ 100 รายงานประจำ�ปี 255๙

งบกระแสเงนิ สด (ตอ่ )  สำ�หรับปสี ิ้นสดุ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2559 2559 หน่วย : บาท กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมลงทนุ (707,137.63) 2558 เงินลงทุนช่ัวคราว (เพ่มิ ขน้ึ ) ลดลง (5,000,000.00) เงินฝากประจ�ำ เพ่มิ ขน้ึ 3,629,684.75 2,318,808.58 เงินสดรบั จากการจ�ำ หน่ายสินทรัพย์ (470,050,008.71) (5,000,000.00) ลงทนุ ในที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ (476,236,581.04) ลงทุนในงานระหวา่ งก่อสร้าง - สทิ ธิการใช้ทด่ี นิ (16,685.00) (567,948,817.69) ค่าใชจ้ ่ายในงานบริหารดา้ นวศิ วกรรมรอการโอนลดลง (เพม่ิ ข้นึ ) 3,344,043.45 (439,775,975.15) เงินสดสทุ ธิใชไ้ ปในกจิ กรรมลงทุน (945,036,684.18) (1,561,060,150.77) กระแสเงินสดจากกจิ กรรมจดั หาเงนิ เงินสดจ่ายคนื เงนิ ยืมรฐั บาล (200,000,000.00) (46,229,995.77) เงนิ สดรับจากเงนิ กู้ 8,800,000,000.00 (2,617,696,130.80) เงนิ สดจา่ ยคืนเงนิ กู้ (15,150,000,000.00) เงนิ สดรบั จากเงินอุดหนนุ จากรัฐบาล (200,000,000.00) เงินน�ำ สง่ รฐั 550,000,000.00 2,000,000,000.00 เงินสดสทุ ธใิ ช้ไปในกิจกรรมจดั หาเงิน (6,302,606,000.00) (9,700,000,000.00) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ -สทุ ธิ (12,302,606,000.00) 1,374,433,941.91 เงินสดและรายการเทยี บเท่าเงินสด ณ วันตน้ งวด (404,717,525.61) (3,233,000,000.00) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสน้ิ งวด 3,356,513,782.73 (9,758,566,058.09) 2,951,796,257.12 (3,383,550,894.03) ข้อมลู เพิ่มเตมิ ประกอบงบกระแสเงนิ สด 6,740,064,676.76 การลงทุนในท่ดี นิ อาคารและอปุ กรณ์โดยท่ียงั ไมไ่ ด้ชำ�ระเงนิ 148,505,977.12 3,356,513,782.73 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปน็ สว่ นหนึ่งของงบการเงนิ นี้ - 101รายงานประจำ�ปี 255๙

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน สำ�หรบั ปสี นิ้ สุดวนั ท่ี 30 กนั ยายน 2559 1. ข้อมลู ทั่วไป การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย เป็นรฐั วสิ าหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ก่อต้ังข้ึนตามประกาศของคณะปฏิวัตฉิ บับท่ี 290 ประกาศ ณ วันที่ 27 พฤศจกิ ายน 2515 และตอ่ มาไดม้ กี ารปรบั ปรงุ กฎหมายโดยการประกาศใช้พระราชบญั ญัตกิ ารทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2550 เม่อื วนั ท่ี 9 มกราคม 2551 โดยมสี ถานประกอบการตง้ั อยเู่ ลขท่ี 2380 ถนนพหลโยธนิ แขวงเสนานคิ ม เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10900 และมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื 1. สรา้ งหรอื จัดให้มที างพเิ ศษดว้ ยวธิ ใี ดๆ ตลอดจนบ�ำ รุงรกั ษาทางพเิ ศษ 2. ด�ำ เนนิ งานหรือธรุ กิจเกีย่ วกับทางพิเศษ และธุรกิจอน่ื ท่ีเก่ยี วกับทางพเิ ศษหรือที่เป็นประโยชน์แกก่ ารทางพิเศษฯ 2. เกณฑ์การน�ำ เสนองบการเงนิ 2.1 งบการเงินการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้จัดทำ�ข้ึนตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซ่ึงหมายความถึงมาตรฐานการบัญชีที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยได้รวมรายการบัญชีต่างๆ ของกองทุนสงเคราะห์ ของพนกั งานการทางพเิ ศษฯ ไว้ด้วย 2.2 การใช้ประมาณการ ในการจัดทำ�งบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีท่ีรับรองทั่วไป ผู้บริหารต้องใช้ประมาณการและข้อสมมติฐาน ซ่ึงมีผลกระทบต่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้และค่าใช้จ่าย ท่ีรายงานไว้ในงบการเงิน การประมาณการและข้อสมมติฐานมาจาก ประสบการณ์ในอดีตและปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ที่ผู้บริหารมีความเชื่อม่ันอย่างสมเหตุสมผลภายใต้สภาวะแวดล้อมน้ันๆ ดังนั้น ผลท่ีเกิดขึ้นจริง อาจแตกตา่ งไปจากทปี่ ระมาณการและตั้งข้อสมมตฐิ านไว้ 2.3 กรอบแนวคิดสำ�หรับการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินและแนวปฏบิ ัตทิ างการบัญชที ่ีออกโดยสภาวิชาชีพบญั ชฯี มีผลบงั คบั ใชต้ ้งั แตว่ ันท่ี 6 พฤศจิกายน 2558 เป็นตน้ ไป - กรอบแนวคิดส�ำ หรับการรายงานทางการเงนิ (ปรับปรงุ 2558) มีผลบงั คับใช้สำ�หรบั รอบระยะเวลาบญั ชีทเี่ ริม่ ต้นในหรือหลงั วันที่ 1 มกราคม 2559 - มาตรฐานการบญั ชฉี บบั ท่ี 1 (ปรับปรงุ 2558) เรอ่ื ง การนำ�เสนองบการเงิน - มาตรฐานการบญั ชฉี บับที่ 2 (ปรบั ปรุง 2558) เร่อื ง สินคา้ คงเหลือ - มาตรฐานการบัญชฉี บบั ที่ 7 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง งบกระแสเงินสด - มาตรฐานการบัญชฉี บับที่ 8 (ปรับปรงุ 2558) เร่ือง น โยบายการบญั ชีการเปล่ียนแปลงประมาณการทางการบญั ชีและขอ้ ผดิ พลาด - มาตรฐานการบญั ชฉี บบั ที่ 10 (ปรบั ปรงุ 2558) เรื่อง เหตกุ ารณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน - มาตรฐานการบัญชีฉบบั ท่ี 11 (ปรบั ปรงุ 2558) เรื่อง สญั ญาก่อสร้าง - มาตรฐานการบญั ชฉี บบั ท่ี 12 (ปรับปรงุ 2558) เรื่อง ภาษเี งินได้ - มาตรฐานการบญั ชีฉบบั ท่ี 16 (ปรบั ปรงุ 2558) เร่ือง ทีด่ นิ อาคาร และอปุ กรณ์ - มาตรฐานการบญั ชีฉบับท่ี 17 (ปรับปรงุ 2558) เร่อื ง สัญญาเชา่ - มาตรฐานการบัญชฉี บบั ที่ 18 (ปรับปรุง 2558) เรอ่ื ง รายได้ - มาตรฐานการบัญชีฉบบั ที่ 19 (ปรบั ปรุง 2558) เรอ่ื ง ผลประโยชน์ของพนกั งาน - มาตรฐานการบัญชฉี บบั ที่ 20 (ปรบั ปรุง 2558) เรือ่ ง ก ารบญั ชสี �ำ หรบั เงนิ อดุ หนนุ รฐั บาลและการเปดิ เผยขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความชว่ ยเหลอื จากรัฐบาล - มาตรฐานการบัญชีฉบบั ที่ 21 (ปรับปรงุ 2558) เรื่อง ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงของอัตราแลกเปลย่ี นเงินตราตา่ งประเทศ - มาตรฐานการบญั ชฉี บบั ท่ี 23 (ปรบั ปรงุ 2558) เรือ่ ง ต้นทุนการกู้ยมื - มาตรฐานการบญั ชฉี บบั ท่ี 24 (ปรบั ปรงุ 2558) เรื่อง การเปิดเผยขอ้ มูลเกยี่ วกับบุคคลหรอื กจิ การทเ่ี กีย่ วขอ้ งกัน - มาตรฐานการบญั ชฉี บบั ที่ 26 (ปรับปรงุ 2558) เรอ่ื ง การบญั ชีและการรายงานโครงการผลประโยชนเ์ มื่อออกจากงาน - มาตรฐานการบญั ชฉี บบั ที่ 27 (ปรบั ปรุง 2558) เรอ่ื ง งบการเงนิ เฉพาะกิจการ - มาตรฐานการบญั ชีฉบับที่ 28 (ปรบั ปรงุ 2558) เร่ือง เงนิ ลงทนุ ในบริษัทร่วมและการร่วมคา้ - มาตรฐานการบญั ชีฉบับที่ 29 (ปรบั ปรุง 2558) เร่อื ง การรายงานทางการเงนิ ในสภาพเศรษฐกจิ ที่เงินเฟอ้ รุนแรง - มาตรฐานการบญั ชีฉบบั ที่ 33 (ปรบั ปรุง 2558) เรอ่ื ง ก�ำ ไรตอ่ หุ้น - มาตรฐานการบญั ชฉี บบั ท่ี 34 (ปรับปรงุ 2558) เรื่อง งบการเงนิ ระหวา่ งกาล - มาตรฐานการบัญชฉี บบั ที่ 36 (ปรบั ปรงุ 2558) เรอ่ื ง การด้อยค่าของสินทรัพย์ - มาตรฐานการบัญชีฉบบั ท่ี 37 (ปรบั ปรุง 2558) เร่ือง ป ระมาณการหนีส้ นิ หนส้ี นิ ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ และสนิ ทรพั ย์ทีอ่ าจเกดิ ข้ึน - มาตรฐานการบัญชีฉบบั ท่ี 38 (ปรบั ปรุง 2558) เรอื่ ง สินทรพั ยไ์ มม่ ตี ัวตน - มาตรฐานการบญั ชีฉบบั ที่ 40 (ปรบั ปรุง 2558) เร่อื ง อสังหารมิ ทรัพยเ์ พอ่ื การลงทนุ - มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบบั ท่ี 2 เรื่อง การจา่ ยโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ (ปรับปรงุ 2558) 102 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

- มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบับท่ี 3 เรื่อง การรวมธรุ กจิ (ปรบั ปรุง 2558) เรอ่ื ง สัญญาประกันภยั - มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบบั ที่ 4 เรื่อง สินทรพั ยไ์ มห่ มุนเวียนท่ีถือไว้เพื่อขายและการด�ำ เนนิ งานที่ยกเลกิ (ปรบั ปรุง 2558) เรื่อง ส่วนงานด�ำ เนนิ งาน - มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบบั ที่ 5 เรอื่ ง งบการเงินรวม (ปรบั ปรุง 2558) เรอ่ื ง การรว่ มการงาน - มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับท่ี 8 เรอ่ื ง การเปิดเผยขอ้ มลู เกย่ี วกับสว่ นไดเ้ สยี ในกิจการอ่ืน (ปรับปรุง 2558) เรอื่ ง การวัดมลู ค่ายตุ ิธรรม - มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบบั ที่ 10 เรอื่ ง ความชว่ ยเหลอื จากรฐั บาล-กรณที ไี่ ม่มีความเก่ยี วข้องอย่างเฉพาะเจาะจงกับ (ปรับปรุง 2558) กิจกรรมดำ�เนินงาน - มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบบั ที่ 11 เรื่อง สัญญาเช่าดำ�เนินงาน-สิ่งจงู ใจที่ให้แก่ผูเ้ ชา่ (ปรับปรงุ 2558) เรอื่ ง ภาษีเงนิ ได-้ การเปล่ียนแปลงสถานภาพทางภาษีของกจิ การหรอื ผู้ถอื หุ้น - มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับท่ี 12 เรอ่ื ง การประเมนิ เนือ้ หาสัญญาเช่าทีท่ �ำ ขึน้ ตามรูปแบบกฎหมาย (ปรบั ปรงุ 2558) เร่อื ง การเปดิ เผยข้อมลู ของข้อตกลงสัมปทานบริการ - มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบบั ที่ 13 เรอ่ื ง รายได-้ รายการแลกเปล่ียนเก่ยี วกับบรกิ ารโฆษณา (ปรบั ปรงุ 2558) เรอ่ื ง สนิ ทรัพย์ไมม่ ีตวั ตน-ตน้ ทุนเว็บไซต์ - การตคี วามมาตรฐานการบัญชฉี บบั ท่ี 10 เรอ่ื ง การเปล่ียนแปลงในหน้ีสินที่เกิดข้ึนจากการร้ือถอน การบูรณะ และหน้ีสินที่มี (ปรบั ปรงุ 2558) ลักษณะคล้ายคลงึ กัน - การตีความมาตรฐานการบัญชฉี บับท่ี 15 เรอ่ื ง การประเมนิ วา่ ข้อตกลงประกอบด้วยสญั ญาเช่าหรือไม่ (ปรบั ปรงุ 2558) เรื่อง สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการร้ือถอน การบูรณะ และการปรับปรุง - การตีความมาตรฐานการบญั ชีฉบบั ที่ 25 สภาพแวดล้อม (ปรบั ปรงุ 2558) เรอื่ ง การปรับปรุงยอ้ นหลงั ภายใต้มาตรฐานการบญั ชฉี บับที่ 29 (ปรับปรงุ 2558) - การตีความมาตรฐานการบญั ชฉี บับที่ 27 เรอื่ ง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกจิ ทีเ่ งนิ เฟ้อรุนแรง (ปรบั ปรุง 2558) เรือ่ ง งบการเงินระหวา่ งกาลและการดอ้ ยคา่ - การตคี วามมาตรฐานการบัญชฉี บบั ท่ี 29 เรอ่ื ง ข้อตกลงสัมปทานบริการ (ปรบั ปรุง 2558) เรือ่ ง โปรแกรมสิทธพิ ิเศษแก่ลกู ค้า - การตคี วามมาตรฐานการบญั ชีฉบับที่ 31 เรอื่ ง ข้อจำ�กัดสินทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ข้อกำ�หนดเงินทุนขั้นต่ำ�และ (ปรับปรงุ 2558) ป ฏิสัมพนั ธ์ของรายการเหล่านี้ สำ�หรับมาตรฐานการบัญชี ฉบบั ที่ 19 (ปรับปรงุ - การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบบั ท่ี 32 (ปรบั ปรงุ 2558) 2558) เร่ือง ผลประโยชนข์ องพนกั งาน - การตคี วามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ เรือ่ ง สญั ญาส�ำ หรบั การกอ่ สร้างอสังหาริมทรัพย์ ฉบบั ที่ 1 (ปรบั ปรงุ 2558) เรื่อง การจา่ ยสินทรพั ย์ท่ไี มใ่ ช่เงนิ สดใหเ้ จ้าของ - การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบบั ท่ี 4 (ปรบั ปรงุ 2558) 103รายงานประจำ�ปี 255๙ - การตคี วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบบั ที่ 5 (ปรบั ปรุง 2558) - การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรงุ 2558) - การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบบั ท่ี 10 (ปรบั ปรุง 2558) - การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) - การตคี วามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบับท่ี 13 (ปรบั ปรุง 2558) - การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบบั ท่ี 14 (ปรับปรุง 2558) - การตคี วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบบั ท่ี 15 (ปรับปรุง 2558) - การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบบั ที่ 17 (ปรับปรงุ 2558)

- การตคี วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรอื่ ง การโอนสินทรพั ย์จากลกู ค้า ฉบับท่ี 18 (ปรับปรงุ 2558) - การตคี วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรือ่ ง เงินทนี่ ำ�ส่งรัฐ ฉบับท่ี 21 ผู้บริหารของการทางพิเศษฯ ได้ประเมินและเห็นว่ากรอบแนวคิดสำ�หรับการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงาน ทางการเงนิ การตคี วามมาตรฐานการบญั ชี และการตคี วามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ เมอื่ มกี ารน�ำ มาถอื ปฏบิ ตั จิ ะไมม่ ผี ลกระทบ ท่ีเป็นสาระส�ำ คัญต่องบการเงนิ ในปที ีเ่ ริม่ ใช้ 3. สรปุ นโยบายการบญั ชที ีส่ ำ�คญั 3.1 เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด หมายความรวมถงึ เงินสดและเงินฝากธนาคารทม่ี กี ำ�หนดจ่ายคืนในระยะเวลาไมเ่ กนิ 3 เดอื น และ ไมม่ ีภาระผกู พนั 3.2 ลกู หนบี้ รษิ ทั รว่ มทนุ เปน็ เงนิ ทกี่ ารทางพเิ ศษฯ จะไดร้ บั จากบรษิ ทั รว่ มทนุ ตงั้ แตป่ ที ่ี 15 ถงึ ปที ่ี 30 ของอายสุ ญั ญาโครงการทางพเิ ศษศรรี ชั ซงึ่ รบั จากบรษิ ทั ทางดว่ นกรงุ เทพ จ�ำ กดั (มหาชน) ปจั จบุ นั ไดเ้ ปลย่ี นชอื่ เปน็ บรษิ ทั ทางดว่ นและรถไฟฟา้ กรงุ เทพ จ�ำ กดั (มหาชน) เนอื่ งจากไดค้ วบบรษิ ทั กบั บรษิ ทั รถไฟฟา้ กรุงเทพ จ�ำ กัด (มหาชน) เมอ่ื วันที่ 30 ธนั วาคม 2558 3.3 วสั ดุ แสดงตามราคาทนุ ตามวิธถี ัวเฉลี่ยถว่ งนำ�้ หนกั (Weighted Average) 3.4 ทดี่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ แสดงตามราคาทุน ณ วนั ทีซ่ อ้ื หรือไดม้ า หักค่าเส่ือมราคาสะสมและค่าเผื่อจากการด้อยค่าสะสม ค่าเส่ือมราคาคำ�นวณโดยวิธีเส้นตรง เพ่ือลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิดตลอดอายุการให้ประโยชน์ท่ีประมาณการไว้ ยกเว้น ทด่ี ินที่มอี ายกุ ารใหป้ ระโยชน์ไมจ่ ำ�กดั สนิ ทรัพย์มีอายุการให้ประโยชนด์ ังน้ี ทางพิเศษ 75 ปี อาคารและส่วนปรับปรงุ อาคาร 5-40 ปี อุปกรณ์เก็บค่าผา่ นทาง อปุ กรณบ์ นทางด่วน 10 ปี เสาไฟฟา้ และสว่ นประกอบ 25 ปี เคร่อื งใชส้ ำ�นักงาน อุปกรณง์ านช่าง 5 ปี ยานพาหนะ 5-15 ปี การทางพิเศษฯ ได้บันทึกรายการสนิ ทรพั ย์แยกอาคารและส่วนประกอบ ยกเว้นอาคารเก่าทีห่ มดอายุการใหป้ ระโยชนท์ างบัญชี เมอื่ จ�ำ หนา่ ยสนิ ทรพั ยอ์ อกจากบญั ชี การทางพเิ ศษฯ จะบนั ทกึ ตดั สนิ ทรพั ยแ์ ละคา่ เสอ่ื มราคาสะสมของสนิ ทรพั ยน์ นั้ ออกจากบญั ชพี รอ้ มกบั บนั ทึกก�ำ ไรขาดทนุ จากการจ�ำ หน่ายทรัพย์สินในงบก�ำ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 3.5 สนิ ทรัพย์ไม่มีตัวตน ได้แก่ ค่าใชจ้ า่ ยเพ่อื สิทธใิ นการใช้ซอฟแวรค์ อมพิวเตอร์ แสดงราคาทนุ ณ วันทซ่ี อื้ หรือไดม้ า ค่าตดั จ�ำ หนา่ ยค�ำ นวณ โดยวิธเี สน้ ตรงตามอายุการใหป้ ระโยชน์ 5 ปี 3.6 สทิ ธกิ ารใชท้ ด่ี นิ แสดงรายการตามราคาทนุ เปน็ สทิ ธกิ ารใชท้ ด่ี นิ โดยไมม่ ขี อ้ ก�ำ หนดเรอ่ื งระยะเวลาการใช้ จงึ ไมม่ กี ารทยอยตดั เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย 3.7 รายได้รอการรบั รู้ 3.7.1 รายไดร้ อการรบั รจู้ ากการรว่ มทนุ บนั ทกึ รบั รเู้ ปน็ หนส้ี นิ คกู่ บั สนิ ทรพั ยท์ ไ่ี ดจ้ ากการรว่ มทนุ ทยอยรบั รเู้ ปน็ รายไดต้ ามอายสุ ญั ญารว่ มทนุ 3.7.2 รายได้รอการรับรู้จากการบริจาค สินทรัพย์ท่ีได้รับจากการบริจาคที่นำ�มาใช้ในการดำ�เนินงานบันทึกบัญชีสินทรัพย์คู่กับรายได้ รอการรับรู้จากการบริจาคและรับรเู้ ป็นรายไดต้ ามอายุการใหป้ ระโยชน์ของสินทรัพยน์ ้ัน 3.7.3 รายได้รอการรับรู้เงินอุดหนุนจากรัฐบาล เป็นรายได้ท่ีได้รับจากรัฐบาลเพื่อจ่ายค่าก่อสร้างค่าจัดกรรมสิทธ์ิที่ดินและอ่ืนๆ ของ ทางพิเศษ บนั ทกึ เปน็ หนี้สินคกู่ บั สนิ ทรพั ยแ์ ละรับรู้เปน็ รายไดต้ ามอายุการให้ประโยชน์ของสนิ ทรัพยน์ ้นั 3.8 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงานจะรับรู้และวัดมูลค่าผลประโยชน์ของพนักงานแต่ละประเภท ดงั นี้ 3.8.1 ผลประโยชน์ของพนักงานระยะสั้น รบั รูเ้ ป็นคา่ ใชจ้ ่ายในงวดท่ีเกดิ รายการ 3.8.2 ผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน ใช้การประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยคิดลดโดยวิธีคิดลดผลประโยชน์ แต่ละหน่วยท่ีประมาณการไว้ เพ่ือกำ�หนดมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์พนักงานปัจจุบัน รับรู้เป็นหน้ีสินในงบแสดง ฐานะการเงิน และรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ท้ังน้ีหากมีผลกำ�ไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยรับรู้ เปน็ รายได้หรือค่าใชจ้ า่ ยในงวดบัญชีนน้ั ทันที 3.8.3 ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ใช้การประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยและคิดลดผลประโยชน์โดยวิธีคิดลด แตล่ ะหนว่ ยทป่ี ระมาณการไว้ เพอื่ ก�ำ หนดมลู คา่ ปจั จบุ นั ของภาระผกู พนั คา่ ใชจ้ า่ ยเกยี่ วกบั ผลประโยชนพ์ นกั งานปจั จบุ นั และในอดตี โดยรบั รเู้ ปน็ หนส้ี นิ ในงบแสดงฐานะการเงนิ และรบั รเู้ ปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในงบก�ำ ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ ทง้ั นห้ี ากมผี ลก�ำ ไรขาดทนุ จากการประมาณการตามหลกั คณติ ศาสตรป์ ระกนั ภยั รับร้เู ป็นรายไดห้ รอื ค่าใชจ้ า่ ยในงวดบัญชีนั้นทันที 3.9 เงนิ กองทุนสงเคราะห์ และกองทุนสำ�รองเลีย้ งชพี การทางพิเศษฯ ได้จัดตัง้ กองทุนสงเคราะหโ์ ดยมีวตั ถุประสงค์เพ่อื ใหก้ ารสงเคราะห์ แกพ่ นกั งานในกรณที ่ีพน้ จากต�ำ แหน่ง โดยจา่ ยเงนิ สมทบเขา้ กองทุนฯ เปน็ รายเดอื นในอตั รารอ้ ยละ 10 ของเงินเดือนพนักงานทเ่ี ปน็ สมาชกิ และรับรู้ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในงบก�ำ ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ ของการทางพเิ ศษฯ ทงั้ จ�ำ นวนและไดร้ วมรายการบญั ชตี า่ ง ๆ ของกองทนุ ฯ ไวใ้ นงบการเงนิ ของการทางพเิ ศษฯ รวมท้งั รบั รู้รายไดแ้ ละคา่ ใช้จ่ายท่ีเกิดจากการดำ�เนนิ งานของกองทนุ สงเคราะห์เปน็ รายได้และค่าใชจ้ ่ายของการทางพเิ ศษฯ 104 รายงานประจำ�ปี 255๙

การทางพิเศษฯ และพนักงาน ได้ร่วมกันจัดต้ัง “กองทุนสำ�รองเล้ียงชีพพนักงานการทางพิเศษแห่งประเทศไทย” ซ่ึงจดทะเบียนแล้ว ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2539 การทางพิเศษฯ จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนสำ�หรับสมาชิก ทมี่ อี ายุงานไม่เกิน 10 ปี เกนิ 10 ปีขึน้ ไปจนถงึ 20 ปี และมากกว่า 20 ปีขึ้นไป ในอตั ราร้อยละ 9,10 และ 11 ของคา่ จา้ งตอ่ เดือน ตามล�ำ ดับ 3.10 การรับรูร้ ายได้ 3.10.1 รายได้คา่ ผ่านทาง รบั รเู้ ปน็ รายไดเ้ มอ่ื มีผู้ใชบ้ รกิ าร 3.10.2 รายได้จากการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ การทางพิเศษฯ จะไดร้ ับเงินจากบริษัทร่วมทุนของโครงการทางพิเศษศรรี ชั โดยทยอยรับรเู้ ป็น รายไดต้ ามวธิ ีเส้นตรงตามอายสุ ญั ญา 3.10.3 รายได้ดอกเบ้ีย รับร้ตู ามเกณฑส์ ัดส่วนของระยะเวลา โดยค�ำ นึงถึงอตั ราผลตอบแทนท่ีแทจ้ ริง 3.10.4 รายได้จากการบริจาค รบั รเู้ ป็นรายไดใ้ นงวดทเี่ กิดรายการ 3.10.5 รายไดเ้ งินอดุ หนุนจากรฐั บาล ทยอยรบั รู้เป็นรายไดต้ ามอายกุ ารให้ประโยชนข์ องทางพิเศษฯ 3.11 เงินอดุ หนุนจากรัฐบาล เงินอุดหนุนสำ�หรับคา่ จัดกรรมสิทธิ์ทีด่ นิ ค่ากอ่ สร้างและอน่ื ๆ บนั ทกึ เป็นหนีส้ ินรอตัดบัญชี ทยอยรับรู้เปน็ รายได้ ในงบก�ำ ไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ ตามอายุการใหป้ ระโยชน์ของทางพิเศษโครงการน้นั ๆ 3.12 ตน้ ทุนทางการเงนิ ต้นทุนทางการเงนิ ไดร้ วมดอกเบยี้ จ่าย คา่ ธรรมเนียมการกู้เงิน และค่าใชจ้ ่ายอืน่ ๆ ที่เก่ียวกบั เงินกูร้ ะยะยาว ส�ำ หรบั ดอกเบ้ียจ่ายที่เกิดจากเงินกู้ระยะยาวท่ีกู้มาเพื่อวัตถุประสงค์ให้ได้มาซ่ึงสินทรัพย์ถาวร และสินทรัพย์ถาวรนั้นอยู่ระหว่างก่อสร้างรับรู้เป็นต้นทุน งานระหวา่ งกอ่ สรา้ ง และดอกเบยี้ จา่ ยทเ่ี กดิ ขน้ึ หลงั จากงานกอ่ สรา้ งแลว้ เสรจ็ รบั รเู้ ปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย สว่ นดอกเบย้ี จา่ ยทเี่ กดิ จากเงนิ กทู้ กี่ มู้ าเพอ่ื วตั ถปุ ระสงค์ ใชห้ มุนเวียนในกจิ การ รับรู้เปน็ ค่าใชจ้ า่ ยในงวดบัญชีที่คา่ ใช้จ่ายนน้ั เกิดขน้ึ ท้งั จ�ำ นวน 3.13 การบัญชีเก่ียวกับโครงการที่ให้เอกชนร่วมทุน สินทรัพย์ที่ได้จากการร่วมทุน จะรับรู้เป็นสินทรัพย์คู่กับรายได้รอการรับรู้จาก บริษัทร่วมทุนโดยสินทรัพย์จะทยอยตัดค่าเส่ือมราคาตามอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ ส่วนรายได้รอการรับรู้จะทยอยรับรู้รายได้ตามอายุของ สัญญาร่วมทนุ 4. ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ 2559 หน่วย : ล้านบาท 4.1 เงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงินสด ประกอบด้วย 87.21 2558 2,864.59 84.42 2,951.80 เงินสด 3,272.09 เงนิ ฝากธนาคาร 3,356.51    รวม เงินสด จำ�นวน 87.21 ล้านบาท ประกอบด้วยเงินสดย่อย จำ�นวน 19.77 ล้านบาท และเงินสดค่าผ่านทาง ค่าขายคูปองผ่านทาง และเติมเงนิ ส�ำ รองคา่ ผา่ นทาง Easy Pass ของวันท่ี 30 กันยายน 2559 รอนำ�ฝากธนาคารในวนั ท�ำ การถัดไป จำ�นวน 67.44 ล้านบาท ทงั้ น้ี การทางพิเศษฯ ไดส้ ำ�รองเงินไว้เพอื่ จ่ายเงินน�ำ ส่งรัฐปี 2558 ในเดอื นตุลาคม 2559 จำ�นวน 958.60 ลา้ นบาท และจา่ ยชำ�ระ ดอกเบยี้ เงินกทู้ ีถ่ งึ ก�ำ หนดช�ำ ระในเดอื นตุลาคม 2559–ธนั วาคม 2559 จำ�นวน 242.95 ลา้ นบาท 4.2 เงินลงทุนช่วั คราว ประกอบดว้ ย หน่วย : ล้านบาท 2559 2558 เงินฝากประจำ� เกิน 3 เดือน - เงนิ กองทนุ สงเคราะห์ 11.24 10.53    รวม 11.24 10.53 4.3 เงินค้างรับจากรัฐบาล เป็นเงินท่ีการทางพิเศษฯ จะได้รับจากรัฐบาล เพื่อนำ�ไปจ่ายชำ�ระดอกเบ้ียเงินกู้ในส่วนที่รัฐบาลรับภาระ มรี ายละเอียดดังนี้ หน่วย : ล้านบาท 2559 2558 ยอดยกมา ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 842.53 2,211.86 บวก คา่ ธรรมเนยี มเงินกูท้ ร่ี ฐั บาลรับภาระ - 5.10 842.53 2,216.96 หกั คา่ ธรรมเนียมเงินก้ทู ่ีรัฐบาลรับภาระ 39.53 - รายไดเ้ งินอดุ หนุนรบั ระหว่างปี 550.00 1,374.43 ยอดคงเหลือ ณ วนั ที่ 30 กันยายน 253.00 842.53 ปี 2559 การทางพิเศษฯ ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเพ่ือจ่ายค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินโครงการศรีรัช–วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร จ�ำ นวนเงนิ 550.00 ลา้ นบาท 105รายงานประจำ�ปี 255๙

4.4 สินทรัพย์หมุนเวียนอน่ื ประกอบดว้ ย 2559 หน่วย : ล้านบาท - 2558 เงนิ น�ำ สง่ เป็นรายได้แผ่นดินลว่ งหน้า 19.65 1,844.00 เงนิ ประกนั ตวั พนักงานฝากธนาคาร 174.42 20.60 วัสดสุ ำ�นกั งาน 52.47 5.28 เงินล่วงหนา้ คา่ ก่อสรา้ ง - อน่ื ๆ 20.36 17.21    รวม 266.90 1,887.09 4.5 เงินฝากประจำ�ท่ีมีภาระผูกพัน การทางพิเศษฯ มีเงินฝากประจำ�ที่นำ�ไปค้ำ�ประกันสินเช่ือเงินกู้การเคหะของพนักงานเพื่อเป็นสวัสดิการ ของพนักงาน ปี 2559 จำ�นวน 136.49 ล้านบาท และปี 2558 จำ�นวน 131.49 ล้านบาท 4.6 ลกู หนบี้ ริษทั รว่ มทุน เปน็ เงินท่กี ารทางพิเศษฯ จะไดร้ ับคืนจากบริษัท ทางดว่ นและรถไฟฟา้ กรุงเทพ จ�ำ กัด (มหาชน) จากการใชป้ ระโยชน์ บนท่ีดนิ โครงการทางพเิ ศษศรีรัช จำ�นวนเงนิ รวม 16,816.00 ล้านบาท โดยทยอยรบั รู้ตามอายขุ องสญั ญา 30 ปีๆ ละ 560.53 ล้านบาท แตบ่ ริษทั ทางดว่ นและรถไฟฟา้ กรงุ เทพ จ�ำ กดั (มหาชน) จะเริ่มทยอยจ่ายใหต้ ัง้ แต่ปที ่ี 15 ถึงปีที่ 30 ของสัญญา โดยตงั้ แต่ปี 2533-ปี 2558 การทางพเิ ศษฯ รับรเู้ ป็นรายได้แล้ว จ�ำ นวน 14,341.97 ล้านบาท สำ�หรับปีงบประมาณ 2559 สำ�หรับปสี ิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2559 รบั รู้เป็นรายไดจ้ ำ�นวน 560.53 ล้านบาท รวมเปน็ รับรู้รายได้ทงั้ สิน้ จำ�นวน 14,902.50 ล้านบาท และได้รับช�ำ ระแลว้ จ�ำ นวน 12,100.00 ลา้ นบาท คงเหลือเป็นลกู หน้ี บริษัทร่วมทนุ จำ�นวน 2,802.50 ล้านบาท โดยเปน็ ลกู หนบ้ี รษิ ทั รว่ มทนุ ท่ีถึงก�ำ หนดช�ำ ระคนื ภายในหนึง่ ปี จ�ำ นวน 1,500.00 ล้านบาท 4.7 ทีด่ ิน อาคาร และอปุ กรณ–์ สทุ ธิ ประกอบดว้ ย หน่วย : ลา้ นบาท ราคาทุน 30 กนั ยายน 2558 คา่ เสอ่ื มราคาสะสม ที่ดิน อาคารและ ยอดต้นงวด เพิ่มข้นึ ลดลง ยอดปลายงวด ยอดตน้ งวด คา่ เสอ่ื มราคา เพิ่มขึ้น ลดลง อุปกรณ์ 506.33 - ยอดปลายงวด สทุ ธิ ทีด่ นิ 80,508.04 499.15 21.66 80,992.71 - -- - - 80,992.71 ทางพิเศษ 108,975.35 47.11 - 109,474.50 22,829.02 1,870.82 - - 24,699.84 84,774.66 อาคาร 1,832.14 182.18 - 1,879.25 732.87 54.61 - 2.42 787.48 1,091.77 เครอ่ื งใช้สำ�นักงาน 1,433.02 2.42 1,612.78 1,069.06 147.32 - 3.95 1,213.96 398.82 อุปกรณง์ านชา่ ง 134.07 3.76 3.95 133.88 107.34 9.99 - 113.38 20.50 ยานพาหนะ 851.76 55.37 60.20 846.93 515.59 48.27 - 60.20 503.66 343.27    รวม 193,734.38 1,293.90 88.23 194,940.05 25,253.88 2,131.01 - 66.57 27,318.32 167,621.73 หน่วย : ลา้ นบาท ราคาทุน 30 กันยายน 255๙ ค่าเส่อื มราคาสะสม ท่ีดิน อาคารและ ยอดต้นงวด เพมิ่ ขึน้ ลดลง อุปกรณ์ ลดลง ยอดปลายงวด ยอดตน้ งวด ค่าเสือ่ มราคา เพมิ่ ขน้ึ - ยอดปลายงวด สุทธิ ทดี่ ิน 80,992.71 305.00 31.76 81,265.95 - -- - - 81,265.95 ทางพเิ ศษ 109,474.50 22,638.17 - 132,112.67 24,699.84 1,928.92 - - 26,628.76 105,483.91 อาคาร 1,879.25 608.13 - 2,487.38 787.48 62.02 - 849.50 1,637.88 เคร่อื งใช้สำ�นกั งาน 1,612.78 147.64 13.88 1,746.54 1,213.96 132.56 - 10.40 1,336.12 410.42 อปุ กรณ์งานช่าง 133.88 4.51 1.71 136.68 113.38 7.36 - 1.69 119.05 17.63 ยานพาหนะ 846.93 130.35 19.11 958.17 503.66 54.97 - 19.01 539.62 418.55    รวม 194,940.05 23,833.80 66.46 218,707.39 27,318.32 2,185.83 - 31.10 29,473.05 189,234.34 การทางพิเศษฯ มีสินทรัพย์ท่ีหักค่าเสื่อมราคาหมดแล้ว แต่ยังคงใช้งานได้อยู่ มีมูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเส่ือมราคาสะสมในปี 2559 จำ�นวน 2,883.35 ลา้ นบาท และในปี 2558 จ�ำ นวน 2,583.33 ลา้ นบาท ที่ดิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 จำ�นวน 81,265.95 ล้านบาท ในจำ�นวนน้ีมีที่ดินบริเวณฝั่งตะวันตกของถนนสุขุมวิท เน้ือท่ีประมาณ 5 ไร่ 44.2 ตารางวา ซึ่งการทางพิเศษฯ ได้ทำ�บันทึกข้อตกลงให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยใช้พ้ืนที่ในการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้า สายสีเขียวช่วงแบร่ิง–สมุทรปราการ โดยไม่มีกำ�หนดระยะเวลา ซึ่งการทางพิเศษฯ ได้รับเงินค่าตอบแทนจากการใช้พ้ืนท่ีดังกล่าว จำ�นวน 78.94 ลา้ นบาท และรับรู้คา่ ตอบแทนดงั กลา่ ว เปน็ รายไดท้ ัง้ จำ�นวน ณ วันทไ่ี ด้รับเงนิ เม่อื วันท่ี 6 พฤษภาคม 2559 ได้เกดิ ไฟไหมอ้ าคาร 2 ช้นั 6 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (สำ�นกั งานใหญ)่ คณะทำ�งานตรวจสอบและประเมิน ความเสียหาย ไดป้ ระเมนิ ความเสียหายจากเหตกุ ารณ์ไฟไหม้จำ�นวน 29.88 ลา้ นบาท บรษิ ทั ทิพยประกันภยั จ�ำ กัด (มหาชน) มหี นงั สอื ท่ี สทป. 00407/2559 ลงวันที่ 20 ตุลาคม 2559 แจ้งผลการพิจารณาค่าสินไหมทดแทนเป็นจำ�นวนเงิน 11.53 ล้านบาท ขณะน้ีอยู่ระหว่างเจรจา จำ�นวนเงินค่าสินไหมทดแทนกับบริษัทประกันภัยฯ ซ่ึงยังไม่ได้ข้อยุติ ส่วนสินทรัพย์ที่เสียหายจากไฟไหม้นั้นได้ตัดจำ�หน่ายออกจากบัญชี จำ�นวน 464 รายการ มีมูลค่าคงเหลือตามบัญชี 3.21 ล้านบาท การทางพิเศษฯ บันทึกบริษัท ทิพยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) เป็นลูกหนี้จำ�นวน 11.53 ล้านบาท และผลตา่ งบนั ทึกเป็นรายได้คา่ ชดเชยความเสยี หายจากไฟไหม้ จำ�นวน 8.32 ล้านบาท 106 รายงานประจำ�ปี 255๙

รายละเอยี ดของทางพิเศษ–สุทธิ ประกอบด้วย หนว่ ย : ลา้ นบาท 30 กันยายน 2558 ราคาทนุ คา่ เสือ่ มราคาสะสม ยอดตน้ งวด เพมิ่ ข้ึน ลดลง ยอดปลายงวด ยอดต้นงวด ค่าเสอื่ มราคา ลดลง ยอดปลายงวด ทางพเิ ศษสทุ ธิ ทางพเิ ศษ - 10,788.92 - 16,371.07 ทางพิเศษเฉลมิ มหานคร 10,589.29 199.63 - 15,021.46 4,010.21 222.77 - 4,232.98 6,555.94 - 28,292.95 4,272.11 216.77 - 4,488.88 11,882.19 ทางพิเศษศรีรัช 16,371.07 - - 15,107.61 3,041.97 274.49 - 3,316.46 11,705.00 - 2,258.85 5,851.48 458.25 - 6,309.73 21,983.22 ทางพเิ ศษฉลองรัช 14,981.67 39.79 - 21,633.64 3,148.15 201.56 - 3,349.71 11,757.90 - 109,474.50 36.38 - 390.19 1,868.66 ทางพเิ ศษบรู พาวิถี 28,201.45 91.50 353.81 460.60 - 2,611.89 19,021.75 2,151.29 1,870.82 - 24,699.84 84,774.66 ทางพเิ ศษอดุ รรถั ยา 15,107.61 - 22,829.02 ทางพเิ ศษบางนา-อาจณรงค ์ 2,248.93 9.92 ทางพิเศษกาญจนาภิเษก 21,475.33 158.31    รวม 108,975.35 499.15 30 กันยายน 255๙ หนว่ ย : ล้านบาท ราคาทนุ ค่าเสอ่ื มราคาสะสม ยอดตน้ งวด เพ่ิมขึน้ ลดลง ยอดปลายงวด ยอดต้นงวด คา่ เสื่อมราคา ลดลง ยอดปลายงวด ทางพเิ ศษสุทธิ ทางพเิ ศษ - 10,856.53 - 16,373.37 ทางพิเศษเฉลิมมหานคร 10,788.92 67.61 - 15,105.37 4,232.98 222.10 - 4,455.08 6,401.45 - 28,422.42 4,488.88 216.83 - 4,705.71 11,667.66 ทางพิเศษศรีรัช 16,371.07 2.30 - 15,107.61 3,316.46 277.74 - 3,594.20 11,511.17 - 2,262.61 6,309.73 464.69 - 6,774.42 21,648.00 ทางพเิ ศษฉลองรชั 15,021.46 83.91 - 21,698.49 3,349.71 201.56 - 3,551.27 11,556.34 - 22,286.27 31.75 - 421.94 1,840.67 ทางพเิ ศษบูรพาวิถ ี 28,292.95 129.47 - 132,112.67 390.19 471.88 -* 3,083.77 18,614.72 2,611.89 42.37 - 42.37 22,243.90 ทางพเิ ศษอุดรรัถยา 15,107.61 - 1,928.92 - 26,628.76 105,483.91 - ทางพเิ ศษบางนา-อาจณรงค์ 2,258.85 3.76 24,699.84 ทางพิเศษกาญจนาภิเษก 21,633.64 64.85 ทางพเิ ศษศรรี ัช-วงแหวนฯ - 22,286.27   รวม 109,474.50 22,638.17 4.8 สิทธกิ ารใชท้ ่ีดิน เป็นเงนิ ตอบแทนเพอ่ื ใช้พ้ืนที่ของการรถไฟแหง่ ประเทศไทย จำ�นวน 318 ไร่ 6 งาน 86.80 ตารางวา ส�ำ หรบั กอ่ สรา้ ง โครงการทางพิเศษศรีรัช-วงแหวนรอบนอก โดยไม่ได้มีการโอนกรรมสิทธ์ิในท่ีดินโดยพ้ืนที่บริเวณที่เป็นฐานราก (ตอม่อทางพิเศษ) จ่ายเงินตอบแทน ในอัตราร้อยละ 100 และพ้ืนที่บริเวณส่วนท่ีเป็นบริเวณทางพิเศษยกระดับเหนือพื้นดินตกลงจ่ายเงินตอบแทนในอัตราร้อยละ 55 รวมเป็นเงิน 1,561.07 ล้านบาท 4.9 งานระหวา่ งกอ่ สรา้ ง ประกอบดว้ ย หน่วย : ล้านบาท 2559 2558 โครงการทางด่วนขนั้ ที่ 3 สายเหนอื ตอน N2–ค่าท่ปี รกึ ษา คา่ กอ่ สรา้ ง ค่าดอกเบ้ยี 1,305.61 1,291.08 อนื่ ๆ 237.49 104.66    รวม 1,543.10 1,395.74 4.10 ค่าใชจ้ า่ ยในการบริหารงานด้านวิศวกรรมรอโอน เปน็ ค่าจ้างท่ปี รกึ ษาเพ่ือศึกษาความเหมาะสมของโครงการผลกระทบส่ิงแวดล้อมและ อน่ื ๆ จะโอนเปน็ งานระหวา่ งก่อสรา้ งเมือ่ เริ่มกอ่ สร้างโครงการ ประกอบด้วย หนว่ ย : ล้านบาท 2559 2558 คา่ ทป่ี รึกษาศึกษาตรวจสอบฐานรากบรู พาวถิ ี 26.98 26.98 อื่นๆ 40.51 62.52   รวม 67.49 89.50 107รายงานประจำ�ปี 255๙

4.11 เจ้าหนก้ี ารค้าและเจ้าหนี้อน่ื ประกอบดว้ ย 2559 หน่วย : ลา้ นบาท 630.33 2558 เจ้าหน้ีการคา้ 799.30 976.53 คา่ ใช้จา่ ยค้างจา่ ย 209.97 799.28 ดอกเบี้ยเงนิ ก้คู า้ งจ่าย 1,639.60 276.83   รวม 2,052.64 4.12 ส่วนของหน้ีสินระยะยาวทถ่ี ึงกำ�หนดชำ�ระภายในหน่ึงปี ประกอบดว้ ย หนว่ ย : ล้านบาท 2558 2559 200.00 เงนิ ยืมรัฐบาล 300.00 8,900.00 พนั ธบัตรการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย 8,600.00 150.00 เงินกูธ้ นาคารออมสนิ - 400.00 เงินกธู้ นาคารกรงุ ศรอี ยธุ ยา จำ�กัด (มหาชน) 700.00 500.00 เงนิ กู้ธนาคารยโู อบี จำ�กัด (มหาชน) - 200.00 เงนิ กู้ธนาคารกรงุ เทพ จ�ำ กดั (มหาชน) 300.00 10,350.00    รวม 9,900.00 หนว่ ย : ลา้ นบาท 2558 4.13 หน้ีสินหมุนเวยี นอนื่ ประกอบดว้ ย 16.88 108.44 2559 19.79 ภาษีหัก ณ ท่ีจา่ ย 15.04 เงินประกนั สญั ญา 94.60 0.02 เงินประกันบตั รทางดว่ น 19.79 24.60 เงนิ ประกนั บตั ร–Easy Pass 20.60 ภาษโี รงเรอื นรอนำ�ส่ง 0.02 77.45 เจา้ หนเี้ งินค�ำ้ ประกนั พนกั งาน 27.56 43.66 ภาระผกู พันผลประโยชนพ์ นักงานระยะสั้น 19.65 311.44 อน่ื ๆ 78.53   รวม 7.71 262.90 4.14 เงินยืมรัฐบาล เป็นเงินท่ีรัฐบาลให้การทางพิเศษฯ ยืมโดยไม่คิดดอกเบ้ีย เพ่ือนำ�มาใช้ชำ�ระเงินกู้ของโครงการทางพิเศษศรีรัช จำ�นวน 9,806.89 ล้านบาท ตามสัญญาจะช�ำ ระคืนเงนิ ยมื ภายใน 10 ปี นบั ตงั้ แต่ปี 2565 และระบบเกบ็ เงินคา่ ผา่ นทางทางพเิ ศษกาญจนาภเิ ษก โครงการเช่ือมตอ่ ทางพิเศษกาญจนาภเิ ษกกบั ทางพเิ ศษบรู พาวถิ ี และโครงการเชอ่ื มต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษกกบั ถนนวงแหวนอตุ สาหกรรม จำ�นวน 6,172.00 ล้านบาท หักส่วนที่ถงึ ก�ำ หนดช�ำ ระภายในหนง่ึ ปี จ�ำ นวน 300.00 ล้านบาท ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2559 มีเงินยืมรฐั บาลคงเหลอื จำ�นวน 15,678.89 ล้านบาท 4.15 พนั ธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ประกอบดว้ ย พันธบัตรการทางพเิ ศษฯ จ�ำ นวน 27,750.00 ลา้ นบาท หกั สว่ นท่ีถงึ ก�ำ หนด ชำ�ระภายในหน่งึ ปี จ�ำ นวน 8,600.00 ล้านบาท คงเหลือจำ�นวน 19,150.00 ล้านบาท มวี ัตถุประสงคเ์ พ่อื ดำ�เนนิ การในโครงการต่างๆ ดงั น้ี หน่วย : ล้านบาท 2559 2558 พันธบัตรท่ีการทางพิเศษฯ รบั ภาระเงนิ ตน้ และดอกเบยี้   - ค่าจดั กรรมสทิ ธิ์ที่ดินทางพเิ ศษศรรี ชั - 1,000.00   - ค่าก่อสรา้ งทางพิเศษข้ันท่ี 3 400.00 400.00   - ค่าก่อสร้างทางพเิ ศษฉลองรชั 1,000.00 2,000.00   - ค่าก่อสร้างทางพเิ ศษบรู พาวิถี 11,500.00 14,900.00   - คา่ ก่อสรา้ งทางพเิ ศษกาญจนาภเิ ษก 12,850.00 12,850.00   - คา่ ก่อสร้างทางพิเศษรามอินทรา-วงแหวนรอบนอก 2,000.00 2,000.00   - การบริหาร - 500.00    รวม 27,750.00 33,650.00 หกั สว่ นที่ถงึ กำ�หนดช�ำ ระภายในหน่ึงป ี 8,600.00 8,900.00    คงเหลือ 19,150.00 24,750.00 108 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

4.16 เงินกู้ยมื ระยะยาว ประกอบด้วย 2559 หน่วย : ลา้ นบาท - 2558 เงนิ กธู้ นาคารออมสิน 150.00 เงนิ กูธ้ นาคารกรงุ ศรีอยธุ ยา จำ�กดั (มหาชน) 700.00 600.00 เงินกู้ธนาคารยโู อบี จ�ำ กดั (มหาชน) - 500.00 เงินก้ธู นาคารกรุงเทพ จ�ำ กัด (มหาชน) 200.00    รวม 300.00 1,450.00 หกั สว่ นที่ถงึ กำ�หนดชำ�ระภายในหนึง่ ป ี 1,000.00 1,250.00    คงเหลอื 1,000.00 200.00 - 1) เงินกธู้ นาคารออมสนิ ไม่มยี อดคงเหลือ ดังน้ี 2559 หน่วย : ลา้ นบาท - 2558 เงินก้ทู ก่ี ารทางพิเศษฯ รบั ภาระเงินต้นและดอกเบ้ยี - 150.00   - คา่ ก่อสร้างทางพเิ ศษบรู พาวถิ ี - 150.00 หกั ส่วนทีถ่ งึ กำ�หนดช�ำ ระภายในหน่ึงป ี    คงเหลอื - 2) เงินกู้ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 700.00 ล้านบาท หักส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี จำ�นวน 700.00 ล้านบาท ไม่มียอดคงเหลอื มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ด�ำ เนินการในโครงการต่างๆ ดงั นี้ หน่วย : ลา้ นบาท 2559 2558 เงนิ กู้ท่ีการทางพเิ ศษฯ รับภาระเงนิ ต้นและดอกเบี้ย   - คา่ ก่อสรา้ งทางพเิ ศษบรู พาวิถ ี 700.00 600.00 หัก ส่วนท่ถี ึงก�ำ หนดชำ�ระภายในหนึง่ ป ี 700.00 400.00   คงเหลอื - 200.00 3) เงนิ ก้ธู นาคารยูโอบี จ�ำ กัด (มหาชน) ไมม่ ยี อดคงเหลอื ดงั น้ี 2559 หนว่ ย : ลา้ นบาท - 2558 เงินกทู้ ีก่ ารทางพเิ ศษฯ รบั ภาระเงนิ ต้นและดอกเบ้ีย - 500.00   - คา่ กอ่ สรา้ งทางพเิ ศษบูรพาวถิ ี - 500.00 หัก ส่วนท่ถี ึงก�ำ หนดช�ำ ระภายในหนง่ึ ป ี    คงเหลอื - 4) เงนิ กู้ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 300.00 ล้านบาท หักสว่ นทถ่ี งึ กำ�หนดช�ำ ระภายในหนง่ึ ปี จ�ำ นวน 300.00 ล้านบาท ไม่มียอดคงเหลอื มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ ด�ำ เนินการในโครงการต่างๆ ดังนี้ หนว่ ย : ลา้ นบาท 2559 2558 เงินกทู้ กี่ ารทางพเิ ศษฯ รับภาระเงนิ ตน้ และดอกเบยี้   - คา่ กอ่ สร้างทางพิเศษบูรพาวถิ ี 300.00 200.00 หกั ส่วนที่ถงึ ก�ำ หนดชำ�ระภายในหนึ่งป ี 300.00 200.00    คงเหลือ - - 109รายงานประจำ�ปี 255๙

4.17 รายได้รอการรับรู้ ประกอบด้วย หนว่ ย : ล้านบาท ราคาทุน รายได้รับรสู้ ะสม มลู คา่ ตามบัญชี 2559 2558 รายไดร้ อการรับรู้จากการรว่ มทุน   ทางพิเศษศรรี ชั 16,084.21 13,814.15 2,270.06 2,935.05   ทางพิเศษอดุ รรถั ยา 14,589.11 9,256.60 5,332.51 5,857.92   ทางพิเศษศรีรัช–วงแหวนรอบนอก 22,820.00 95.89 22,724.11 -    รวม 53,493.32 23,166.64 30,326.68 8,792.97 รายได้รอการรบั รูจ้ ากการบริจาค   ทางพิเศษอดุ รรัถยา 250.00 59.44 190.56 193.90   อ่นื ๆ 65.14 63.17 1.97 1.10    รวม 315.14 122.61 192.53 195.00 รายไดร้ อการรบั รจู้ ากเงนิ อุดหนนุ   ทางพิเศษฉลองรชั (ค่าจัดกรรมสทิ ธิ์ทดี่ นิ ) 787.30 30.79 756.51 767.67   ทางพเิ ศษฉลองรัช (คา่ ธรรมเนียมเงนิ ก)ู้ 4.37 4.37 - 4.37   ทางพเิ ศษศรีรชั –วงแหวนรอบนอก 3,553.00 5.19 3,547.81 3,553.00    รวม 4,344.67 40.35 4,304.32 4,325.04    รวมทง้ั สน้ิ 58,153.13 23,329.60 34,823.53 13,313.01 4.18 ภาระผกู พนั ผลประโยชนพ์ นักงาน รายการกระทบยอดมูลค่าปัจจบุ ันของภาระผูกพันผลประโยชนข์ องพนักงานมีรายละเอยี ดดังนี้ หนว่ ย : ล้านบาท 2559 2558 มลู คา่ ปจั จบุ ันของภาระผูกพนั ผลประโยชนพ์ นกั งาน ณ วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2558 914.48 799.25 ตน้ ทุนบริการปัจจุบัน 70.27 53.18 ตน้ ทนุ ดอกเบ้ยี 28.87 27.34 ผลประโยชนพ์ นกั งานที่จ่ายจรงิ (56.17) (16.76) ขาดทนุ (ก�ำ ไร) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรป์ ระกนั ภยั (1.39) 51.47 มลู คา่ ปจั จบุ นั ของภาระผกู พนั ผลประโยชน์พนักงาน ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2559 956.06 914.48 ข้อสมมติฐานหลักในการประมาณตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ใช้ในการคำ�นวณประมาณการหน้ีสินภายใต้โครงการผลประโยชน์ พนักงาน ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2559 มีดังนี้ อตั ราคิดลด 1.51–3.94 % อตั ราการลาออกของพนักงาน 1.19 % อตั ราการขึ้นเงนิ เดอื นของพนักงาน 7.50 % สำ�หรับผลประโยชน์พนักงานหลังลาออกจากงานโครงการสมทบเงิน การทางพิเศษฯ ได้จัดต้ังกองทุนสำ�รองเล้ียงชีพขึ้นโดยหัก เงนิ เดือนพนักงานส่วนหนง่ึ และการทางพิเศษฯ จา่ ยสมทบอกี สว่ นหนง่ึ กองทุนดังกลา่ วไดจ้ ดทะเบยี นเปน็ กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ ตามพระราชบัญญัติ กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 สำ�หรับปสี น้ิ สดุ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2559 และ 2558 การทางพิเศษฯ ได้จา่ ยสมทบกองทุนสำ�รองเลยี้ งชพี จำ�นวน 132.40 ล้านบาท และ 129.69 ล้านบาท ตามลำ�ดบั 110 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

4.19 เงินกองทุนสงเคราะห์ ประกอบดว้ ย 2559 หน่วย : ลา้ นบาท 11.82 2558 0.54 13.68 ยอดยกมา ณ วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2558 0.17 บวก รับสมทบระหว่างปี 0.78 0.61 รายได้สูงกวา่ ค่าใช้จ่ายโอนเขา้ กองทนุ ฯ 13.31 0.18 ปรบั ปรุงเงนิ กองทุนสงเคราะห ์ 0.60 - 15.07 หัก จ่ายสมาชิกลาออก 0.22 3.11 ปรับปรุงเงินกองทุนสงเคราะห ์ 13.09 0.14 ยอดคงเหลอื ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2559 13.09 11.82 ภาระผกู พนั ทต่ี อ้ งจ่ายกรณพี นักงานลาออก 11.82 ตามขอ้ บังคับการทางพเิ ศษฯ ฉบับท่ี 42 ว่าด้วยกองทนุ สงเคราะห์ ข้อ 8 กำ�หนดว่า ถา้ เงนิ กองทุนสงเคราะหไ์ ม่พอจ่ายพนกั งานที่ลาออก กใ็ หจ้ ่ายเพมิ่ จากเงนิ ของการทางพิเศษฯ 4.20 รายไดอ้ ่นื ประกอบดว้ ย 2559 หน่วย : ลา้ นบาท 1,286.28 2558 รบั รรู้ ายได้จากการร่วมทนุ 1,190.39 รายได้จากการใชป้ ระโยชน์ทีด่ นิ 560.53 560.53 รายได้เงนิ อดุ หนนุ จากรัฐบาล 16.36 11.17 รายได้จดั หาผลประโยชนใ์ นเขตทาง 323.66 285.22 รายไดจ้ ากการลงทนุ ตราสารหนี้ 20.08 รายไดจ้ ากดอกเบีย้ เงินฝาก - 63.98 อน่ื ๆ 25.80 133.39    รวม 45.19 2,264.76 2,257.82 4.21 ผลการดำ�เนนิ งาน 2559 2558 เพ่มิ ขนึ้ หนว่ ย : ลา้ นบาท 16,406.41 (ลดลง) รอ้ ยละ 7,481.69 16,059.90 346.51 2.16 รายได้ 8,924.72 7,627.74 (146.05) (1.91) หกั ค่าใช้จ่าย 8,432.16 492.56 5.84 ก�ำ ไรส�ำ หรับปี ผลการดำ�เนินงาน ปี 2559 การทางพิเศษฯ มีกำ�ไรสำ�หรับปีเพิ่มข้ึน จำ�นวน 492.56 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 5.84 โดยรายไดร้ วมเพม่ิ ขน้ึ จ�ำ นวน 346.51 ลา้ นบาท หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.16 และคา่ ใชจ้ า่ ยรวมลดลง จ�ำ นวน 146.05 ลา้ นบาท หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.91 4.22 ค่าใชจ้ า่ ยตามลักษณะ ประกอบดว้ ย 2559 หน่วย : ล้านบาท 2,558.80 2558 คา่ ใชจ้ ่ายพนกั งาน 2,469.32 ผลประโยชน์พนักงาน 183.07 147.77 คา่ ตอบแทนผ้บู รหิ าร 13.13 12.91 ค่าตอบแทนกรรมการ 5.01 คา่ เส่ือมราคา 4.28 2,185.83 2,131.01 ค่าตอบแทนผู้บรหิ าร ประกอบดว้ ย เงนิ เดอื น และโบนสั ของผูบ้ รหิ ารระดบั รองผู้วา่ การข้ึนไป ค่าตอบแทนคณะกรรมการ ประกอบด้วย โบนสั กรรมการ และคา่ เบยี้ ประชมุ 111รายงานประจำ�ปี 255๙

4.23 สัญญารว่ มทนุ 4.23.1 โครงการทางพเิ ศษศรีรชั เมื่อวนั ท่ี 22 ธนั วาคม 2531 การทางพิเศษฯ ไดท้ �ำ สญั ญากบั บริษทั ทางดว่ นและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) ให้เปน็ ผู้ลงทุนก่อสร้าง บริหาร ตลอดจนบำ�รุงรักษาระบบทางพิเศษศรีรัช มีกำ�หนดระยะเวลา 30 ปี นับจากวันเริ่มก่อสร้าง คือวันที่ 1 มีนาคม 2533 และจะส้นิ สุดในวันที่ 29 กมุ ภาพันธ์ 2563 โดยมีสดั ส่วนการแบ่งรายไดด้ ังน้ี โครงขา่ ยในเขตเมอื ง (ทางพิเศษเฉลิมมหานคร และทางพิเศษศรีรชั สว่ นเอและสว่ นบี) ส่วนแบ่ง กทพ. (รอ้ ยละ) สว่ นแบ่งบริษัทฯ (ร้อยละ) (1) 9 ปแี รก นับจาก “วนั เปดิ ใช้งานของพน้ื ท่สี ่วนแรก” 40 60 (2) 9 ปสี ุดท้าย “ระยะเวลาตามสัญญา” 60 40 (3) ระยะเวลาระหวา่ ง (1) และ (2) 50 50 โครงข่ายนอกเขตเมือง (ทางพิเศษศรีรชั ส่วนซ)ี สว่ นแบ่ง กทพ. (ร้อยละ) สว่ นแบ่งบริษัทฯ (ร้อยละ) (1) นับจากวันเปิดใชง้ านจนถึงวันท่ที างพเิ ศษศรีรชั ส่วนบแี ล้วเสรจ็ 40 60 (2) ระยะเวลาหลงั จากข้อ (1) จนถึงวนั สิ้นสดุ สัญญา - 100 บริษัทได้ก่อสร้างงานพ้ืนที่ส่วนแรก (ถนนแจ้งวัฒนะ-พญาไท-ถนนพระราม 9) ระยะทาง 20.4 กิโลเมตร ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ ในสว่ นเอและสว่ นซีแลว้ เสร็จและเปิดให้บรกิ ารเมือ่ วนั ท่ี 2 กันยายน 2536 ส�ำ หรับพ้ืนที่สว่ นบสี ายหลกั จากโรงกรองน�้ำ สามเสน-บางโคล่ ระยะทาง 9.4 กิโลเมตร และได้เปิดให้บรกิ ารตลอดสายแล้ว เมื่อวันท่ี 6 ตลุ าคม 2539 4.23.2 โครงการทางพิเศษศรีรัช สว่ นดี (สายพระราม 9–ศรีนครินทร)์ การทางพเิ ศษฯ ไดท้ �ำ สญั ญาเพอ่ื การตอ่ ขยายโครงการทางพเิ ศษศรรี ชั สว่ นดี กบั บรษิ ทั ทางดว่ นและรถไฟฟา้ กรงุ เทพ จ�ำ กดั (มหาชน) เมื่อวันท่ี 17 เมษายน 2540 ระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร โดยสัญญาดังกล่าวถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาในข้อ 4.23.1 ซ่ึงรายได้ ค่าผ่านทางทั้งหมดเป็นของบรษิ ัทร่วมทนุ เนอ่ื งจากอยใู่ นโครงขา่ ยนอกเขตเมอื ง งานกอ่ สร้างแล้วเสร็จและเปดิ ให้บรกิ ารเม่อื วนั ท่ี 2 ธันวาคม 2541 4.23.3 โครงการทางพิเศษอุดรรถั ยา การทางพิเศษฯ ได้ทำ�สัญญาร่วมทุนกบั บริษทั ทางดว่ นกรุงเทพเหนอื จ�ำ กดั เมือ่ วนั ท่ี 27 กนั ยายน 2539 ให้เป็นผูล้ งทนุ ก่อสรา้ ง บริหาร ตลอดจนบำ�รงุ รกั ษาทางดว่ น ระยะเวลา 30 ปี นบั จากวนั ทล่ี งนามในสัญญา และจะสิน้ สดุ ในวนั ท่ี 26 กันยายน 2569 ระยะทาง รวม 32 กิโลเมตร แบ่งเปน็ ระยะที่ 1 ชว่ งแจ้งวัฒนะ–เชยี งราก ระยะทาง 22 กิโลเมตร ก่อสรา้ งแล้วเสรจ็ และเปดิ ให้บรกิ ารเมื่อวนั ที่ 2 ธันวาคม 2541 ระยะที่ 2 ช่วงเชยี งราก–บางไทร ระยะทาง 10 กโิ ลเมตร กอ่ สร้างแลว้ เสร็จและเปิดใหบ้ ริการเมือ่ วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2542 รายไดค้ ่าผ่านทางทัง้ หมดเปน็ ของบรษิ ทั ร่วมทนุ การทางพเิ ศษฯ จะไดร้ บั ส่วนแบง่ รายได้ค่าผา่ นทางเมอื่ ผลตอบแทนการลงทุน เกนิ กวา่ ร้อยละ 15.5 4.23.4 โครงการทางพเิ ศษศรรี ชั –วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร การทางพเิ ศษฯ ไดท้ ำ�สัญญารว่ มทุนกบั บรษิ ัท ทางด่วนและรถไฟฟา้ กรงุ เทพ จ�ำ กดั (มหาชน) เมือ่ วันท่ี 14 กนั ยายน 2555 ให้เป็นผู้ลงทุนออกแบบ ก่อสร้าง บริหาร จัดการ ให้บริการ ตลอดจนบำ�รุงรักษาทางด่วน ระยะเวลา 30 ปี นับจากวันท่ี กทพ. ได้ระบุในหนังสือ แจ้งให้เรม่ิ งาน คือวันท่ี 15 ธนั วาคม 2555 และจะสิ้นสดุ ในวนั ท่ี 14 ธันวาคม 2585 ระยะทางรวม 16.7 กิโลเมตร และเปดิ ให้บริการเมอ่ื วนั ท่ี 22 สิงหาคม 2559 รายได้คา่ ผ่านทางทงั้ หมดเปน็ ของบริษัทรว่ มทุน การทางพเิ ศษฯ จะได้รับส่วนแบ่งรายไดค้ า่ ผ่านทางเมอื่ ผลตอบแทนการลงทนุ เกินกว่ารอ้ ยละ 13.5 4.24 ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ที่การทางพิเศษฯ รับภาระ การทางพิเศษฯ รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่มแทนผู้ใช้บริการในโครงการทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษศรีรัช (ยกเว้น ส่วนดี) และ ทางพิเศษฉลองรัช โดยปกติภาษีมูลค่าเพิ่มนี้ต้องเรียกเก็บจากผู้ใช้บริการแต่การทางพิเศษฯ ยังไม่สามารถเรียกเก็บจากผู้ใช้บริการได้ โดยตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2535-2558 ภาษีมูลค่าเพ่ิมที่การทางพิเศษฯ รับภาระ มีจำ�นวน 15,691.42 ล้านบาท และในปีงบประมาณ 2559 ส้ินสุด วันท่ี 30 กันยายน 2559 จ�ำ นวน 1,090.77 ลา้ นบาท รวมทั้งสิ้น จำ�นวน 16,782.19 ลา้ นบาท 112 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

4.25 หนสี้ ินทีอ่ าจเกิดข้นึ การทางพิเศษฯ มีหน้ีสินที่อาจเกิดข้ึนจากการถูกฟ้องร้อง ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 รวมท้ังสิ้น จำ�นวน 26 คดี จำ�นวนเงิน 38,472.88 ล้านบาท ปัจจุบันคดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการและศาล โดยการทางพิเศษฯ เชื่อว่าจะไม่เกิดความเสียหาย จากผลของคดีแก่การทางพิเศษฯ อย่างเป็นสาระสำ�คัญ ดังน้ัน การทางพิเศษฯ จึงไม่ได้บันทึกต้ังประมาณการหน้ีสินที่อาจจะเกิดข้ึนไว้ในบัญชี ดงั น้ี อยรู่ ะหว่างการพิจารณา จำ�นวนคดี หนว่ ย : ล้านบาท ขอ้ พิพาท 7 19,800.84 - ชดใช้คา่ เสยี หาย และผดิ สญั ญา คณะอนุญาโตตุลาการ 4 8,647.28 - ชดใช้คา่ เสียหาย และผดิ สัญญา ศาลปกครองสงู สุด 11 28,448.12     รวม 6 คดี 7 14.93 - เรยี กรอ้ งเงินค่าทดแทนทดี่ นิ เพิ่ม และชดใชค้ า่ เสียหายและผิดสญั ญา ศาลชนั้ ต้นและ 1 9,728.36 ศาลอุทธรณ ์ 1 - เรยี กร้องเงินคา่ ทดแทนที่ดินเพิ่มและชดใชค้ า่ เสยี หาย ศาลฎกี า 15 261.47 - เรียกรอ้ งเงนิ ค่าทดแทนทดี่ ินเพิม่ ศาลปกครองสูงสุด 26 20.00 - ชดใชค้ า่ เสยี หาย ศาลแรงงาน 10,024.76     รวม 38,472.88     รวมทง้ั สิน้ 4.25.1 ขอ้ พพิ าททก่ี ารทางพเิ ศษฯ ถกู ฟอ้ งหรอื ถกู เรยี กคา่ ชดเชยทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งการพจิ ารณาของคณะอนญุ าโตตลุ าการ จ�ำ นวน 7 คดี จ�ำ นวนเงนิ 19,800.84 ล้านบาท ดังนี้ (1) บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) (เดิม บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)) ได้ยื่นคำ�เสนอ ขอ้ พพิ าท เมอ่ื วนั ที่ 8 มถิ นุ ายน 2543 เรยี กรอ้ งใหก้ ารทางพเิ ศษฯ ชดเชยผลกระทบจาก “เหตกุ ารณท์ เ่ี ปน็ ขอ้ ยกเวน้ ” ตามสญั ญาขอ้ 19 อนั เนอ่ื งจาก การเกิดความผันผวนทางเศรษฐกิจในประเทศไทย ส่งผลให้เกิดภาวะเงินเฟ้อและสภาวะดอกเบี้ยสูงอย่างต่อเน่ืองทำ�ให้บริษัทฯ ต้องแบกรับภาระ ดอกเบ้ยี ในอัตราทส่ี ูงกวา่ ตามทีก่ ำ�หนดไวใ้ นสัญญา จ�ำ นวนเงนิ 5.12 ล้านบาท พร้อมดอกเบยี้ เมื่อวันท่ี 22 มีนาคม 2559 คณะอนุญาโตตุลาการได้คำ�วินิจฉัยชี้ขาดเป็นข้อพิพาทหมายเลขแดงท่ี 21/2559 ให้ยกคำ�เสนอข้อพิพาทและคำ�ขอของผู้เรียกร้อง (บริษัทฯ) ทุกประเด็น และบริษัทฯได้ย่ืนคำ�ร้องขอเพิกถอนคำ�ชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ต่อศาลปกครองกลาง คดถี งึ ทีส่ ดุ (2) บริษัท บิลฟิงเกอร์ พลัส เบอร์เกอร์ บาวอัคเตียนเกเซลชาฟท์ จำ�กัด บริษัท ช.การช่าง จำ�กัด (มหาชน) และบริษัท ดิคเคอร์ฮอฟฟ์ แอนด์ วิดแมนน์ เอจี ในนามของกิจการร่วมค้า บีบีซีดี ได้ยื่นคำ�เสนอข้อพิพาท เม่ือวันท่ี 16 ตุลาคม 2543 เรียกร้องให้ การทางพิเศษฯ ชำ�ระเงินค่าติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างท่ีเพ่ิมข้ึนในโครงการทางพิเศษบูรพาวิถี จำ�นวนเงิน 316.17 ล้านบาท พร้อมดอกเบ้ีย อัตราร้อยละ 7.5 ตอ่ ปี ขณะนีข้ ้อพพิ าทอยใู่ นข้นั ตอนสบื พยาน (3) บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) (เดิม บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)) ได้ย่ืนคำ�เสนอ ข้อพิพาท เมื่อวันท่ี 24 กรกฎาคม 2551 เรียกร้องให้การทางพิเศษฯ ชดใช้เงินค่าเสียหายเป็นเงินผลต่างระหว่างอัตราค่าผ่านทางพิเศษ ของรถยนต์แต่ละประเภทของทางด่วนขั้นท่ี 2 ส่วน D จำ�นวนเงิน 1,048.24 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยตามสัญญา และชดใช้เงินค่าเสียหาย เป็นเงนิ ผลต่างระหวา่ งอตั ราค่าผ่านทางพิเศษของรถยนต์แต่ละประเภทของทางดว่ นข้นั ที่ 2 สว่ น D ตามประกาศกระทรวงคมนาคม ฉบบั ลงวนั ที่ 29 สงิ หาคม 2546 และอตั ราคา่ ผ่านทางพิเศษตามทบี่ ริษัทฯ เรยี กร้องจนกวา่ จะมีการดำ�เนนิ การปรับและบังคบั ใช้อตั ราคา่ ผา่ นทางพเิ ศษ ใหเ้ ปน็ ไปตาม ท่ีเรียกร้องไมเ่ กนิ วันท่ี 31 สงิ หาคม 2551 พร้อมดอกเบี้ยตามสัญญาจนกว่าจะชำ�ระเสร็จสิน้ ขณะนข้ี ้อพิพาทอยู่ในขั้นตอนสืบพยาน (4) บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) (เดิม บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)) ได้ย่ืนคำ�เสนอ ข้อพิพาท เม่ือวันที่ 13 มถิ ุนายน 2556 เรยี กรอ้ งให้ การทางพิเศษฯ ชดใชเ้ งินค่าเสยี หายจากการปรับอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางดว่ นขน้ั ที่ 2 ในปี พ.ศ.2551 เป็นเงินผลต่างระหว่างอัตราค่าผ่านทางรถยนต์แต่ละประเภทของโครงข่ายในเขตเมืองและโครงข่ายนอกเขตเมือง ตามอัตรา ค่าผ่านทางในคำ�เสนอข้อพิพาทกับอัตราค่าผ่านทางตามประกาศกระทรวงคมนาคม ฉบับลงวันท่ี 15 สิงหาคม 2551 ทุนทรัพย์ที่ย่ืนข้อพิพาท จำ�นวนเงิน 9,091.79 ล้านบาท ขณะน้ีข้อพิพาทอยู่ในขั้นตอนอนุญาโตตุลาการทั้งสองฝ่ายคัดเลือกประธานคณะอนุญาโตตุลาการ เนื่องจาก ศาสตราจารย์พิเศษ ประสพสขุ บุญเดช ขอถอนตัวจากการเปน็ ประธานคณะอนญุ าโตตุลาการ 113รายงานประจำ�ปี 255๙

(5) บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) (เดิม บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)) ได้ยื่นคำ�เสนอ ข้อพิพาท เมือ่ วนั ท่ี 28 มิถนุ ายน 2556 เรียกร้องให้ การทางพิเศษฯ ชดใช้เงนิ คา่ เสียหายจากการปรับอตั ราค่าผ่านทางพิเศษของทางดว่ นขัน้ ท่ี 2 ส่วน D ในปี พ.ศ.2551 เป็นเงินผลต่างระหว่างอัตราค่าผ่านทางรถยนต์แต่ละประเภทของทางด่วนขั้นที่ 2 ส่วน D ตามอัตราค่าผ่านทาง ในคำ�เสนอข้อพิพาทกับอัตราค่าผ่านทางตามประกาศกระทรวงคมนาคม ฉบับลงวันท่ี 15 สิงหาคม 2551 ทุนทรัพย์ท่ียื่นข้อพิพาทจำ�นวนเงิน 4,062.83 ล้านบาท ขณะนข้ี ้อพพิ าทอยใู่ นขัน้ ตอนอนุญาโตตุลาการทงั้ สองฝา่ ยคัดเลอื กประธานคณะอนญุ าโตตลุ าการ (6) บริษัท ทางด่วนกรุงเทพเหนือ จำ�กัด ได้ย่ืนข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2556 เรียกร้องให้การทางพิเศษฯ ชดใช้ค่าเสียหายจากการปรับอัตราค่าผ่านทางพิเศษในปี พ.ศ. 2546 เป็นเงินผลต่างระหว่างอัตราค่าผ่านทางพิเศษ ทางพิเศษสายบางปะอิน–ปากเกร็ด ตามอัตราค่าผ่านทางพิเศษในคำ�เสนอข้อพิพาทกับอัตราค่าผ่านทางพิเศษ ตามประกาศกระทรวงคมนาคม ฉบับลงวันที่ 29 สิงหาคม 2546 ทุนทรัพย์ที่ย่ืนข้อพิพาท จำ�นวนเงิน 908.69 ล้านบาท ขณะน้ีข้อพิพาทอยู่ในขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ ทงั้ สองฝ่ายคัดเลอื กประธานคณะอนุญาโตตุลาการ (7) บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) (เดิม บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)) ได้ย่ืนคำ�เสนอ ข้อพิพาทเม่ือวันท่ี 14 พฤษภาคม 2551 เรียกร้องให้การทางพิเศษฯ ชดใช้ค่าเสียหาย (โครงข่ายในเขตเมืองและนอกเขตเมืองของระบบทางด่วน ข้ันที่ 2) จากการปรบั อตั ราคา่ ผา่ นทางพเิ ศษปี พ.ศ. 2546 จำ�นวนเงนิ 4,368.00 ล้านบาท พร้อมดอกเบย้ี ตามสญั ญา และให้ชดใชค้ า่ เสียหาย เป็นเงินผลต่างระหว่างอัตราค่าผ่านทางพิเศษของรถยนต์แต่ละประเภทของโครงข่ายในเขตเมืองและโครงข่ายนอกเขตเมืองตามประกาศ กระทรวงคมนาคม ฉบับลงวันท่ี 29 สิงหาคม 2546 และอัตราค่าผ่านทางพิเศษตามท่ีบริษัทฯ เรียกร้อง จนกว่าจะมีการปรับและบังคับใช้ อตั ราค่าผา่ นทางพิเศษใหเ้ ปน็ ไปตามทเี่ รยี กรอ้ งไมเ่ กินวนั ที่ 31 สงิ หาคม 2551 พรอ้ มดอกเบ้ียตามสัญญาจนกว่าจะช�ำ ระเสร็จ เม่ือวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 คณะอนุญาโตตุลาการได้มีคำ�ชี้ขาดเป็นข้อพิพาทหมายเลขแดงที่ 6/2559 โดยคณะอนุญาโตตุลาการเสียงข้างมากได้ช้ีขาดให้การทางพิเศษฯ ชดใช้ค่าเสียหายพร้อมดอกเบ้ียแก่ผู้เรียกร้อง จำ�นวน 4,368.00 ล้านบาท และดอกเบยี้ ตามสัญญา โดยคดิ เปน็ รายวนั ตง้ั แต่วันท่ี 1 เมษายน 2551 เป็นตน้ ไปจนกว่า การทางพเิ ศษฯ จะชดใชค้ ่าเสยี หายส่วนนีพ้ รอ้ มดอกเบย้ี ใหแ้ กผ่ ู้เรียกรอ้ งจนเสรจ็ ส้นิ เมื่อวันท่ี 30 พฤษภาคม 2559 การทางพิเศษฯ ได้ย่ืนคำ�ร้องต่อศาลปกครองกลาง เพื่อให้เพิกถอนคำ�ชี้ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการเป็นคดีหมายเลขดำ�ที่ 821/2559 ระหว่าง การทางพิเศษฯ ผู้ร้อง บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) ผู้ถกู ร้อง ขณะนี้คดีอยใู่ นขน้ั ตอนศาลปกครองกลางพจิ ารณาว่าจะรับคำ�ร้องของการทางพเิ ศษฯ ไว้พจิ ารณาหรอื ไม่ 4.25.2 ข้อพิพาทท่ีอยู่ระหวา่ งดำ�เนินการในชั้นศาลปกครองสงู สุด จำ�นวน 4 คดี จำ�นวนเงิน 8,647.28 ล้านบาท ดังน้ี (1) บริษัท อติ าเลียนไทย ดเี วลล๊อปเมนต์ จ�ำ กัด (มหาชน) ไดย้ นื่ ค�ำ เสนอข้อพิพาท เม่อื วนั ที่ 9 ธนั วาคม 2542 เรียกร้อง ให้การทางพิเศษฯ ชำ�ระเงินคา่ จ้างก่อสรา้ งทางพิเศษเพ่มิ เตมิ โครงการเชอื่ มตอ่ ทางยกระดับดินแดง–ดอนเมอื ง กับระบบทางดว่ นขน้ั ท่ี 1 และขน้ั ท่ี 2 จ�ำ นวนเงนิ 52.04 ล้านบาท พร้อมดอกเบ้ีย และเมื่อวันท่ี 18 มิถนุ ายน 2550 คณะอนญุ าโตตลุ าการได้มคี �ำ วนิ จิ ฉัยให้ยกค�ำ เสนอข้อพพิ าทของ ผู้เรียกร้อง ต่อมาบริษัทฯ ได้ยื่นคำ�ร้องต่อศาลแพ่ง เพื่อขอเพิกถอนคำ�ช้ีขาดของคณะอนุญาโตตุลาการและเรียกร้องค่าเสียหายจากการทางพิเศษฯ จ�ำ นวนเงิน 81.40 ล้านบาท โดยศาลแพ่งใหโ้ อนคดไี ปศาลปกครองกลางเมอ่ื วันท่ี 27 มนี าคม 2556 ศาลปกครองกลางได้มีค�ำ พพิ ากษายกค�ำ ร้อง ของบริษัทฯ และบริษัทฯ ได้ยื่นอุทธรณ์คำ�พิพากษาศาลปกครองกลาง เม่ือวันที่ 26 มิถุนายน 2557 พนักงานอัยการผู้รับมอบอำ�นาจจาก การทางพิเศษฯ ได้ยื่นค�ำ แก้อุทธรณต์ อ่ ศาลปกครองสงู สุดแล้ว ขณะน้คี ดีอยูใ่ นขั้นตอนการพิจารณาของศาลปกครองสูงสดุ (2) บริษัท ช.การช่าง จำ�กัด (มหาชน) ได้ย่ืนฟ้องการทางพิเศษฯ ต่อศาลปกครองกลางเม่ือวันท่ี 14 ตุลาคม 2551 เรยี กรอ้ งใหก้ ารทางพเิ ศษฯ ช�ำ ระดอกเบยี้ จากการขยายระยะเวลาการกอ่ สรา้ งตามสญั ญาจา้ งกอ่ สรา้ งโครงการกอ่ สรา้ งทางพเิ ศษสายบางพล-ี สขุ สวสั ด์ิ (บางพล-ี บางขุนเทยี น) 2 ครัง้ จำ�นวนเงนิ 248.00 ลา้ นบาท พร้อมดอกเบ้ยี เมอื่ วันท่ี 21 กุมภาพนั ธ์ 2556 ศาลปกครองกลางได้มีค�ำ พพิ ากษา ให้การทางพิเศษฯ ชำ�ระเงินพร้อมดอกเบ้ีย ให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน นับแต่วันท่ีคำ�พิพากษาถึงที่สุด การทางพิเศษฯ ได้แจ้งอุทธรณ์คำ�พิพากษา ของศาลปกครองกลาง เมอ่ื วนั ที่ 22 มนี าคม 2556 พนกั งานอยั การผู้รับมอบอ�ำ นาจจากการทางพเิ ศษฯ ไดย้ ื่นอทุ ธรณต์ อ่ ศาลปกครองสงู สดุ แล้ว ขณะนค้ี ดอี ยูใ่ นข้ันตอนการพจิ ารณาของศาลปกครองสูงสุด (3) บริษัท ทางด่วนกรุงเทพเหนือ จำ�กัด (NECL) ได้ย่ืนคำ�เสนอข้อพิพาทเมื่อวันท่ี 20 ธันวาคม 2547 เรียกร้องให้ การทางพิเศษฯ ชดเชยรายได้ค่าผ่านทางพิเศษส่วนท่ีลดลงไปอันเน่ืองมาจากการเปิดใช้ทางยกระดับอุตราภิมุข (ทางยกระดับดอนเมืองโทลล์เวย์ ช่วงอนสุ รณ์สถานถึงรงั สติ ) ซึง่ ถอื ว่าเปน็ ทางแข่งขนั จำ�นวนเงิน 1,790.00 ลา้ นบาท พรอ้ มดอกเบ้ียตามสญั ญา และตอ่ มาคณะอนุญาโตตุลาการ ไดม้ คี �ำ ชขี้ าดใหก้ ารทางพเิ ศษฯ ช�ำ ระเงนิ ตามทบ่ี รษิ ทั ฯ เรยี กรอ้ ง พรอ้ มดอกเบย้ี ตามสญั ญาเมอ่ื วนั ที่ 3 มนี าคม 2552 พนกั งานอยั การผรู้ บั มอบอ�ำ นาจ จากการทางพิเศษฯ ได้ยื่นคำ�ร้องต่อศาลปกครองกลางเพ่ือขอเพิกถอนคำ�ชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ต่อมาเม่ือวันท่ี 1 กันยายน 2554 บริษทั ฯ ไดย้ ่นื ค�ำ รอ้ งขอใหศ้ าลปกครองกลางมคี ำ�พพิ ากษาหรอื คำ�สงั่ พร้อมออกค�ำ บังคบั ให้การทางพิเศษฯ ปฏิบัตติ ามค�ำ ชี้ขาดของอนุญาโตตลุ าการ กรณีที่ช้ีขาดให้การทางพิเศษฯ ชำ�ระเงินตามท่ีบริษัทฯ เรียกร้องพร้อมดอกเบี้ยตามสัญญารวมจำ�นวนเงิน 3,296.72 ล้านบาท เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2556 พนักงานอัยการผู้รับมอบอำ�นาจจากการทางพเิ ศษฯ ไดด้ ำ�เนนิ การย่นื อทุ ธรณ์ต่อศาลปกครองสงู สุดแลว้ ขณะนี้คดอี ยู่ในข้นั ตอน การพจิ ารณาของศาลปกครองสูงสดุ 114 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

(4) บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) (เดิม บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)) เสนอข้อพิพาท เรียกร้องให้การทางพิเศษฯ แบ่งรายได้ค่าผ่านทางพิเศษของโครงข่ายในเขตเมืองท่ีบริษัทฯ พึงได้รับเป็นจำ�นวนเงิน 3,831.48 ล้านบาท พร้อม ดอกเบ้ียตามสัญญา ซึ่งมีสาเหตุมาจากการนับวันเปิดใช้งานของพื้นท่ีส่วนแรกท่ีแตกต่างกัน ต่อมาคณะอนุญาโตตุลาการได้มีคำ�ช้ีขาดให้ การทางพิเศษฯ ชำ�ระเงินตามท่ีบริษัทฯ เรียกร้องพร้อมดอกเบี้ยตามสัญญาและเมื่อวันท่ี 20 เมษายน 2552 การทางพิเศษฯ ได้ย่ืนคำ�ร้อง ต่อศาลปกครองกลางเพื่อขอเพิกถอนคำ�ช้ีขาดของคณะอนุญาโตตุลาการและต่อมาเม่ือวันท่ี 19 ตุลาคม 2554 บริษัทฯ ได้ยื่นคำ�ร้องขอให้ มีคำ�พิพากษาหรือคำ�สั่งพร้อมออกคำ�บังคับให้การทางพิเศษฯ ปฏิบัติตามคำ�ช้ีขาดของคณะอนุญาโตตุลาการและคำ�ส่ังของคณะอนุญาโตตุลาการ โดยคำ�นวณดอกเบี้ยเพ่ิมเติมจนถึงวันฟ้อง จำ�นวนเงิน 1,189.68 ล้านบาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้นจำ�นวน 5,021.16 ล้านบาท เม่ือวันที่ 13 กนั ยายน 2556 ศาลปกครองกลางได้มีคำ�พิพากษายกคำ�รอ้ งของการทางพเิ ศษฯ ท่ีรอ้ งขอเพิกถอนค�ำ ชีข้ าดของคณะอนญุ าโตตุลาการและให้บังคบั ตามคำ�ช้ีขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เมื่อวันท่ี 11 ตุลาคม 2556 พนักงานอัยการผู้รับมอบอำ�นาจจากการทางพิเศษฯ ได้ย่ืนอุทธรณ์ ตอ่ ศาลปกครองสูงสดุ แลว้ ขณะนีอ้ ย่ใู นขัน้ ตอนการพิจารณาของศาลปกครองสงู สดุ 4.26 ค่าจัดกรรมสทิ ธิ์ที่ดิน โครงการรถไฟฟา้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 มีทด่ี นิ ซง่ึ การทางพเิ ศษฯ ไดด้ �ำ เนนิ การจดั กรรมสทิ ธิ์ที่ดนิ ให้การรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชน (รฟม.) แต่ยงั ไมไ่ ด้ โอนเปน็ กรรมสทิ ธใ์ิ ห้ รฟม. จำ�นวนเงนิ 304.80 ล้านบาท 4.27 คา่ เวนคืนทดี่ ินรอจา่ ย ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2559 การทางพิเศษฯ มีค่าเวนคืนทดี่ นิ รอจ่าย ซ่งึ ผู้ถูกเวนคืนยังไมไ่ ดม้ ารบั เงิน การทางพิเศษฯ น�ำ ไปฝากไว้ที่ ธนาคารออมสนิ จ�ำ นวน 376.51 ลา้ นบาท 115รายงานประจำ�ปี 255๙

สถิติการใชท้ างพเิ ศษ เปรียบเทียบจ�ำ นวนรถยนตท์ กุ ประเภทที่ใชท้ างพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพเิ ศษศรรี ชั ทางพิเศษฉลองรัช ทางพเิ ศษบูรพาวิถี ทางพิเศษอดุ รรถั ยา ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพล-ี สุขสวัสด)์ิ และทางพเิ ศษสายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร ปีงบประมาณ 2555-2559 138,140,347 258,320,962 251,493,749 25ป5ี ๙ 1,349,88239,658,69551,169,67675,880,94318,862,631 136,882,311 240,151,737 25ป5ี 8 244,228,179 25ป5ี 7 26,868,86951,01771,8,809128,051,5436,129 131,756,605 238,012,288 25ป5ี 6 25ป5ี 5 25,122,87750,99627,5,9701061,1,72201,745 136,462,061 250,000,000 300,000,000 24,863,09429,8046,597,28295,450,531,1919 132,187,491 0 20,880,40480,595,966061,665,989,022,0049 50,000,000 100,000,000 150,000,000 200,000,000 เฉลมิ มหานคร ศรรี ชั ฉลองรชั บรู พาวถิ ี อดุ รรถั ยา กาญจนาภเิ ษก (บางพล-ี สขุ สวสั ด)ิ์ ศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร จำ�นวนรถยนตป์ ี 2559 รวมทัง้ สน้ิ 650,382,601 คัน (เที่ยว) หมายเหตุ : ท างพิเศษสายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร เปิดใหบ้ ริการเม่อื วนั ท่ี 22 สงิ หาคม 2559 ข้อมูล ณ วันที่ 26 กันยายน 2559 จำ�นวนรถยนตท์ ใี่ ช้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษศรีรัช ทางพเิ ศษฉลองรชั ทางพิเศษบรู พาวถิ ี ทางพเิ ศษอดุ รรัถยา ทางพิเศษกาญจนาภเิ ษก (บางพล-ี สุขสวสั ดิ)์ และทางพเิ ศษสายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร จ�ำ แนกตามประเภทรถ ปงี บประมาณ 2559 เฉลมิ มหานคร 3,429,827 133,999,730 710,790 ศรรี ชั 3,979,153 76,846,072 254,078,165 263,644 250,000,000 300,000,000 ฉลองรชั 898,946 48,565,280 135,400 บรู พาวถิ ี 2,235,133 369,252 อดุ รรถั ยา 322,792 29,288,473 47,430 กาญจนาภิเษก 82,332,968 (บางพลี-สขุ สวัสดิ)์ 7,636,439 3,893,224 ศรีรัช-วงแหวนรอบนอก 71,,330422,280 กรุงเทพมหานคร 301 0 50,000,000 100,000,000 150,000,000 200,000,000 4 ล้อ 6-10 ล้อ > 10 ลอ้ หมายเหตุ : ท างพิเศษสายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร เปดิ ใหบ้ รกิ ารเมอื่ วนั ท่ี 22 สิงหาคม 2559 ขอ้ มูล ณ วันท่ี 26 กันยายน 2559 116 รายงานประจำ�ปี 255๙

จ�ำ นวนรถยนตท์ ุกประเภทท่ใี ชท้ างพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางดว่ นข้นั ท่ี 1) จ�ำ แนกตามด่านตา่ ง ๆ ปีงบประมาณ 2559 ดินแดง 20,289,597 เพชรบุรี 3,444,796 สุขุมวทิ 5,552,917 พระรามทีส่ ่ี 1 6,684,515 เลียบแมน่ ำ้� 7,204,479 ทา่ เรอื 1 3,377,718 ทา่ เรือ 2 4,407,743 อาจณรงค์ 3,038,883 สุขมุ วทิ 62 5,050,049 บางนา 19,157,075 สาธปุ ระดิษฐ์ 1 4,809,269 สาธุประดิษฐ์ 2 1,429,516 สุขสวัสด์ิ 9,049,388 ดาวคะนอง 19,236,967 พระรามทสี่ ่ี 2 5,974,292 ดินแดง 1 3,193,578 บางจาก 6,807,835 อาจณรงค์ 1 (บางนา) 2,714,483 อาจณรงค์ 1 (ท่าเรือ) 6,331,864 อาจณรงค์ 3 385,383 10,000,000 15,000,000 20,000,000 25,000,000 0 5,000,000 รวมทั้งสิ้น 138,140,347 คนั (เท่ยี ว) 117รายงานประจ�ำ ปี 255๙

จำ�นวนรถยนต์ทุกประเภททีใ่ ชท้ างพเิ ศษศรีรชั (ระบบทางด่วนข้ันท่ี 2) จำ�แนกตามด่านต่าง ๆ ปีงบประมาณ 2559 อโศก 1 8,495,081 อโศก 2 1,931,140 พหลโยธิน 1 2,093,369 พหลโยธนิ 2 2,271,246 คลองประปา 1 2,843,223 คลองประปา 2 4,188,194 ย่านพหลโยธนิ 5,349,451 บางซอ่ื 2,511,049 รชั ดาภิเษก 4,741,031 ประชาชน่ื (ขาเขา้ ) ในเมอื ง 23,044,788 บางซอ่ื ๒ 393,368 23,842,560 23,387,623 สาธุประดษิ ฐ์ 3 1,610,639 23,044,788 จนั ทน์ 3,996,804 22,400,058 21,638,980 สาทร 2,788,548 20,000,000 25,000,000 สุรวงศ์ 6,432,447 สะพานสว่าง 4,173,884 หัวล�ำ โพง 5,687,767 อรุ ุพงษ์ 1,660,552 ยมราช 8,808,665 พระราม 3 2,300,328 อโศก 4 ประชาช่ืน (ขาออก) งามวงศว์ าน 1 3,629,494 งามวงศว์ าน 2 4,394,440 ประชาชืน่ 1 7,034,331 ประชาช่ืน 2 9,789,889 ประชาช่นื (ขาเขา้ ) นอกเมือง ศรนี ครินทร์ อโศก 3 พระราม 9 5,291,928 รามค�ำ แหง 2,749,507 พระราม 9-1 10,774,627 อโศก 3-1 5,021,163 0 5,000,000 10,000,000 15,000,000 รวมทัง้ สนิ้ 258,320,962 คัน (เท่ยี ว) หมายเหตุ : ด ่านเก็บคา่ ผา่ นทางพิเศษบางซอื่ 2 เปิดให้บรกิ ารเมอ่ื วนั ท่ี 22 สงิ หาคม 2559 118 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

จ�ำ นวนรถยนต์ทุกประเภททใ่ี ช้ทางพเิ ศษฉลองรัช (ทางพิเศษสายรามอินทรา-อาจณรงค์ และทางพิเศษสายรามอินทรา-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) จำ�แนกตามด่านตา่ ง ๆ ปีงบประมาณ 2559 รามอนิ ทรา 5,343,954 9,454,355 โยธนิ พัฒนา 6,238,009 9,972,369 ลาดพรา้ ว 4,083,455 ประชาอุทศิ 4,865,297 10,000,000 พระราม 9-2 6,128,326 พระราม 9-1 (ฉลองรชั ) พัฒนาการ 1 2,805,572 4,268,754 พระโขนง 6,147,629 อาจณรงค์ 2 (ทา่ เรือ) อาจณรงค์ 2 (บางนา) 1,688,400 2,469,136 พฒั นาการ 2 3,763,777 อาจณรงค์ 3-S1 5,467,668 4,014,728 รามอินทรา 1 สุขาภิบาล 5-1 1,168,989 สขุ าภิบาล 5-2 2,000,000 4,000,000 6,000,000 8,000,000 จตโุ ชติ 0 รวมทั้งส้นิ 77,880,418 คัน (เที่ยว) จ�ำ นวนรถยนตท์ กุ ประเภททใ่ี ชท้ างพเิ ศษบรู พาวถิ ี (ทางดว่ นสายบางนา-ชลบรุ )ี จ�ำ แนกตามดา่ นตา่ ง ๆ ปงี บประมาณ 2559 บางนา กม.6 (ขาเข้า) 7,717,942 บางนา 3 5,874,347 บางแกว้ 1,236,116 471,295 บางนา กม. 9-1 บางแก้ว (วงแหวน) 6,020,480 บางนา กม. 9-2 389,143 บางพลี 1 1,279,383 บางพลี 2 3,202,976 สวุ รรณภูมิ 1 สุวรรณภมู ิ 2 1,256,376 เมืองใหม่บางพลี 981,816 บางเสาธง 2,455,446 บางบอ่ 3,559,517 บางพลนี ้อย 1,007,810 บางสมัคร 1,732,119 บางววั 3,909,431 บางประกง 1 126,432 บางประกง 2 1,504,098 ชลบรุ ี 69,335 8,375,603 0 2,000,000 4,000,000 6,000,000 8,000,000 10,000,000 รวมทงั้ ส้นิ 51,169,665 คนั (เทยี่ ว) 119รายงานประจำ�ปี 255๙

จำ�นวนรถยนตท์ ุกประเภทที่ใช้ทางพเิ ศษอุดรรถั ยา (ทางดว่ นสายบางปะอิน-ปากเกรด็ ) จ�ำ แนกตามดา่ นตา่ ง ๆ ปงี บประมาณ 2559 เมอื งทองธานีขาออก 1,143,029 2,046,827 เมอื งทองธานีขาเข้า 1,000,000 1,500,000 3,473,908 ศรสี มานขาออก 4,003,045 ศรีสมานขาเขา้ บางพนู ขาออก 2,405,083 บางพนู ขาเขา้ เชยี งรากขาออก 3,460,703 เชียงรากขาเข้า บางปะอนิ ขาออก 2,875,954 บางปะอนิ ขาเขา้ 3,319,084 3,579,914 3,351,148 0 500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 3,500,000 4,000,000 4,๕00,000 รวมทงั้ ส้นิ 29,658,695 คนั (เที่ยว) จ�ำ นวนรถยนตท์ กุ ประเภททใ่ี ชท้ างพเิ ศษกาญจนาภเิ ษก (บางพล-ี สขุ สวสั ด)์ิ จ�ำ แนกตามดา่ นตา่ ง ๆ ปงี บประมาณ 2559 บางขนุ เทียน (ทางออก 1) 11,419,023 บางขนุ เทียน (ทางออก 2) บางขนุ เทยี น (ทางออก 3) 2,551,181 บางครุ (ทางออก 1) 7,870,515 บางครุ (ทางออก 2) ปากนำ�้ (ทางออก 1) 5,821,202 ปากนำ้� (ทางออก 2) ปากน้ำ� (ทางออก 3) 4,576,307 ปากนำ้� (ทางออก 4) ปูเ่ จ้าสมงิ พราย (ขาออก) 2,361,182 บางเมือง (ทางออก 1) บางเมือง (ทางออก 2) 1,848,304 บางเมอื ง (ทางออก 3) เทพารักษ์ (ทางออก 1) 899,821 เทพารักษ์ (ทางออก 2) เทพารักษ์ (ทางออก 3) 2,053,960 เทพารักษ์ (ทางออก 4) บางแก้ว (ทางออก 1) 9,435,904 บางแกว้ (ทางออก 2) บางแกว้ (ทางออก 3) 3,824,930 3,584,079 4,392,055 801,833 1,985,269 3,296,445 3,320,901 5,529,412 9,602,423 8,687,885 0 2,000,000 4,000,000 6,000,000 8,000,000 10,000,000 12,000,000 รวมท้งั สน้ิ 93,862,631 คัน (เทีย่ ว) 120 รายงานประจำ�ปี 255๙

จ�ำ นวนรถยนตท์ ุกประเภทที่ใช้ทางพิเศษสายศรรี ัช-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร จำ�แนกตามดา่ นตา่ ง ๆ ปีงบประมาณ 2559 ฉมิ พลี 163,627 384,585 ตล่ิงชัน 138,543 400,000 4๕0,000 บรมราชชนนี บางบ�ำ หรุ 14,971 86,577 208,819 บางพลดั 41,253 81,281 230,227 บางกรวย 100,000 สะพานพระราม 7 50,000 200,000 250,000 300,000 กำ�แพงเพชร 2 บางซอ่ื 1 0 150,000 350,000 รวมท้งั สน้ิ 1,349,883 คนั (เทีย่ ว) หมายเหตุ : ทางพเิ ศษสายศรรี ัช-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร เปดิ ใหบ้ ริการเมอ่ื วันท่ี 22 สงิ หาคม 2559 ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 26 กันยายน 2559 121รายงานประจำ�ปี 255๙

จ�ำ นวนรถยนต์ทใ่ี ช้บัตรอัตโนมัติ (Easy Pass) ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางด่วนขัน้ ที่ 1) จ�ำ แนกตามดา่ นตา่ ง ๆ ปีงบประมาณ 2559 ดินแดง 6,530,200 เพชรบรุ ี 1,220,650 สุขมุ วิท 2,429,752 พระรามทส่ี ่ี 1 2,855,176 เลียบแมน่ ำ้� 2,839,141 ท่าเรือ 1 1,272,337 ท่าเรือ 2 1,781,237 อาจณรงค์ 1,258,346 สุขุมวิท 62 1,730,098 บางนา 5,980,835 สาธปุ ระดิษฐ์ 1 1,739,118 สาธปุ ระดิษฐ์ 2 628,630 สุขสวัสด์ิ 2,790,205 ดาวคะนอง 5,910,113 พระรามทส่ี ่ี 2 2,438,134 ดินแดง 1 1,027,927 บางจาก 2,829,760 อาจณรงค์ 1 (บางนา) 1,189,685 อาจณรงค์ 1 (ทา่ เรือ) 2,237,898 อาจณรงค์ 3 130,890 0 1,000,000 2,000,000 3,000,000 4,000,000 5,000,000 6,000,000 7,000,000 รวมทงั้ สิน้ 48,820,132 คัน (เที่ยว) 122 รายงานประจำ�ปี 255๙

จ�ำ นวนรถยนตท์ ่ใี ชบ้ ัตรอตั โนมตั ิ (Easy Pass) ทางพิเศษศรรี ัช (ระบบทางดว่ นข้นั ท่ี 2) จ�ำ แนกตามด่านต่าง ๆ ปีงบประมาณ 2559 อโศก 1 3,027,004 8,007,924 อโศก 2 864,934 พหลโยธนิ 1 758,976 พหลโยธนิ 2 611,702 คลองประปา 1 คลองประปา 2 1,118,473 ยา่ นพหลโยธิน 1,738,826 บางซอ่ื 1,880,739 รชั ดาภิเษก ประชาชื่น (ขาเขา้ ) ในเมือง 508,046 บางซ่อื ๒ 1,612,155 151,824 สาธุประดษิ ฐ์ 3 684,478 จันทน์ 1,346,962 สาทร 1,149,259 สุรวงศ์ 2,221,492 สะพานสวา่ ง 1,777,379 หัวลำ�โพง 2,142,978 อรุ พุ งษ์ 534,014 ยมราช 2,977,618 พระราม 3 890,878 อโศก 4 9,001,366 ประชาช่ืน (ขาออก) 1,058,376 8,541,899 งามวงศว์ าน 1 1,190,902 งามวงศ์วาน 2 8,007,924 ประชาช่นื 1 1,945,710 7,952,744 ประชาชน่ื 2 2,485,710 8,352,497 ประชาชื่น (ขาเข้า) นอกเมอื ง 1,762,815 4,607,161 ศรีนครนิ ทร์ 1,129,226 4,000,000 6,000,000 8,000,000 10,000,000 อโศก 3 พระราม 9 1,457,117 รามคำ�แหง 2,000,000 พระราม 9-1 อโศก 3-1 0 รวมทง้ั ส้นิ 91,499,108 คัน (เทย่ี ว) หมายเหตุ : ด ่านเก็บคา่ ผ่านทางพเิ ศษบางซ่อื 2 เปดิ ให้บริการเมื่อวนั ท่ี 22 สงิ หาคม 2559 123รายงานประจำ�ปี 255๙

จำ�นวนรถยนตท์ ่ใี ชบ้ ัตรอตั โนมัติ (Easy Pass) ทางพเิ ศษฉลองรชั (ทางพิเศษสายรามอินทรา-อาจณรงค์ และทางพเิ ศษสายรามอนิ ทรา-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร) จ�ำ แนกตามด่านตา่ ง ๆ ปงี บประมาณ 2559 รามอินทรา 1,749,825 2,570,447 โยธินพฒั นา 1,331,829 ลาดพรา้ ว 2,025,977 3,991,034 ประชาอุทิศ 1,827,077 พระราม 9-2 พระราม 9-1 (ฉลองรชั ) 1,453,134 พฒั นาการ 1 1,617,292 พระโขนง 3,101,329 อาจณรงค์ 2 (ท่าเรอื ) 959,890 พัฒนาการ 2 อาจณรงค์ 3-S1 1,867,505 รามอนิ ทรา 1 1,294,797 สขุ าภบิ าล 5-1 1,475,992 สขุ าภบิ าล 5-2 278,756 จตโุ ชติ 3,034,436 0 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 3,500,000 4,000,000 รวมทง้ั สนิ้ 28,579,320 คัน (เทย่ี ว) จ�ำ นวนรถยนต์ทใี่ ชบ้ ัตรอตั โนมัติ (Easy Pass) ทางพิเศษบรู พาวิถี (ทางดว่ นสายบางนา-ชลบุร)ี จ�ำ แนกตามดา่ นตา่ ง ๆ ปีงบประมาณ 2559 บางนา กม.6 (ขาเขา้ ) 541,484 5,680,352 บางแก้ว 263,279 6,000,000 บางนา กม. 9-1 1,666,981 บางแกว้ (วงแหวน) บางนา กม. 9-2 155,644 540,936 บางพลี 1 1,060,192 บางพลี 2 สวุ รรณภูมิ 1 564,782 สุวรรณภูมิ 2 315,093 เมอื งใหมบ่ างพลี บางเสาธง 906,179 1,421,852 บางบอ่ บางพลนี อ้ ย 306,093 บางสมัคร 504,060 บางวัว 1,089,752 บางประกง 1 36,939 บางประกง 2 446,881 ชลบรุ ี 18,449 2,193,701 0 1,000,000 2,000,000 3,000,000 4,000,000 5,000,000 124 รายงานประจ�ำ ปี 255๙ รวมทั้งสนิ้ 17,712,649 คนั (เทย่ี ว)

จ�ำ นวนรถยนต์ทใี่ ชบ้ ัตรอตั โนมตั ิ (Easy Pass) ทางพิเศษอดุ รรัถยา (ทางดว่ นสายบางปะอิน-ปากเกร็ด) จำ�แนกตามดา่ นต่าง ๆ ปงี บประมาณ 2559 เมืองทองธานีขาออก 119,508 เมืองทองธานีขาเข้า 214,858 268,618 ศรีสมานขาออก 290,510 ศรสี มานขาเขา้ บางพูนขาออก 123,895 บางพนู ขาเขา้ 168,098 เชยี งรากขาออก เชียงรากขาเข้า 112,203 บางปะอินขาออก 116,904 บางปะอินขาเข้า 72,391 66,052 0 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 300,000 รวมท้ังสนิ้ 1,553,037 คนั (เที่ยว) หมายเหตุ : ด่านเมืองทองธานี (ขาเข้า/ขาออก) เปดิ ให้บริการระบบเก็บคา่ ผ่านทางพเิ ศษอตั โนมตั ิ (Easy Pass) วนั ที่ 27 มถิ ุนายน 2559 : ด่านศรสี มาน (ขาเข้า/ขาออก) เปดิ ใหบ้ ริการระบบเก็บค่าผา่ นทางพเิ ศษอตั โนมัติ (Easy Pass) วนั ท่ี 11 กรกฎาคม 2559 : ด่านบางพูน (ขาเข้า/ขาออก) เปดิ ใหบ้ ริการระบบเกบ็ ค่าผ่านทางพิเศษอตั โนมตั ิ (Easy Pass) วันท่ี 25 กรกฎาคม 2559 : ด่านเชยี งราก (ขาเข้า/ขาออก) เปิดให้บริการระบบเก็บค่าผา่ นทางพเิ ศษอตั โนมัติ (Easy Pass) วนั ท่ี 8 สงิ หาคม 2559 : ด่านบางปะอิน (ขาเขา้ /ขาออก) เปดิ ให้บริการระบบเก็บคา่ ผ่านทางพเิ ศษอัตโนมัติ (Easy Pass) วันที่ 22 สิงหาคม 2559 125รายงานประจำ�ปี 255๙

จำ�นวนรถยนต์ที่ใช้บัตรอตั โนมตั ิ (Easy Pass) ทางพเิ ศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สขุ สวัสด์)ิ จ�ำ แนกตามด่านตา่ ง ๆ ปงี บประมาณ 2559 บางขุนเทียน (ทางออก 1) 2,142,174 บางขนุ เทียน (ทางออก 2) 570,787 บางขุนเทียน (ทางออก 3) 1,262,885 บางครุ (ทางออก 1) 1,464,107 บางครุ (ทางออก 2) 735,846 ปากน�้ำ (ทางออก 1) 611,619 ปากน้ำ� (ทางออก 2) 450,123 ปากน้ำ� (ทางออก 3) 290,987 ปากน�ำ้ (ทางออก 4) 571,364 ปเู่ จ้าสมิงพราย (ขาออก) 3,007,137 บางเมอื ง (ทางออก 1) 1,125,162 บางเมือง (ทางออก 2) 995,351 บางเมอื ง (ทางออก 3) 1,568,870 เทพารักษ์ (ทางออก 1) 207,467 เทพารักษ์ (ทางออก 2) 614,996 เทพารกั ษ์ (ทางออก 3) 807,060 เทพารกั ษ์ (ทางออก 4) 1,018,281 บางแก้ว (ทางออก 1) 3,963,421 บางแกว้ (ทางออก 3) 1,849,312 0 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 3,500,000 4,000,000 รวมทัง้ สน้ิ 23,256,949 คัน (เทย่ี ว) 126 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

จ�ำ นวนรถยนตท์ ี่ใชบ้ ตั รอตั โนมตั ิ (Easy Pass) ทางพิเศษสายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร จำ�แนกตามดา่ นต่าง ๆ ปีงบประมาณ 2559 ฉิมพลี 120,412 ตล่ิงชนั 61,886 96,855 ๑๐0,000 ๑๒0,000 ๑๔0,000 บรมราชชนนี 40,973 รวมทัง้ สิ้น 447,990 คัน (เที่ยว) บางบำ�หรุ 27,327 บางพลัด 3,580 บางกรวย 12,431 สะพานพระราม 7 27,456 ก�ำ แพงเพชร 2 57,070 บางซอ่ื 1 0 ๒0,000 ๔0,000 ๖0,000 ๘0,000 หมายเหตุ : ทางพเิ ศษสายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร เปดิ ใหบ้ รกิ ารเมอื่ วนั ที่ 22 สงิ หาคม 2559 ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 26 กนั ยายน 2559 127รายงานประจ�ำ ปี 255๙

128 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

129รายงานประจำ�ปี 255๙

130 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

131รายงานประจำ�ปี 255๙

132 รายงานประจ�ำ ปี 255๙ ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางดว่ นสายบางนา-ชลบรุ )ี

ทางพิเศษอุดรรถั ยา 133รายงานประจำ�ปี 255๙

134 รายงานประจ�ำ ปี 255๙ ทางพิเศษกาญจนาภเิ ษก (บางพล-ี สุขสวสั ด์)ิ

ทางพิเศษสายศรรี ัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รายงานประจำ�ปี 135255๙

การทางพิเศEษXแAหT่ง ปคู่รใจะ เผทู้ใศชไ้ททายง 136 รายงานประจ�ำ ปี 255๙




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook