คณะอนุกรรมการดา้ นกฎหมาย (ตอ่ ) ต�ำ แหนง่ ช่วงเวลา การเขา้ ร่วม เบ้ียประชมุ อนุกรรมการ ทด่ี �ำ รงต�ำ แหน่ง ประชมุ (ครั้ง) (บาท) รายช่อื /หน่วยงาน 25 ก.พ. 58- - 30 ก.ย. 59 7/7 14. นายธนรตั น์ ยศวิมล หวั หนา้ แผนกวนิ ยั รกั ษาการในต�ำ แหนง่ อนกุ รรมการและ 25 ก.พ. 58- 6/7 - ผูอ้ ำ�นวยการกองนิตกิ าร เลขานกุ าร 30 ก.ย. 59 5/7 - 25 ก.พ. 58- 4/7 - 15. นางสาวสมรตั น์ กิจวไิ ลรตั น์ ผชู้ ว่ ยเลขานุการ 30 ก.ย. 59 ท่ีมา : กองคดี ฝ่ายกฎหมาย หวั หนา้ แผนกคดีปกครอง 25 ก.พ. 58- ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 ผชู้ ่วยเลขานกุ าร 30 ก.ย. 59 1 6. นางสาววนาภรณ์ สขุ แสนเกษม หวั หนา้ แผนกอนญุ าโตตลุ าการ 17. นางสาวจิรัฐติ หล่อใจ หวั หน้าแผนกสญั ญา อ�ำ นาจหนา้ ท่ีคณะอนุกรรมการด้านกฎหมาย ให้อนุกรรมการมีหน้าที่ในการเสนอแนะ หรือให้ความเห็นทางกฎหมายแก่คณะกรรมการการทางพิเศษ แห่งประเทศไทย รวมทง้ั ใหพ้ ิจารณาดำ�เนินการอืน่ ๆ ตามท่ีคณะกรรมการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทยมอบหมาย คณะอนกุ รรมการพิจารณากลั่นกรองแผนปฏบิ ัติการและประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ของผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย รายชื่อ/หนว่ ยงาน ตำ�แหน่ง ช่วงเวลา การเข้ารว่ ม เบยี้ ประชุม ที่ด�ำ รงตำ�แหน่ง ประชุม (คร้ัง) (บาท) 1. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ ประธานอนกุ รรมการ 19 ส.ค. 57- 62,500 รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นา ๓๐ ก.ย. ๕๙ 5/5 การเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการ 25 ก.พ. 58- พัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 2 ธ.ค. 58- 2. พลอากาศเอก ยุทธนา สุกมุ ลจันทร์ อนุกรรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 4/5 30,000 ข้าราชการบ�ำ นาญ 5/5 50,000 19 ส.ค. 57- 3. นางสาวบณั ฑรโฉม แกว้ สอาด อนกุ รรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ ทป่ี รกึ ษาดา้ นเศรษฐกจิ การคลัง (แทนนายนรนิ ทร์ 25 ก.พ. 58- สำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง กลั ยาณมติ ร ตาม ๓๐ ก.ย. ๕๙ กระทรวงการคลัง ค�ำ สั่ง คณะกรรมการ 25 ก.พ. 58- กทพ. ท่ี 38/๒๕58 ๓๐ ก.ย. ๕๙ ลงวันท่ี 2 ธ.ค. 58) 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วเรศรา วรี ะวฒั น์ อนุกรรมการ 3/5 30,000 อ าจารยป์ ระจำ�ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ 4/5 12,000 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 5/5 15,000 5. พลเอก ชวลิต ชนุ ประสาน อนุกรรมการ 49รายงานประจำ�ปี 255๙ 6. พนั เอก สรุ นาท สบายรปู อนกุ รรมการ
คณะอนกุ รรมการพจิ ารณากลน่ั กรองแผนปฏบิ ตั กิ ารและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของผวู้ า่ การการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย (ตอ่ ) รายช่อื /หนว่ ยงาน ต�ำ แหนง่ ชว่ งเวลา การเข้ารว่ ม เบีย้ ประชมุ เลขานุการ ท่ีดำ�รงตำ�แหนง่ ประชุม (ครั้ง) (บาท) 7. นายณรงค์ เขียดเดช เลขานุการ รองผู้วา่ การฝา่ ยบรหิ าร ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร 19 ส.ค. 57- 1/1 - 8. นางอุรวดี ชูศรี ผูช้ ว่ ยเลขานุการ 12 ม.ค. 59 รองผวู้ า่ การฝา่ ยบรหิ าร 9. นายสมพร โสมะบถ 14 ม.ค. 59- 4/4 - ผู้อำ�นวยการฝา่ ยบริหารทัว่ ไป 30 ก.ย. 59 1 0. นางสาวภาวินี ศิระยทุ ธโยธนิ ผอู้ �ำ นวยการฝ่ายบริหารทัว่ ไป 19 ส.ค. 57- 2/2 - 10 มี.ค. 59 10 มี.ค. 59- 2/3 - ๓๐ ก.ย. ๕๙ ทม่ี า : กองการเจา้ หนา้ ท่ี ฝ่ายบรหิ ารทั่วไป ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 255๙ อำ�นาจหน้าท่ีคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองแผนปฏิบัติการและประเมินผลการปฏิบัติงาน ของผ้วู ่าการการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการมีอำ�นาจหน้าที่พิจารณากลั่นกรองแผนปฏิบัติการของผู้ว่าการการทางพิเศษ แห่งประเทศไทย จัดทำ�เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานและประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ว่าการการทางพิเศษ แหง่ ประเทศไทย ตามสญั ญาจา้ งผู้บรหิ ารในต�ำ แหน่งผวู้ า่ การการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ฉบบั ลงวนั ท่ี 8 พฤศจกิ ายน 2554 และปฏิบัติงานอ่ืนตามที่ได้มอบหมายจากคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย แล้วรายงานผลให้ คณะกรรมการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทยเพ่อื พจิ ารณาต่อไป คณะกรรมการสรรหาผู้ว่าการการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย รายช่อื /หนว่ ยงาน ต�ำ แหนง่ ชว่ งเวลา การเขา้ รว่ มประชมุ เบี้ยประชุม ประธานกรรมการ ทีด่ �ำ รงต�ำ แหนง่ (ครง้ั ) (บาท) 1. พลอากาศเอก ยทุ ธนา สุกมุ ลจนั ทร์ 20 ก.ค. ๕๘- 25,000 ข้าราชการบ�ำ นาญ กรรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 2 (3 ส.ค. 58 และ 20,000 กรรมการ 20 ก.ค. ๕๘- 6 ต.ค. 58 30,000 2. น ายนรินทร์ กัลยาณมิตร ๓๐ ก.ย. ๕๙ ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลงั กรรมการ 20 ก.ค. ๕๘- 2 (3 ส.ค. 58 และ 30,000 ๓๐ ก.ย. ๕๙ 6 ต.ค. 58) 3. ผ ูช้ ่วยศาสตราจารย์ วเรศรา วีระวัฒน์ กรรมการ 3 (3 ส.ค. 58 9,000 อาจารย์ประจำ�ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ 20 ก.ค. ๕๘- มหาวิทยาลยั มหิดล ๓๐ ก.ย. ๕๙ 16 ก.ย. 58 และ 6 ต.ค. 58) 4. นายพลากร หวั่งหลี 20 ก.ค. ๕๘- 3 (3 ส.ค. 58 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 16 ก.ย. 58 และ หัวหน้าสายงานลกู ค้าองค์กรและลกู คา้ สถาบัน 6 ต.ค. 58) ธนาคารสแตนดารด์ ชารเ์ ตอรด์ (ไทย) จ�ำ กดั (มหาชน) 5. พลเอก ชวลิต ชุนประสาน 3 (3 ส.ค. 58 16 ก.ย. 58 และ 6 ต.ค. 58) 50 รายงานประจำ�ปี 255๙
คณะกรรมการสรรหาผู้ว่าการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย (ตอ่ ) รายชือ่ /หนว่ ยงาน ตำ�แหนง่ ชว่ งเวลา การเขา้ ร่วมประชมุ เบย้ี ประชุม เลขานกุ าร ท่ีดำ�รงตำ�แหนง่ (ครง้ั ) (บาท) 6. น ายสมพร โสมะบถ ผอู้ �ำ นวยการฝ่ายบริหารทวั่ ไป ผชู้ ่วยเลขานุการ 20 ก.ค. ๕๘- 3 (3 ส.ค. 58 - ๓๐ ก.ย. ๕๙ 16 ก.ย. 58 และ 7. น างสาวภาวนิ ี ศริ ะยทุ ธโยธนิ ผู้อ�ำ นวยการกองการเจ้าหน้าที่ 6 ต.ค. 58) ฝา่ ยบริหารทวั่ ไป 20 ก.ค. ๕๘- 3 (3 ส.ค. 58 - ๓๐ ก.ย. ๕๙ 16 ก.ย. 58 และ 6 ต.ค. 58) ทีม่ า : กองการเจา้ หน้าท่ี ฝ่ายบรหิ ารท่วั ไป ข้อมลู ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 255๙ อำ�นาจหนา้ ที่คณะกรรมการสรรหาผวู้ า่ การการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย คณะกรรมการมีอำ�นาจหน้าท่ีสรรหาบุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์เหมาะสมท่ีจะเป็น ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ซ่ึงต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามของผู้บริหารตามท่ีกำ�หนดไว้ใน พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำ�หรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบญั ญตั คิ ณุ สมบตั มิ าตรฐานส�ำ หรบั กรรมการและพนกั งานรฐั วสิ าหกจิ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2543 (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2550 (ฉบบั ที่ 6) พ.ศ. 2550 และ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2558 พระราชบญั ญตั กิ ารทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2550 และหนังสือกระทรวงการคลังที่ กค 0803.2/ว.90 ลงวันท่ี 21 สิงหาคม 2551 เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจเก่ียวกับ ข้ันตอนและแนวทางการสรรหาผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำ�หรับกรรมการ และพนกั งานรฐั วิสาหกิจ (ฉบบั ท่ี 6) พ.ศ. 2550 เพ่อื น�ำ เสนอคณะกรรมการการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทยพิจารณา แตง่ ตง้ั เป็นผูบ้ ริหารในต�ำ แหนง่ ผู้วา่ การการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทยตอ่ ไป คณะอนกุ รรมการพิจารณาผลตอบแทนของผวู้ า่ การการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย รายชื่อ/หน่วยงาน ต�ำ แหนง่ ช่วงเวลา การเข้ารว่ ม เบยี้ ประชุม ประธาน ทด่ี ำ�รงตำ�แหน่ง ประชมุ (คร้งั ) (บาท) 1. น ายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาต ิ อนกุ รรมการ คำ�ส่ังคณะกรรมการ กทพ. 12,500 รองเลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการ ที่ 36/2558 1/1 เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ลงวนั ท่ี 3 พ.ย. 58 10,000 ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ อนกุ รรมการ ค�ำ สัง่ คณะกรรมการ กทพ. 1/1 3,000 ที่ 36/2558 1/1 2. น างสาวบณั ฑรโฉม แก้วสอาด ทปี่ รึกษาด้านเศรษฐกจิ การคลัง ลงวนั ที่ 3 พ.ย. 58 ส�ำ นักงานเศรษฐกจิ การคลัง กระทรวงการคลัง อนุกรรมการ ค�ำ ส่ังคณะกรรมการ กทพ. ท่ี 36/2558 3. นายภูมศิ กั ดิ์ อรัญญาเกษมสุข ผู้แทนส�ำ นักงานคณะกรรมการ ลงวนั ท่ี 3 พ.ย. 58 นโยบายรฐั วสิ าหกจิ 51รายงานประจ�ำ ปี 255๙
คณะอนุกรรมการพิจารณาผลตอบแทนของผ้วู ่าการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย (ต่อ) รายชื่อ/หนว่ ยงาน ตำ�แหนง่ ช่วงเวลา การเข้ารว่ ม เบยี้ ประชุม 4. นายสมพร โสมะบถ ท่ีด�ำ รงตำ�แหน่ง ประชุม (ครงั้ ) (บาท) ผอู้ ำ�นวยการฝา่ ยบริหารทวั่ ไป อนุกรรมการและ ค�ำ สั่งคณะกรรมการ กทพ. 1/1 - เลขานกุ าร ที่ 36/2558 ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 ทีม่ า : กองการเจ้าหนา้ ท่ี ฝา่ ยบริหารทั่วไป ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 255๙ อ�ำ นาจหนา้ ท่คี ณะอนกุ รรมการพิจารณาผลตอบแทนของผู้วา่ การการทางพิเศษแห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการมีอำ�นาจหน้าท่ีพิจารณากำ�หนดผลตอบแทนและเจรจาต่อรองผลตอบแทนกับบุคคล ทไ่ี ดร้ บั เสนอชอื่ ใหด้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ผวู้ า่ การการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ตามหลกั เกณฑแ์ ละแนวทางการจา่ ยผลตอบแทน ของผูบ้ รหิ ารสงู สดุ ของรฐั วิสาหกจิ ตามสญั ญาจ้าง ตามมตคิ ณะรฐั มนตรีเมือ่ วันท่ี 13 มิถุนายน 2543 และวนั ท่ี 22 มิถุนายน 2547 และตามหนงั สอื กระทรวงการคลัง ท่ี กค.0803.2/ว.90 ลงวันที่ 21 สิงหาคม 2551 และเสนอ ผลการพิจารณาพร้อมร่างสัญญาจ้างผู้บริหารตำ�แหน่งผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเสนอคณะกรรมการ การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทยเพือ่ พจิ ารณา แล้วเสนอกระทรวงการคลงั ใหค้ วามเห็นชอบต่อไป คณะอนุกรรมการกำ�กบั ดูแลกจิ การทีด่ ี รายชื่อ/หนว่ ยงาน ต�ำ แหน่ง ช่วงเวลา การเข้าร่วม เบี้ยประชุม ทดี่ ำ�รงตำ�แหนง่ ประชุม (ครั้ง) (บาท) ๑. นายวุฒพิ งศ์ วบิ ูลยว์ งศ์ ประธานอนกุ รรมการ 25,000 1 ต.ค. 58- 2/2 12,500 2. พลอากาศเอก ยทุ ธนา สกุ ุมลจนั ทร์ ประธานอนกุ รรมการ 10 พ.ค. 59 3/3 10,000 11 พ.ค. 59- 2/2 30,000 3. พลอากาศเอก ยทุ ธนา สกุ ุมลจนั ทร์ อนกุ รรมการ 30 ก.ย. 59 4/5 - 1 ต.ค. 58- - 9,000 4. นางสาวบัณฑรโฉม แก้วสอาด อนกุ รรมการ 10 พ.ค. 59 3/5 15,000 22 ต.ค. 58- 5/5 - 5. นายนรินทร์ กัลยาณมติ ร อนกุ รรมการ 30 ก.ย. 59 - - 1 ต.ค. 58- 1/1 6. พลเอก ไชยพร รตั แพทย์ อนกุ รรมการ 21 ต.ค. 58 20,000 1 ต.ค. 58- 4/4 7. พันเอก สริ พงษ์ วิลาลยั อนุกรรมการ 30 ก.ย. 59 1 ต.ค. 58- 8. นายอัยยณฐั ถนิ อภยั อนุกรรมการ 30 ก.ย. 59 ผวู้ า่ การการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย อนกุ รรมการ 1 ต.ค. 58- 9. นายณรงค์ เขยี ดเดช 7 พ.ย. 58 รองผู้ว่าการฝ่ายบรหิ าร รักษาการ อนกุ รรมการ 8 พ.ย. 58- 12 ม.ค. 59 ในตำ�แหนง่ ผูว้ า่ การการทางพิเศษ แหง่ ประเทศไทย 13 ม.ค. 59- 10. นายณรงค์ เขยี ดเดช 30 ก.ย. 59 ผู้วา่ การการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 52 รายงานประจำ�ปี 255๙
คณะอนุกรรมการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การท่ีดี (ต่อ) ตำ�แหนง่ ช่วงเวลา การเข้าร่วม เบย้ี ประชุม รายชือ่ /หน่วยงาน ที่ดำ�รงตำ�แหนง่ ประชมุ (ครง้ั ) (บาท) - 11. นายณรงค์ เขยี ดเดช อนกุ รรมการ 1 ต.ค. 58- 1/1 รองผู้วา่ การฝา่ ยบรหิ าร อนุกรรมการ 12 ม.ค. 59 - 12. นางอุรวดี ชศู รี เลขานุการ 14 ม.ค. 59- 4/4 รองผู้ว่าการฝา่ ยบริหาร เลขานุการ 30 ก.ย. 59 - 13. นายปัญญา ไชยานนท์ ผชู้ ว่ ยเลขานุการ 1 ต.ค. 58- 4/5 ผูอ้ ำ�นวยการฝา่ ยการเงนิ และบญั ชี 30 ก.ย. 59 - 14. นางเบญจมาส ปยิ โชติสกุ ิจ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร 1 ต.ค. 58- 3/5 ผูอ้ ำ�นวยการสำ�นักผู้ว่าการ 30 ก.ย. 59 - 15. นางทศานชุ ธรรมโชติ 1 ต.ค. 58- 5/5 ผอู้ ำ�นวยการกองก�ำ กับดแู ลกจิ การ 30 ก.ย. 59 และพฒั นามลู คา่ องคก์ ร 1 ต.ค. 58- 4/5 - ฝา่ ยการเงินและบัญชี 30 ก.ย. 59 16. นางบษุ บา ปทมุ มาศ ผูอ้ �ำ นวยการกองประชาสมั พันธ์ ทม่ี า : กองก�ำ กบั ดแู ลกจิ การและพฒั นามลู คา่ องคก์ ร สำ�นักผูว้ ่าการ ข้อมูล ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2559 อำ�นาจหน้าทคี่ ณะอนุกรรมการกำ�กบั ดูแลกิจการทด่ี ี 1. กำ�หนดนโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมาย และแผนการด�ำ เนินงานดา้ นการกำ�กบั ดูแลกิจการทดี่ ี และดา้ นการ แสดงความรับผดิ ชอบต่อสงั คมของการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย 2. ก�ำ กบั ดแู ลการด�ำ เนนิ งานดา้ นการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี และดา้ นการแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมของ การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย 3. ติดตามการดำ�เนินงานและการประเมินผลด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและด้านการแสดงความ รบั ผิดชอบตอ่ สังคมของการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทยอยา่ งสมำ�่ เสมอ 4. สง่ เสรมิ การเผยแพรแ่ นวทางการก�ำ กบั ดแู ลกิจการทด่ี ีและความรับผดิ ชอบต่อสงั คมใหร้ ับรูอ้ ย่างทว่ั ถึง 5. ดำ�เนนิ งานอ่ืนใดในส่วนที่เกย่ี วขอ้ งกับการก�ำ กับดแู ลกิจการที่ดแี ละความรับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการบรหิ ารความเสี่ยง ต�ำ แหน่ง ชว่ งเวลา การเขา้ รว่ ม เบี้ยประชุม ทีด่ ำ�รงตำ�แหน่ง ประชุม (ครั้ง) (บาท) รายช่ือ/หนว่ ยงาน 1. นายชูศักด์ิ เกวี ประธานกรรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 4/4 37,500 ตามคำ�ส่งั คณะกรรมการ กทพ. กรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ที่ 29/๒๕58 10,000 ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 2. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ วเรศรา วรี ะวฒั น์ กรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย กรรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 1/4 ตามค�ำ สั่งคณะกรรมการ กทพ. ท่ี 29/๒๕58 ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 53รายงานประจ�ำ ปี 255๙
คณะกรรมการบรหิ ารความเส่ยี ง (ต่อ) ต�ำ แหน่ง ชว่ งเวลา การเข้ารว่ ม เบีย้ ประชุม รายช่อื /หนว่ ยงาน กรรมการ ทด่ี �ำ รงต�ำ แหนง่ ประชุม (ครั้ง) (บาท) กรรมการ 3. นางสาวบัณฑรโฉม แก้วสอาด กรรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 3/4 30,000 กรรมการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย กรรมการ ตามค�ำ สัง่ คณะกรรมการ กทพ. 9,000 กรรมการ 6,000 4. พลเอก ชวลิต ชุนประสาน กรรมการ ท่ี 29/๒๕58 12,000 กรรมการ กรรมการ ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 10,000 10,000 5. พลโท ชูนล หาสารสี ร กรรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 3/4 กรรมการ กรรมการ ตามคำ�ส่งั คณะกรรมการ กทพ. - กรรมการ 6. นายพสิ ษิ ฐ์ วงศเ์ ธยี รธนา ท่ี 29/๒๕58 กรรมการ ลงวนั ที่ 3 พ.ย. 58 7. นายณรงค์ เขียดเดช 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 2/4 รองผวู้ า่ การฝา่ ยบรหิ าร รกั ษาการในต�ำ แหนง่ ตามค�ำ สัง่ คณะกรรมการ กทพ. ผวู้ า่ การการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ที่ 29/๒๕58 ผวู้ า่ การการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย ลงวนั ท่ี 3 พ.ย. 58 (ค�ำ สั่ง กทพ. ท่ี 4/๒๕59 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 4/4 สงั่ ณ วันที่ 12 ม.ค. 59) ตามคำ�ส่งั คณะกรรมการ กทพ. 8. นายสุชาติ ชลศกั ดพ์ิ พิ ฒั น์ ผอู้ �ำ นวยการฝ่ายกอ่ สร้างทางพิเศษ ที่ 29/๒๕58 รกั ษาการในตำ�แหน่งผชู้ ว่ ยผู้วา่ การ ลงวนั ที่ 3 พ.ย. 58 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (คำ�สง่ั กทพ. ที่ 227/๒๕58 สั่ง ณ วันท่ี 26 ส.ค. 58) 8 พ.ย. 58-11 ม.ค. 59 1/1 รองผู้วา่ การฝ่ายกอ่ สร้างและบำ�รงุ รกั ษา ตามคำ�สงั่ คณะกรรมการ กทพ. การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย (ค�ำ สงั่ กทพ. ท่ี 298/๒๕58 สัง่ ณ วนั ท่ี 23 ธ.ค. 58) ที่ 29/๒๕58 9. นางอุรวดี ชศู รี ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 รองผวู้ า่ การฝา่ ยบริหาร การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย (คำ�สัง่ กทพ. 12 ม.ค. 59-30 ก.ย. 59 2/3 ที่ 6/๒๕59 สั่ง ณ วันท่ี 14 ม.ค. 59) ตามคำ�สงั่ คณะกรรมการ กทพ. 10. นายวชิ าญ เอกรินทรากุล รองผวู้ า่ การฝา่ ยวิชาการ ที่ 29/๒๕58 การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย (คำ�สั่ง กทพ. ลงวนั ที่ 3 พ.ย. 58 ที่ 298/๒๕58 สง่ั ณ วันท่ี 23 ธ.ค. 58) 22 ต.ค. 58-22 ธ.ค. 59 1/1 ตามค�ำ ส่งั คณะกรรมการ กทพ. ที่ 29/๒๕58 ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 23 ธ.ค. 58-30 ก.ย. 59 2/3 - ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ กทพ. 1/3 - 1/3 - ที่ 29/๒๕58 ลงวนั ท่ี 3 พ.ย. 58 14 ม.ค. 59-30 ก.ย. 59 ตามค�ำ ส่งั คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 29/๒๕58 ลงวนั ที่ 3 พ.ย. 58 23 ธ.ค. 58-30 ก.ย. 59 ตามค�ำ สัง่ คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 29/๒๕58 ลงวนั ที่ 3 พ.ย. 58 54 รายงานประจำ�ปี 255๙
คณะกรรมการบริหารความเส่ยี ง (ต่อ) รายชือ่ /หนว่ ยงาน ตำ�แหนง่ ช่วงเวลา การเขา้ รว่ ม เบ้ียประชมุ กรรมการ ท่ดี �ำ รงตำ�แหน่ง ประชุม (คร้ัง) (บาท) 11. นายสุทธศิ ักดิ์ วรรธนวนิ ิจ กรรมการ - รองผวู้ า่ การฝา่ ยกฎหมายและกรรมสทิ ธทิ์ ดี่ นิ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 1/4 กรรมการ ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ กทพ. - การทางพิเศษแห่งประเทศไทย กรรมการ กรรมการและ ท่ี 29/๒๕58 1 2. นายดำ�เกิง ปานขำ� เลขานุการ ลงวนั ท่ี 3 พ.ย. 58 ผอู้ ำ�นวยการฝ่ายจดั เกบ็ ค่าผ่านทาง รกั ษาการในต�ำ แหนง่ รองผ้วู ่าการ 22 ต.ค. 58-22 ธ.ค. 59 0/1 ฝ่ายปฏิบตั ิการ ตามคำ�ส่ังคณะกรรมการ กทพ. การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย (คำ�ส่ัง กทพ. ท่ี 132/๒๕58 ส่ัง ณ วนั ที่ 15 ม.ิ ย. 58) ท่ี 29/๒๕58 ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 รองผวู้ ่าการฝ่ายปฏบิ ตั ิการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (คำ�ส่ัง กทพ. 23 ธ.ค. 58-30 ก.ย. 59 2/3 - ที่ 298/๒๕58 สงั่ ณ วนั ท่ี 23 ธ.ค. 58) ตามค�ำ สั่งคณะกรรมการ กทพ. 13. นางภานุมาตีฐต์ สมุทรครี ีจ์ ที่ 29/๒๕58 ผู้ชว่ ยผู้ว่าการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 (ค�ำ ส่ัง กทพ. ท่ี 298/๒๕58 สั่ง ณ วนั ท่ี 23 ธ.ค. 58) 23 ธ.ค. 58-30 ก.ย. 59 3/3 - ตามคำ�สัง่ คณะกรรมการ กทพ. 14. นางอ้อยอัจฉรา รงุ่ รตั นาอุบล ผ ูอ้ ำ�นวยการกองบรหิ ารความเส่ยี งและ ที่ 29/๒๕58 ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 ควบคุมภายใน การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 4/4 - ตามคำ�สงั่ คณะกรรมการ กทพ. ที่ 29/๒๕58 ลงวนั ท่ี 3 พ.ย. 58 ทม่ี า : กองบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2559 หมายเหต ุ เรียงล�ำ ดับรายชอื่ คณะกรรมการบริหารความเส่ยี ง ตามคำ�สั่งแตง่ ต้ังคณะกรรมการบรหิ ารความเสย่ี ง อำ�นาจหนา้ ทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารความเสยี่ ง 1. วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดความเสี่ยง และอาจกระทบต่อการปฏิบัติ ภารกิจของการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทยในทกุ ๆ ด้าน และก�ำ หนดนโยบายการบริหารความเสีย่ งโดยรวม เพ่อื ป้องกัน ควบคมุ และลดความเสย่ี งทอ่ี าจเกดิ ขึน้ ท้งั หมด เพือ่ ฝ่ายบริหารและพนักงานนำ�ไปปฏิบัติ 2. ก�ำ หนดกลยทุ ธก์ ารบรหิ ารความเสย่ี งใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายการบรหิ ารความเสยี่ ง และก�ำ กบั ดแู ลระบบ บรหิ ารความเส่ียงใหเ้ ป็นไปอยา่ งเหมาะสม เพียงพอ และมปี ระสทิ ธิภาพ เพอ่ื ให้มัน่ ใจว่าการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย มีการระบุ วิเคราะห์ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงอยู่ในระดับท่ีเหมาะสมและยอมรับได้ และเช่ือมโยงกับระบบ การควบคมุ ภายใน รวมท้ังมกี ารตดิ ตามประเมินผลการควบคมุ และการจดั การความเสีย่ งอย่างต่อเน่ือง 3. ทบทวนความเพียงพอ และความมีประสิทธิภาพของระบบบริหารความเส่ียง และนโยบายการบริหาร ความเสี่ยงโดยรวม รวมถึงความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติตามนโยบายท่ีกำ�หนด ตลอดจน ให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขเพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการบริหารความเส่ียงเพ่ือสร้างสรรค์คุณค่าให้แก่ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย 55รายงานประจำ�ปี 255๙
4. กำ�กับดูแลการจัดทำ�คู่มือและแผนการบริหารความเส่ียง และการทบทวนแผน รวมท้ังดูแล ติดตาม ประเมนิ ผลการบรหิ ารความเสยี่ ง ตลอดจนใหข้ อ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขเพอ่ื ใหแ้ ผนการจดั การความเสยี่ งสอดคลอ้ ง กบั นโยบายและกลยุทธท์ ก่ี ำ�หนด 5. ส่งเสริมให้มีการสื่อสารเกี่ยวกับการบริหารความเส่ียงทั่วทั้งองค์กร เพื่อสร้างความตระหนัก และ การร่วมรับผิดชอบบริหารความเส่ียงอย่างมีประสิทธิผลและคุ้มค่า ซ่ึงจะส่งผลให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหน่ึง ของวัฒนธรรมองค์กร และกิจกรรมประจำ�วันของทุกสว่ นงาน 6. ด�ำ เนนิ การใดๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการบรหิ ารความเสย่ี ง คณะกรรมการอิสระ ในปีงบประมาณ 2559 คณะกรรมการอิสระ ได้มีการประชุมรวมท้ังส้ิน 2 ครั้ง โดยมีรายชื่อ คณะกรรมการอิสระ จำ�นวนครง้ั ที่เข้าร่วมประชมุ และคา่ ตอบแทน (เบยี้ ประชุม) ดังน้ี รายช่ือ/หนว่ ยงาน ตำ�แหน่ง ชว่ งเวลา การเข้ารว่ ม เบ้ยี ประชุม ประธานกรรมการ ทีด่ ำ�รงต�ำ แหน่ง ประชมุ (ครง้ั ) (บาท) 1. พลอากาศเอก ยทุ ธนา สกุ มุ ลจันทร์ 25 ก.พ. 58 (ตามคำ�ส่ัง 25,000 (กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ )ิ กรรมการ คณะกรรมการ กทพ. 2/2 ข้าราชการบำ�นาญ 20,000 กรรมการ ที่ 3/๒๕58 2/2 2. ผ ชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ วเรศรา วรี ะวฒั น์ ลงวนั ที่ 2 มี.ค. 58) 10,000 (กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ) กรรมการ 25 ก.พ. 58 (ตามคำ�สั่ง อาจารย์ประจำ�ภาควิชาวิศวกรรม เลขานุการ คณะกรรมการ กทพ. อตุ สาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ที่ 3/๒๕58 ลงวันท่ี 2 ม.ี ค. 58) 3. นายพลากร หวั่งหลี (กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิ) 25 ก.พ. 58 (ตามค�ำ ส่งั 1/2 กรรมการผู้จดั การใหญ่และ คณะกรรมการ กทพ. ประธานเจ้าหน้าทบี่ รหิ ารของ ที่ 3/๒๕58 ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอรด์ (ไทย) ลงวันที่ 2 มี.ค. 58) จำ�กัด (มหาชน) 25 ก.พ. 58-19 พ.ค. 59 1/2 10,000 4. นายวฒุ ิพงศ์ วิบลู ยว์ งศ์ (ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ (กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ) อัยการอาวุโส กทพ. ท่ี 3/๒๕58 ลงวนั ที่ 2 มี.ค. 58) 5. น างวารีรตั น์ นติ ธิ าดากลุ ผู้อำ�นวยการกองกลาง 25 ก.พ. 58 (ตามค�ำ สง่ั 2/2 - และการประชมุ ส�ำ นกั ผ้วู า่ การ คณะกรรมการ กทพ. การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ท่ี 3/๒๕58 ลงวันท่ี 2 มี.ค. 58) ทมี่ า : กองกลางและการประชมุ ส�ำ นกั ผวู้ า่ การ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 255๙ หมายเหตุ อัตราเบ้ียประชุมเป็นไปตามมตคิ ณะรฐั มนตรเี มือ่ วันที่ 2 กรกฎาคม 2556 ดงั นี้ - กรรมการ ไดร้ บั เบยี้ ประชมุ คนละ 10,000 บาทตอ่ เดอื น ส�ำ หรบั ประธานกรรมการ ไดร้ บั สงู กวา่ กรรมการ รอ้ ยละ 25 และให้กรรมการเสยี ภาษีเงนิ ไดเ้ อง 56 รายงานประจำ�ปี 255๙
- กรณคี ณะกรรมการชดุ ยอ่ ย คณะอนกุ รรมการ คณะท�ำ งานอนื่ ทแี่ ตง่ ตงั้ โดยบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมาย มติ คณะรฐั มนตรหี รอื คณะกรรมการรฐั วสิ าหกจิ ใหไ้ ดร้ บั คา่ ตอบแทน ดงั น้ี กรณเี ปน็ กรรมการรฐั วสิ าหกจิ ใหไ้ ดร้ บั เบย้ี ประชมุ เปน็ รายครงั้ ในอตั ราเทา่ กบั เบยี้ ประชมุ กรรมการรฐั วสิ าหกจิ เฉพาะกรรมการทมี่ าประชมุ ทง้ั น้ี ใหก้ รรมการรฐั วสิ าหกจิ ได้ รบั เบย้ี ประชุมคณะกรรมการชุดย่อย คณะอนุกรรมการ คณะทำ�งานอ่ืน รวมแล้วไม่เกนิ 2 คณะ คณะละไม่เกนิ 1 คร้งั ตอ่ เดือน โดยประธานกรรมการไดร้ ับเบีย้ ประชมุ สูงกว่ากรรมการร้อยละ 25 และให้กรรมการเสยี ภาษีเงนิ ได้เอง อำ�นาจหน้าที่คณะกรรมการอิสระ 1. ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามหลักการและแนวทางกำ�กับดูแลท่ีดีในรัฐวิสาหกิจปี 2552 หมวดท่ี 3 ความรับผดิ ชอบของคณะกรรมการ 2. ใชด้ ลุ พนิ จิ ทเี่ ปน็ อสิ ระของตนในการตดั สนิ ใจเชงิ กลยทุ ธ์ และสามารถผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การปรบั เปลยี่ นหรอื ยับยัง้ การดำ�เนินการตา่ ง ๆ ไดเ้ ม่อื จำ�เป็น เพอ่ื ประโยชน์ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย 3. ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยมอบหมาย โดยจะต้องไม่มีผลต่อ การปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอย่างเป็นอิสระ คณะอนกุ รรมการกล่ันกรองและพจิ ารณาเสนอเร่ืองตอ่ คณะกรรมการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ในปีงบประมาณ ๒๕59 คณะอนุกรรมการกลั่นกรองและพิจารณาเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการ กทพ. ได้มีการประชุมรวมท้ังสิ้น 12 คร้ัง โดยมีรายชื่อคณะอนุกรรมการฯ จำ�นวนครั้งท่ีเข้าร่วมประชุม และค่าตอบแทน (เบย้ี ประชุม) ดังน้ี รายช่อื /หนว่ ยงาน ตำ�แหน่ง ชว่ งเวลา การเข้าร่วม เบีย้ ประชมุ 1. พ ลเอก ชวลติ ชุนประสาน ประธาน ทด่ี ำ�รงตำ�แหนง่ ประชมุ (ครัง้ ) (บาท) อนุกรรมการ 28 ก.พ. 58-30 ก.ย. 59 45,000 ผทู้ รงคุณวุฒิพิเศษกองทพั บก อนุกรรมการ แตง่ ตงั้ ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ 12/12 กทพ. ที่ 13/๒๕58 36,000 2. พลโท ไชยพร รัตแพทย์ อนกุ รรมการ ลงวนั ท่ี 2 มี.ค. 58 12/12 ผทู้ รงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก 28 ก.พ. 58-30 ก.ย. 59 33,000 อนุกรรมการ แตง่ ตงั้ ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ 11/12 3. พ นั เอก สรุ นาท สบายรูป กทพ. ที่ 13/๒๕58 30,000 ฝา่ ยเสนาธกิ ารประจ�ำ ผบู้ งั คบั บญั ชา เลขานุการ ลงวนั ท่ี 2 มี.ค. 58 10/12 28 ก.พ. 58-30 ก.ย. 59 - 4. พ ันเอก ประวัติ สหกจิ แตง่ ตงั้ ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ 12/12 รองผอู้ ำ�นวยการ กทพ. ท่ี 13/๒๕58 กองกรมส่งกำ�ลังบ�ำ รงุ ทหารบก ลงวันที่ 2 ม.ี ค. 58 1 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 5. นางเบญจมาส ปยิ โชติสกุ ิจ แตง่ ตงั้ ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักผวู้ า่ การ กทพ. ที่ 25/๒๕58 การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย ลงวันท่ี 12 ต.ค. 58 28 ก.พ. 58-30 ก.ย. 59 แตง่ ตงั้ ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 13/๒๕58 ลงวนั ท่ี 2 ม.ี ค. 58 57รายงานประจำ�ปี 255๙
คณะอนุกรรมการกลนั่ กรองและพจิ ารณาเสนอเรือ่ งตอ่ คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ต่อ) รายชื่อ/หน่วยงาน ตำ�แหน่ง ช่วงเวลา การเขา้ รว่ ม เบีย้ ประชุม ผชู้ ่วยเลขานุการ ทดี่ ำ�รงตำ�แหนง่ ประชุม (ครงั้ ) (บาท) 6. น างวารรี ัตน์ นติ ิธาดากุล ผู้อ�ำ นวยการกองกลางและ 28 ก.พ. 58-30 ก.ย. 59 11/12 - การประชมุ สำ�นกั ผู้ว่าการ แตง่ ตง้ั ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย กทพ. ท่ี 13/๒๕58 ลงวันท่ี 2 มี.ค. 58 ทม่ี า : กองกลางและการประชมุ ส�ำ นกั ผวู้ า่ การ ข้อมลู ณ วันที่ 30 กนั ยายน 255๙ อำ�นาจหน้าที่คณะอนุกรรมการกล่ันกรองและพิจารณาเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการการทางพิเศษ แห่งประเทศไทย จดั ท�ำ ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะเรอ่ื งท่ีจะนำ�เสนอคณะกรรมการการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการประสานงานการบรหิ ารการจราจรในทางพิเศษ รายช่อื /หนว่ ยงาน ตำ�แหน่ง ช่วงเวลา การเขา้ รว่ ม เบย้ี ประชุม 1. พลต�ำ รวจตรี สุรเชษฐ์ หกั พาล ประธาน ท่ดี ำ�รงตำ�แหน่ง ประชมุ (ครงั้ ) (บาท) อนกุ รรมการ ผู้บังคบั การตำ�รวจทอ่ งเที่ยว อนุกรรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 5/5 62,500 2. นายชูศกั ดิ์ เกวี อนกุ รรมการ ตามคำ�ส่งั คณะกรรมการ กทพ. อนุกรรมการ ผ้ตู รวจราชการกระทรวงคมนาคม อนกุ รรมการ ที่ 34/2558 3. พลเอก ไชยพร รัตแพทย์ อนุกรรมการ ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 อนุกรรมการ 4. พลตำ�รวจตรี อดลุ ย์ ณรงคศ์ กั ด์ิ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 4/5 40,000 ตามค�ำ สงั่ คณะกรรมการ กทพ. 5. นายณรงค์ เขยี ดเดช ผวู้ ่าการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ท่ี 34/2558 ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 6. นายสุชาติ ชลศักด์ิพพิ ฒั น์ รองผวู้ า่ การฝา่ ยก่อสร้างและบ�ำ รงุ รักษา 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 4/5 12,000 การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ตามค�ำ สั่งคณะกรรมการ กทพ. 7. นายสทุ ธิศกั ดิ์ วรรธนวินจิ ที่ 34/2558 รองผูว้ ่าการฝ่ายกฎหมายและกรรมสทิ ธิท์ ่ดี ิน ลงวนั ที่ 3 พ.ย. 58 การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 1/5 3,000 58 รายงานประจ�ำ ปี 255๙ ตามคำ�สั่งคณะกรรมการ กทพ. ที่ 34/2558 ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 3/5 30,000 ตามคำ�สง่ั คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 34/2558 ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 3/5 - ตามคำ�สงั่ คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 34/2558 ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 2/5 - ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ กทพ. ที่ 34/2558 ลงวันที่ 3 พ.ย. 58
คณะอนุกรรมการประสานงานการบริหารการจราจรในทางพเิ ศษ (ตอ่ ) รายชอื่ /หน่วยงาน ตำ�แหนง่ ชว่ งเวลา การเขา้ ร่วม เบ้ียประชมุ 8. นายด�ำ เกงิ ปานขำ� อนุกรรมการ ที่ด�ำ รงตำ�แหน่ง ประชุม (ครงั้ ) (บาท) 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 - รองผวู้ ่าการฝา่ ยปฏิบตั ิการ อนุกรรมการ ตามคำ�ส่งั คณะกรรมการ กทพ. 5/5 การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ท่ี 34/2558 - 9. ผู้บงั คบั การต�ำ รวจจราจร ผู้แทนส�ำ รอง ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 - ผู้แทนสำ�รอง 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 9,000 พันตำ�รวจเอก ภษู ติ วิเศษคามินทร์ อนุกรรมการ ตามคำ�สง่ั คณะกรรมการ กทพ. 3/5 3,000 พนั ตำ�รวจโท ชำ�นาญ ตรีเนตร ที่ 34/2558 1/5 10. ผบู้ ังคบั การต�ำ รวจภธู รจงั หวดั นนทบุรี ผูแ้ ทนส�ำ รอง ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 - - ผ้แู ทนส�ำ รอง พันตำ�รวจโท อัครารัฐ สพุ านชิ วราภาชน์ อนกุ รรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 4/5 12,000 พนั ตำ�รวจเอก ธวัชชยั นาคฤทธ์ิ ตามคำ�ส่ังคณะกรรมการ กทพ. 1/5 3,000 11. ผบู้ งั คบั การต�ำ รวจภธู รจงั หวดั สมทุ รปราการ ผแู้ ทนส�ำ รอง 3/5 9,000 ผู้แทนสำ�รอง ที่ 34/2558 พันต�ำ รวจเอก พลั ลภ แอรม่ หลา้ อนุกรรมการ ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 1/5 3,000 พนั ตำ�รวจโท พงษ์ธรรศ เจริญปรัชญาพงษ์ 1/5 3,000 12. พนั ต�ำ รวจเอก ขจรเกยี รติ ศรพิ ันธุ์ ผู้แทนส�ำ รอง 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 4/5 12,000 ผกู้ ำ�กับการ 2 กองบงั คับการต�ำ รวจจราจร อนุกรรมการ ตามคำ�สั่งคณะกรรมการ กทพ. 1/5 3,000 พันตำ�รวจโท เจษฎา ยางนอก ผู้แทนส�ำ รอง ที่ 34/2558 - - 13. ผแู้ ทนส�ำ นกั งานนโยบายและแผนการขนสง่ อนกุ รรมการ ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 3/5 9,000 และจราจร ผู้แทนสำ�รอง 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 - - ผแู้ ทนส�ำ รอง ตามค�ำ สั่งคณะกรรมการ กทพ. นายสุจนิ ต์ ทยานุกลู ผแู้ ทนสำ�รอง 1/5 3,000 14. ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นักการจราจรและขนสง่ ผแู้ ทนส�ำ รอง ที่ 34/2558 2/5 6,000 ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 1/5 3,000 กรุงเทพมหานคร หรอื ผู้แทน 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 1/5 3,000 ตามคำ�สง่ั คณะกรรมการ กทพ. นายชาตรี เหล่าสมาธิกุล นายโอราฬ ยอดสูงเนนิ ท่ี 34/2558 นายสมชาย เดชากรณ์ ลงวนั ที่ 3 พ.ย. 58 นายทองดี เนอื้ แก่น 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 ตามค�ำ สั่งคณะกรรมการ กทพ. ท่ี 34/2558 ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 59รายงานประจ�ำ ปี 255๙
คณะอนุกรรมการประสานงานการบริหารการจราจรในทางพเิ ศษ (ต่อ) รายชื่อ/หน่วยงาน ต�ำ แหน่ง ชว่ งเวลา การเข้ารว่ ม เบย้ี ประชมุ 15. พันตำ�รวจโท กมั ปนาท เศรษฐ์ฤทธกิ ลุ ที่ดำ�รงตำ�แหนง่ ประชุม (ครงั้ ) (บาท) หวั หน้าสถานีตำ�รวจทางดว่ น 1 อนกุ รรมการ 13 ม.ค. 59-30 ก.ย. 59 3/5 9,000 16. นายสมบตั ิ สรุ ะประสทิ ธิ์ ตามค�ำ สั่งคณะกรรมการ กทพ. ผอู้ ำ�นวยการฝ่ายบ�ำ รงุ รกั ษา การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ที่ 2/2559 ลงวนั ท่ี 9 ก.พ. 59 17. นายสมพร โสมะบถ ผ้อู ำ�นวยการฝา่ ยจดั เกบ็ คา่ ผา่ นทาง อนกุ รรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 1/5 - การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ตามคำ�สง่ั คณะกรรมการ กทพ. 18. นายนนทจติ ต์ บ่างสมบูรณ์ ที่ 34/2558 ผอู้ ำ�นวยการกองวางแผนปฏบิ ัตกิ าร ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย อนกุ รรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 1/5 - 19. นายศกั ดดิ์ า พรรณไวย ตามคำ�ส่ังคณะกรรมการ กทพ. ผู้อ�ำ นวยการกองวิจัยและพฒั นาวิศวกรรม ระบบทางพเิ ศษ ที่ 34/2558 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 20. นายสุรศักด์ิ กาญจนไวกณู ฐ์ อนุกรรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 5/5 - ผอู้ �ำ นวยการฝ่ายควบคุมการจราจร ตามคำ�สัง่ คณะกรรมการ กทพ. การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ท่ี 34/2558 21. ผู้อ�ำ นวยการกองจดั การจราจร ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 4/5 - 22. นายพงษก์ รณ์ ธนโชคพนั ธช์ ยั ตามคำ�สงั่ คณะกรรมการ กทพ. หวั หน้าแผนกจัดการจราจร 2 ท่ี 34/2558 ลงวนั ท่ี 3 พ.ย. 58 อนุกรรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 5/5 - และ ตามค�ำ สงั่ คณะกรรมการ กทพ. เลขานกุ าร ท่ี 34/2558 ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58 อนกุ รรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 - - และ ตามค�ำ สั่งคณะกรรมการ กทพ. ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ท่ี 34/2558 ลงวันที่ 3 พ.ย. 58 อนกุ รรมการ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 3/5 - และ ตามค�ำ สงั่ คณะกรรมการ กทพ. ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ท่ี 34/2558 ลงวนั ท่ี 3 พ.ย. 58 ทมี่ า : กองจดั การจราจร ฝา่ ยควบคมุ การจราจร ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2559 อำ�นาจหนา้ ท่คี ณะอนุกรรมการประสานงานการบริหารการจราจรในทางพเิ ศษ 1. กำ�หนดมาตรการและแนวทางการแก้ไขปัญหาการจราจรในทางพิเศษ บริเวณทางร่วม ทางแยก บริเวณหน้าดา่ นเกบ็ คา่ ผ่านทางพิเศษ และบริเวณทางขน้ึ -ลง 2. ปรับปรุงและนำ�เทคโนโลยีมาพัฒนาระบบการจัดการจราจรบนทางพิเศษให้มีความสอดคล้องกับ ระบบการจดั การพ้นื ท่โี ดยรอบทางขน้ึ -ลงทางพเิ ศษ เพื่อบรรเทาปญั หาการจราจรคับคง่ั บริเวณทางขึ้น-ลงทางพิเศษ 60 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
3. ประสานงานกับหน่วยงานอ่ืนหรือบุคคลอื่นท่ีเก่ียวข้อง ให้รับทราบถึงมาตรการและแนวทางการแก้ไข ปัญหาการจราจรของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เพื่อดำ�เนินการให้ผู้ใช้ทางพิเศษสามารถออกจากทางพิเศษได้ ในระยะเวลาทเี่ หมาะสม 4. เรง่ รดั และติดตามผลการด�ำ เนนิ งานในการแก้ไขปัญหาการจราจรในทางพเิ ศษ 5. ปฏิบัติงานหรอื ด�ำ เนินการอ่ืนใดตามที่คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยมอบหมาย คณะกรรมการกำ�กับการติดตามตรวจสอบและการปฏิบัติตามมาตรการด้านส่ิงแวดล้อม ช่วงดำ�เนินการ กอ่ สรา้ งโครงการทางพิเศษสายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รายชอื่ /หนว่ ยงาน ต�ำ แหน่ง ช่วงเวลา การเขา้ ร่วม เบย้ี ประชุม ทีด่ �ำ รงต�ำ แหนง่ ประชมุ (ครั้ง) (บาท) 1. นายณรงค์ เขยี ดเดช ประธานกรรมการ ๑๓ ม.ค. 5๙- - ผวู้ า่ การการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย 30 ก.ย. 59 - - 2๘ ธ.ค. 58- ๒/๓ ๒,000 2. นายสชุ าติ ชลศกั ดิพ์ ิพัฒน์ กรรมการ 30 ก.ย. 59 ๒/๓ รองผู้ว่าการฝ่ายก่อสร้างและบ�ำ รงุ รกั ษา - การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ๑ ต.ค. 58- - 30 ก.ย. 59 3,000 3. นายเริงศกั ด์ิ ทองสม กรรมการ ๓/๓ ผ้เู ชีย่ วชาญเฉพาะดา้ นวเิ คราะหน์ โยบาย ๑ ต.ค. 58- - และแผน (ด้านพัฒนาระบบการขนส่ง) 30 ก.ย. 59 - - สำ�นักพัฒนาระบบการขนสง่ และจราจร - - ๑ ต.ค. 58- - ส�ำ นกั งานนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร 30 ก.ย. 59 - - นายภษู ติ ชัยฤทธ์ิพงศ์ ผ้แู ทนสำ�รอง ๑ ต.ค. 58- นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำ�นาญการ 30 ก.ย. 59 สำ�นกั พฒั นาระบบการขนส่งและจราจร ๑ ต.ค. 58- 30 ก.ย. 59 ส �ำ นกั งานนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร ๑ ต.ค. 58- 30 ก.ย. 59 4. นายอนันต์ เจนงามกุล กรรมการ วศิ วกรอำ�นวยการศนู ย์บรหิ ารโครงการพิเศษ ๑ ๑ ต.ค. 58- ฝา่ ยโครงการพเิ ศษและก่อสรา้ ง 30 ก.ย. 59 การรถไฟแห่งประเทศไทย 5. รองผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั การโยธา กรรมการ กรุงเทพมหานคร นายวชั รนิ ทร์ บรรพต ผู้แทนสำ�รอง ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั งานออกแบบ ส�ำ นักการโยธา กรุงเทพมหานคร นายธวชั ชยั นภาศกั ด์ศิ รี ผูแ้ ทนสำ�รอง วศิ วกรโยธาช�ำ นาญการพเิ ศษ สำ�นักงานออกแบบ สำ�นักการโยธา กรงุ เทพมหานคร นายประสิทธ์ิ สถาปนฤทธิ์ ผแู้ ทนสำ�รอง วศิ วกรโยธาชำ�นาญการพิเศษ ส�ำ นกั งานออกแบบ ส�ำ นักการโยธา กรงุ เทพมหานคร 61รายงานประจ�ำ ปี 255๙
คณะกรรมการก�ำ กบั การตดิ ตามตรวจสอบและการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ชว่ งด�ำ เนนิ การกอ่ สรา้ งโครงการทางพเิ ศษ สายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร (ต่อ) รายช่อื /หน่วยงาน ต�ำ แหน่ง ชว่ งเวลา การเขา้ ร่วม เบ้ยี ประชุม ท่ดี ำ�รงตำ�แหนง่ ประชมุ (ครั้ง) (บาท) 6. ดร. กาญจนา นติ ยะ กรรมการ ๑,000 ผู้อำ�นวยการส�ำ นกั ทรพั ยากรธรรมชาติ กรรมการ ๑ ต.ค. 58- ๑/๓ และสิง่ แวดล้อม จงั หวัดนนทบุรี ผแู้ ทนส�ำ รอง 30 ก.ย. 59 ผ้แู ทนสำ�รอง 7. ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นกั วิเคราะหผ์ ลกระทบ ผู้แทนส�ำ รอง ๑ ต.ค. 58- - - สิ่งแวดลอ้ ม กรรมการ 30 ก.ย. 59 ผู้แทนสำ�รอง ส�ำ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติ ผู้แทนสำ�รอง ๑ ต.ค. 58- - - และสง่ิ แวดล้อม กรรมการ 30 ก.ย. 59 กรรมการ นางอินทริ า เอ้ือมลฉัตร กรรมการ ๑ ต.ค. 58- 2/๓ ๒,000 นักวชิ าการสิ่งแวดล้อมชำ�นาญการพเิ ศษ 30 ก.ย. 59 ส �ำ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติ ๑ ต.ค. 58- ๑/๓ ๑,000 และสิ่งแวดลอ้ ม 30 ก.ย. 59 นายพรี พล เดชะชาติ ๑ ต.ค. 58- - - นักวิชาการส่ิงแวดล้อมช�ำ นาญการพิเศษ 30 ก.ย. 59 2/๓ ๒,000 ๑ ต.ค. 58- ส�ำ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติ 30 ก.ย. 59 และสิ่งแวดลอ้ ม ๑ ต.ค. 58- - - นางไรวินท์ ชมภกู ุล 30 ก.ย. 59 นักวชิ าการส่ิงแวดลอ้ มชำ�นาญการ ๒๙ ส.ค. 5๙- 1/๑ 1,000 ส �ำ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติ 30 ก.ย. 59 2/2 ๒,000 และส่งิ แวดลอ้ ม ๑ ต.ค. 58- - ๒๘ ส.ค. 59 - 8. นายเถลิงศักด์ิ เพช็ รสุวรรณ ๑ ต.ค. 58- ผ้เู ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นการจัดการคณุ ภาพ 30 ก.ย. 59 อากาศและเสียง กรมควบคมุ มลพษิ นางนภิ าภรณ์ ใจแสน นักวิชาการสง่ิ แวดล้อมชำ�นาญการพิเศษ ส�ำ นักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพษิ นางสาวพิจติ รา เกยี รตไิ กรรตั น์ นักวิชาการสิง่ แวดลอ้ มช�ำ นาญการ สำ�นกั จัดการคณุ ภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพษิ 9. นายดนัย หงสุรพนั ธ์ เลขานุการกรม ส�ำ นกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภค รอ้ ยตรี ไพโรจน์ คนึงทรพั ย์ เลขานุการกรม สำ�นักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค 10. ผู้แทนสถาบนั ส่ิงแวดล้อม** 62 รายงานประจำ�ปี 255๙
คณะกรรมการก�ำ กบั การตดิ ตามตรวจสอบและการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ชว่ งด�ำ เนนิ การกอ่ สรา้ งโครงการทางพเิ ศษ สายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร (ตอ่ ) รายช่อื /หนว่ ยงาน ตำ�แหนง่ ช่วงเวลา การเข้ารว่ ม เบีย้ ประชมุ กรรมการ ที่ดำ�รงตำ�แหนง่ ประชุม (ครั้ง) (บาท) 11. ผแู้ ทนสมาคมนกั ข่าวนักหนังสอื พิมพแ์ ห่ง กรรมการ - ประเทศไทย** กรรมการ ๑ ต.ค. 58- - กรรมการ 30 ก.ย. 59 1,000 12. นายไพบลู ย์ อรณุ มิตร กรรมการ ๑ ต.ค. 58- 1/๓ นายช่างสำ�รวจช�ำ นาญงาน กรรมการ 30 ก.ย. 59 ส�ำ นักงานเขตจตุจตั ร กรรมการ กรรมการ ๑ ต.ค. 58- ๒/๓ ๒,000 13. นายบัญชา สืบกระพัน กรรมการ 30 ก.ย. 59 สถาปนกิ ช�ำ นาญการ ฝา่ ยโยธา ผู้แทนส�ำ รอง ส�ำ นักงานเขตบางซือ่ กรรมการ ๑ ต.ค. 58- ๓/๓,000 กรรมการและ 30 ก.ย. 59 14. นายวินยั ระวังงาน เลขานกุ าร นักจดั การงานโยธาช�ำ นาญการพเิ ศษ ๑ ต.ค. 58- - - หัวหน้าฝ่ายโยธา สำ�นกั งานเขตบางพลดั 30 ก.ย. 59 15. นายสุธน สวุ รรณภานนท์ ๑ ต.ค. 58- 1/๓ 1,000 วศิ วกรโยธาช�ำ นาญการพิเศษ 30 ก.ย. 59 หัวหน้าฝา่ ยโยธา ส�ำ นักงานเขตตลงิ่ ชนั ๑ ต.ค. 58- ๓/๓,000 16. นายการณุ ฤทธิคง 30 ก.ย. 59 นายช่างโยธาช�ำ นาญงาน ฝ่ายโยธา ส�ำ นกั งานเขตทววี ฒั นา ๑ ต.ค. 58- 2/๓ ๒,000 30 ก.ย. 59 - - 17. นายกติ ินนั ท์ สุภาเส ๑ ต.ค. 58- - - วศิ วกรโยธาชำ�นาญการ ฝ่ายโยธา 30 ก.ย. 59 ๑ ต.ค. 58- สำ�นกั งานเขตบางกอกน้อย 30 ก.ย. 59 18. นางสาวสาวิตรี จา่ พันธ์ุ ๑ ต.ค. 58- - - ปลดั อำ�เภอ อ�ำ เภอบางบัวทอง 30 ก.ย. 59 19. ผ้บู งั คบั การต�ำ รวจจราจร ๙ ม.ี ค. 5๙- 2/๒ - กองบญั ชาการต�ำ รวจนครบาล 30 ก.ย. 59 พันต�ำ รวจเอก ธรี ศกั ดิ์ สุรวิ งศ์ รองผบู้ ังคับการ กองบงั คับการต�ำ รวจจราจร กองบญั ชาการต�ำ รวจนครบาล 20. รองศาสตราจารย์ ดร. โสภารตั น์ จารสุ มบตั ิ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ๒๑. นายพุฒิกญั จน์ กาญจนะพงั คะ ผ้อู ำ�นวยการฝา่ ยก่อสรา้ งทางพเิ ศษ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย 63รายงานประจ�ำ ปี 255๙
คณะกรรมการก�ำ กบั การตดิ ตามตรวจสอบและการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ชว่ งด�ำ เนนิ การกอ่ สรา้ งโครงการทางพเิ ศษ สายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร (ตอ่ ) รายชอ่ื /หนว่ ยงาน ต�ำ แหนง่ ช่วงเวลา การเขา้ ร่วม เบ้ยี ประชุม กรรมการและ ท่ีด�ำ รงตำ�แหนง่ ประชมุ (ครั้ง) (บาท) ๒๒. นายพุฒกิ ัญจน์ กาญจนะพงั คะ ผู้ชว่ ยเลขานุการ - ผอู้ ำ�นวยการกองวิศวกรรมทางด่วน ๒ ๑ ต.ค. 58- ๑/๑ ฝ่ายกอ่ สร้างทางพเิ ศษ ๘ มี.ค. 59 การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ๙ ม.ี ค. 5๙- - - ผ้อู �ำ นวยการกองวศิ วกรรมทางดว่ น ๒* 30 ก.ย. 59 ฝ่ายกอ่ สร้างทางพิเศษ การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ทีม่ า : ฝา่ ยกอ่ สรา้ งทางพเิ ศษ ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2559 หมายเหตุ * ยงั ไมม่ กี ารแต่งตั้ง ** ไม่สง่ ผ้แู ทนเขา้ รว่ มเป็นกรรมการ อำ�นาจหน้าท่ีคณะกรรมการกำ�กับการติดตามตรวจสอบและการปฏิบัติตามมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม ช่วงดำ�เนินการก่อสรา้ งโครงการทางพิเศษสายศรีรชั -วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร 1. กำ�กับดูแลและติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการด้านส่ิงแวดล้อมของโครงการทางพิเศษ สายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ตามท่ีเสนอไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อมโครงการ ศึกษาและออกแบบทางด่วนสายทดแทนโครงการทางด่วนสายพญาไท-พุทธมณฑล บนเขตทางของการรถไฟ แหง่ ประเทศไทยสายบางซอ่ื -พระราม ๖ เชือ่ มโยงถนนบรมราชชนนี 2. รายงานผลการกำ�กับดูแลและติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการ ทางพิเศษสายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครใหค้ ณะกรรมการ กทพ. ทราบเปน็ ระยะ คณะกรรมการก�ำ กับดแู ลโครงการทางพเิ ศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร รายช่อื /หน่วยงาน ต�ำ แหนง่ ช่วงเวลา การเขา้ รว่ ม เบย้ี ประชมุ ที่ดำ�รงต�ำ แหนง่ ประชุม (คร้ัง) (บาท) 1. นายพรี ะพล ถาวรสุภเจริญ ประธานกรรมการ ๓๐,000 รองปลัดกระทรวงคมนาคม ๑ ต.ค. 58- ๓/๓ 30 ก.ย. 59 ๑๖,000 หวั หน้ากลุ่มภารกจิ การพฒั นา ๒/๓ - โครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นทางหลวง ๑ ต.ค. 58- ๑/๓ - 30 ก.ย. 59 ๑/๓ 2. นายภูมิศักดิ์ อรัญญาเกษมสขุ กรรมการ ๑ ต.ค. 58- ผ้อู ำ�นวยการกองพัฒนารัฐวสิ าหกิจ ๑ 30 ก.ย. 59 ๑ ต.ค. 58- ส�ำ นกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ (สคร.) 30 ก.ย. 59 นายพทิ ย อุทยั สาง ผู้แทนสำ�รอง นกั วิเคราะหร์ ัฐวิสาหกิจชำ�นาญการพเิ ศษ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ (สคร.) นางสาวสกุลเพชร เพชรดี ผูแ้ ทนส�ำ รอง นกั วเิ คราะหร์ ัฐวสิ าหกจิ ช�ำ นาญการ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ (สคร.) 64 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
คณะกรรมการก�ำ กับดูแลโครงการทางพิเศษสายศรรี ัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร (ต่อ) รายช่ือ/หน่วยงาน ตำ�แหน่ง ช่วงเวลา การเข้ารว่ ม เบ้ยี ประชมุ กรรมการ ท่ีดำ�รงต�ำ แหน่ง ประชมุ (ครัง้ ) (บาท) 3. นายณัฐวุฒิ สกลุ พานิช ๒๔,000 รองอธิบดอี ยั การ สำ�นักงานคดที รัพยส์ นิ ๑ ต.ค. 58- ๓/๓ ทางปัญญาและการค้าระหวา่ งประเทศ 30 ก.ย. 59 ส�ำ นกั งานอยั การสูงสดุ กรรมการ ๑ ต.ค. 58- ๑/๓ ๘,000 4. นายจุฬา สขุ มานพ ผู้ทรงคณุ วุฒิ 30 ก.ย. 59 ๑/๑ ๘,000 อธบิ ดกี รมทา่ อากาศยาน กรรมการ ๑ ต.ค. 58- 5. นายนคร จันทศร* ผู้ทรงคณุ วุฒิ 30 ก.ย. 59 ทีป่ รึกษาผ้อู �ำ นวยการ ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และ กรรมการ ๑ ต.ค. 58- ๓/๓ ๒๔,000 ผูท้ รงคณุ วุฒิ 30 ก.ย. 59 ๒/๓ ๑๖,000 เทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) กรรมการ ๑ ต.ค. 58- 6. นาวาอากาศเอก จิรพล เกือ้ ด้วง ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 30 ก.ย. 59 ๓/๓ ๒๔,000 - - ผู้วา่ การสถาบนั การบินพลเรือน กรรมการและ ๑๓ ม.ค. 5๙- ๒/๒ - 7. นายสมศกั ด์ิ ห่มม่วง เลขานกุ าร 30 ก.ย. 59 ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร ๑ ต.ค. 58- ๑/๑ - ผตู้ รวจราชการ ๗ พ.ย. 5๘ กระทรวงคมนาคม ๑๐ มี.ค. 5๙- 8. นายณรงค์ เขียดเดช 30 ก.ย. 59 ผูว้ ่าการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย นายอยั ยณฐั ถินอภัย ๑ ต.ค. 58- ผู้ว่าการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ๙ ม.ี ค. 59 9. นายพงศ์โสภณ ครุ รุ ัตน์ชยั กุล ผูอ้ �ำ นวยการฝา่ ยกฎหมาย ผูช้ ่วยเลขานกุ าร ๑๐ มี.ค. 5๙- ๒/๒ - การทางพิเศษแห่งประเทศไทย 30 ก.ย. 59 นายวรปรัชญ์ พ้องพงศ์ศรี ผูอ้ �ำ นวยการกองคดี รกั ษาการในตำ�แหนง่ ที่มา : ฝ่ายก่อสรา้ งทางพเิ ศษ ผ้อู ำ�นวยการฝ่ายกฎหมาย ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2559 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ๑๐. นายพฒุ กิ ัญจน์ กาญจนะพังคะ ผู้อ�ำ นวยการฝา่ ยกอ่ สร้างทางพิเศษ การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย หมายเหตุ * นายนคร จนั ทศร (กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ) ขอลาออกจากการเป็นกรรมการตั้งแตเ่ ดือนมนี าคม ๒๕๕๙ เป็นต้นไป 65รายงานประจำ�ปี 255๙
อ�ำ นาจหน้าที่คณะกรรมการกำ�กบั ดูแลโครงการทางพเิ ศษสายศรีรชั -วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร 1. ติดตามกำ�กับดูแลโครงการให้มีการดำ�เนินงานตามท่ีกำ�หนดในสัญญาร่วมลงทุน แผนการปฏิบัติตาม สญั ญาร่วมลงทุน และแผนการจัดการแกไ้ ขปญั หาทีอ่ าจเกดิ ขึน้ จากการดำ�เนินโครงการ 2. พิจารณาเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการดำ�เนินโครงการต่อหน่วยงาน เจ้าของโครงการ โดยอาจกำ�หนดให้หน่วยงานเจ้าของโครงการว่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหา ในการด�ำ เนนิ โครงการและจัดทำ�แผนการจดั การแกไ้ ขปญั หาทอี่ าจเกดิ ข้ึนจากการดำ�เนนิ โครงการได้ ๓. เรียกหนว่ ยงานเจ้าของโครงการหรือเอกชนคู่สญั ญาเขา้ ชแี้ จงหรอื จัดสง่ ขอ้ มูลหรอื เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง ๔. รายงานผลการดำ�เนินงาน ความคืบหน้า ปัญหา และแนวทางการแก้ไขต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคม เพ่ือทราบอย่างน้อยหกเดือนต่อหนึ่งครั้ง และให้ส่งสำ�เนารายงานและเอกสารที่เกี่ยวข้องไปยัง ส�ำ นกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ๕. พิจารณาแก้ไขสัญญาร่วมลงทุนตามหมวด ๗ ของพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการ ของรฐั พ.ศ. ๒๕๕๖ คณะอนุกรรมการกำ�หนดยทุ ธศาสตร์เพื่อพฒั นาการให้บริการระบบเก็บคา่ ผ่านทางพิเศษอตั โนมตั ิ รายชอ่ื /หน่วยงาน ตำ�แหน่ง ช่วงเวลา การเขา้ ร่วม เบ้ียประชมุ ที่ด�ำ รงต�ำ แหนง่ ประชุม (ครัง้ ) (บาท) 1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ วเรศรา วรี ะวฒั น์ ประธาน 25 ก.พ. 58- อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาวิศวกรรม อนุกรรมการ 30 ก.ย. 59 2/2 12,500 อตุ สาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ อนุกรรมการ มหาวิทยาลัยมหิดล 25 ก.พ. 58- 1/2 10,000 อนกุ รรมการ 30 ก.ย. 59 2. นายพลากร หวัง่ หลี อนกุ รรมการ - ประธานเจา้ หน้าทีบ่ ริหาร อนุกรรมการ 25 ก.พ. 58- - - 30 ก.ย. 59 - ประจ�ำ ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) 22 ต.ค. 58- 3,000 จ�ำ กัด (มหาชน) และสำ�นักงานตัวแทน 30 ก.ย. 59 2/2 3,000 2/2 3,000 3. นายชูศกั ดิ์ เกวี 22 ต.ค. 58- 2/2 3,000 ผูต้ รวจราชการกระทรวงคมนาคม 30 ก.ย. 59 2/2 10,000 25 ก.พ. 58- 1/2 4. นางสาวบณั ฑรโฉม แก้วสอาด 30 ก.ย. 59 1/2 - ท่ปี รึกษาด้านเศรษฐกจิ การคลัง 25 ก.พ. 58- ส�ำ นักงานเศรษฐกิจการคลงั 30 ก.ย. 59 8 เม.ย. 58- 5. พนั เอก กรัณย์ สถิตยทุ ธการ 30 ก.ย. 59 13 ม.ค. 59- 6. พันเอก สรุ นาท สบายรปู อนกุ รรมการ 30 ก.ย. 59 14 ม.ค. 59- 7. นายพรชัย ชันยากร อนุกรรมการ 30 ก.ย. 59 8. นางสาวนุชจรี เอย่ี มวริ ยิ ะกุล อนกุ รรมการ 9. นายณรงค์ เขียดเดช อนุกรรมการ ผวู้ า่ การการทางพิเศษแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ 10. นางอุรวดี ชูศรี รองผ้วู า่ การฝา่ ยบรหิ าร 66 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
คณะอนุกรรมการกำ�หนดยุทธศาสตร์เพือ่ พฒั นาการให้บรกิ ารระบบเก็บคา่ ผา่ นทางพิเศษอตั โนมตั ิ (ตอ่ ) รายชือ่ /หน่วยงาน ต�ำ แหนง่ ช่วงเวลา การเข้ารว่ ม เบีย้ ประชุม อนกุ รรมการ ที่ด�ำ รงตำ�แหน่ง ประชุม (ครั้ง) (บาท) 11. นายด�ำ เกงิ ปานข�ำ อนุกรรมการ 15 ม.ิ ย. 58- - รองผวู้ า่ การฝ่ายปฏบิ ตั ิการ อนุกรรมการ 30 ก.ย. 59 2/2 - อนกุ รรมการ 1/1 - 12. นายปัญญา ไชยานนท์ อนกุ รรมการ 9 ม.ี ค. 59- 1/1 - ผู้อ�ำ นวยการฝา่ ยการเงินและบญั ชี อนกุ รรมการ 30 ก.ย. 59 - - อนุกรรมการ 9 ม.ี ค. 59- 1/1 - 13. นางสาวจรยิ า ทองจันทกึ 30 ก.ย. 59 1/1 - ผอู้ ำ�นวยการฝ่ายนโยบายและแผน 9 มี.ค. 59- 1/2 30 ก.ย. 59 - 14. นายจริ ะสักดิ์ เปมะศริ ิ 9 มี.ค. 59- ผู้อ�ำ นวยการฝ่ายสารสนเทศ 30 ก.ย. 59 9 มี.ค. 59- 15. นายสมบัติ สุระประสิทธ์ิ 30 ก.ย. 59 ผ้อู ำ�นวยการฝา่ ยบำ�รุงรักษา 25 ก.พ. 58- 30 ก.ย. 59 16. นายสมพร โสมะบถ ผ้อู �ำ นวยการฝ่ายจดั เก็บค่าผ่านทาง เลขานุการและ 25 ก.พ. 58- 2/2 อนุกรรมการ 30 ก.ย. 59 17. นายศกั ดดิ์ า พรรณไวย ผอู้ �ำ นวยการกองวจิ ัยและพัฒนาวิศวกรรม ผชู้ ่วยเลขานกุ าร 25 ก.พ. 58- 2/2 - ระบบทางพเิ ศษ 30 ก.ย. 59 18. นายพิทยา ธนวณิชย์กลุ ผูช้ ว่ ยเลขานุการ 25 ก.พ. 58- 2/2 - รกั ษาการในต�ำ แหน่งผ้อู ำ�นวยการ 30 ก.ย. 59 กองบริการธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ ฝ่ายจดั เก็บค่าผ่านทาง ท่ีมา : กองบรกิ ารธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ฝ่ายจดั เก็บคา่ ผา่ นทาง ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2559 19. นางภัณฑิรา ณ นคร หัวหนา้ แผนกบริหารบัตรอตั โนมตั ิ และธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ กองบริการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ฝ่ายจดั เก็บคา่ ผา่ นทาง 20. นายพทิ ยา ธนวณิชยก์ ุล หวั หนา้ แผนกพฒั นาระบบบรกิ ารธรุ กรรม ทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ กองบรกิ ารธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ฝ่ายจัดเก็บคา่ ผ่านทาง อำ�นาจหน้าที่คณะอนุกรรมการกำ�หนดยุทธศาสตร์เพ่ือพัฒนาการให้บริการระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษ อตั โนมตั ิ 1. กำ�หนดทิศทางยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนาการให้บริการระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษอัตโนมัติของ การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย 2. ติดตามและประเมินผลการดำ�เนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์ท่ีกำ�หนดไว้ 67รายงานประจำ�ปี 255๙
3. ส่งเสริมและเผยแพร่แนวทางการดำ�เนินงานตามยุทธศาสตร์ต่อผู้ใช้บริการ รวมถึงประสาน การดำ�เนนิ งานกบั หน่วยงานภาครฐั 4. ดำ�เนินงานอื่นในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการกำ�หนดยุทธศาสตร์เพ่ือพัฒนาการให้บริการระบบ เกบ็ คา่ ผา่ นทางพิเศษอัตโนมัติ คณะอนุกรรมการเพ่ือการศึกษาเส้นทางยุทธศาสตร์สำ�หรับการรองรับยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ของกระทรวงคมนาคมตามนโยบายคณะรักษาความสงบแห่งชาติและการรองรับประชาคมเศรษฐกิจ อาเซยี น (ASEAN Economic Community : AEC) รายชอ่ื /หน่วยงาน ตำ�แหน่ง ชว่ งเวลา การเข้าร่วม เบยี้ ประชุม 1. พลอากาศเอก ยุทธนา สุกมุ ลจนั ทร์ ประธาน ที่ดำ�รงต�ำ แหน่ง ประชุม (ครัง้ ) (บาท) 2. นายชาญวทิ ย์ อมตะมาทุชาติ อนุกรรมการ 12,500 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วเรศรา วีระวัฒน์ อนุกรรมการ 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 - 4. นายพลากร หวงั่ หลี อนุกรรมการ แต่งตั้งตามคำ�ส่ัง 10,000 5. พลตรี ชนู ล หาสารีสร อนกุ รรมการ 10,000 6. นาวาอากาศเอก ครรชิต ทองเจรญิ สขุ อนุกรรมการ คณะกรรมการ กทพ. 6,000 อนกุ รรมการ ท่ี 12/2558 6,000 ส่งั ณ วันที่ 2 ม.ี ค. 58 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ - แต่งตั้งตามค�ำ ส่ัง คณะกรรมการ กทพ. ที่ 12/2558 สัง่ ณ วนั ท่ี 2 มี.ค. 58 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 1/2 แตง่ ตง้ั ตามค�ำ สงั่ คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 12/2558 สั่ง ณ วนั ที่ 2 ม.ี ค. 58 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 1/2 แตง่ ตั้งตามคำ�สัง่ คณะกรรมการ กทพ. ที่ 12/2558 ส่งั ณ วนั ท่ี 2 มี.ค. 58 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 แตง่ ต้งั ตามคำ�สั่ง คณะกรรมการ กทพ. ที่ 12/2558 สงั่ ณ วนั ที่ 2 มี.ค. 58 8 เม.ย. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 แต่งตง้ั ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 16/2558 ส่งั ณ วนั ที่ 28 เม.ย. 58 68 รายงานประจำ�ปี 255๙
คณะอนกุ รรมการเพอื่ การศกึ ษาเสน้ ทางยทุ ธศาสตรส์ �ำ หรบั การรองรบั ยทุ ธศาสตรด์ า้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานของกระทรวงคมนาคมตาม นโยบายคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติและการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) (ตอ่ ) รายชื่อ/หนว่ ยงาน ตำ�แหนง่ ชว่ งเวลา การเขา้ รว่ ม เบ้ียประชมุ 7. นาวาอากาศเอก ประโยชน์ พงษเ์ ผอื ก ท่ดี �ำ รงต�ำ แหน่ง ประชมุ (คร้ัง) (บาท) 6,000 8. นายณรงค์ เขียดเดช อนุกรรมการ 8 เม.ย. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 10,000 ผ ูว้ า่ การการทางพิเศษแห่งประเทศไทย แต่งตัง้ ตามคำ�สง่ั - 9. นายวิชาญ เอกรินทรากลุ - รองผู้ว่าการฝา่ ยวชิ าการ คณะกรรมการ กทพ. - 10. นางสาวจรยิ า ทองจนั ทกึ ท่ี 16/2558 - ผอู้ ำ�นวยการฝา่ ยนโยบายและแผน - 11. นายศักดิ์ดา พรรณไวย ส่งั ณ วันท่ี 28 เม.ย. 58 ผู้อ�ำ นวยการกองวจิ ยั และพัฒนาวิศวกรรม อนกุ รรมการ 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 ระบบทางพิเศษ แตง่ ต้งั ตามค�ำ สั่ง 12. นายเทพฤทธ์ิ รตั นปญั ญากร หัวหนา้ แผนกวจิ ัยและพฒั นาระบบจราจร คณะกรรมการ กทพ. กองวจิ ยั และพฒั นาวิศวกรรมระบบทางพิเศษ ที่ 12/2558 13. นายเอกรินทร์ เหลืองวลิ ยั หวั หน้าแผนกทดสอบ ควบคุมคุณภาพ สง่ั ณ วันที่ 2 ม.ี ค. 58 และพัฒนามาตรฐาน อนุกรรมการ 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 1/2 กองวิจยั และพัฒนาวิศวกรรมระบบทางพิเศษ แต่งตง้ั ตามคำ�สัง่ คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 12/2558 ส่งั ณ วันท่ี 2 มี.ค. 58 อนกุ รรมการ 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 แต่งต้ังตามคำ�ส่ัง คณะกรรมการ กทพ. ที่ 12/2558 สง่ั ณ วันที่ 2 มี.ค. 58 อนกุ รรมการและ 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 เลขานกุ าร แตง่ ตงั้ ตามคำ�ส่ัง คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 12/2558 สงั่ ณ วนั ท่ี 2 ม.ี ค. 58 ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 แต่งต้งั ตามคำ�ส่งั คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 12/2558 ส่ัง ณ วันท่ี 2 มี.ค. 58 ผู้ชว่ ยเลขานุการ 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 แตง่ ตง้ั ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 12/2558 ส่งั ณ วนั ท่ี 2 ม.ี ค. 58 69รายงานประจำ�ปี 255๙
คณะอนกุ รรมการเพอ่ื การศกึ ษาเสน้ ทางยทุ ธศาสตรส์ �ำ หรบั การรองรบั ยทุ ธศาสตรด์ า้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐานของกระทรวงคมนาคมตาม นโยบายคณะรักษาความสงบแหง่ ชาตแิ ละการรองรับประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) (ต่อ) รายชือ่ /หน่วยงาน ตำ�แหน่ง ชว่ งเวลา การเขา้ รว่ ม เบยี้ ประชุม 1๔. นางรชั ฎา พรหมสาขา ณ สกลนคร ทดี่ ำ�รงต�ำ แหนง่ ประชุม (ครั้ง) (บาท) หวั หนา้ แผนกบรหิ ารงานวจิ ัยและพฒั นา กองวจิ ยั และพัฒนาวิศวกรรมระบบทางพิเศษ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร 25 ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 - แตง่ ตงั้ ตามคำ�สงั่ คณะกรรมการ กทพ. ที่ 12/2558 สง่ั ณ วนั ท่ี 2 ม.ี ค. 58 ทม่ี า : กองวจิ ยั และพฒั นาวศิ วกรรมระบบทางพเิ ศษ ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 255๙ อำ�นาจหน้าที่คณะอนุกรรมการเพื่อการศึกษาเส้นทางยุทธศาสตร์สำ�หรับการรองรับยุทธศาสตร์ด้าน โครงสร้างพ้ืนฐานของกระทรวงคมนาคมตามนโยบายคณะรักษาความสงบแห่งชาติและการรองรับ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) 1. ศึกษาเส้นทางยุทธศาสตร์การขนส่งเพ่ือรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) และให้ข้อเสนอแนะทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อคณะกรรมการ กทพ. 2. สามารถเชิญบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถจากภายนอกมาให้ข้อแนะนำ�หรือข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ แก่ กทพ. เมื่อเหน็ วา่ จ�ำ เปน็ ด้วยคา่ ใชจ้ ่ายของ กทพ. โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ กทพ. ทั้งน้ี การดำ�เนนิ การ วา่ จา้ งให้เป็นไปตามระเบยี บข้อบงั คบั ของ กทพ. 3. พิจารณาดำ�เนนิ การอืน่ ๆ ตามท่คี ณะกรรมการ กทพ. มอบหมาย * เบีย้ ประชุมยังไม่ไดห้ กั ภาษีเงนิ ได้ ณ ท่จี า่ ย - ประธานอนกุ รรมการ ครงั้ ละ 12,500 บาท - อนุกรรมการท่เี ป็นกรรมการ กทพ. ครง้ั ละ 10,000 บาท - อนกุ รรมการที่เป็นบคุ คลภายนอก ครง้ั ละ 3,000 บาท คณะอนุกรรมการโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ด้านตะวันตก รายช่อื /หนว่ ยงาน ตำ�แหน่ง ช่วงเวลา การเข้าร่วม เบี้ยประชุม 1. พลเอก ไชยพร รตั แพทย์ ทด่ี �ำ รงต�ำ แหน่ง ประชุม (ครง้ั ) (บาท) 2. ผวู้ ่าการการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย ประธาน 19 ม.ค. 59- 30,000 3. รองผวู้ า่ การฝ่ายก่อสร้างและบ�ำ รุงรักษา อนกุ รรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 8/8 4. รองผ้วู ่าการฝ่ายบริหาร รองประธาน 19 ม.ค. 59- 50,000 5. รองผู้วา่ การฝ่ายวชิ าการ อนกุ รรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 6/8 อนุกรรมการ 19 ม.ค. 59- - ๓๐ ก.ย. ๕๙ 5/8 อนุกรรมการ 19 ม.ค. 59- - ๓๐ ก.ย. ๕๙ 6/8 อนกุ รรมการ 19 ม.ค. 59- - ๓๐ ก.ย. ๕๙ 7/8 70 รายงานประจำ�ปี 255๙
คณะอนุกรรมการโครงการทางพเิ ศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานครด้านตะวนั ตก (ต่อ) รายชือ่ /หน่วยงาน ตำ�แหน่ง ชว่ งเวลา การเข้าร่วม เบี้ยประชมุ ทดี่ ำ�รงตำ�แหน่ง ประชุม (ครั้ง) (บาท) 6. รองผู้วา่ การฝ่ายกฎหมายและกรรมสทิ ธิท์ ี่ดนิ อนุกรรมการ 19 ม.ค. 59- 2/8 - ๓๐ ก.ย. ๕๙ 7. นายสนิ ธพ สิรสิ ิงห อนกุ รรมการ 3 ม.ี ค. 59- 7/8 21,000 ๓๐ ก.ย. ๕๙ 8. พนั เอก สรุ นาท สบายรูป อนกุ รรมการ 19 ม.ค. 59- 8/8 24,000 ๓๐ ก.ย. ๕๙ 9. ผอู้ �ำ นวยการฝ่ายการเงินและบญั ชี อนกุ รรมการ 19 ม.ค. 59- 8/8 - ๓๐ ก.ย. ๕๙ 10. ผอู้ �ำ นวยการฝ่ายนโยบายและแผน อนุกรรมการ 19 ม.ค. 59- 8/8 - ๓๐ ก.ย. ๕๙ 11. ผู้อ�ำ นวยการฝา่ ยกอ่ สรา้ งทางพิเศษ อนกุ รรมการ 19 ม.ค. 59- 6/8 - ๓๐ ก.ย. ๕๙ 12. ผอู้ ำ�นวยการฝา่ ยกรรมสิทธิ์ทดี่ ิน อนุกรรมการ 19 ม.ค. 59- 8/8 - ๓๐ ก.ย. ๕๙ 13. ผู้อำ�นวยการกองวางแผนและวิเคราะห์โครงการ อนกุ รรมการ 19 ม.ค. 59- (ยงั ไมไ่ ดร้ บั - ฝา่ ยนโยบายและแผน และเลขานุการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ การแต่งตั้ง) อนุกรรมการ 14. ผู้อำ�นวยการกองวศิ วกรรมทางดว่ น 1 และเลขานุการ 19 ม.ค. 59- 8/8 - ฝ่ายก่อสร้างทางพิเศษ ๓๐ ก.ย. ๕๙ ท่ีมา : ฝา่ ยนโยบายและแผน ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 255๙ อำ�นาจหน้าที่คณะอนุกรรมการโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอก กรุงเทพมหานครดา้ นตะวันตก คณะอนกุ รรมการมอี �ำ นาจหนา้ ทจี่ ดั ท�ำ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั โครงการทางพเิ ศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวน รอบนอกกรงุ เทพมหานครดา้ นตะวนั ตก เพอ่ื เรง่ รดั การน�ำ เสนอขออนมุ ตั ดิ �ำ เนนิ โครงการตอ่ คณะกรรมการการทางพเิ ศษ แห่งประเทศไทย 71รายงานประจำ�ปี 255๙
รายงานผลการด�ำ เนินงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ การตรวจสอบภายใน การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทยไดจ้ ดั ตงั้ ส�ำ นกั ตรวจสอบภายในเพอ่ื บรกิ ารใหค้ วามเชอื่ มน่ั และใหค้ �ำ ปรกึ ษาอยา่ งเปน็ อสิ ระและ เท่ียงธรรมโดยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการควบคุมภายในการบริหารความเสี่ยงและการกำ�กับดูแลองค์กร อยา่ งเปน็ ระบบ เพอ่ื เพมิ่ มลู คา่ และปรบั ปรงุ การด�ำ เนนิ งานของการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทยใหบ้ รรลสุ �ำ เรจ็ ตามเปา้ หมายทก่ี �ำ หนดไว้ ซง่ึ การปฏบิ ตั งิ านของส�ำ นกั ตรวจสอบภายในเปน็ ไปตามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยคณะกรรมการตรวจสอบและหนว่ ยตรวจสอบ ภายในของรฐั วสิ าหกจิ พ.ศ. 2555 คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านการตรวจสอบภายในของรฐั วสิ าหกจิ ฉบบั ปรบั ปรงุ ปี 2555 ของกระทรวงการคลงั และมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายในของสถาบันผู้ตรวจสอบภายใน (The Institute of Internal Auditors : IIA) โดยมกี ารรายงานผลการตรวจสอบตอ่ ผบู้ รหิ าร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ผลการดำ�เนินงานของสำ�นักตรวจสอบภายในในปีงบประมาณ 2559 มีการดำ�เนินงานครบถ้วน สมบูรณ์ตามแผนการ ตรวจสอบประจำ�ปีงบประมาณ 2559 และเป็นไปตามแนวทางที่กำ�หนดไว้ในคู่มือการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลงั โดยมีการด�ำ เนินงาน ดงั น้ี 1. การตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านระบบงานตา่ ง ๆ จ�ำ นวน 20 ระบบงาน ตามแผนการตรวจสอบประจ�ำ ปงี บประมาณ 2559 และการตดิ ตามผลการด�ำ เนินการตามรายงานผลการตรวจสอบ 2. การตรวจสอบการปฏิบตั ิตามมติคณะรฐั มนตรี 3. การสอบทานรายงานทางการเงนิ ของการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 4. การสอบทานการก�ำ กบั ดูแลกิจการ 5. การให้บริการแนะน�ำ ปรึกษา 6. การประเมนิ ผลการควบคมุ ภายในตามระเบยี บคณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ วา่ ดว้ ยการก�ำ หนดมาตรฐาน การควบคมุ ภายใน พ.ศ. 2544 7. การสอบทานการบรหิ ารความเสีย่ งของ กทพ. รายงานผลการด�ำ เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจ�ำ ปีงบประมาณ 2559 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย กรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย จำ�นวน 3 คน และผู้อำ�นวยการ สำ�นักตรวจสอบภายใน เปน็ เลขานุการ โดยในรอบปีงบประมาณ 2559 คณะกรรมการการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย มมี ติแต่งตง้ั คณะกรรมการตรวจสอบ จำ�นวน 3 ชดุ ดงั นี้ 1. ค�ำ สง่ั คณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ที่ 5/2558 สง่ั ณ วนั ท่ี 2 มนี าคม 2558 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย นายนรินทร์ กัลยาณมิตร เป็นประธานกรรรมการ, นายพลากร หว่ังหลี เป็นกรรมการ, นายวุฒิพงศ์ วิบูลย์วงศ์ เป็นกรรมการ, ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นกั ตรวจสอบ เปน็ เลขานกุ าร 2. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งผู้แทนกระทรวงการคลังเป็นกรรมการในคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย แทน นายนรนิ ทร ์ กลั ยาณมติ ร มผี ลท�ำ ใหน้ ายนรนิ ทร ์ กลั ยาณมติ ร พน้ จากการเปน็ คณะกรรมการตรวจสอบ ตง้ั แตว่ นั ที่ 12 ตลุ าคม 2558 เป็นต้นไป ซ่ึงคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีคำ�สั่งคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ท่ี 28/2558 ส่ัง ณ วันท่ี 3 พฤศจิกายน 2558 โดยแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ เป็น ประธานกรรรมการ, นายวุฒิพงศ ์ วิบูลย์วงศ์ เป็นกรรมการ, นายพลากร หวั่งหลี เปน็ กรรมการ, ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั ตรวจสอบภายใน เปน็ เลขานุการ 3. คำ�สั่งคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ท่ี 6/2559 สั่ง ณ วันที่ 3 มิถุนายน 2559 แต่งต้ัง นางสาวบณั ฑรโฉม แกว้ สอาด เปน็ กรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบแทน นายวฒุ พิ งศ ์ วบิ ลู ยว์ งศ์ เนอ่ื งจากอายคุ รบ 65 ปบี รบิ รู ณ์ ปจั จบุ นั คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดว้ ย นายชาญวทิ ย ์ อมตะมาทชุ าติ เปน็ ประธานกรรรมการ, นางสาวบณั ฑรโฉม แกว้ สอาด เป็นกรรมการ, นายพลากร หวงั่ หลี เป็นกรรมการ, ผู้อำ�นวยการส�ำ นกั ตรวจสอบภายใน เปน็ เลขานุการ ผลการดำ�เนนิ งาน คณะกรรมการตรวจสอบไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ ามทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย โดยถอื ปฎบิ ตั ิ ตามคำ�ส่งั คณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ที่ 40/2558 เร่อื ง การปรับปรุงอำ�นาจหน้าทข่ี องคณะกรรมการตรวจสอบ 72 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบในรฐั วสิ าหกจิ ฉบบั ปรบั ปรงุ ปี 2555 ของกระทรวงการคลงั และกฎบตั รคณะกรรมการ ตรวจสอบท่ีได้รับอนุมตั จิ ากคณะกรรมการการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย ในปงี บประมาณ 2559 คณะกรรมการตรวจสอบไดม้ กี ารประชมุ ตามปฏทิ นิ การประชมุ ประจ�ำ ปี 2559 จ�ำ นวนทง้ั สน้ิ 11 ครงั้ โดยประชุมรว่ มกบั ผ้บู ริหารของแตล่ ะหน่วยงานและผ้ตู รวจสอบภายในของการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย รวมทัง้ เจ้าหนา้ ที่สำ�นกั งาน การตรวจเงินแผ่นดินในฐานะผู้สอบบัญชีของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เพ่ือร่วมหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและได้ให้ ขอ้ เสนอแนะแนวทางการด�ำ เนนิ การและการแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ เพอื่ เสรมิ สรา้ งประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และมลู คา่ เพมิ่ ในการด�ำ เนนิ การ รวมทั้งเพื่อให้เกิดประโยชน์กับการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ผู้ใช้บริการ และประชาชน โดยสรุปสาระสำ�คัญการดำ�เนินการของ คณะกรรมการตรวจสอบได้ดงั นี้ 1. สอบทานรายงานทางการเงิน สอบทานความถูกต้องและเชื่อถือได้ของงบการเงินรายไตรมาสและประจำ�ปี ซึ่งผลการ สอบทานรายงานทางการเงินของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยมีความเชื่อถือได้ โดยปฏิบัติตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป อยา่ งสม�ำ่ เสมอ มกี ารเปดิ เผยขอ้ มลู ทส่ี �ำ คญั อยา่ งเพยี งพอ เหมาะสม และครบถว้ น เปน็ ไปตามมาตรฐานการบญั ชี และมขี อ้ เสนอแนะ ให้การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจัดเตรียมแผนรองรับและการบริหารความเส่ียงในประเด็นที่สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินขอให้ สังเกตในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงินของการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 2. สอบทานการควบคุมภายใน สอบทานระบบการควบคุมภายในของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยท่ีจัดวางไว้ มีความ เพยี งพอ เหมาะสม และมีประสทิ ธิภาพตามสมควร เป็นไปตามระเบยี บคณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ ว่าด้วยการกำ�หนดมาตรฐาน การควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 3. การสอบทานการบรหิ ารความเสยี่ ง สอบทานรายงานการประเมนิ ผลการควบคมุ และบรหิ ารความเสย่ี งของการทางพเิ ศษ แหง่ ประเทศไทย มกี ารด�ำ เนนิ งานสอดคลอ้ งกบั บนั ทกึ ขอ้ ตกลงประเมนิ ผล การด�ำ เนนิ งานรฐั วสิ าหกจิ แผนวสิ าหกจิ และแผนปฏบิ ตั กิ าร รวมท้ังเป็นไปตามแนวทางการบริหารความเส่ียงที่กำ�หนดในคู่มือและแผนการบริหารความเสี่ยงประจำ�ปีงบประมาณ 2559 โดยมี การตดิ ตามผลการบรหิ ารความเสย่ี งเพอื่ ลด หรอื ควบคมุ ความเสย่ี งใหอ้ ยใู่ นระดบั ทยี่ อมรบั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล เพยี งพอ และเหมาะสม 4. การก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี สอบทานการด�ำ เนนิ งานตามแนวทางการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ขี องการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย แนวปฏบิ ตั ใิ นการก�ำ กบั ดแู ลการเผยแพรข่ า่ วสารการประกาศประกวดราคา การปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั มตคิ ณะรฐั มนตรี และ นโยบายทค่ี ณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทยก�ำ หนด การด�ำ เนนิ การเกย่ี วกบั ขอ้ รอ้ งเรยี น และการจดั ท�ำ รายงานการเปดิ เผย ความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ ทง้ั ในสว่ นของคณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ผบู้ รหิ าร และพนกั งาน เปน็ ไปอยา่ งโปรง่ ใส เหมาะสม และมกี ารบรหิ ารจัดการทดี่ ี 5. การกำ�กับดูแลงานตรวจสอบภายใน กำ�กับดูแล ให้คำ�แนะนำ� และสนับสนุนให้หน่วยตรวจสอบภายในปฏิบัติงาน อย่างเป็นอิสระ เท่ียงตรง พิจารณาอนุมัติและให้ความเห็นชอบกฎบัตรของสำ�นักตรวจสอบภายใน แผนการตรวจสอบ 5 ปี และ แผนการตรวจสอบประจ�ำ ปีแผนกลยทุ ธแ์ ละแผนปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื การปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั งิ านของส�ำ นกั ตรวจสอบภายใน แผนพฒั นาบคุ ลากร และงบประมาณประจ�ำ ปขี องสำ�นักตรวจสอบภายใน สอบทานการปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบ ติดตามการปรบั ปรุง แก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบและข้อเสนอแนะในรายงานผลการตรวจสอบ รวมถึงสนับสนุนให้พนักงาน ตรวจสอบภายในได้รบั การพฒั นาความรูใ้ นงานตรวจสอบใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานสากล 6. ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี การทางพิเศษแห่งประเทศไทยเป็นรัฐวิสาหกิจ ซ่ึงมีสำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็น ผูส้ อบบญั ชี โดยไดร้ ับค่าตอบแทนเป็นจ�ำ นวนเงิน 1,500,000 บาท คณะกรรมการตรวจสอบไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยความรอบคอบ มคี วามเปน็ อสิ ระในการแสดงความคดิ เหน็ และการใหข้ อ้ เสนอแนะ อันเป็นประโยชน์กับการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ซ่ึงได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมีความเห็นว่า การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมีการจัดทำ�รายงานทางการเงินท่ีแสดงผลการดำ�เนินงาน และฐานะทางการเงินด้วยข้อมูลท่ีเป็น สาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีท่ีรับรองท่ัวไปอย่างเพียงพอ เชื่อถือได้ มีการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่เพียงพอ เหมาะสม ผลการตรวจสอบภายในเป็นประโยชน์ทำ�ให้เกิดการปรับปรุงการปฏิบัติงานท่ีช่วยลดความเส่ียง และสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับ หน่วยงาน มีการดำ�เนนิ งานทสี่ อดคล้องกับบนั ทกึ ข้อตกลงประเมนิ ผลการดำ�เนินงานรัฐวสิ าหกิจ แผนวิสาหกจิ แผนปฏบิ ตั ิการ และ การกำ�กับดูแลกิจการท่ีดี รวมทั้งมีการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี นโยบายที่คณะกรรมการการทางพิเศษ แห่งประเทศไทยกำ�หนด และไม่พบปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ) ประธานกรรมการตรวจสอบ 73รายงานประจ�ำ ปี 255๙
การวิเคราะห์การด�ำ เนนิ งาน สภาพเศรษฐกิจ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจหลักในการแก้ปัญหาจราจร โดยการก่อสร้างทางพิเศษ ซ่ึงชว่ ยสนบั สนนุ และเพมิ่ ประสิทธภิ าพการพัฒนาด้านการขนส่งของประเทศมาโดยตลอด ปัจจบุ นั ทางพิเศษในความรับผดิ ชอบของ กทพ. เปดิ ให้บรกิ ารแลว้ จ�ำ นวน 8 สายทาง 4 ทางเชอื่ มตอ่ ระยะทางรวมทั้งสนิ้ 224.6 กโิ ลเมตร ทางพิเศษทเ่ี ปดิ ใหบ้ ริการในปัจจุบัน 1. ทางพเิ ศษเฉลิมมหานคร ระยะทาง 27.1 กโิ ลเมตร 2. ทางพเิ ศษศรรี ัช ระยะทาง 38.4 กโิ ลเมตร 3. ทางพิเศษฉลองรัช (ทางพิเศษสายรามอินทรา-อาจณรงค์และทางพิเศษสายรามอินทรา-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) ระยะทาง 28.2 กโิ ลเมตร 4. ทางพเิ ศษอดุ รรถั ยา ระยะทาง 32.0 กิโลเมตร 5. ทางพเิ ศษบรู พาวิถี ระยะทาง 55.0 กิโลเมตร 6. ทางพเิ ศษสายบางนา-อาจณรงค์ ระยะทาง 4.7 กิโลเมตร 7. ทางพเิ ศษกาญจนาภเิ ษก (บางพล-ี สขุ สวสั ด)์ิ ระยะทาง 22.5 กิโลเมตร 8. ทางพิเศษสายศรรี ัช-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร ระยะทาง 16.7 กิโลเมตร 4 ทางเช่ือมต่อ 1. ทางยกระดบั ดา้ นทศิ ใตส้ นามบนิ สวุ รรณภมู เิ ชอ่ื มทางพเิ ศษบรู พาวถิ ี เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใหบ้ รกิ ารทางพเิ ศษบรู พาวถิ แี ละ อ�ำ นวยความสะดวกในการเดินทางสูท่ า่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ 2. ทางเช่อื มต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สขุ สวัสด)์ิ กับทางพิเศษบรู พาวิถี เพอื่ เช่ือมตอ่ เสน้ ทางคมนาคมของทางพิเศษ กาญจนาภเิ ษก (บางพลี-สุขสวสั ด์)ิ กบั ทางพิเศษบรู พาวิถี และถนนวงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร (ด้านตะวันออก) 3. ทางเชอื่ มตอ่ เฉลมิ ราชด�ำ ริ 84 พรรษา (ทางเชอ่ื มตอ่ ทางพเิ ศษกาญจนาภเิ ษก (บางพล-ี สขุ สวสั ด)์ิ กบั ถนนวงแหวนอตุ สาหกรรม) เพอื่ เสรมิ โครงข่ายการจราจรทางดา้ นทศิ ใตข้ องกรงุ เทพมหานครใหส้ มบูรณ์ 4. ทางเชื่อมต่อทางพิเศษศรีรัช ส่วนดี (อโศก-ศรีนครินทร์) กับถนนจตุรทิศ ช่วง ค. เพ่ืออำ�นวยความสะดวกแก่ประชาชนท่ีใช้ ถนนจตุรทิศท่ีเดินทางมาจากอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ถนนศรีอยุธยา ถนนราชปรารภ ถนนเพชรบุรี และถนนดินแดง ให้สามารถเข้าสู่ ทางพิเศษศรรี ชั ส่วนดี (อโศก-ศรนี ครินทร)์ เพื่อเดินทางตอ่ ไปยังทางพิเศษฉลองรชั สนามบนิ สุวรรณภมู ิ และทางหลวงพเิ ศษระหวา่ งเมือง หมายเลข ๗ (มอเตอรเ์ วย์) บทวเิ คราะหท์ างการเงิน ปริมาณจราจรและรายได้ค่าผ่านทางพิเศษในปีงบประมาณ 2559 (ตุลาคม 2558-กันยายน 2559) มีปริมาณจราจรรวม 650.38 ลา้ นเทย่ี ว/ปี หรอื 1.78 ล้านเทีย่ ว/วัน เพ่ิมขน้ึ จากปงี บประมาณ 2558 ร้อยละ 4.28 และมีรายได้ค่าผ่านทางพิเศษรวม (ก่อนแบง่ บรษิ ทั ร่วมทุน) 24,891.33 ลา้ นบาท/ปี หรอื 68.20 ลา้ นบาท/วัน เพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณ 2558 ร้อยละ 3.05 โดย ทางพิเศษศรีรัช ส่วนนอกเมืองและส่วนดี มีปริมาณจราจรรวมสูงสุด 139.16 ล้านเที่ยว/ปี หรือ 0.38 ล้านเท่ียว/วัน รองลงมาคือ ทางพเิ ศษเฉลิมมหานคร รวม 138.14 ล้านเท่ียว/ปี หรือ 0.38 ลา้ นเที่ยว/วนั ทางพเิ ศษศรีรชั ในเขตเมอื ง รวม 119.16 ลา้ นเทยี่ ว/ปี หรือ 0.33 ล้านเที่ยว/วัน ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) รวม 93.86 ล้านเท่ียว/ปี หรือ 0.26 ล้านเท่ียว/วัน ทางพิเศษฉลองรัช รวม 77.88 ล้านเท่ียว/ปี หรือ 0.21 ล้านเที่ยว/วัน ทางพิเศษบูรพาวิถี รวม 51.17 ล้านเที่ยว/ปี หรือ 0.14 ล้านเที่ยว/วัน ทางพิเศษอุดรรัถยา รวม 29.66 ล้านเที่ยว/ปี หรือ 0.08 ล้านเที่ยว/วัน ทางพิเศษศรีรัช-วงแหวนรอบนอก กรุงเทพมหานคร รวม 1.35 ลา้ นเท่ียว/ปี หรอื 0.004 ลา้ นเทีย่ ว/วนั ในปีงบประมาณ 2559 (ณ 30 กันยายน 2559) กทพ. มีสินทรัพย์รวมท้ังส้ิน จำ�นวน 198,898.52 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปงี บประมาณ 2558 จำ�นวน 18,202.51 ลา้ นบาท หรือรอ้ ยละ 10.07 เน่อื งจากการเพ่ิมขน้ึ ของสนิ ทรพั ยไ์ มห่ มุนเวียน ด้านหน้ีสิน กทพ. มีหนี้สินรวม จำ�นวน 84,483.73 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจากปีงบประมาณ 2558 จำ�นวน 15,580.39 ล้านบาท 74 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
หรือรอ้ ยละ 22.61 และสว่ นของทุน จำ�นวน 114,414.79 ล้านบาท เพมิ่ ขึ้นจากปงี บประมาณ 2558 จำ�นวน 2,622.12 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 2.35 ผลการด�ำ เนนิ งานในปงี บประมาณ 2559 (ขอ้ มลู ตลุ าคม 2558-กนั ยายน 2559) มรี ายไดร้ วม 16,406.41 ลา้ นบาท ค่าใช้จ่ายรวม 7,481.69 ล้านบาท กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จ 8,924.72 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณ 2558 จำ�นวน 544.04 ลา้ นบาท หรือร้อยละ 6.49 เน่ืองจากการเพิ่มข้นึ ของปรมิ าณจราจร ค่าใชจ้ า่ ยรวมของพนกั งานและลูกจา้ ง ประจำ�ปีงบประมาณ 2557-2559 (หนว่ ย : ลา้ นบาท) รายการ 2557 2558 2559 ค่าใช้จ่ายรวมของพนกั งานและลกู จ้าง 2,320.56 2,582.81 2,760.01 ทม่ี า : กองบัญชี ฝ่ายการเงินและบญั ชี ข้อมูล ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2559 ผลการด�ำ เนินงานและบทวิเคราะห์ ในปีงบประมาณ 2559 การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) มผี ลการด�ำ เนินงานทีด่ ี โดยสามารถดำ�เนนิ การไดต้ ามเป้าประสงค์ องคก์ ารทีก่ �ำ หนดไว้ ดงั นี้ 1. ทางพเิ ศษและสินทรพั ยถ์ กู ใชเ้ ตม็ ประสิทธิภาพ โดยพื้นที่ในเขตทางพเิ ศษท่ถี ูกใช้ประโยชนใ์ นปงี บประมาณ 2559 มจี �ำ นวน 382,219.96 ตารางวา ปริมาณจราจรตอ่ ความจุรวมของทางพเิ ศษทเ่ี ปิดบรกิ ารแล้ว (V/C) เท่ากบั 0.90 2. บรกิ ารมคี ณุ ภาพ ปลอดภยั เปน็ ทเ่ี ชอื่ มนั่ ของประชาชน โดย กทพ. ไดส้ �ำ รวจความคดิ เหน็ ของผใู้ ชท้ างพเิ ศษแลว้ พบวา่ ผใู้ ชท้ างพเิ ศษ มีความพึงพอใจโดยรวมต่อการให้บริการของ กทพ. อยู่ในระดับความพึงพอใจอย่างยิ่ง คือ ร้อยละ 91.7 และจำ�นวนครั้งของการเกิด อุบตั ิเหตบุ นทางพิเศษตอ่ ปรมิ าณการเดนิ ทาง 100 ลา้ นคนั /กโิ ลเมตร เท่ากบั 11.86 3. ผลประกอบการเตบิ โตอยา่ งมนั่ คง มีก�ำ ไรอย่างเหมาะสม โดย กทพ. มีก�ำ ไร (ขาดทนุ ) เบด็ เสรจ็ ๘,๙๒๔.๗๒ ล้านบาท การลงทุนทีส่ �ำ คญั โครงการทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือขยายโครงข่ายของทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในทางทิศตะวันตกเพ่ือแบ่งเบา ปริมาณจราจรระดับดินและระบายการจราจรทางด้านทิศตะวันตกระหว่างกรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เปน็ ทางยกระดบั ขนาด 6 ช่องจราจรแนวสายทางเร่ิมต้นจากถนนวงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานครดา้ นตะวันตกไปตามแนวเขตทางของ ทางรถไฟสายใตข้ นานไปกบั ถนนบรมราชชนนขี า้ มแมน่ า้ เจา้ พระยาบรเิ วณสะพานพระราม 6 ผา่ นบรเิ วณแยกบางซอื่ และไปสนิ้ สดุ เชอ่ื มตอ่ กบั ทางพิเศษศรีรชั บริเวณด้านเหนอื ของสถานขี นส่งหมอชติ 2 ระยะทาง 16.7 กโิ ลเมตร ระยะเวลาด�ำ เนินการ กำ�หนดกอ่ สร้างแล้วเสร็จและเปดิ ให้บรกิ ารเดือนธันวาคม 2559 สถานะโครงการ 1. เมอื่ วนั ที่ 14 กนั ยายน 2555 กทพ. ไดล้ งนามในสญั ญาสมั ปทานการลงทนุ ออกแบบกอ่ สรา้ งบรหิ ารจดั การใหบ้ รกิ ารและบ�ำ รงุ รกั ษาโครงการทางพิเศษสายศรรี ัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครกับบรษิ ทั ทางดว่ นกรุงเทพจ�ำ กัด (มหาชน) (BECL) และได้มหี นังสือ แจ้งใหบ้ รษิ ัทฯ เรมิ่ งานตั้งแตว่ ันท่ี 15 ธันวาคม 2555 (ระยะเวลาดำ�เนนิ งาน 48 เดอื น) 2. กทพ. ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประชุมเรื่องการเริ่มดำ�เนินการโครงการฯ (Kick-Off Meeting) เม่อื วนั ที่ 14 ธันวาคม 2555 ซึง่ BECL ได้ เร่มิ ดำ�เนนิ งานก่อสร้างต้งั แต่วนั ที่ 15 ธนั วาคม 2555 โดย กทพ. ไดส้ ง่ มอบพ้นื ท่ีให้ BECL เพื่อดำ�เนินการก่อสร้าง ไดแ้ ก่ พ้ืนทีใ่ นเขตทาง ของการรถไฟแหง่ ประเทศไทย (รฟท.) บรเิ วณตอนที่ 2 จากถนนราชพฤกษถ์ งึ สถานรี ถไฟบางบ�ำ หรุ และตอนท่ี 3 จากสถานรี ถไฟบางบ�ำ หรุ ถึงสะพานพระราม 6 โดยส่งมอบพื้นที่เมื่อวันท่ี 11 มกราคม 2556 และพื้นที่ของกรมทางหลวงชนบท (ทช.) ที่อยู่ในพ้ืนท่ีบริเวณ ตอนท่ี 2 และตอนที่ 3 โดยส่งมอบเม่ือวนั ท่ี 14 มกราคม 2556 3. การจัดกรรมสิทธ์ิที่ดินได้มีการประกาศพระราชกฤษฎีกากำ�หนดเขตท่ีดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนเพ่ือทำ�การก่อสร้างโครงการ ทางพเิ ศษสายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเลม่ 129 ตอนท่ี 16 ก เมอ่ื วนั ท่ี 10 กมุ ภาพนั ธ์ 2555 กำ�หนดเขตที่ดินในบริเวณท่ีท่ีจะเวนคืนในท้องที่อำ�เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา เขตตล่ิงชัน เขตบางพลัด เขตบางกอกน้อย เขตบางซ่อื และเขตจตจุ ักร กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2555 ซ่งึ กทพ. ได้ดำ�เนินการติดต้งั ป้ายประชาสมั พันธใ์ หป้ ระชาชน รบั ทราบจ�ำ นวน 20 ปา้ ย และไดด้ �ำ เนนิ การส�ำ รวจก�ำ หนดแนวเขตทด่ี นิ ทถ่ี กู เวนคนื ไดผ้ ลงานรวมรอ้ ยละ 100.00 จากแผนงานรอ้ ยละ 100.00 4. การกอ่ สรา้ งโครงการฯ แล้วเสรจ็ และเปิดใหบ้ รกิ ารตั้งแต่วนั ที่ 22 สิงหาคม 2559 เรว็ กว่าแผนในเดอื นธันวาคม 2559 75รายงานประจ�ำ ปี 255๙
อตั ราค่าผ่านทาง รถ 4 ลอ้ อัตราค่าผา่ นทาง (บาท/เทยี่ ว) รถมากกว่า 10 ล้อ ประเภทรถ 50 รถ 6–10 ล้อ 115 80 อตั ราคา่ ผ่านทาง (บาท/เท่ยี ว) ปริมาณจราจรเฉล่ยี /วนั ส�ำ หรับเดอื นกนั ยายน 2559 จ�ำ นวน 34,544 คนั /วนั งบประมาณทไี่ ดร้ บั จดั สรรจากงบแผน่ ดนิ โครงการทางพเิ ศษสายศรรี ชั –วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร รายการค่าจดั กรรมสทิ ธิท์ ด่ี ิน หนว่ ย : ล้านบาท งบประมาณปี ได้รับจดั สรร ผลเบกิ จ่าย ร้อยละ 2556 1,740.0000 1,740.0000 100.00 2557 1,550.0000 1,550.0000 100.00 2558 1,200.0000 1,200.0000 100.00 2559 550.0000 550.0000 100.00 โครงสรา้ งเงินทนุ (หนว่ ย : ลา้ นบาท) 2559 ทุน 2557 2558 3.52 ทนุ ประเดมิ 3.52 3.52 76,986.79 76,986.79 76,986.79 37,424.48 งบประมาณอุดหนุน 29,654.68 34,802.36 114,414.79 106,644.99 111,792.67 กำ�ไร (ขาดทุน) สะสมยงั ไม่ได้จดั สรร 16,378.90 รวมทนุ 42,150.00 หนเี้ งินกู้ 650.00 - เงนิ กใู้ นประเทศ กระทรวงการคลังค้ำ�ประกัน 59,178.90 เงินยืมรฐั บาล 16,178.90 15,978.90 1,550.00 33,650.00 27,750.00 พนั ธบตั รรัฐบาล 2,853.56 150.00 - เงินกู้ยมื สถาบนั การเงิน 1,300.00 1,000.00 51,278.90 44,728.90 เงนิ กใู้ นประเทศ กระทรวงการคลังไมค่ ้ำ�ประกนั รวมหนเ้ี งนิ กู้ เงินงบประมาณทไ่ี ด้รับ เงนิ งบประมาณท่ไี ด้รับ 1,200.00 550.00 การจา่ ยเงินน�ำ สง่ รฐั การจ่ายเงนิ นำ�ส่งรฐั 3,233.00 6,302.61 ทม่ี า : กองบญั ชี ฝา่ ยการเงินและบัญชี ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2559 76 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
การควบคมุ ภายใน การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ให้ความสำ�คัญต่อการควบคุมภายใน โดยนำ�มาตรฐานการควบคุมภายในของ คณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ (คตง.) ไดแ้ ก่ 1) สภาพแวดลอ้ มของการควบคมุ (Control Environment) 2) การประเมนิ ความเสย่ี ง (Risk Assessment) 3) กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) 4) สารสนเทศและการส่อื สาร (Information and Communication) 5) การติดตามประเมินผล (Monitoring and Evaluation) ซึ่งอ้างอิงกรอบแนวทางการปฏิบัติด้านการควบคุมภายในตาม มาตรฐานสากลของ Committee Of Sponsoring Organization Of The Treadway Commission : COSO รวมทงั้ น�ำ หลกั เกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในปี 2555 ของสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง มาปรับใช้กับการปฏิบัติงานด้านการควบคุมภายในของ กทพ. ที่มุ่งเน้นให้เกิดการสร้าง มลู คา่ เพ่ิม (Value Added) ทั้งในดา้ นการใช้ทรพั ยากร การดูแลทรพั ย์สนิ ความเชอ่ื ถอื ได้ของรายงานทางการเงนิ และการปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย ระเบียบข้อบงั คับ มติคณะรฐั มนตรแี ละนโยบายภาครฐั กทพ. มีการจัดวางระบบการควบคุมภายในและกำ�หนดให้ทุกหน่วยงานประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self-Assessment : CSA) ผา่ นระบบสารสนเทศของระบบงานบรหิ ารควบคมุ ภายในทส่ี นบั สนนุ การประเมนิ ตนเองของทกุ หนว่ ยงาน ให้สามารถควบคุม ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามระบบควบคุมภายในท่ีกำ�หนดไว้ โดยประเมินตนเองตามฐาน ความเส่ียง (Risk-based Internal Control) และมีการประเมินการควบคุมอย่างเป็นอิสระ (Independent Assessment) ของ ผู้ตรวจสอบภายใน เพ่ือให้เกิดความมนั่ ใจวา่ ระบบการควบคุมภายในท่วี างไวเ้ พยี งพอ เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล โดยได้นำ�รายงานสรุปผลการประเมินการควบคุมภายในและรายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายในของ ผ้ตู รวจสอบภายในเสนอคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ กทพ. ทกุ ปมี าโดยตลอด ปงี บประมาณ 2559 กทพ. ดำ�เนินกจิ กรรมสร้างเสริมความรูค้ วามเข้าใจและพฒั นาองค์ความรูด้ ้านการควบคุมภายใน ใหแ้ กพ่ นกั งานทกุ ระดบั เพอ่ื ใหต้ ระหนกั ถงึ ความจ�ำ เปน็ และความส�ำ คญั ของการควบคมุ ภายในวา่ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการปฏบิ ตั งิ าน ตามปกติ และปลูกฝังให้ผู้ปฏิบัติงานมีวินัยและทัศนคติที่ดีในเรื่องการควบคุมภายใน ตลอดจนแบ่งปันความรู้ในการพัฒนา ระบบสารสนเทศของระบบงานบริหารควบคุมภายในแกห่ นว่ ยงานภายนอก ดงั น้ี การเสริมสรา้ งความรู้ความเข้าใจแกพ่ นักงานทุกระดับอยา่ งต่อเนื่อง ● จัดอบรมหัวข้อ “การควบคุมภายใน การบริหารความเส่ียง และการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ” ในโครงการ ปฐมนเิ ทศพนกั งานและลกู จา้ งของ กทพ. เพอ่ื ใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของการควบคมุ ภายในทส่ี อดแทรก ในขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านปกติ และลดโอกาสความเสียหายแกต่ นเองและองคก์ าร ● จัดทำ�สื่อประชาสัมพันธ์ องค์ความรู้ด้านการควบคุมภายใน ได้แก่ จัดทำ�ป้ายประชาสัมพันธ์ติดตั้งในสถานที่ ปฏิบตั ิงานต่าง ๆ อาทิ อาคารส�ำ นักงาน อาคารด่านเกบ็ ค่าผ่านทางพิเศษ ศนู ย์ควบคมุ ทางพิเศษสายทางของ กทพ. และจดั ท�ำ แผน่ พบั แจกจ่ายในกิจกรรมภายในตา่ งๆ ของ กทพ. และท่อี าคารด่านเก็บค่าผา่ นทางพิเศษ ● จัดอบรมหลักสูตร “การควบคมุ ภายในและการบริหารความเสีย่ งเพื่อเพ่มิ มูลคา่ องค์กร (Value Creation)” เพือ่ เป็น แนวทางการคิดสรา้ งสรรค์มูลคา่ เพมิ่ จากการปฏิบัตงิ านของพนกั งานทกุ ระดบั ● “จัดซุ้มเผยแพร่ความรู้การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง” ในกิจกรรม EXAT CG DAY ผ่านกิจกรรม การร่วมสนกุ ท่สี อดแทรกความรเู้ ก่ยี วกับการควบคุมภายในและการบริหารความเส่ยี งใหแ้ ก่ผเู้ ข้าร่วมงาน การแบ่งปันความรู้การพัฒนาระบบสารสนเทศ “ระบบงานบริหารควบคุมภายใน” ให้แก่หน่วยงานภายนอก ได้แก่ องค์การจัดการน้ำ�เสีย (อจน.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) กระทรวงคมนาคม 77รายงานประจำ�ปี 255๙
การบริหารความเส่ียง การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย (กทพ.) ด�ำ เนนิ ธรุ กจิ หลกั เกยี่ วกบั การบรกิ ารทางพเิ ศษ โดยมภี ารกจิ ส�ำ คญั คอื การบรรเทาปญั หาจราจร นอกจากนี้ยังมีการดำ�เนินธุรกิจอ่ืนภายใต้แนวคิดการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ท่ีมีอย่างคุ้มค่า ดังนั้น เพื่อให้การดำ�เนินกิจการสัมฤทธ์ิผล และกอ่ ใหเ้ กดิ มลู คา่ อยา่ งยงั่ ยนื ทงั้ ตอ่ องคก์ ารและประเทศ กทพ. จงึ ไดน้ �ำ การบรหิ ารความเสย่ี งมาใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื สนบั สนนุ การด�ำ เนนิ งาน โดยด�ำ เนนิ การบรหิ ารความเสยี่ งตามหลกั การ “การบรหิ ารความเสยี่ งเนน้ มลู คา่ (Value-based Enterprise Risk Management : VBRM) และ อยู่ภายใตก้ รอบแนวทางการบรหิ ารความเสีย่ งท่ีดี (COSO-ERM Portfolio Views of Risk framework) โดยเป้าหมายหลกั ของการบริหาร ความเสยี่ ง คอื การมงุ่ มนั่ จดั การความเสย่ี งทมี่ ตี อ่ การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคอ์ งคก์ ารเพอื่ ลดโอกาสทคี่ วามเสยี่ งจะเกดิ ขน้ึ หรอื ใชโ้ อกาสทม่ี อี ยเู่ พอื่ สรา้ งมูลคา่ หรอื ผลตอบแทนแกอ่ งคก์ าร โดยสอดคลอ้ งกับหลักเกณฑ/์ แนวทางปฏิบตั เิ ก่ียวกบั การบรหิ ารความเสยี่ งและการควบคมุ ภายใน ปี 2555 ของส�ำ นกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกิจ กระทรวงการคลัง และมกี ารทบทวน/ปรับปรุงใหส้ อดคลอ้ งกับสถานการณท์ ่มี ี การเปล่ยี นแปลงไปทุกปี เพอ่ื มุ่งใหอ้ งคก์ ารสามารถด�ำ เนนิ งานได้บรรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายที่ก�ำ หนด โดยสามารถจดั การความเสยี่ ง ใหอ้ ยใู่ นระดับท่ียอมรบั ได้ ปจั จัยทมี่ ีผลกระทบหรือปัจจัยทเ่ี ปน็ ความเส่ียงสำ�คัญของกจิ การ จากผลการบริหารความเสีย่ ง และผลประเมนิ คณุ ภาพองค์การทผ่ี า่ นมา สะท้อนวา่ กทพ. ยงั ต้องเผชญิ กบั สถานการณ์เสยี่ งต่าง ๆ ซ่ึงผันแปรตามแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง และความไม่แน่นอนทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกองค์การ ดังน้ัน กทพ. จึงจำ�เป็นต้องมี การวเิ คราะหส์ ถานการณเ์ สยี่ งขององคก์ ารเพอ่ื ใหส้ ามารถระบคุ วามเสยี่ งองคก์ าร โดยในปงี บประมาณ 2559 พจิ ารณาจาก 2 แรงผลกั ดนั คือ การพฒั นาองคก์ ารของ กทพ. โดยพิจารณาจากระดบั การเรยี นรู้ขององคก์ าร (Organization Learning) และภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศ/ การพฒั นาการขนสง่ และระบบโลจสิ ตกิ ส์ โดยทแ่ี นวโนม้ การเปลย่ี นแปลงและพฒั นาองคก์ ารยงั มสี ญั ญาณทด่ี ี และคาดวา่ จะสามารถพฒั นา ระดับการเรียนร้ขู ององค์การไดต้ ามเปา้ หมาย อย่างไรก็ตาม ยังคงมปี ระเดน็ ความเสี่ยงที่ กทพ. ตอ้ งบริหารจัดการเพ่อื ใหม้ ่ันใจวา่ องคก์ าร จะไม่สูญเสียโอกาสในการพัฒนาธุรกิจเพื่อเสริมสร้างมูลค่าองค์การ และทำ�ให้องค์การมีการเติบโตอย่างย่ังยืนภายใต้ระดับความเส่ียง ที่ยอมรับได้ ดังนั้น ภายใต้ทิศทางการบริหารความเส่ียงของ กทพ. ปีงบประมาณ 2557-2564 กทพ. ได้ทบทวนการวิเคราะห์ สถานการณเ์ สีย่ งภายใต้การคาดการณภ์ าพอนาคต รวมทัง้ ทบทวนการระบุปัจจัยขบั เคลอื่ นความเสีย่ งและสาเหตคุ วามเส่ยี ง ทำ�ใหส้ ามารถ ระบุปจั จัยเสี่ยงหลกั ของ กทพ. ปีงบประมาณ 2559 ได้ทัง้ หมด 3 ด้าน คอื ดา้ นการเงิน ดา้ นกลยุทธ์ และดา้ นกฎหมายและกฎระเบียบ และนำ�มาจัดท�ำ แผนจดั การความเสีย่ ง 3 แผนงาน ได้แก่ 1. แผนงานเพมิ่ ประสิทธผิ ลทางพิเศษ 2. แผนงานบริหารผลการดำ�เนนิ งานทางการเงินของ กทพ. 3. แผนงานการบรหิ ารสญั ญาโครงการทางพิเศษ โดยเชอื่ มโยงการบริหารความเสย่ี งในภาพรวมของ กทพ. อยา่ งมปี ระสทิ ธิผลดว้ ย 5 กลยุทธจ์ ดั การความเสี่ยง ดงั น้ี 1. กลยทุ ธส์ ร้างมลู คา่ เพ่ิมจากการขยายการเตบิ โตสธู่ รุ กจิ อ่ืน บนฐานการใชป้ ระโยชนจ์ ากสนิ ทรัพย์ทม่ี ีอยา่ งเปน็ ระบบ 2. กลยทุ ธ์สร้างโอกาสทางธุรกิจจากการบรหิ ารเงนิ รายไดแ้ ละหน้ี บนฐานการใชต้ น้ ทนุ อยา่ งมีคุณภาพ 3. กลยุทธ์ลดความผันผวนของรายได้ บนฐานการพฒั นา/จัดการนวตั กรรมทางการตลาด และการบรกิ าร 4. กลยทุ ธส์ รา้ งความแขง็ แกรง่ ขององคก์ ารอยา่ งยง่ั ยนื บนฐานการพฒั นาการเรยี นรขู้ ององคก์ ารและการบรู ณาการกระบวนการ ทำ�งานได้สอดคล้องกับเป้าหมาย/ความต้องการขององค์การ รวมถึงการเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับพันธมิตรในการจัดการระบบ การเดินทางและขนส่ง รวมท้ังโลจิสตกิ ส์ 5. กลยุทธ์เพิ่มขีดความสามารถในการลงทุน บนฐานการพัฒนา/จัดการนวัตกรรมทางการบริหารการเงิน การลงทุน เช่น การตั้งกองทุนโครงสรา้ งพนื้ ฐาน (Infrastructure Fund) การต้ังบรษิ ัทจัดการสินทรพั ย์ โดยผลการควบคุมและบริหารความเส่ียงในปีงบประมาณ 2559 พบว่า สามารถจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซง่ึ สะท้อนว่า กทพ. มีการบริหารความเสยี่ งทีด่ ี รวมท้ังในปีงบประมาณ 2559 ได้ทบทวน/ปรับปรุงแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจของ กทพ. (Business Continuity Plan : BCP) ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน และครอบคลุมระบบงานสำ�คัญอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการซักซ้อมแผนบริหาร ความต่อเน่ืองทางธุรกิจทุกแผน เพ่ือเตรียมความพร้อมที่จะแก้ไขสถานการณ์วิกฤตที่อาจเกิดขึ้น และส่งผลต่อการดำ�เนินงานของ กทพ. รวมทงั้ ส่ือสารไปยงั พนักงานเพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ความเขา้ ใจในแผนการบรหิ ารความตอ่ เนือ่ งทางธุรกิจของ กทพ. 78 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
การวจิ ัยและพัฒนาการใหบ้ รกิ ารทางพเิ ศษ การลดปรมิ าณก๊าซเรือนกระจกจากการใช้ทางพิเศษสายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ทางพเิ ศษสายศรรี ัช-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร ระยะทาง 16.7 กโิ ลเมตร ซึง่ เปดิ ใหบ้ ริการเม่อื วนั ที่ 22 สิงหาคม 2559 คาดวา่ จะชว่ ยลดปรมิ าณการเดนิ ทางของรวมประชาชน (Vehicle Kilometre of Travelled) ไดป้ ระมาณ 12,047 กโิ ลเมตร ในปี 2559 และ เพม่ิ ขน้ึ เปน็ 42,855กโิ ลเมตรในปี2583นอกจากจะชว่ ยลดระยะทางลดระยะเวลาการเดนิ ทางซงึ่ เปน็ ผลประโยชนท์ างเศรษฐศาสตรโ์ ดยตรง แล้วยังช่วยลดมลพิษทางอากาศอีกด้วย ซึ่งจากการคำ�นวณการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากโครงการระหว่างปี 2559–2583 พบว่าสามารถลดกา๊ ซเรือนกระจกไดป้ ระมาณ 4 แสนตนั หรือเฉลยี่ กวา่ 16.7 พนั ตัน/ปี คดิ เป็นคา่ ใชจ้ ่ายในการก�ำ จัดมลพิษทางอากาศ เปน็ จำ�นวนประมาณ 236 ล้านบาท การบรรเทาปญั หาการจราจรตดิ ขัดสะสมจากพ้ืนราบ กรณีศกึ ษา : ทางพเิ ศษฉลองรชั กทพ. ไดเ้ ลง็ เหน็ ถงึ ปญั หาการจราจรตดิ ขดั บนทางพเิ ศษ ซง่ึ ในบางจดุ มีผลกระทบจากปญั หา การจราจรบนพ้ืนราบติดขัดสะสมล้นขึ้นมาบน ทางพิเศษ กทพ. จึงได้จัดทำ�แบบจำ�ลองสภาพ จราจรระดับจุลภาค (Microscopic Simulation Model) ข้ึนเพ่ือหามาตรการในการบรรเทาปัญหา ในลักษณะดังกล่าว โดยใช้ทางพิเศษฉลองรัช บริเวณทางลงถนนประเสริฐมนูกิจ (ถนนเกษตร- นวมินทร์) เป็นกรณีศึกษา ผลการศึกษาพบว่า การจัดช่องจราจรด้วยการตีเส้นทึบสามารถลด ปัญหาการจราจรตดิ ขดั โดยรวมไดถ้ ึงรอ้ ยละ 50 กทพ. จึงได้น�ำ มาตรการดงั กล่าวไปใช้จรงิ ใ น ท า ง พิ เ ศ ษ ฉ ล อ ง รั ช บ ริ เ ว ณ ท า ง ล ง ถ น น ประเสริฐมนูกิจ (ถนนเกษตร-นวมินทร์) และทำ� การประเมินผลก่อนและหลังดำ�เนินมาตรการ โดยพบว่าการจราจรบนทางพิเศษฉลองรัช ภาพหลังดำ�เนินมาตรการจัดชอ่ งจราจรดว้ ยเส้นทึบ บรเิ วณทางลง ถ.เกษตร-นวมินทร์ โดยรวมดีขึ้นประมาณร้อยละ 20 ดังน้ัน กทพ. จะน�ำ มาตรการดงั กลา่ วไปใชใ้ นจุดอ่นื ๆ ท่มี ีลกั ษณะปัญหาใกลเ้ คียงกนั ต่อไปเพอ่ื ให้ผู้ใชท้ างได้รับความพงึ พอใจและสะดวกสบายมากท่ีสุด 79รายงานประจำ�ปี 255๙
การพัฒนาระบบป้ายรายงานสภาพจราจรอัจฉริยะ (Smart VMS) และการพัฒนาระบบประมาณระยะเวลา การเดนิ ทางบนทางพิเศษจากข้อมลู แผนทีเ่ สน้ สแี สดงสภาพจราจร กทพ. ไดด้ �ำ เนนิ การพฒั นาระบบปา้ ยรายงานสภาพจราจรอจั ฉรยิ ะ (Smart VMS) สำ�หรับให้บริการข้อมูลสภาพจราจรแก่ผู้ใช้ทางขณะเดินทางบนทางพิเศษ (En Route) โดยไดพ้ ฒั นาปา้ ย Smart VMS รุ่นท่ี 1 ในปี 2552 ส�ำ หรับตดิ ตง้ั ภายในเขตทางพเิ ศษ จ�ำ นวน 24 ปา้ ย ต่อมาในปี 2556 ได้มีข้อร้องเรียนจากประชาชนและข้อหารือของวุฒิสภา เร่ืองการติดตั้งป้าย Smart VMS ในตำ�แหน่งที่ผู้ใช้ทางไม่มีโอกาสเปล่ียนเส้นทางไป ใช้เส้นทางอื่นได้แม้จะทราบสภาพการจราจรบนทางพิเศษแล้วก็ตาม กทพ. จึงปรับปรุง ป้าย Smart VMS รุ่นท่ี 1 ป้าย Smart VMS รุ่นท่ี 2 ในปี 2557 โดยติดตั้งนอกเขตทางพิเศษจำ�นวน 1 ป้าย และมรี ปู แบบของการแสดงผลเชน่ เดยี วกบั ป้าย Smart VMS รุ่นท่ี 1 เพ่ือตอบสนองความต้องการให้เหนือกว่าความคาดหวังของผู้ใช้บริการ กทพ. จึงได้ร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญจากหลายสาขาในการพัฒนารูปแบบของป้าย Smart VMS รุ่นที่ 3 ซ่งึ เพมิ่ การพัฒนาระบบประมาณระยะเวลาการเดนิ ทางบนทางพเิ ศษจากข้อมูล แผนทเ่ี สน้ สแี สดงสภาพจราจรของ กทพ. รวมทง้ั ไดศ้ กึ ษาแนวทางและต�ำ แหนง่ ทเ่ี หมาะสม ในการติดตั้งป้ายนอกเขตทางพิเศษเพิ่มเติม ทำ�ให้ป้าย Smart VMS รุ่นท่ี 3 สามารถ รายงานระยะเวลาการเดินทางแบบอัตโนมัติ ประชาสัมพันธ์ข้อความต่าง ๆ และมี ปา้ ย Smart VMS รุ่นที่ 2 ปา้ ย Smart VMS ร่นุ ท่ี 3 บนทางพเิ ศษฉลองรชั ป้าย Smart VMS รุ่นที่ 3 บนถนนประดษิ ฐม์ นธู รรม ป้าย Smart VMS รนุ่ ที่ 4 ศักยภาพในการรายงานภาพเคล่ือนไหวสภาพจราจรบนทางพิเศษ ซ่ึงปัจจุบัน กทพ. ได้ติดตั้งป้ายรายงานระยะเวลาการเดินทางบน ทางพเิ ศษ ณ ทางพเิ ศษฉลองรชั จ�ำ นวน 2 ปา้ ย และบนถนนประดษิ ฐม์ นธู รรมกอ่ นเขา้ ดา่ นเกบ็ คา่ ผา่ นทางพเิ ศษรามอนิ ทรา จ�ำ นวน 1 ปา้ ย เพ่ือให้ครอบคลุมพื้นที่การให้บริการมากยิ่งขึ้น กทพ. จึงได้ติดตั้งป้าย Smart VMS รุ่นท่ี 4 บนทางพิเศษเฉลิมมหานครและ ทางพเิ ศษฉลองรัช จำ�นวน 4 ปา้ ย และทางพิเศษศรีรัช จ�ำ นวน 4 ปา้ ย ตวั อย่างต�ำ แหนง่ การตดิ ตัง้ ปา้ ย Smart VMS แตล่ ะรนุ่ 80 รายงานประจำ�ปี 255๙
81รายงานประจำ�ปี 255๙
การดำ�เนนิ งานด้านความรบั ผิดชอบต่อสังคม ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ได้ให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ควบคู่ไปกับ การดำ�เนนิ งานในภารกจิ หลกั ในการแก้ไขปญั หาจราจรดว้ ยการให้บรกิ ารทางพเิ ศษ โดย กทพ. ได้จดั ท�ำ แผนแม่บทเชิงกลยุทธ์ ด้านความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม (Strategic Corporate Social Responsibility Master Plan) ระยะยาว 5 ปี (2559-2563) ซึ่งประกอบด้วยยุทธศาสตร์ท่ีสำ�คัญในการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม เพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนา ทยี่ งั่ ยืน ดังนี้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ความรบั ผดิ ชอบในกระบวนการทางธุรกจิ (Sustainable Business) เป้าหมายเพ่อื ให้ กทพ. สามารถ บรู ณาการความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมภายในหว่ งโซค่ ณุ คา่ ตง้ั แตต่ น้ น�้ำ (Upstream) คอื คคู่ า้ /ผสู้ ง่ มอบ ผา่ นมาสกู่ ลางน�้ำ (Midstream) คอื กทพ. จนถึงปลายนำ้� (Downstream) คือ ผูใ้ ช้บรกิ ารทางพิเศษ มีกลยทุ ธย์ ่อย ดังนี้ กลยทุ ธ์ 1.1 การสร้างสรรค์ กลยทุ ธ์ 1.2 การปฏบิ ัติดำ�เนนิ งาน กลยทุ ธ์ 1.3 ความรับผดิ ชอบ คุณภาพชวี ติ บคุ ลากร อยา่ งมธี รรมาภิบาล ต่อการให้บริการทางพเิ ศษ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสรา้ งเสริมการยอมรบั จากชมุ ชนและสังคมอย่างเปน็ ธรรม (Sustainable Society) เปา้ หมาย เพื่อให้การดำ�เนินงาน กทพ. เป็นท่ียอมรับจากชุมชนและสังคม โดยให้ความสำ�คัญต่อการบรรเทาผลกระทบเชิงลบที่เกิดข้ึน จากการดำ�เนินงานของ กทพ. เช่น ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเวนคืน ชุมชนรอบเขตทางพิเศษ รวมท้ังมีการริเริ่มกิจกรรม เพ่ือสังคม (CSR-after-Process) ท่ีเข้าไปพัฒนาชุมชนและสังคม โดยเน้นการสร้างอาชีพและพัฒนาเศรษฐกิจในท้องถ่ิน มกี ลยุทธ์ยอ่ ย ดงั น้ี กลยุทธ์ 2.1 การสง่ เสรมิ กลยทุ ธ์ 2.2 การสร้างการมีสว่ นร่วม การบรหิ ารความสัมพันธ์ ผู้ถูกเวนคืน พฒั นาดูแลชุมชนและสงั คมอย่างยง่ั ยืน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพฒั นาขดี ความสามารถตอ่ การบรรเทาและพฒั นาสงิ่ แวดลอ้ ม (Sustainable Planet) เปา้ หมาย เพ่ือให้ กทพ. สามารถบรรเทาและพฒั นาสิ่งแวดล้อมให้เปน็ ทย่ี อมรับในระดบั สากล โดยใหค้ วามส�ำ คญั กับการบรรเทาผลกระทบ ทางดา้ นสิ่งแวดล้อมตา่ ง ๆ ท่ีสำ�คญั ต่อการดำ�เนินงานของ กทพ. อาทิ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ความหลากหลายทาง ชวี ภาพ การบรหิ ารจดั การวสั ดุ และการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพพลงั งาน เปน็ ตน้ รวมถงึ การพฒั นาปรบั ปรงุ สง่ิ แวดลอ้ มทด่ี ใี นอนาคต มกี ลยุทธย์ อ่ ย ดงั นี้ กลยุทธ์ 3.1 การสง่ เสรมิ ความรบั ผดิ ชอบ กลยุทธ์ 3.2 การดแู ลประสิทธภิ าพการใชพ้ ลงั งาน ต่อสงิ่ แวดล้อมในการดำ�เนนิ งาน และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อการบ(รSรขuเsีดทtคกaาวiแาnราลaมพะbสฒัพleาฒั นมPานาlaราnถสeิง่ tแ) วดล้อม แ(ลกSะาuสรsกยงัtaาคอiรมnมสaอรรbบัยา้ lา่eจงงเาSสเกปoรชน็cมิ มุ iธeชรtyนร)ม (Sกuรคsะวtบาaมวinนรaบักbาผleรดิ ทBชาuองsบธinใุรeนกsจิ s) ภาพรวมแผนแมบ่ ทเชงิ กลยุทธด์ ้านความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมระยะยาว 5 ปี (2559-2563) 82 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
ในปีงบประมาณ 2559 กทพ. ได้ดำ�เนินกิจกรรมเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมท้ังสังคมใกล้และสังคมไกล ให้ครอบคลุมผูม้ ีส่วนได้เสยี ของ กทพ. ทั้ง 7 กลุ่ม ไดแ้ ก่ ผู้ใชบ้ รกิ ารทางพเิ ศษ ภาครัฐในฐานะเจ้าของ เจา้ หนา้ ท่ี กทพ. ผู้ทไี่ ด้รับ ผลกระทบจากการเวนคืน คู่คา้ ชุมชนรอบเขตทางพิเศษ และสังคม รวม 51 กิจกรรม แบ่งตามยทุ ธศาสตร์ไดด้ ังน้ี ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ความรับผิดชอบในกระบวนการทางธุรกจิ (Sustainable Business) เช่น (1) การฝกึ ซ้อมดบั เพลงิ พน้ื ท่เี ขตทางพเิ ศษทุกสายทาง (2) กิจกรรมสรา้ งความสัมพันธก์ บั ลูกค้าผใู้ ชบ้ ริการทางพเิ ศษ (3) โครงการ “ด่านสวยสดใส บริการฉับไว ใส่ใจผู้ใชท้ าง” (4) โครงการหนว่ ยบริการประชาชนในชว่ งเทศกาลปใี หม่และสงกรานต์ (5) การบริหารงานด้านบริการตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 ในงานชำ�ระค่าผ่านทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ/ สายบางนา-ทา่ เรอื /สายดาวคะนอง-ท่าเรือ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสรา้ งเสริมการยอมรับจากชมุ ชนและสงั คมอย่างเปน็ ธรรม (Sustainable Society) เชน่ (1) โครงการ “ยุวชนการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย” (2) โครงการ “จกั รยานเพอื่ เดก็ ไทยจากใจ กทพ.” (3) โครงการ “ทางด่วนเพื่อเยาวชน” (4) โครงการ “แบ่งปันรอยย้มิ แดน่ อ้ งริมทางดว่ น เนอื่ งในโอกาสวันเด็กแหง่ ชาต”ิ (5) กิจกรรม “ทางด่วนลดั ฟา้ ขา้ มกรงุ ” ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาขดี ความสามารถตอ่ การบรรเทาและพฒั นาส่งิ แวดล้อม (Sustainable Planet) เช่น (1) โครงการ “กล่องวิเศษ ทางพเิ ศษรกั ษโ์ ลก” (2) โครงการจดั ท�ำ คาร์บอนฟุตฟร้ินทข์ ององคก์ ร (3) การจดั หาระบบคอมพิวเตอรท์ ี่เป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม (Green ICT) (4) โครงการตรวจวัดคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มบรเิ วณดา่ นเก็บค่าผา่ นทางและอาคารส�ำ นักงาน (5) การบรหิ ารคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ มตามมาตรฐาน ISO 14001 รายงานความรับผดิ ชอบต่อสงั คม (CSR Report) ในปีงบประมาณ 2559 กทพ. ได้พฒั นาการจดั ทำ�รายงานความรบั ผิดชอบต่อสังคม (CSR Report) ประจ�ำ ปี 2558 ตามกรอบรายงานสากลขององคก์ ารแห่งความรเิ ริ่มว่าด้วยการรายงานสากล (Global Report Initiative : GRI) จากฉบับ G3.1 เปน็ ฉบบั G4 เพอ่ื พฒั นาการเปดิ เผยขอ้ มลู งานดา้ นความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและความโปรง่ ใส ของ กทพ. ตลอดจนสรา้ งความเขา้ ใจ ในทิศทางและการดำ�เนนิ งานต่อสาธารณชนและกล่มุ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี 83รายงานประจำ�ปี 255๙
ผลการดำ�เนนิ งานในรอบปี ๒๕๕๙ ปี 2559 การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย (กทพ.) กระทรวงคมนาคม ยงั คงมงุ่ มน่ั ในการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ การให้บริการทางพิเศษอย่างมีคุณภาพ โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาการจราจรในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล บนรากฐาน การบริหารจัดการท่ีดี มีศักยภาพเชิงธุรกิจ ตลอดจนความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม ปัจจุบัน กทพ. ได้เปิดให้บริการ ทางพิเศษรวม 8 สายทาง 4 ทางเช่ือมต่อ รวมระยะทาง 224.6 กิโลเมตร ประกอบด้วย ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษศรีรัช ทางพิเศษฉลองรัช (ทางพิเศษสายรามอินทรา-อาจณรงค์ และทางพิเศษสายรามอินทรา-วงแหวนรอบนอก กรุงเทพมหานคร) ทางพิเศษบูรพาวิถี ทางพิเศษอุดรรัถยา ทางพิเศษสายบางนา-อาจณรงค์ ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพล-ี สขุ สวสั ด)ิ์ และทางพเิ ศษสายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร รวมทง้ั ทางยกระดบั ดา้ นทศิ ใตส้ นามบนิ สวุ รรณภมู ิ เชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี ทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสด์ิ) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ทางเชื่อมต่อ เฉลิมราชดำ�ริ 84 พรรษา (ทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสด์ิ) กับถนนวงแหวนอุตสาหกรรม) และ ทางเชอ่ื มตอ่ ทางพเิ ศษศรีรัช สว่ นดี (อโศก-ศรนี ครินทร์) กับถนนจตุรทศิ ช่วง ค. ทางพิเศษทเี่ ปิดใหบ้ รกิ ารในปี 2559 กทพ. ไดเ้ ปิดให้บรกิ ารทางพิเศษสายศรรี ัช-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร เมอื่ วนั ที่ 22 สงิ หาคม 2559 โครงการก่อสร้างทางพิเศษในอนาคต 1. โครงการทางพเิ ศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานครดา้ นตะวนั ตก มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพื่อใช้เป็นเส้นทางทดแทนในกรณีท่ีสะพานพระราม 9 ต้องปิดซ่อมบำ�รุงใหญ่ ทำ�ให้เส้นทางเช่ือมโยงไปสู่ภาคใต้ไม่เกิดปัญหา รวมท้ังแบ่งเบาปัญหาการจราจรติดขัดบนถนนพระรามที่ ๒ ช่วงดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกฯ และทางพิเศษเฉลิมมหานคร ช่วงบางโคล่-ดาวคะนอง มีระยะทาง 18.7 กิโลเมตร จุดเริ่มต้นโครงการเชื่อมต่อกับโครงการทางยกระดับบนทางหลวง หมายเลข 35 (ธนบุรี-ปากท่อ) และมีทางขึ้น-ลงที่จุดเร่ิมต้นโครงการบริเวณ กม. 13+000 ของถนนพระรามท่ี 2 เป็นทาง ยกระดับขนาด 6 ช่องจราจร (ทิศทางละ 3 ช่องจราจร) ซ้อนทับไปตามแนวเกาะกลางถนนพระรามท่ี 2 มาทางด้าน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือจนถึงด่านเก็บค่าผ่านทางดาวคะนอง จากน้ันซ้อนทับบนทางพิเศษเฉลิมมหานครจนถึงบริเวณ ถนนพระรามท่ี 3 ใกล้กับทางแยกต่างระดับบางโคล่ ซ่ึงเป็นจุดสิ้นสุดโครงการโดยเช่ือมต่อกับทางพิเศษเฉลิมมหานครและ ทางพเิ ศษศรรี ัช ช่วงท่ขี ้ามแมน่ ้ำ�เจ้าพระยาจะก่อสรา้ งสะพานใหมข่ นาด 8 ชอ่ งจราจร (ทิศทางละ 4 ช่องจราจร) ขนานอย่ทู าง ด้านทิศใตข้ องสะพานพระราม 9 มีทางข้นึ -ลง 7 แหง่ 84 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
2. โครงการระบบทางด่วนขัน้ ท่ี 3 สายเหนือ ตอน N2 และ E-W Corridor ดา้ นตะวนั ออก มวี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ แกไ้ ข ปัญหาจราจร ปรับปรุงทางแยกเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของถนนประเสริฐมนูกิจ และเชื่อมต่อโครงข่ายทางพิเศษกับถนนวงแหวน รอบนอกดา้ นตะวนั ออกแบง่ เบาปรมิ าณจราจรระดบั ดนิ รวมทงั้ ระบายการจราจรทางดา้ นทศิ ตะวนั ออกระหวา่ งกรงุ เทพมหานคร และจังหวัดใกลเ้ คียงใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ มรี ะยะทางประมาณ 10 กโิ ลเมตร จุดเริม่ ตน้ โครงการบรเิ วณ กม. 1+000 ของ ถนนประเสริฐมนูกิจ เป็นทางยกระดับขนาด 4 ช่องจราจร (ทิศทางละ 2 ช่องจราจร) ซ้อนทับไปตามแนวเกาะกลาง ถนนประเสรฐิ มนกู จิ มาทางดา้ นทศิ ตะวนั ออก ขา้ มผา่ นทางแยกวงั หนิ (ถนนลาดปลาเคา้ ) ทางแยกเสนานคิ ม ทางแยกสคุ นธสวสั ด์ิ ทางพเิ ศษฉลองรชั บรเิ วณจดุ ตดั ระหวา่ งถนนประเสรฐิ มนกู จิ กบั ถนนประดษิ ฐม์ นธู รรม ทางแยกทางหลวงหมายเลข 350 ทางแยก ถนนนวมินทร์ และส้นิ สุดโครงการเชอ่ื มต่อกบั ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวนั ออก 3. โครงการทางพเิ ศษสายบรู พาวถิ -ี พทั ยา มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เชอ่ื มโยงโครงขา่ ยทางพเิ ศษบรู พาวถิ ไี ปยงั ภาคตะวนั ออก เชื่อมต่อการเดินทางไปยังนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรือแหลมฉบัง รองรับการพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเท่ียวของเมืองชลบุรี และเมืองพัทยา รวมทั้งเป็นเส้นทางท่ีใช้ในการเดินทางและการขนส่งสินค้าในกรณีเกิดเหตุการณ์ภัยธรรมชาติและเหตุฉุกเฉิน มรี ะยะทาง 68 กโิ ลเมตร เป็นทางยกระดบั ขนาด 6 ชอ่ งจราจร (ทิศทางละ 3 ช่องจราจร) เรม่ิ ตน้ ท่ีปลายทางพเิ ศษบูรพาวิถี บรเิ วณดา่ นชลบรุ ี มงุ่ ไปทางทศิ ใตต้ ามทางเลยี่ งเมอื งจงั หวดั ชลบรุ ี ขนานกบั ทางหลวงพเิ ศษระหวา่ งเมอื งหมายเลข 7 (มอเตอรเ์ วย์ กรงุ เทพฯ-ชลบรุ ี) โดยอยูด่ ้านซา้ ยผ่านศรรี าชา หลงั จากนน้ั จะเบ่ยี งไปดา้ นขวาของทางหลวงพเิ ศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 และ มีเส้นทางเช่ือมกบั ทา่ เรอื แหลมฉบัง สนิ้ สดุ โครงการโดยเชือ่ มทางหลวงพิเศษระหวา่ งเมอื งหมายเลข 7 ก่อนที่จะเขา้ สเู่ มอื งพัทยา 4. โครงการทางพิเศษสายอุดรรัถยา-พระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์เพ่ือเชื่อมโยงโครงข่ายทางพิเศษอุดรรัถยา ไปยังภาคกลาง และมีเส้นทางเช่ือมต่อไปยังศูนย์ศิลปาชีพบางไทร รวมท้ังเป็นเส้นทางท่ีใช้ในการเดินทางและการขนส่งสินค้า ในกรณเี กดิ เหตุการณ์ภยั ธรรมชาตแิ ละเหตฉุ กุ เฉิน มีระยะทาง 42 กโิ ลเมตร เปน็ ทางยกระดบั ขนาด 4 ช่องจราจร (ทศิ ทางละ 2 ชอ่ งจราจร) เชอ่ื มต่อไปจากทางพิเศษอดุ รรัถยาที่บริเวณด่านบางปะอิน อ�ำ เภอบางปะอนิ ไปทางทิศเหนอื ผา่ นอำ�เภอบางไทร อำ�เภอบางบาล ไปสิ้นสุดทท่ี างหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 32 ทอ่ี ำ�เภอบางปะหัน จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา 5. โครงการทางพิเศษสายฉลองรัช-นครนายก-สระบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมโยงโครงข่ายทางพิเศษจาก กรงุ เทพมหานครไปยงั จงั หวดั ปทมุ ธานดี า้ นตะวนั ออก จงั หวดั นครนายก จงั หวดั สระบรุ ี และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มรี ะยะทาง 104.7 กิโลเมตร เป็นทางยกระดับขนาด 6 ช่องจราจร (ทิศทางละ 3 ชอ่ งจราจร) ต่อเชอื่ มกับทางพเิ ศษฉลองรชั ทดี่ ่านจตุโชติ บริเวณถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันออก แนวสายทางจะไปทางทิศตะวันออก ตัดผ่านถนนหทัยราษฎร์ ถนนนมิ ติ ใหม่ ข้นึ ไปทางทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือ ตดั ผ่านถนนลำ�ลูกกา ทางหลวงชนบท นย. 3001 ถนนรังสิต-นครนายก แลว้ ขน้ึ ไปทางทศิ เหนอื ตดั ผา่ นทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 33 (ถนนสวุ รรณศร) จากนนั้ ตดั ขา้ มและเลยี บไปตามแนวทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3222 เช่ือมต่อกับโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายบางปะอิน-นครราชสีมา และทางเล่ียงเมืองสระบุรี ดา้ นตะวันออก แล้วจึงเข้าบรรจบทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมติ รภาพ) ทอ่ี ำ�เภอแกง่ คอย จังหวัดสระบุรี ท่ี กม. 10+700 6. โครงการทางพิเศษสายกะทู้-ป่าตอง จังหวัดภูเก็ต มีวัตถุประสงค์เพ่ือเชื่อมโยงการเดินทางจากอ�ำ เภอกะทู้ไปยัง หาดปา่ ตอง อำ�นวยความสะดวกในการเดนิ ทางให้กับคนในพน้ื ที่ นักท่องเทยี่ ว และส่งเสริมการท่องเทยี่ วในจังหวัดภเู ก็ต รวมถงึ แกไ้ ขปัญหาการจราจร และอุบตั เิ หตบุ นทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 4029 และเป็นเส้นทางอพยพกรณเี กิดภยั พิบัติ มีระยะทาง 3.98 กิโลเมตร เป็นทางพิเศษขนาด 4 ชอ่ งจราจรตอ่ ทศิ ทาง (สำ�หรับรถยนต์ 2 ชอ่ งจราจร และรถจกั รยานยนต์ 2 ชอ่ งจราจร) เรมิ่ ตน้ โครงการทีต่ ำ�บลปา่ ตอง บริเวณถนนพระเมตตา (ถนนผังเมืองรวมสาย ก) เป็นทางยกระดับขา้ มถนนพิศษิ ฐ์กรณีย์ จนถงึ เขานาคเกิด ระยะทาง 0.9 กิโลเมตร แล้วจึงเป็นอุโมงค์ ระยะทาง 1.85 กิโลเมตร หลังจากน้ันเป็นทางยกระดับ ระยะทาง 1.23 กโิ ลเมตร สิ้นสดุ โครงการท่ีต�ำ บลกะทู้ บรเิ วณจุดตดั กบั ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 4029 85รายงานประจำ�ปี 255๙
ระบบเกบ็ คา่ ผ่านทางพเิ ศษอัตโนมัติ Easy Pass การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ได้เปิดให้บริการระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษอัตโนมัติ โดยใช้บัตรอัตโนมัติ (Easy Pass) ในทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษฉลองรัช ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) ทางพิเศษศรีรัช ทางพิเศษบูรพาวิถี และทางพิเศษอุดรรัถยา รวมทั้งทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเช่ือมทางพิเศษบูรพาวิถี และ ทางเช่อื มต่อทางพเิ ศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สขุ สวัสด์ิ) กับทางพเิ ศษบูรพาวถิ ี โดยขณะน้ี กทพ. ไดจ้ ำ�หนา่ ยบตั ร Easy Pass ไปแลว้ รวมจ�ำ นวน 1,201,119 ชุด (ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2559) ปจั จุบนั กทพ. ได้อำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ใชบ้ ริการบตั รอตั โนมัติ (Easy Pass) โดยเพ่มิ ชอ่ งทางการเติมเงนิ ส�ำ รองบตั ร Easy Pass ผ่านหน่วยงานภายนอก ได้แก่ การเติมเงินผ่านช่องทางเอทีเอ็ม อินเตอร์เน็ตแบงค์กิ้ง และโมบายแบงค์กิ้งของ ธนาคารพาณิชย์ จำ�นวน 7 แห่ง ไดแ้ ก่ ธนาคารกรุงไทย จ�ำ กดั (มหาชน) ธนาคารไทยพาณชิ ย์ จ�ำ กัด (มหาชน) ธนาคารกสกิ รไทย จำ�กดั (มหาชน) ธนาคารกรงุ เทพ จำ�กดั (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จำ�กดั (มหาชน) ธนาคารกรงุ ศรอี ยุธยา จ�ำ กดั (มหาชน) และ ธนาคารยโู อบี จำ�กดั (มหาชน) รวมทง้ั ได้เปิดให้บริการเตมิ เงินส�ำ รองบตั ร Easy Pass ผา่ นบรษิ ทั เอกชน จำ�นวน 4 แหง่ ไดแ้ ก่ การชำ�ระผ่านช่องทางของร้านสะดวกซื้อผ่านบริษัท เคาน์เตอร์ เซอร์วิส จำ�กัด การชำ�ระผ่านบัตรเครดิต VISA ผ่านระบบของ บรษิ ทั อซี ี่ ทอ็ ป อพั จ�ำ กดั การช�ำ ระผา่ นชอ่ งทางบรกิ าร “จดุ ใหบ้ รกิ าร Tesco Lotus” ของบรษิ ทั เอกชยั ดสิ ทรบิ วิ ชนั่ ซสิ เทม จ�ำ กดั และการชำ�ระผ่านช่องทางบริการ Wallet By True Money ของบริษัท ทรูมันน่ี จำ�กัด รวมถึงได้ให้บริการศูนย์บริการลูกค้า บตั รอัตโนมตั ิ Easy Pass Fast Service ณ สถานบี รกิ ารน�้ำ มัน ปตท. สาขาสวัสดกิ ารส�ำ นกั งานปลัดกระทรวงกลาโหม (บางนา ขาออก) ตัง้ แตเ่ วลา 9.30–15.30 น. ในวันทำ�การและวันเสาร์ ซงึ่ เป็นอกี ชอ่ งทางหนึ่งทอ่ี �ำ นวยความสะดวกให้กับผู้ใช้บริการ นอกจากนี้ กทพ. และกรมทางหลวง ได้เตรียมเปิดให้บริการระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษอัตโนมัติเชื่อมต่อกันระหว่าง บัตร M-Pass และบตั ร Easy Pass ภายในเดือนตุลาคม 2559 การพฒั นาพน้ื ทีใ่ นเขตทางพเิ ศษ ในปงี บประมาณ 2559 กทพ. ไดม้ กี ารพัฒนาพ้ืนทเี่ พื่อสาธารณประโยชน์ จำ�นวน 10,796.47 ตารางวา โดยมบี รเิ วณ พน้ื ท่ตี วั อย่างที่ได้ด�ำ เนนิ การ ดังนี้ ทางพเิ ศษศรรี ชั 1. บรเิ วณตา่ งระดับมักกะสนั เพอ่ื จัดท�ำ สวนสาธารณะ จำ�นวนเนือ้ ที่ 4,938 ตารางวา 2. บรเิ วณโรงแรมทองพูน ถนนพระรามที่ 6 เพื่อจดั ท�ำ ลานกีฬา จำ�นวนเน้อื ที่ 419 ตารางวา 3. บรเิ วณโครงการจกั รยาน (ชว่ งถนนสามคั ค-ี ซอยวดั บวั ขวญั ) เพอ่ื ปกั เสา-พาดสายไฟฟา้ จ�ำ นวนเนอ้ื ท่ี 359 ตารางวา ทางพเิ ศษฉลองรชั 1. บรเิ วณจุดกลบั รถใตส้ ะพานซอยศูนยว์ จิ ัย เพือ่ ดำ�เนนิ โครงการบา้ นหนังสอื จ�ำ นวนเนอ้ื ที่ 191 ตารางวา 2. บริเวณใกล้ซอยสคุ นธสวัสดิ์ เพ่ือจัดทำ�ลานกฬี า จำ�นวนเนือ้ ท่ี 1,215 ตารางวา 86 รายงานประจำ�ปี 255๙
3. บริเวณต่อมอ่ ที่ 19+814.800 ถึง 19+874.800 เพ่ือจอดรถยนต์ จำ�นวนเน้ือที่ 374 ตารางวา 4. บรเิ วณจุดกลบั รถหน้าหา้ งเทสโก้โลตัส เพอื่ ปรับปรุงและเพิม่ จดุ กลับรถ จำ�นวนเนือ้ ท่ี 1,200 ตารางวา 5. บริเวณซอยรามคำ�แหง 4 เพื่อจอดรถยนต์ จำ�นวนเนอ้ื ท่ี 545 ตารางวา ทางพิเศษอุดรรถั ยา 1. บริเวณซอยพระแมม่ หาการณุ ย์ เพือ่ ใชเ้ ป็นสถานท่เี ก็บรถยนต์ของกลาง จ�ำ นวนเนอ้ื ท่ี 499 ตารางวา 2. บรเิ วณซอยวดั บางพูน เพ่อื ปรับปรุงถนนและตดิ ตั้งไฟฟา้ แสงสว่าง จำ�นวนเน้อื ที่ 2,276 ตารางวา การให้บริการเว็บไซต์ กทพ. (www.exat.co.th) กทพ. ดำ�เนินการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลการดำ�เนินงานด้านต่าง ๆ ผ่านทางเว็บไซต์ กทพ. (www.exat.co.th) โดยมีการปรับปรุงและพัฒนาข้อมูลบนเว็บไซต์อย่างสมำ่�เสมอ มีการให้บริการแผนที่แบบโต้ตอบได้ (Smart Interactive Map : SIMAP) และการรายงานสภาพจราจรแบบทันการณ์บนทางพิเศษ (Schematic Map) ทำ�หน้าที่เป็นระบบแสดงผลการรายงาน สภาพจราจรแบบเส้นสีบนแผนที่ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลกับระบบป้ายจราจรอัจฉริยะ ITS เพ่ือให้ผู้ใช้บริการ ทางพิเศษท่ีสนใจได้ศึกษาเส้นทางพิเศษล่วงหน้าก่อนเดินทาง ซึ่งเป็นการรายงานข้อมูลสภาพการจราจรบนทางพิเศษ ที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) และยังมีระบบรับเร่ืองร้องเรียนทางหน้าเว็บไซต์ กทพ. เพื่อให้ผู้ใช้บริการทางพิเศษและประชาชน ทต่ี ้องการสอบถามขอ้ มลู สามารถร้องเรยี น ติชม และเสนอแนะการบรกิ าร รวมถงึ มีการเผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสารผ่านทางสอื่ สงั คม ออนไลน์ (Social Media Network) ช่องทาง Facebook (http://facebook.com.Expressway.Thailand) และช่องทาง Twitter (https://twitter.com/ExatWebmaster) โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่องในทุกช่องทาง ซึ่งในปี 2559 มีจำ�นวน ผเู้ ขา้ เย่ยี มชมเว็บไซต์ กทพ. เฉล่ยี 5,874 ราย/ปี 87รายงานประจำ�ปี 255๙
การให้บริการศนู ย์บรกิ ารข้อมูลผู้ใช้ทางพเิ ศษ (EXAT Call Center) ศนู ยบ์ รกิ ารขอ้ มลู ผใู้ ชท้ างพเิ ศษ (EXAT Call Center) หมายเลขโทรศพั ท์ 1543 ดำ�เนินงานให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารของ กทพ. ข้อมูลเก่ียวกับ เสน้ ทางการจราจรและสภาพการจราจรบนทางพเิ ศษสายตา่ งๆ รบั แจง้ เหตฉุ กุ เฉนิ / อบุ ตั เิ หตหุ รอื การขอรบั ความชว่ ยเหลอื บนทางพเิ ศษโดยการประสานงานเพอื่ อำ�นวยความสะดวก และให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ใช้ทางพิเศษและประชาชน โดยท่ัวไปได้โดยเร็ว รวมทั้งรับแจ้งเร่ืองร้องเรียนและข้อเสนอแนะ ตลอดจน ติดตามผลการแก้ไขเรื่องร้องเรียนให้เป็นท่ียุติโดยเร็ว ตลอด 24 ชั่วโมง โดยในปงี บประมาณ 2559 ไดป้ รบั ปรงุ ระบบการใหบ้ รกิ ารและระบบควบคมุ ความปลอดภยั คอมพวิ เตอรแ์ มข่ า่ ย พรอ้ มทง้ั ประชาสมั พนั ธศ์ นู ยบ์ รกิ ารขอ้ มลู ผใู้ ชท้ างพเิ ศษ (EXAT Call Center) โดยมโี ครงการผลติ สปอตโทรทศั นแ์ ละวทิ ยุ เพอ่ื เผยแพรช่ อ่ งทางการให้บริการแก่ประชาชนทางสอ่ื สงั คมออนไลนต์ ่าง ๆ รวมถงึ โครงการอ�ำ นวยความสะดวกและปลอดภยั ในชว่ งเทศกาลปใี หม่ 2559 และโครงการอำ�นวยความสะดวกและปลอดภัยในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2559 ซึ่งเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและสร้างความเช่ือม่ันในองค์การ ใหก้ บั ประชาชนผู้ใช้บรกิ าร โดยมจี �ำ นวนผูใ้ ชบ้ รกิ ารเฉลีย่ วนั ละ 1,321 ราย ระบบเครอื ข่ายอินทราเน็ต กทพ. ระบบเสยี งตามสาย กทพ. (EXAT Sound) ระบบปา้ ยดิจติ อล กทพ. (EXAT Digital Signage) และจอเผยแพรข่ อ้ มูลข่าวสาร ระบบสัมผัส Multi-Touch Systems (I-Touch) กทพ. มชี อ่ งทางการเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารภายในหนว่ ยงานผา่ นทางระบบเครอื ขา่ ยอนิ ทราเนต็ กทพ. ระบบเสยี งตามสาย กทพ. (EXAT Sound) ระบบป้ายดิจติ อล กทพ. (EXAT Digital Signage) และจอเผยแพรข่ ้อมลู ขา่ วสารระบบสัมผัส Multi-Touch Systems (I-Touch) ในรปู แบบข้อมลู ข่าวสาร ข่าวประชาสมั พนั ธ์ ภาพนิ่ง ภาพวีดทิ ัศน์ ภาพกราฟกิ ขอ้ ความ และประกาศขา่ ว ตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การปฏบิ ตั งิ าน อนั จะเปน็ การพฒั นาการเรยี นรแู้ ละทกั ษะใหแ้ กบ่ คุ ลากร รวมถงึ การสรา้ งบรรยากาศทดี่ ี ในการทำ�งาน ตลอดจนเปน็ สื่อกลางในการส่อื สารแบบ 2 ทาง (Two Way Communication) เอื้อประโยชนต์ อ่ การพัฒนาบุคลากร และหนว่ ยงาน การใหบ้ รกิ ารศนู ย์ขอ้ มูลข่าวสารของ กทพ. (EXAT Public Information Center) ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ กทพ. ให้บริการข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนตามมาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 11 แห่ง พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ให้ได้รับความสะดวก รวดเร็ว รวมทั้งเป็นวิทยากรรับเชิญบรรยาย ความรู้เก่ียวกับ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 และเป็นที่ศึกษาดูงานให้กับหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจ ต่าง ๆ เพ่ือให้การจัดต้ังศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นไปในแนวทางเดียวกับหน่วยงานต้นแบบศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ของ กทพ. ต้ังอยู่บริเวณด้านหน้าการทางพิเศษ แหง่ ประเทศไทยส�ำ นกั งานใหญ่เลขที่2380ถนนพหลโยธนิ แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2940 1196, 0 2558 9800 ต่อ 2244 โทรสาร 0 2940 1198 เปิดให้บริการในวันและเวลา ราชการ ต้ังแต่เวลา 08.30-16.30 น. นอกเวลาท�ำ การ สามารถติดต่อผ่านทาง EXAT Call Center หมายเลข โทรศพั ท์ 1543 ตลอด 24 ชว่ั โมง (ไมเ่ วน้ วนั หยดุ ราชการ) หรอื ดขู อ้ มลู เพม่ิ เตมิ ไดท้ างเวบ็ ไซต์ กทพ. www.exat.co.th 88 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
การใหบ้ ริการศนู ย์บริการที่เดยี วเบด็ เสร็จ (One Stop Service Center) กทพ. ไดจ้ ัดตง้ั ศนู ย์บริการท่เี ดยี วเบด็ เสรจ็ ท่อี าคาร สำ�นักงาน กทพ. จตุจักร เพ่ือให้บริการประชาชนใน การเติมเงินสำ�รองบัตรอัตโนมัติ (Easy Pass) ออก ใบกำ�กับภาษี รับชำ�ระค่าเช่าพ้ืนที่ในเขตทางพิเศษ ขาย เอกสารการจัดซ้ือจัดจ้าง ให้บริการตรวจสอบแนวเวนคืน และให้บริการข้อมูลข่าวสารท่ัวไปเก่ียวกับ กทพ. รวมทั้ง ให้บริการชำ�ระค่าสินค้าและบริการผ่านเคาน์เตอร์เซอร์วิส (Counter Service) การจดั กจิ กรรมเพอ่ื สรา้ งความสัมพันธก์ บั ผใู้ ช้บริการทางพเิ ศษ 1. โครงการทางด่วนลดั ฟ้าข้ามกรงุ คร้งั ท่ี 1 ประจำ�ปี 2559 กทพ. ร่วมกบั สถานีวทิ ยเุ พือ่ การจราจร สวพ. ๙๑ จัดกจิ กรรม “ทางดว่ นลดั ฟา้ สร้างบา้ นปลา-บา้ นหอย ตามรอยพ่อ” ระหว่างวันท่ี 12-13 มนี าคม 2559 โดยนำ�ผใู้ ชบ้ ริการ ทางพิเศษเข้าร่วมกิจกรรมเพ่ือสร้างบ้านปลา-บ้านหอย รวมท้ังไถ่ชีวิตปูทะเลปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนา อ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำ รพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั จงั หวัดจันทบุรี 2. โครงการทางดว่ นลดั ฟา้ ขา้ มกรงุ ครง้ั ท่ี 2 ประจ�ำ ปี 2559 กทพ. รว่ มกบั สถานวี ทิ ยุ จส. ๑๐๐ จดั กจิ กรรม “ทางดว่ น ลัดฟ้า มหัศจรรย์ป่าคนสร้าง พลิกฟ้ืนนากุ้งร้างเป็นป่าชายเลน” เพ่ือส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง กทพ. กับผู้ใช้บริการ ทางพเิ ศษ ระหว่างวันท่ี 27-28 สิงหาคม 2559 จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ การจัดกจิ กรรมประชาสมั พนั ธ์ภาพลกั ษณ์องคก์ าร จัดตั้งหนว่ ยบรกิ ารประชาชนชว่ งเทศกาลปใี หม่ 2559 และชว่ งเทศกาลสงกรานต์ 2559 กทพ. ร่วมกับหน่วยงาน ราชการและบริษัทพันธมิตรจัดต้ังหน่วยบริการประชาชนในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2559 ตามแผนอำ�นวยความสะดวก มั่นคง และปลอดภัย เพื่อให้บริการและอำ�นวยความสะดวกในการเดินทางแก่ผู้ใช้ทางพิเศษ ระหว่างวันที่ 24 ธันวาคม 2558- 4 มกราคม 2559 พร้อมยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อม ทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสด์ิ) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ระหว่างวันท่ี 25 ธนั วาคม 2558-3 มกราคม 2559 และจดั ต้งั หน่วยบริการประชาชนในช่วงเทศกาลสงกรานตป์ ี 2559 ระหวา่ งวันท่ี 8–18 เมษายน 2559 รวมท้ังยกเว้นค่าผ่านทางของทางพิเศษบูรพาวิถี ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเช่ือมทางพิเศษ บูรพาวิถี และทางเช่ือมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ระหว่างวันที่ 9-17 เมษายน 2559 เพื่อให้บริการตรวจสอบสภาพเคร่ืองยนต์เบ้ืองต้น เติมลมยาง น้ำ�กล่ัน ตรวจสอบแบตเตอร่ี และเป็นท่ีพักระหว่าง การเดินทางพรอ้ มบริการนำ้�ดม่ื กาแฟ และผา้ เยน็ เป็นต้น 89รายงานประจ�ำ ปี 255๙
การจดั กจิ กรรมพิเศษเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 1. กจิ กรรมแบง่ ปนั รอยยม้ิ แดน่ อ้ งรมิ ทางดว่ น กทพ. จดั กจิ กรรม “แบง่ ปนั รอยยมิ้ แดน่ อ้ งรมิ ทางดว่ น” เนอื่ งในโอกาส วันเด็กแห่งชาติประจำ�ปี ๒๕๕9 โดยมอบทุนการศึกษา เก้าอี้สำ�หรับห้องประชุม อุปกรณ์เชียร์ ชุดเส้ือ กางเกง รองเท้ากีฬา เครื่องดนตรีไทย และเคร่อื งดนตรสี ากล แกน่ ักเรียนโรงเรียนอนบุ าลบางกรวย (วัดศรีประวตั ิ) เม่ือวันที่ 8 มกราคม ๒๕๕9 2. กิจกรรม “จิตอาสา ทางด่วนไทย” กทพ. จัดกิจกรรม “จิตอาสา ทางด่วนไทย” ณ วัดวิมุตยาราม เมื่อวันท่ี ๒๘ มนี าคม ๒๕๕๙ โดยน�ำ ผู้บรหิ าร พนักงาน และลูกจา้ ง กทพ. รวมถงึ ประชาชนในชมุ ชนวัดวิมุตยาราม และชมุ ชนบริเวณ ใกล้เคียงร่วมกันทำ�ความสะอาดภายในบริเวณวัด ประกอบด้วย พระอุโบสถหลังใหม่และเก่า รวมท้ังมอบเงินสนับสนุนแก่ โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรมฯ และอปุ กรณท์ ำ�ความสะอาดทั้งหมดใหแ้ กว่ ัดวมิ ตุ ยาราม ๓. โครงการ “สานฝันเด็กไทย จากใจการทางพิเศษฯ” กทพ. จัดโครงการ “สานฝันเด็กไทย จากใจการทางพเิ ศษฯ” ภายใต้กิจกรรม “Young EXAT Futsal Cup” เม่ือวนั ท่ี 28 เมษายน 2559 ณ ลานกฬี าการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย โดยมี ทีมฟุตซอลเยาวชนจากชุมชนรอบเขตทางพิเศษ เข้าร่วมการแข่งขัน จำ�นวน 8 ทีม พร้อมมอบอุปกรณ์กีฬาและงบประมาณ สนับสนนุ กฬี าฟตุ ซอลให้แก่ทุกทมี ทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรม ๔. โครงการ “กล่องวิเศษ ทางพิเศษรักษ์โลก” กทพ. ร่วมกับ บริษัท อำ�พลฟูดส์ โพรเซสซ่ิง จำ�กัด ลงนามใน บนั ทกึ ความเข้าใจว่าดว้ ยความร่วมมือการเข้ารว่ มโครงการ “กลอ่ งวเิ ศษ ทางพเิ ศษรักษโ์ ลก” ปีงบประมาณ 2559 เมอ่ื วันท่ี 13 มถิ ุนายน 2559 โดยมอบโตะ๊ -เกา้ อนี้ กั เรยี นท่ีได้จากการรีไซเคลิ กล่องยเู อชที จำ�นวน 240 ชดุ ใหแ้ ก่โรงเรยี นทขี่ าดแคลนใน จังหวัดชัยภูมิและจังหวัดนครนายก พร้อมท้ังมอบเงินสนับสนุนด้านการศึกษา จำ�นวน 100,000 บาท ให้แก่โรงเรียน บ้านโนนสะอาด จงั หวัดชัยภูมิ มอบเงนิ สนับสนนุ เพอื่ จดั ซ้อื เครอ่ื งปรับอากาศ จ�ำ นวน 112,000 บาท และมอบทนุ การศึกษา จำ�นวน 35,000 บาท ให้แก่โรงเรียนในจงั หวดั สระบุรี ๕. กจิ กรรมวนั ผสู้ งู อายแุ หง่ ชาติ ประจ�ำ ปี 2559 กทพ. จดั กจิ กรรม “กทพ. มอบความรกั เนอ่ื งในวนั ผสู้ งู อายแุ หง่ ชาติ ประจ�ำ ปี 2559” ณ ศนู ย์ควบคมุ ทางพิเศษกาญจนาภเิ ษก (บางพล-ี สุขสวสั ด์)ิ โดยจดั อบรมให้ความรเู้ ก่ียวกบั การดูแลสขุ ภาพ แก่ผู้สูงอายุจากชุมชนโชติวัฒน์ และชุมชนวัดวิมุติยาราม พร้อมท้ังนำ�ผู้สูงอายุเดินทางไปทัศนศึกษายังพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ เมือ่ วันที่ 20 มิถนุ ายน 2559 ๖. กิจกรรมทางด่วนเพ่ือเยาวชน ประจำ�ปี 2559 กทพ. จัดพิธีมอบทุนการศึกษาตามกิจกรรม “ทางด่วนเพื่อ เยาวชน” ประจ�ำ ปี ๒๕๕9 เมือ่ วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2559 ให้แก่เยาวชนในเขตทางพเิ ศษทีไ่ ดร้ บั คดั เลือก จ�ำ นวน ๓3 ทุน เปน็ เงนิ ทุนละ ๑๐,๐๐๐ บาท โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสนับสนุนการศึกษาแก่เยาวชนท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์ที่ศึกษาอยู่ใกล้ชุมชน ในเขตทางพเิ ศษ ตลอดจนสร้างความสัมพนั ธอ์ ันดรี ะหว่าง กทพ. กบั ชุมชนในบริเวณแนวเขตทางพิเศษ 7. โครงการ “ยุวชนการทางพิเศษแห่งประเทศไทย” กทพ. จัดโครงการ “ยุวชนการทางพิเศษแห่งประเทศไทย” ปีงบประมาณ 2559 จำ�นวน 2 ครั้ง ดังน้ี คร้ังที่ 1 เม่ือวันท่ี 27 กุมภาพันธ์ 2559 ณ พิพิธภัณฑ์การเกษตร เฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ตำ�บลคลองหนึง่ อ�ำ เภอคลองหลวง จังหวดั ปทุมธานี โดยนำ�ผู้แทนและเยาวชน จากชุมชนรอบเขตทางพิเศษ จำ�นวน 9 ชุมชน เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้เก่ียวกับพระเกียรติคุณและพระอัจฉริยภาพของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและฝึกปฏิบัติการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งที่ 2 เม่ือวันท่ี 3 กันยายน 2559 ณ โรงเรยี นนายร้อยพระจลุ จอมเกลา้ ตำ�บลพรหมณี อำ�เภอเมอื ง จงั หวัดนครนายก โดยน�ำ ผ้แู ทนและเยาวชนจากชมุ ชนรอบเขต ทางพิเศษ จ�ำ นวน 10 ชุมชน เข้ารว่ มกจิ กรรมผจญภัยและการเรยี นร้ผู า่ นเส้นทางธรรมชาติ 90 รายงานประจำ�ปี 255๙
การดำ�เนนิ งานตามพระราชบญั ญัตขิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2๕40 ในรอบปี พ.ศ. 2๕๕๙ ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย กทพ. ไดด้ ำ�เนินงานตามพระราชบัญญัตขิ ้อมลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 ดงั น้ี 1. ดา้ นการติดตามผลการปฏบิ ัติงานตามพระราชบญั ญตั ขิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 1.1 ไดม้ ีประกาศ กทพ. เรอ่ื ง โครงสรา้ งและการจัดองคก์ าร อ�ำ นาจหนา้ ที่ วธิ กี ารดำ�เนนิ งาน และสถานท่ตี ิดต่อ เพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของ กทพ. พ.ศ. 2555 ซึ่งได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129 ตอนพิเศษ 81ง ลงวันท่ี 16 พฤษภาคม 2555 โดยกำ�หนดให้กองข้อมูลข่าวสาร (กขส.) เป็นหน่วยงานเทียบเท่ากอง สังกัดสำ�นักผู้ว่าการ (สผว.) ตั้งแต่วันท่ี 23 มีนาคม 2555 โดยมีหน้าท่ีความรับผิดชอบเป็นศูนย์กลางการบริการข้อมูลข่าวสารของ กทพ. ดำ�เนินงาน ศนู ยบ์ รกิ ารขอ้ มลู ผใู้ ชท้ างพเิ ศษ (EXAT Call Center) และด�ำ เนนิ งานศนู ยข์ อ้ มลู ขา่ วสารของ กทพ. (EXAT Public Information Center) จัดข้อมูลข่าวสาร ตามมาตรา 9 แห่ง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ตลอดจน ประสานงานใหม้ กี ารปฏบิ ัติตามพระราชบัญญัตขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 1.2 กำ�หนดเป็นนโยบายสำ�คัญของหน่วยงานโดยเน้น “การเปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น” มาตั้งแต่ กฎหมายมผี ลบงั คับใช้ โดย กทพ. ไดม้ ีประกาศ กทพ. เรอื่ ง นโยบายการปฏิบัตติ ามพระราชบัญญตั ขิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ของการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ลงวันท่ี 24 เมษายน 2555 1.3 จัดต้งั ศูนย์ขอ้ มลู ขา่ วสารของ กทพ. (ตั้งแตว่ นั ที่ 3 ธันวาคม 2541) อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของแผนกวิเคราะห์ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กองข้อมูลข่าวสาร สำ�นักผู้ว่าการ ปัจจุบันศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ กทพ. ตั้งอยู่บริเวณด้านหน้า สำ�นักงานใหญ่ กทพ. (จตุจักร) เลขท่ี 2380 ถนนพหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศพั ท์ 0 2940 1196, 0 2558 9800 ต่อ 2244 โทรสาร 0 2940 1198 เปดิ ใหบ้ ริการในวนั และเวลาราชการ ตั้งแตเ่ วลา 08.30-16.30 น. นอกเวลาท�ำ การสามารถติดต่อผา่ นทาง EXAT Call Center หมายเลขโทรศพั ท์ 1543 ตลอด 24 ชัว่ โมง (ไมเ่ วน้ วนั หยุดราชการ) หรือดขู อ้ มูลเพ่ิมเติมไดท้ างเว็บไซตข์ อง กทพ. www.exat.co.th 1.4 แต่งต้ังรองผู้ว่าการฝ่ายกฎหมายและกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็นผู้บริหารระดับสูงท่ีกำ�กับดูแลให้มีการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ขอ้ มลู ขา่ วสารฯ และแตง่ ตง้ั “คณะกรรมการขอ้ มลู ขา่ วสารของการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย” ซงึ่ รองผวู้ า่ การฝา่ ยกฎหมาย และกรรมสิทธท์ิ ด่ี นิ เปน็ ประธานกรรมการ ผู้อำ�นวยการฝา่ ย/ผู้อ�ำ นวยการสำ�นัก เป็นกรรมการ ผ้อู ำ�นวยการกองขอ้ มูลข่าวสาร เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร ท�ำ หนา้ ทก่ี �ำ หนดนโยบายหลกั เกณฑ์ และใหค้ �ำ แนะน�ำ เกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 และระเบียบวา่ ด้วยการรกั ษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 91รายงานประจ�ำ ปี 255๙
1.5 จัดให้มีการตรวจสอบภายในเก่ียวกับการให้บริการข้อมูลข่าวสารฯ เพ่ือให้สอดคล้องกับหลักการเปิดเผย สารสนเทศและความโปร่งใส ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางการเสริมสร้างการกำ�กับดูแลกิจการในหน่วยงาน (Corporate Governance : CG) โดยไดใ้ หข้ อ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ ให้ดยี ่ิงข้นึ 1.6 จัดให้มีประกาศ กทพ. เรอื่ ง การเรยี กเก็บคา่ ธรรมเนียม การขอส�ำ เนา หรือขอส�ำ เนา ทมี่ คี �ำ รับรองถูกต้องของ ข้อมูลขา่ วสารของการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ลงวันที่ 15 มถิ นุ ายน 2555 1.7 จดั ให้มีระเบยี บ กทพ. ว่าด้วย ข้อมูลข่าวสารของ กทพ. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555 ลงวนั ท่ี 15 มิถุนายน 2555 2. ดา้ นเกียรตปิ ระวตั /ิ รางวลั ที่ กทพ. ได้รับ 2.1 ได้รบั คัดเลือกให้เป็นหน่วยงานตวั อยา่ งในการให้บริการขอ้ มลู ขา่ วสารและปฏบิ ตั ิตาม พ.ร.บ. ข้อมลู ข่าวสารฯ ระดบั กระทรวง เม่ือวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2542 2.2 ไดร้ บั ประกาศเกยี รตบิ ตั รเพอ่ื ขอบคณุ ทไี่ ดด้ �ำ เนนิ การจดั ตง้ั ศนู ยข์ อ้ มลู ขา่ วสารเพอ่ื บรกิ ารประชาชนเปน็ อยา่ งดี เปน็ ตวั อยา่ งในการปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตขิ ้อมลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เมื่อวันท่ี 14 มกราคม 2551 2.3 ได้เข้ารับรางวัลโล่ประกาศเกียรติคุณหน่วยงานดีเด่นด้านความร่วมมือในการจัดต้ังศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ ราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ 2553 จากนายกรฐั มนตรี (นายอภสิ ิทธ์ิ เวชชาชวี ะ) เมือ่ วันท่ี 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2554 2.4 ได้รับรางวัลดีเยี่ยม ภาครัฐวิสาหกิจ ประเภทท่ัวไป “แผนการดำ�เนินงานการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ข้อมูล ขา่ วสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 ของศนู ย์ขอ้ มลู ข่าวสารของ กทพ. ประจำ�ปี 2555” ในการประกวดโครงการแผนสง่ เสริม ธรรมาภิบาลในรัฐวิสาหกิจ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ซ่ึงจัดข้ึนโดยสำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แหง่ ชาติ (ป.ป.ช.) โดยไดร้ บั โลเ่ กยี รตยิ ศจากประธานกรรมการ ป.ป.ช. พรอ้ มเงนิ รางวลั 150,000 บาท เมอ่ื วนั ท่ี 16 พฤศจกิ ายน 2555 2.5 ไดร้ บั รางวลั โลป่ ระกาศเกยี รตคิ ณุ หนว่ ยงานตน้ แบบในการจดั ตง้ั ศนู ยข์ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ ระดบั กระทรวง ประจำ�ปี 2555 โดยนายกรัฐมนตรี (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) ได้มอบหมายให้รัฐมนตรีประจำ�สำ�นักนายกรัฐมนตรี (นายวราเทพ รตั นากร) ในฐานะประธานกรรมการขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ เป็นผมู้ อบโล่ เมอื่ วันท่ี 9 สิงหาคม 2556 3. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความเข้าใจในหลักการ สาระสำ�คัญ ประโยชน์และแนวทางการใช้สิทธิ ตามพระราชบญั ญัตขิ ้อมูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 3.1 หนว่ ยงานภายนอกไดเ้ ชญิ กทพ. เปน็ วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั พ.ร.บ. ขอ้ มลู ขา่ วสารฯ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง มาต้ังแตป่ ี 2542 โดย กทพ. ไดม้ อบหมายนายพงศ์ศกั ดิ์ ชุมสาย ณ อยุธยา ผูอ้ ำ�นวยการกองข้อมลู ขา่ วสาร ส�ำ นกั ผวู้ ่าการ ซึ่งเป็นวิทยากรเครือข่ายประจำ�สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้บรรยายความรู้เก่ียวกับพระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารฯ ให้แก่ผู้บริหารและข้าราชการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนมาโดยตลอด และในปี 2558-2559 ได้รับเชิญ ใหเ้ ปน็ วิทยากรบรรยายแก่หนว่ ยงาน ดงั นี้ • กรมประมง เมอื่ วนั ท่ี 22 ธนั วาคม 2558 • โครงการการฝึกอบรมของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย หลักสูตร “พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 และระเบียบ กทพ. วา่ ดว้ ยข้อมลู ขา่ วสารของ กทพ. พ.ศ. 2553” เมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 92 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
3.2 หนว่ ยงานภายนอก ขอเขา้ ศกึ ษาดงู านศนู ยข์ ้อมลู ขา่ วสารของ กทพ. ในปี 2558-2559 ดงั นี้ • สำ�นักงานสถติ แิ หง่ ชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 5 กรกฎาคม 2559 • ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เม่อื วันที่ 12 กรกฎาคม 2559 3.3 จดั หลกั สูตรการฝึกอบรมทบทวนการปฏิบตั ิงาน (on the job training : OJT) ภายใน กทพ. เรอ่ื ง “ความรู้ เก่ียวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540” และหลักสูตร “ความรู้เก่ียวกับระเบียบว่าด้วย การรักษา ความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544” และระเบียบ กทพ. ว่าด้วยข้อมลู ข่าวสารของ กทพ. พ.ศ. 2553” สำ�หรบั พนกั งาน อย่างตอ่ เนอ่ื งเปน็ ประจำ�ทกุ ปีเป็นไปตามเกณฑ์ตวั ช้วี ัดระดบั ความสำ�เร็จของการเปิดเผยข้อมูลขา่ วสารของราชการ ดงั นี้ • จดั ให้มกี ารอบรมหลักสูตร “พ.ร.บ. ขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 และระเบยี บ กทพ. วา่ ดว้ ย ข้อมลู ขา่ วสารของ กทพ. พ.ศ. 2553 แกเ่ จ้าหน้าทปี่ ระสานงานด้านข้อมูลข่าวสารประจำ�หน่วยงานในสงั กดั ของ กทพ. พร้อม พนกั งานและลกู จา้ ง กทพ. จ�ำ นวนประมาณ 200 คน ณ หอ้ งประชมุ 2301 ช้ัน 3 อาคาร 2 กทพ. (ส�ำ นกั งานใหญ่) จตุจกั ร เม่อื วนั ท่ี 12 กุมภาพนั ธ์ 2559 • จัดให้มีการอบรมหลักสูตร “ทักษะการปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วย การรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544” แก่นายทะเบียน และผู้ช่วยนายทะเบียนข้อมูลข่าวสารลับของ กทพ. ตามคำ�สั่ง กทพ. ท่ี 382/2557 ลงวันที่ 23 ธันวาคม 2557) และหัวหน้าแผนก จำ�นวนประมาณ 92 คน ณ หอ้ งประชมุ 2301 อาคาร 2 ชน้ั 3 กทพ. (สำ�นกั งานใหญ่) จตุจกั ร เม่ือวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2559 4. ดา้ นการบริการตามค�ำ ขอข้อมลู ข่าวสารใหแ้ กป่ ระชาชนและการตอบข้อหารือ ประชาชนติดต่อขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารที่ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ กทพ. ในรอบปีงบประมาณ 2559 จำ�นวน 66 ราย (ข้อมลู ณ 30 กนั ยายน 2559) เป็นขอ้ มูลข่าวสารตามมาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญตั ิ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 โดยไดป้ รบั ปรงุ ระบบสบื คน้ ข้อมลู แฟม้ เอกสาร จัดท�ำ แผ่นพับแนะน�ำ ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสาร ของ กทพ. บอรด์ ประชาสมั พันธ์ และสถานท่ีส�ำ หรับให้บริการข้อมลู ขา่ วสารดว้ ย นอกจากนี้ ได้จัดทำ�แบบสำ�รวจความพงึ พอใจ ของผู้ใช้บริการท่ีศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของผู้ใช้บริการและนำ�ความคิดเห็นมาประกอบการพิจารณา เปดิ เผยข้อมลู ข่าวสารต่อไป 93รายงานประจ�ำ ปี 255๙
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้ให้ความสำ�คัญและรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงิน โดยได้ กำ�กับให้จัดทำ�งบการเงินเป็นไปตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน ใช้นโยบายการบัญชีท่ีเหมาะสมและถือปฏิบัติ อย่างสมำ่�เสมอ มีการเปิดเผยข้อมูลท่ีสำ�คัญอย่างเพียงพอและเหมาะสม รวมทั้งได้ผ่านการตรวจสอบและรับรองจาก ส�ำ นกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบซ่ึงประกอบด้วยคณะกรรมการ ท่ีเป็นอิสระ เพ่ือกำ�กับดูแลให้การตรวจสอบ การสอบทานรายงานทางการเงิน รวมท้ังระบบบริหารความเสี่ยง ระบบ การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายในให้มปี ระสทิ ธิภาพ และเป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบงั คบั ทเ่ี ก่ียวข้อง คณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทยมคี วามเหน็ วา่ รายงานทางการเงนิ ของการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ส�ำ หรบั ปสี น้ิ สดุ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 255๙ มคี วามนา่ เชอ่ื ถอื ตามมาตรฐานรายงานทางการเงนิ และถกู ตอ้ งในสาระส�ำ คญั ตามหลกั การบัญชีทรี่ บั รองทั่วไป พลเอก (วิวรรธน ์ สชุ าต)ิ ประธานกรรมการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 94 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
รายงานของผู้สอบบัญชแี ละรายงานการเงนิ การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ส�ำ หรบั ปสี ิน้ สดุ วนั ที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙ สำ�นกั งานการตรวจเงินแผ่นดิน 95รายงานประจ�ำ ปี 255๙
รายงานของผู้สอบบญั ชี เสนอ คณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ส�ำ นกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ไดต้ รวจสอบงบการเงนิ ของการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ซง่ึ ประกอบดว้ ย งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันท่ี 30 กันยายน ๒๕๕๙ และงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของทุน และงบกระแสเงินสด สำ�หรบั ปสี ิน้ สุดวันเดยี วกัน รวมถึงหมายเหตสุ รปุ นโยบายการบัญชที สี่ ำ�คญั และหมายเหตเุ รือ่ งอนื่ ๆ ความรับผดิ ชอบของผู้บรหิ ารต่องบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามท่ีควรตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในท่ีผู้บริหารพิจารณาว่าจำ�เป็น เพื่อให้สามารถจัดทำ�งบการเงินที่ปราศจาก การแสดงข้อมลู ท่ขี ดั ต่อข้อเทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระสำ�คัญไมว่ ่าจะเกิดจากการทจุ ริตหรือขอ้ ผิดพลาด ความรบั ผิดชอบของผูส้ อบบัญชี สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของ สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกำ�หนดให้ สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินปฏิบัติตามข้อกำ�หนดด้านจรรยาบรรณรวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเช่ือมั่น อยา่ งสมเหตุสมผลวา่ งบการเงนิ ปราศจากการแสดงขอ้ มลู ที่ขดั ตอ่ ข้อเทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระสำ�คัญหรอื ไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใชว้ ธิ กี ารตรวจสอบเพือ่ ใหไ้ ดม้ าซ่ึงหลักฐานการสอบบญั ชเี กยี่ วกับจ�ำ นวนเงนิ และการเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบท่ีเลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซ่ึงรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูล ท่ีขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญของงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาดในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เก่ียวข้องกับการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินโดยถูกต้องตามท่ีควรของการทางพิเศษ แห่งประเทศไทยเพ่ือออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อ ประสิทธิผลของการควบคุมภายในของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบาย การบัญชีท่ีผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีท่ีจัดทำ�ข้ึนโดยผู้บริหาร รวมท้ังการประเมินการนำ�เสนอ งบการเงินโดยรวม สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินเช่ือว่าหลักฐานการสอบบัญชีท่ีสำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้รับเพียงพอและเหมาะสม เพอ่ื ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของสำ�นกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ความเหน็ สำ�นกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ เห็นว่า งบการเงินขา้ งตน้ นแ้ี สดงฐานะการเงินของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ วนั ท ี่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙ ผลการด�ำ เนนิ งานและกระแสเงินสด สำ�หรบั ปีสิน้ สุดวันเดียวกนั โดยถกู ต้องตามท่คี วรในสาระสำ�คัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงนิ ข้อมูลและเหตุการณ์ทเ่ี น้น โดยมิได้เป็นการสรุปอย่างมีเง่ือนไขในเรื่องที่จะกล่าวถึงต่อไปน้ี สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินขอให้สังเกตหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ ๔.๒๕ เรื่อง หน้ีสินท่ีอาจเกิดขึ้น ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมีหน้ีสิน ที่อาจเกิดข้ึนจากการถูกฟ้องร้อง จำ�นวน ๒๖ คดี เป็นจำ�นวนเงิน ๓๘,๔๗๒.๘๘ ล้านบาท ซ่ึงปัจจุบันคดีอยู่ระหว่างการพิจารณา ของคณะอนญุ าโตตุลาการและศาล (นางณิพาพร ปณั ยานนท)์ ผ้อู �ำ นวยการสำ�นักตรวจสอบการเงินท่ี ๔ (นางปวนั รัตน์ เวฬุวัสน์) สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ ผอู้ ำ�นวยการกลุม่ วนั ท่ี ๙ ธันวาคม ๒๕๕๙ 96 รายงานประจำ�ปี 255๙
งบการเงนิ งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2559 หนว่ ย : บาท สนิ ทรพั ย์ หมายเหตุ 2559 2558 สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวียน เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด 4.1 2,951,796,257.12 3,356,513,782.73 เงนิ ลงทนุ ช่วั คราว 4.2 11,236,523.79 10,529,386.16 ลกู หนี้บริษทั รว่ มทุนทถี่ ึงกำ�หนดรับช�ำ ระคนื ภายในหนงึ่ ปี 4.6 ลูกหน้อี น่ื 1,500,000,000.00 1,500,000,000.00 เงินค้างรบั จากรัฐบาล 4.3 70,338,720.64 57,604,045.49 สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี นอ่นื 4.4 253,000,000.00 รวมสินทรัพยห์ มุนเวยี น 842,533,029.18 สินทรัพย์ไมห่ มุนเวียน 4.5 266,899,355.37 1,887,092,396.24 เงินฝากประจำ�ท่ีมภี าระผูกพนั 4.6 5,053,270,856.92 7,654,272,639.80 ลกู หนบี้ ริษทั รว่ มทุน 4.7 ที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ-์ สทุ ธิ 4.8 136,487,988.68 131,487,988.68 สิทธกิ ารใชท้ ดี่ ิน 4.9 1,302,508,127.77 2,241,974,794.44 งานระหว่างกอ่ สร้าง 4.10 189,234,341,942.12 167,621,739,935.78 คา่ ใชจ้ ่ายในการบริหารงานดา้ นวิศวกรรมรอโอน 1,561,076,835.77 สนิ ทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียนอืน่ 1,543,103,026.16 1,561,060,150.77 รวมสนิ ทรัพยไ์ มห่ มนุ เวยี น 1,395,742,207.74 รวมสนิ ทรพั ย์ 67,490,653.72 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปน็ ส่วนหนงึ่ ของงบการเงินนี้ 240,233.00 89,497,397.17 240,233.00 193,845,248,807.22 198,898,519,664.14 173,041,742,707.58 180,696,015,347.38 97รายงานประจำ�ปี 255๙
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2559 หนว่ ย : บาท หนสี้ นิ และส่วนของทุน หมายเหตุ 2559 2558 หนสี้ ินหมนุ เวียน เจ้าหน้กี ารคา้ และเจ้าหน้อี ่นื 4.11 1,639,603,066.60 2,052,641,659.76 เงนิ น�ำ สง่ รฐั คา้ งน�ำ ส่ง 958,606,000.00 - หนี้สนิ ระยะยาวสว่ นทถี่ ึงกำ�หนดช�ำ ระคืนภายในหนึ่งปี 4.12 9,900,000,000.00 10,350,000,000.00 เงนิ ประกันผลงาน 83,221,125.99 69,404,611.37 รายไดร้ ับล่วงหน้า 1,016,813,799.98 950,631,713.53 หนี้สนิ หมนุ เวียนอนื่ 4.13 262,896,655.69 311,443,359.99 รวมหนส้ี ินหมนุ เวียน 13,861,140,648.26 13,734,121,344.65 หนส้ี นิ ไม่หมุนเวียน เงินยืมรัฐบาล 4.14 15,678,898,157.36 15,978,898,157.36 พันธบัตรการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 4.15 19,150,000,000.00 24,750,000,000.00 เงินกู้ยมื ระยะยาว 4.16 - 200,000,000.00 รายไดร้ อการรบั รู้ 4.17 34,823,533,279.38 13,313,010,484.85 ภาระผกู พันผลประโยชน์พนกั งาน 4.18 956,053,354.24 914,480,814.77 เงนิ กองทุนสงเคราะห์ 4.19 13,088,079.98 11,815,772.75 หนี้สนิ ไมห่ มุนเวียนอนื่ 1,014,628.32 1,014,628.32 รวมหนสี้ นิ ไม่หมนุ เวียน 70,622,587,499.28 55,169,219,858.05 รวมหนส้ี ิน 84,483,728,147.54 68,903,341,202.70 สว่ นของทุน ทุน 76,990,314,520.31 76,990,314,520.31 กำ�ไรสะสม : ยังไม่ไดจ้ ัดสรร 37,424,476,996.29 34,802,359,624.37 รวมสว่ นของทนุ 114,414,791,516.60 111,792,674,144.68 รวมหน้สี ินและสว่ นของทนุ 198,898,519,664.14 180,696,015,347.38 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินเปน็ สว่ นหน่ึงของงบการเงินน้ี (นายณรงค ์ เขยี ดเดช) (นางสภุ าพรรณ จนั ทวงษ)์ ผู้ว่าการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ผอู้ ำ�นวยการฝา่ ยการเงนิ และบัญช ี 98 รายงานประจ�ำ ปี 255๙
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140