Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืองานบริหารกิจการนักเรียน BR. ปี 63

คู่มืองานบริหารกิจการนักเรียน BR. ปี 63

Description: คู่มืองานบริหารกิจการนักเรียน BR. ปี 63

Search

Read the Text Version

1 ปีการศึกษา ๒๕๖๓ คมู่ ือกล่มุ บรหิ ารกิจการนกั เรียน โรงเรยี นเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต ๑ สานักงานสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คู่มือบริหารงานกิจการนกั เรยี น 2563

22 พระบรมราโชวาท \" วชิ าการต่าง ๆ ท่ีเรียนท่ีสอบไล่กันไดน้ ้นั โดยลาพงั ไมใ่ ชส่ ิง่ ทีจ่ ะช่วยใหน้ กั เรยี นเอาตวั รอดได้ และ ไมใ่ ช่สง่ิ ทีจ่ ะช่วยสรา้ งสรรค์สิง่ ใดให้เปน็ ประโยชน์แกต่ ัว แก่ผู้อนื่ แก่บา้ นเมืองได.้ ผูม้ วี ชิ าการแลว้ จาเปน็ จะต้อง มคี ุณสมบัติในตัวเอง นอกจากวิชาความรูด้ ว้ ย จึงจะนาตนนาชาติให้รอดและเจรญิ ได.้ คุณสมบัตทิ ี่จาเป็น สาหรบั ทกุ คนนน้ั ได้แก่ ความละอายชัว่ กลวั บาป ความซื่อสัตยส์ จุ รติ ทงั้ ในความคดิ และการกระทา ความ กตัญญูรคู้ ณุ ชาตบิ ้านเมือง และผู้ทีอ่ ุปการะตัวมา ความไมเ่ หน็ แก่ตวั ไม่เอารดั เอาเปรยี บผอู้ น่ื หากแต่มคี วาม จริงใจ มีความปรารถนาดีตอ่ กนั เอ้ือเฟือ้ กันตามฐานะและหน้าท่.ี และที่สาคัญอย่างมากก็คอื ความ ขยนั หม่นั เพยี รพยายามฝกึ หัดประกอบการงานทั้งเล็ก ใหญ่ งา่ ย ยาก ด้วยตนเอง ดว้ ยความต้งั ใจ ไมท่ อดธรุ ะ เพ่ือหาความสะดวกสบายจากการเกยี จครา้ น ไมม่ ักง่าย หยาบคาย สะเพร่า \" พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะอาจารย์ ครู และนกั เรียนโรงเรียนวงั ไกลกังวล วันที่ ๘ มถิ นุ ายน ๒๕๒๒ คู่มือบรหิ ารงานกจิ การนักเรียน 2563

3 คานา การบริหารงานกลุ่มบริหารกิจการนักเรียนเป็นส่วนหน่ึงของการ บริหารงานโรงเรียน เป็นงานท่ีผู้ปกครองมุ่งหวงั ใหโ้ รงเรยี นรับผิดชอบในการ พัฒนาพฤติกรรมของนักเรียน สร้างเสริมให้เป็นบุคคลท่ีมีความประพฤติ มี ระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม พร้อมท่ีจะเติบโตเป็นพลเมืองดีของ ประเทศชาติ ดังนน้ั กลุม่ บริหารกิจการนกั เรยี นจึงเป็นงานสง่ เสรมิ พัฒนา ควบคมุ และแกไ้ ข พฤติกรรมที่ไม่พ่ึงประสงค์ของนักเรียนเพื่อให้นักเรียนอยู่ในระเบียบวินัย ก่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยในการอยู่ร่วมกันของนักเรียน เป็นผลให้ กจิ กรรมการเรียนการสอน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนานักเรียน ให้มคี ณุ ธรรมจริยธรรมทพี่ ึง่ ประสงคต์ ามท่ีกาหนดไว้ นายวฒุ ิชัย วรชนิ ผ้อู านวยการโรงเรียนเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ์ คู่มอื บริหารงานกจิ การนักเรียน 2563

4 ความมุ่งหวังของกลมุ่ บริหารกิจการนักเรียน คู่มอื การดาเนินงานกลมุ่ บริหารกจิ การนกั เรียน โรงเรียนเบญจมราชาลยั ในพระบรม ราชูปถัมภ์ ฉบับน้ี จัดทาขน้ึ เพือ่ ใหค้ รู และบคุ ลากรไดท้ ราบแนวทางการปฎิบัติงาน วธิ ีดาเนนิ กิจกรรม ใหบ้ ุคคลที่เก่ยี วขอ้ งกบั งานของกลุ่มบรหิ ารกจิ การนกั เรียน ได้ทราบภารกิจ บทบาท อานาจ และขอบเขตหนา้ ท่ีของตนเองในตาแหน่งต่างๆได้อย่างชดั เจนยิ่งข้นึ ขอขอบคุณผอู้ านวยการ ฝ่ายผบู้ ริหาร ครู และบุคลากร ทกุ ทา่ นทใ่ี ห้ความร่วมมือ ร่วมงานกับกลมุ่ บรหิ ารกจิ การนักเรยี นด้วยดีตลอดมาและหวงั เปน็ อยา่ งย่ิงว่า กลุม่ บริหารกิจการ นักเรยี นยงั คงได้รับความรว่ มมอื จากครู และบุคลากรทุกทา่ นดว้ ยดีตลอดไป กลุ่มบริหารกจิ การ นกั เรยี นตระหนักอยู่ตลอดเวลาว่า หากท่านไมใ่ ห้ความรว่ มมอื การดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ คงไม่ สามารถบรรลุผลไดเ้ ลย บทบาทและการทาหนา้ ท่ีของท่านตามแนวทางเอกสารน้ี มคี วามสาคัญ ตอ่ ความก้าวหน้า ความมชี ื่อเสียงของโรงเรียนเปน็ อยา่ งยิ่ง ขอขอบคุณบคุ ลากรทกุ ฝ่ายที่ใหค้ วามร่วมมือ รว่ มแรงร่วมใจ ทุม่ เทกาลงั กาย กาลังใจ และเวลา เพอ่ื ให้เอกสารชดุ สาเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี หวังเปน็ อยา่ งยง่ิ คู่มอื การดาเนินงานกลมุ่ บรหิ ารกจิ การนักเรยี นของโรงเรียนเบญจมรา ชาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภฉ์ บับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อครู และบุคลากร และผ้สู นใจตอ่ ไป (นายศภุ นัชญ์ บุญปลอด) รองผูอ้ านวยการโรงเรยี น กลุม่ บรหิ ารกจิ การนกั เรียน โรงเรยี นเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ คมู่ อื บริหารงานกิจการนักเรียน 2563

สารบัญ 55 พระบรมราโชวาท หนา้ คานา 2 ความมุ่งหวังของกลุ่มบรหิ ารกิจการนกั เรยี น 3 สารบญั 4 ขอ้ มูลโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 5 แผนภมู ิโครงสรา้ งบรหิ ารสถานศกึ ษา โรงเรียนเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 6 โครงสร้างการบริหาร กลุ่มบรหิ ารกจิ การนักเรียน 7 หัวหน้างาน กล่มุ บรหิ ารกิจการนักเรียน 8 หวั หนา้ ระดับ รองหัวหน้าระดบั ประจาปีการศกึ ษา 2563 9 ครูทปี่ รกึ ษา ประจาปีการศึกษา 2563 10 หัวหน้าคณะ รองหัวหนา้ คณะ ประจาปีการศึกษา 2563 11 ความสาคญั ของการบริหารกิจการนักเรียน 18 คู่มอื การงานกลุ่มบริหารกจิ การนักเรียน 19 ขอบข่ายงานรองผู้อานวยการงานกลมุ่ บรหิ ารกจิ การนักเรยี น 20 ขอบข่ายงานผู้ช่วยรองผูอ้ านวยการงานกลมุ่ บรหิ ารกจิ การนักเรียน 21 ขอบข่ายงานกลุ่มบริหารกจิ การนักเรียน 21 ระบบชว่ ยเหลือนักเรียน 23 ระเบยี บการแต่งกายของนักเรยี น โรงเรยี นเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 30 แนวปฏบิ ัตปิ ระจาวนั 31 คณุ สมบตั ขิ องนกั เรียนโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 35 ระเบยี บปฏบิ ตั ทิ ่ัวไป นกั เรียนทุกคนปฏิบัตดิ ังนี้ 36 39 คู่มือบริหารงานกิจการนักเรยี น 2563

ขอ้ มูลโรงเรียน 66 พระประจาโรงเรยี น พระศรีศากยมณุ ี ยุวนารบี ชู ติ สถติ เบญจมราชาลัย ตราประจาโรงเรียน พระเก้ียวบนพานแวน่ ฟ้า สีประจาโรงเรยี น เลอื ดหมู – ขาว ดอกไมป้ ระจาโรงเรียน ดอกบวั จงกลนี ปรัชญาโรงเรียน สวาจารตา จ พาหสุ ฺสจจัง นารีนาภรณงั วรงั คตพิ จน์โรงเรยี น ศกึ ษาดี มีจรยิ า เป็นอาภาของกุลสตรี อตั ลักษณ์โรงเรยี น การเรยี นเดน่ เลน่ กฬี าดี มคี ณุ ธรรม กจิ กรรมเยี่ยม กลุ สตรีผู้นา คมู่ ือบรหิ ารงานกิจการนักเรยี น 2563

77 โครงสร้างฝา่ ยบริหาร โรงเรียนเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ นายวฒุ ิชัย วรชนิ ผอู้ านวยการโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ นางสาวพฤฒยา เลิศมานพ นางเนาวรตั น์ ขจรเดชะ นายศุภนัชญ์ บุญปลอด นางสาวสชุ าดา สวสั ดี รองผอู้ านวยการโรงเรยี น รองผู้อานวยการโรงเรยี น รองผูอ้ านวยการโรงเรยี น รองผูอ้ านวยการโรงเรียน กลมุ่ บริหารวิชาการ กลุ่มบรหิ ารกจิ การนกั เรยี น กลุ่มการบริหารทวั่ ไป กล่มุ บริหารงบประมาณและบคุ คล คมู่ ือบริหารงานกิจการนกั เรียน 2563

88 แผนภูมโิ ครงสร้างการบริหารงานกล่มุ กจิ การนักเรียน โรงเรียนเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ผอู้ านวยการโรงเรียน รองผอู้ านวยการโรงเรียนกลุม่ บรหิ ารกจิ การนกั เรยี น ผูช้ ว่ ยรองผอู้ านวยการ ผชู้ ่วยรองผู้อานวยการ ผูช้ ่วยรองผู้อานวยการ งานส่งเสรมิ การมีวินัยคุณธรรม งานสานักงานบรหิ ารกจิ การ งานระบบช่วยเหลือนกั เรยี น และจริยธรรมนกั เรยี น นักเรยี น งานรักษาความปลอดภยั และ งานสง่ เสริมระบอบประชาธิปไตย งานสง่ เสรมิ อตั ลักษณแ์ ละกุล จราจร และกรรมการนกั เรียน สตรีผูน้ า งานส่งเสรมิ ความร่วมมอื บา้ น วดั งานป้องกนั สารเสพติดและแก้ไข งานแผนงานและสารสนเทศ โรงเรียน และชมุ ชน ปญั หายาเสพติด กล่มุ บริหารกจิ การนกั เรยี น งานอนื่ ๆที่ได้รบั มอบหมาย งานอืน่ ๆที่ได้รับมอบหมาย งานอนื่ ๆท่ไี ด้รับมอบหมาย คู่มอื บริหารงานกจิ การนกั เรียน 2563

99 หวั หนา้ งาน กลมุ่ บริหารกิจการนักเรียน นางสาวปยิ ะดา หวดขุนทด  งานส่งเสริมการมวี ินยั คณุ ธรรมและจริยธรรมนักเรยี น  งานส่งเสรมิ ระบอบประชาธิปไตยและคณะกรรมการนกั เรียน  งานป้องกนั สารเสพตดิ และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ นางสาวสุพรรณวดี ขวัญชมุ  หัวหนา้ งานส่งเสริมระบอบประชาธปิ ไตยและคณะกรรมการ นกั เรียน นายวสันต์ การะเกตุ  หวั หนา้ งานปอ้ งกนั สารเสพตดิ และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ คู่มือบริหารงานกจิ การนักเรียน 2563

10 10 นางสาวรังสกิ ลุ ศริ ิรังษี  งานสานักงานกิจการนักเรียน  งานสง่ เสริมอตั ลกั ษณ์และกลุ สตรีผู้นา  งานแผนงานและสารสนเทศกล่มุ บรหิ ารกิจการ นักเรียน นายอนพุ งษ์ พรมเสน  งานระบบช่วยเหลอื นักเรียน  งานรักษาความปลอดภยั และงานจราจร  งานสง่ เสริมความรว่ มมอื บ้าน วัด โรงเรียน ชุมชน นายปรเมธ เทพขวัญ  งานรักษาความปลอดภยั และงานจราจร นายวญิ ญู ช้ดช้อย  งานระบบวงจรปิด คู่มอื บรหิ ารงานกิจการนกั เรยี น 2563

11 11 หวั หน้าระดบั รองหัวหนา้ ระดบั ประจาปีการศกึ ษา 2563 นางสาวชณชนก นามโสม หัวหน้าระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ นางสาวสงั วาล รอบคอบ หัวหน้าระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ นายอนพุ งษ์ พรมเสน หัวหน้าระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ นางสาวกานต์ชนก สมภกั ดี หวั หนา้ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ นางสาวนิตยา อาจเดช หวั หนา้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๕ นางสาวศิรริ ัตน์ สงวนศรี หวั หน้าระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ คู่มอื บรหิ ารงานกจิ การนกั เรียน 2563

12 12 นางสาวชณชนก นามโสม หวั หนา้ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ นางสาวปัทมา พรหมเมศร์ ครทู ีป่ รกึ ษาช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑/๑ นางสาวกฤติยา โสภณิ ครูที่ปรึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑/๑ นางสาวปนิตา ยืนยาว ครูที่ปรึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๒ นางสาวจุฑาณฐั ศิรินคร ครทู ี่ปรึกษาชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑/๒ นางสาวรงั สกิ ลุ ศิริรังษี ครูที่ปรกึ ษาชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑/๓ นายผดุงศกั ดิ์ บรู ณะสมบตั ิ ครูที่ปรกึ ษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑/๓ นางสาวยุวดี วอ่ งสกลุ กฤษฎา ครทู ่ีปรกึ ษาช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑/๔ นางสาวชนานนั ท์ ยวงเดชกลา้ ครูทป่ี รึกษาชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑/๔ นางสาวพณั ณ์ชติ า ชวดคา ครูที่ปรกึ ษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑/๕ ครทู ป่ี รึกษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑/๕ นางสาวโสรยา สุธาพจน์ นางจติ ราภรณ์ บวั จารัส ครูท่ปี รึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑/๖ ครทู ี่ปรึกษาชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑/๖ นางสาวสุพรรณวดี ขวัญชุม นางสาวกรรณกิ า ชนิ ววิ ัฒนผล ครทู ี่ปรกึ ษาชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑/๗ นายเอกชยั แตบสวสั ดิ์ ครูที่ปรึกษาชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑/๗ นางกาญจนา สนิ ธบญั ฑิต ครูที่ปรึกษาชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑/๘ นางสาวชณชนก นามโสม ครทู ี่ปรกึ ษาชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑/๘ ค่มู ือบริหารงานกิจการนกั เรียน 2563

13 13 นางสาวสังวาล รอบคอบ หัวหน้าระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๒ นางธนญั ชนก บญุ เป็ง ครูทป่ี รกึ ษาชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒/๑ นายอภชิ น สลบั แกว้ ครทู ป่ี รึกษาช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒/๑ นางสาวสงั วาล รอบคอบ ครทู ี่ปรึกษาชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒/๒ นายไพรตั น์ ล้มิ ปองทรพั ย์ ครูที่ปรกึ ษาชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒/๒ นางสาวธัญวลยั เทียนเพม่ิ พลู ครทู ี่ปรกึ ษาชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๒/๓ นายวญิ ญู ชดชอ้ ย ครูทีป่ รึกษาชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒/๓ นางสาวปยิ ะดา หวดขุนทด ครทู ี่ปรึกษาช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๔ นางสาวนันทวนั สิงห์สงั ข์ ครูทป่ี รกึ ษาช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒/๕ นายวรพทั ธ์ ฟูเชื้อ ครูที่ปรกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒/๕ นางสาวจฑุ ามาศ ทิพยกระมล ครทู ป่ี รกึ ษาชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒/๖ ว่าทร่ี อ้ ยตรณี ฐั พล บุญชว่ ย ครทู ี่ปรึกษาชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒/๖ นางสาวสลิลดา พชิ ยกัลป์ ครทู ป่ี รกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒/๗ นายธเนศ กิตตเิ จริญตระกลู ครูทปี่ รึกษาชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๗ นางสาวผกาแกว้ ชยั ยะ ครทู ี่ปรกึ ษาชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๒/๘ นางสาวนสุ ดี สง่ สุข ครูที่ปรึกษาชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๘ ค่มู ือบรหิ ารงานกิจการนกั เรียน 2563

14 14 นายอนพุ งษ์ พรมเสน หวั หน้าระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ นายอนพุ งษ์ พรมเสน ครทู ี่ปรึกษาชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓/๑ นางสาวลินดา เนียมเพราะ ครทู ป่ี รกึ ษาชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓/๑ นายสมพงษ์ ถาวรโชตวิ งศ์ ครทู ป่ี รึกษาชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓/๒ นางสาวหทยั รตั น์ ศรีวรเดชไพศาลครูทป่ี รึกษาช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓/๒ นายววิ ัฒน์ ศิรดิ ารง ครูทป่ี รึกษาช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓/๓ นางสาวรัตติกร จันทรศิริ ครทู ป่ี รึกษาช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓/๓ นางสาวธันยวีร์ แสนคาทมุ ครูที่ปรึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๔ นายอาชวิน สร้อยจติ ครูทป่ี รกึ ษาชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓/๔ นางสาวกาญจนา คตนว่ ม ครทู ป่ี รกึ ษาชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓/๕ นางสาวจุฑารตั น์ สมงาม ครทู ี่ปรกึ ษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๕ นางสาวจงกลกร เลอื ดทหาร ครูที่ปรึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๓/๖ นางสาววภิ าวี กุศลวงศ์ ครูทป่ี รึกษาช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓/๖ นายกศุ ล คาบุญมา ครูที่ปรึกษาชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓/๗ นางสาวนภา เชือ้ ประทมุ ครทู ่ีปรกึ ษาชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓/๗ นางสาวกรุณา นิ่มเรือง ครทู ี่ปรึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓/๘ นายจริ เมธ ศรที อง ครูที่ปรึกษาช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๓/๘ ค่มู ือบริหารงานกิจการนกั เรียน 2563

1515 นางสาวกานต์ชนก สมภกั ดี หัวหน้าระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๔ นางสาวมินตรา กระเป๋าทอง ครทู ่ีปรกึ ษาช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔/๑ นายวทิ ยา ศรีสรอ้ ย ครูท่ีปรึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔/๑ นายพรพงศ์ ทองคา ครทู ป่ี รึกษาชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๔/๒ นางสาวณฐพรรณ เจนปัญญากุล ครูทป่ี รกึ ษาช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔/๒ นางสาวนงนุช พันธเ์ มธาฤทธิ์ ครูที่ปรกึ ษาชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๔/๓ นายรุ่งโรจน์ ตดิ มา ครทู ป่ี รกึ ษาช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๔/๓ นางสาวศภุ ารตั น์ จันทนะ ครทู ป่ี รึกษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔/๔ นายศวิ พล นันทพานชิ ย์ ครทู ี่ปรกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔/๔ นางเพญ็ ประภา ปรกสะอาด ครทู ป่ี รึกษาชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๔/๕ นายรงุ่ โรจน์ ศรีสงั ข์ ครูทป่ี รึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔/๕ นางสาวกานต์ชนก สมภกั ดี ครทู ป่ี รกึ ษาช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔/๖ วา่ ท่ีร้อยตรมี ฆั วัตว์ แสนบญุ ศริ ิ ครทู ี่ปรึกษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔/๖ นางสาวนนั ทวลั ย์ เฟื่องฟู ครูที่ปรกึ ษาชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๔/๗ นางสาวจริ พร เขม็ เพช็ ร์ ครทู ่ปี รกึ ษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔/๗ นางสาวพมิ พ์พรรณ มโนมยั นฤนาท ครูที่ปรึกษาช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔/๘ ค่มู ือบรหิ ารงานกจิ การนกั เรียน 2563

16 16 นางสาวนติ ยา อาจเดช หวั หนา้ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ นางมะลิวัลย์ ประทุมทอง ครูทปี่ รกึ ษาชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕/๑ ว่าท่ีร้อยตรปี รเมธ เทพขวญั ครูทป่ี รึกษาชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕/๑ นายพศิน คงภคั พนู ครทู ี่ปรึกษาช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕/๒ นางสาวพรพิมล พันธพ์ ืช ครูที่ปรกึ ษาช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๕/๒ นางสาวเพชรรัตน์ มหรรชกุล ครทู ป่ี รึกษาชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๕/๓ นางลาวลั ย์ วริ ตั ินนั ท์ ครูทป่ี รึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕/4 นายธนวนิ จนั ทร ครูทป่ี รกึ ษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕/๔ นางสาวสุมาลี เปรมรศั มี ครทู ี่ปรกึ ษาชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕/5 นายอนนั ตศักดิ์ สมรฤทธ์ิ ครูทป่ี รึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๕/5 นางสาวนติ ยา อาชเดช ครูทีป่ รึกษาชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๕/6 นายวสนั ต์ การะเกตุ ครทู ป่ี รึกษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕/6 นางสาววภิ าวี อนุจาผดั ครูทป่ี รึกษาช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕/7 นายอภวิ ุฒิ วงศ์นคร ครทู ี่ปรกึ ษาชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕/7 นางสาวดารากันย์ เจรญิ จติ ต์ ครูที่ปรึกษาชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕/8 นางสาวโชตกิ า ไตรเพทพสิ ยั ครูที่ปรกึ ษาชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๕/9 วา่ ทร่ี อ้ ยตรีหญงิ ปารชิ าติ ธรรมสุวรรณ ครูท่ีปรึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๕/9 คู่มอื บรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น 2563

17 17 นางสาวศริ ริ ตั น์ สงวนศรี หวั หน้าระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ นางสุจติ รา ทองสลวย ครูที่ปรึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖/๑ นายสทุ ธิพงศ์ อาศริ พจน์ ครทู ป่ี รกึ ษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖/๑ นางสาวสดุ ารัตน์ พลโภชน์ ครูที่ปรกึ ษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖/๒ นายกานต์ชนก ผลจนั ทร์ ครูทปี่ รกึ ษาช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖/๒ นางสาวสุพตั รา ไทยกุล ครูที่ปรกึ ษาชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๖/๓ นายสรุ ิยพงษ์ บญุ โกมล ครทู ป่ี รึกษาชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖/๓ นางชญาณี นาคะไพบูลย์ ครูท่ีปรึกษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖/๔ นายชาลี ครองศักด์ิศริ ิ ครทู ี่ปรึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖/๔ นางอรวรรณ แสแสงสีร้งุ ครูทีป่ รึกษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖/5 นายพลางกูล สงวนรตั น์ ครทู ป่ี รกึ ษาชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖/๕ นางสาวสมสวา่ ง ธนะพานิชยส์ กุล ครทู ป่ี รกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖/๖ นางสาวกนกวรรณ ชูเพง็ ครทู ่ปี รกึ ษาช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๖/๖ นางวสั สิกา น่นุ ทอง ครูท่ปี รึกษาชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖/7 นางสาวลลิตา เกรียงเจริญศิริ ครทู ี่ปรกึ ษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖/7 นางสาวศิรริ ัตน์ นางสาวพิมพลอย สงวนศรี ครทู ป่ี รกึ ษาชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๖/8 รตั นมาศ ครทู ป่ี รึกษาชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖/8 ค่มู ือบริหารงานกจิ การนักเรยี น 2563

1818 หัว หน้าคณะ รองหวั หน้าคณะ ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 นางมะลวิ ลั ย์ ประทมุ ทอง หัวหนา้ คณะโกมุท (สีเหลือง) นางสาวปณติ า ยืนยาว รองหวั หน้าคณะโกมทุ (สีเหลอื ง) นางสาวสพุ รรณวดี ขวัญชมุ หัวหน้าคณะสัตตบงกต (สีชมพ)ู นายสุทธิพงศ์ อาศริ พจน์ รองหัวหนา้ คณะสตั บงกต (สีชมพู) วา่ ท่รี ้อยตรหี ญงิ ปาริชาต ธรรมสวุ รรณ หัวหนา้ คณะสตั ตบุตย์ (สีเขียว) นางสาวสลิลดา พชิ ยกลั ป์ รองหวั หน้าคณะสตั ตบุตย์ (สเี ขยี ว) คมู่ อื บรหิ ารงานกจิ การนกั เรียน 2563

1919 หัวหนา้ คณะ รองหัวหน้าคณะ ประจาปีการศึกษา 2563 นางกาญจนา สินธบณั ฑติ หัวหนา้ คณะนลิ บุ ล (สมี ว่ ง) นางสาวเพชรรัตน์ มหรรชกุล รองหวั หนา้ คณะนิลุบล (สมี ว่ ง) นายพรพงศ์ ทองคา หัวหน้าคณะบุษกร(สีฟ้า) นางสาวสพุ ตั รา ไทยกลุ รองหวั หน้าคณะบษุ กร(สีฟา้ ) คูม่ ือบริหารงานกิจการนกั เรียน 2563

20 20 ค่มู ือการบริหารงานกิจการนกั เรยี น งานกิจการนักเรียนเป็นภาระงานหนึ่งท่ีสาคัญของสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ของนักเรียน ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นและบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรพัฒนานักเรยี นให้เกิดความเจรญิ งอกงามในทุกด้าน ท้ัง ทางด้าน อารมณ์ สังคม จิตใจ ช่วยให้เป็นคนที่สมบูรณ์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมอย่างมีความสุข สอดคลอ้ งกับพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 โดยให้ ความสาคญั กับการพัฒนานกั เรยี นท่ยี ดึ ผเู้ รียนเป็นสาคญั มุ่งหวังใหน้ ักเรียนมีพัฒนาการแบบองค์รวม กล่าวคือ ให้เป็นคนดี คนเก่ง คนมีความสุข ดังนัน้ ครูทุกคนจงึ มบี ทบาทหนา้ ทีด่ ูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างใกล้ชิดและมี ประสิทธิภาพรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับนักเรียนที่ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน เพ่ือ ช่วยให้ครู เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนานักเรียนโดยผ่านกระบวนการวางแผน และการบริหารจัดการเพ่ือสร้าง คณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องนักเรียนสอดคลอ้ งกับสภาวะเศรษฐกิจสงั คม การเมือง สิง่ แวดลอ้ ม เทคโนโลยีที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว นอกจากน้ีมีการส่งเสริมพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรมมีระเบียบวินัย ภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย เกิดการเรียนรู้ระบอบประชาธิปไตยผ่านกระบวนการและกิจกรรมต่างๆใน โรงเรียน เทิดทูนและจงรักภักดีต่อสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ มีจิตสาธารณะใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ปรบั ตัวมีเหตุผล และมภี ูมคิ ุ้มกนั สามารถ เลือกดาเนินชวี ิต อย่างมภี ูมิรู้ และภูมธิ รรม โดยมีมาตรการเชอ่ื มโยง กนั อย่างเป็นระบบ ครูทุกคนเป็นคณะกรรมการกลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน สามารถว่ากล่าว ตักเตือน อบรม นกั เรยี นหวังท่ีจะเห็นนักเรียนเป็นผ้มู ีความงดงามท้งั ทางกายวาจา ใจ คือ แต่งกายถูกต้องตามระเบยี บ สงา่ งาม สมวัย ประพฤติปฏบิ ัตถิ ูกต้องตามระเบยี บแบบแผนของโรงเรียน พดู จาไพเราะ มีจติ ใจที่เปีย่ มไปดว้ ยคุณธรรม จริยธรรม สมกบั เปน็ “กลุ สตรผี นู้ า” ตามอัตลักษณข์ องโรงเรียน และเป็นทช่ี ืน่ ชมแกค่ นท่ัวไป คมู่ อื บรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น 2563

21 วัตถปุ ระสงคข์ องกล่มุ บรหิ ารงานกจิ การนกั เรยี น สง่ เสรมิ และพัฒนานกั เรยี นโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ทุกคนให้มคี วามเปน็ นกั เรยี น มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีวินยั สขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิตดี เปน็ สมาชิกทดี่ ขี องครอบครัว และคนดขี อง สังคม สามารถอยรู่ ่วมกับผ้อู น่ื ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข นโยบายการบรหิ ารกลุ่มบรหิ ารงานกิจการนกั เรยี น 1. มุ่งพัฒนาระบบการบริหารงานและควบคุมภายในใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ และสง่ ผลดีต่อระบบดูแล ชว่ ยเหลือนกั เรยี น 2. ส่งเสริมและพฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นให้มีประสิทธิภาพ 3. มงุ่ พัฒนาคณุ ภาพนกั เรยี นดา้ นความเปน็ นักเรียน มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมระเบยี บวนิ ยั และคา่ นิยมที่ พงึ ประสงค์ 4. มงุ่ พฒั นาให้นักเรยี นมคี วามประพฤตดิ ี ภาคภูมิใจในความเปน็ ชาตไิ ทย เกดิ การเรยี นรรู้ ะบอบ ประชาธิปไตย 5. ส่งเสรมิ ความสมั พันธ์อนั ดี ระหวา่ งโรงเรียน บา้ น และชุมชน เพ่อื รณรงคป์ ้องกนั แกไ้ ขปัญหายาเสพ ติด การทะเลาะววิ าท การพนัน สอ่ื ลามก ซึ่งส่งผลต่อสขุ ภาพจิตทดี่ ีของนักเรียน 6. มุ่งพัฒนาและแกไ่ ขปญั หาต่างๆแบบมสี ว่ นรว่ มกบั เครือขา่ ยผู้ปกครอง ขอบขา่ ยรองผู้อานวยการโรงเรยี นกลุ่มบริหารกิจการนักเรยี น มหี นา้ ท่ีรบั ผิดชอบในขอบข่ายตอ่ ไปนี้ 1. ควบคุมดูแลหนว่ ยงานต่างๆ ท่ีขึน้ กบั กลมุ่ บริหารกิจการนกั เรียน ให้ปฏบิ ัตงิ านไปตามหน้าท่ี รับผดิ ชอบไดอ้ ย่างถูกตอ้ งครบถว้ นมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. วางแผนดาเนนิ งานด้านบรหิ ารกจิ การนักเรยี น กาหนดวธิ ีการดาเนินการ และติดตามผลการ ดาเนนิ งาน ใหเ้ กิดผลต่อส่วนรวม 3. ใหค้ าปรึกษา ช่วยแก้ปญั หาในการดาเนินงานดา้ นบริหารนกั เรียนอยา่ งจรงิ จงั เกิดผลดีต่อส่วนรวม 4.จัดใหม้ ีการดูแลสวัสดภิ าพ ความเป็นอยู่ของนกั เรยี นใหเ้ กดิ ความสงบ และปลอดภยั จากส่งิ เลวรา้ ย ท้ังปวง 5. เปน็ ที่ปรกึ ษาให้คาแนะนาแก่หน่วยงานตา่ งๆ เพอื่ ใหผ้ ลด้านการบรหิ ารกจิ การนักเรยี นมี ประสทิ ธภิ าพ 6. จัดให้มีการวเิ คราะห์ ตดิ ตามปญั หานักเรยี นรายบุคคล เพอื่ ประสานงานให้นักเรียนประสบ ความสาเร็จตามศักยภาพ 7. จดั ให้มีการวางแผนติดตามนกั เรยี น เพอ่ื นาขอ้ มูลมาใช้ในการแกป้ ัญหา พฒั นาสง่ เสรมิ ให้งาน บริหารกิจการนักเรียนมปี ระสิทธิภาพมากย่ิงข้นึ 8. วางแผนและจดั ให้มกี ารรวบรวมข้อมลู สถติ ิ เกี่ยวกบั งานบรหิ ารกจิ การนักเรยี น ปอ้ งกัน แกป้ ญั หา และนาข้อมลู ไปใช้ในการพัฒนางานตอ่ ไปไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 9. จดั ให้มีการประสานงานกับผู้ปกครองและรว่ มกนั แก้ปญั หาของนักเรียนใหเ้ กดิ ผลดี 10. ดาเนนิ การจดั ใหม้ ีครเู วรประจาวันเพ่อื ดแู ลนักเรียนประจาวัน คู่มือบริหารงานกิจการนักเรยี น 2563

22 11. จดั ให้มกี ารประชุมอบรมนักเรยี น เพือ่ พัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ 12. ส่งเสริมการทางานของงานกจิ การนกั เรยี น จัดใหม้ ีคณะกรรมการนักเรยี น ตลอดจนจัดกิจการ ต่างๆ ของนกั เรยี น 13. จัดใหม้ ีการทาบัตรประจาตัวนักเรียนอย่างครบถว้ นเพื่อผลในการปกครองดแู ลนักเรยี น 14. จดั ใหม้ ีการดูแลควบคุมความประพฤตนิ ักเรยี นอย่างเป็นระบบและเหมาะสม 15. พิจารณาใหค้ วามเหน็ ในการขออนญุ าตของครนู านกั เรยี นไปศกึ ษานอกสถานท่ี 16. ประสานงานกับฝา่ ยตา่ งๆในการร่วมกันปฏิบัตงิ านของโรงเรียนให้เกิดผลดมี ีประสิทธภิ าพ 17. ปฏิบัตหิ น้าทอี่ ื่นๆ ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ขอบขา่ ยผชู้ ว่ ยรองกลมุ่ บรหิ ารกจิ การนักเรยี น มีหน้าทร่ี บั ผิดชอบในขอบข่ายตอ่ ไปนี้ 1. ปฏบิ ัติหน้าท่ีแทนรองผอู้ านวยการกล่มุ บริหารกจิ การนักเรยี น ในกรณีทรี่ องผอู้ านวยการกล่มุ บรหิ ารกจิ การนกั เรียน ไมส่ ามารถมาปฏิบัตงิ านได้หรือไม่อยู่ในโรงเรียน 2. ดาเนินการแกไ้ ขนกั เรยี นทม่ี ปี ัญหา ด้านพฤตกิ รรมรว่ มกับผปู้ กครองเปน็ รายกรณี 3.ประสานติดต่อผู้ปกครองเพอื่ รว่ มกนั แกป้ ัญหานกั เรียนในด้านต่างๆ ท่ีเป็นปัญหาตอ่ การพฒั นาเด็ก โดยประสานการปฏบิ ตั ิกับงานระดบั ชน้ั อยา่ งใกล้ชิด 4. เปน็ รองประธานคณะกรรมการบรหิ ารกจิ การนักเรียน 5. เข้าร่วมประชุมกบั ครหู ัวหนา้ ระดับ เพอื่ วางแนวทางการแก้ไขปญั หาด้านพฤติกรรมของนักเรยี น 6. ประสานความร่วมมอื กับครูทป่ี รึกษา ในการดแู ลและติดตามเพอ่ื แก้ไขปญั หาด้านพฤตกิ รรมของ นักเรียน 7. ให้ความเหน็ ชอบในการออกหนังสือรบั รองความประพฤตนิ ักเรยี น 8. เสนอโครงการ/กิจกรรม เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกบั เป้าหมายของโรงเรียนดังน้ี - ดา้ นปลกู ฝังคณุ ลกั ษณะ ทีพ่ งึ ประสงค์ให้แกน่ ักเรียน - ด้านการส่งเสริมวนิ ัยและแกไ้ ขพฤติกรรม 9. ดาเนนิ การจดั โครงการ / กจิ กรรมท่ผี ่านการอนุมตั ิ 10. ประเมินสภาพความพึงพอใจในการดาเนนิ งานกิจการนกั เรยี น กบั ทุกฝา่ ยทเ่ี กีย่ วข้อง ได้แก่ ครู นักเรียนและผู้ปกครอง 11. นาผลการประเมนิ มาใช้ในการวางแผนเพื่อปรับปรงุ พัฒนา แกไ้ ขระบบการดาเนินงานใหม้ ี ประสทิ ธิภาพย่งิ ข้นึ ในปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป 12. รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานส่ง รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารกิจการนักเรยี น 13. ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีอน่ื ๆ ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย ขอบข่ายงานสานักงานกจิ การนกั เรียน คู่มอื บริหารงานกิจการนกั เรยี น 2563

23 ขอบข่ายงานกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 1.งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ขอบข่ายงาน ๑.จัดทาคาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน ๒.จัดทาเอกสารที่เก่ียวข้องกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้กับครูที่ปรึกษา ๓.ตรวจสอบการโฮมรูมของครูท่ีปรึกษาประจาชั้นเก่ียวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ๔.ปฐมนิเทศนักเรียนทุกระดับชั้น ๕.จัดให้มีการประชุมผู้ปกครองนักเรียน ในชั้นเรียนภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ๖.ประสานงานกับหัวหน้าระดับชั้น ในการกากับดูแลการปฏิบัติงานของครูที่ปรึกษา ๗.ประสานครูที่ปรึกษาเพื่อออกเยี่ยมบ้านนักเรียนตามความเหมาะสม ๘.ติดตาม สรุป ประเมินผลและรายงานการดาเนินงาน / โครงการต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง ๙.ปฏิบัติงานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 2.งานส่งเสริมการมีวินัยในตนเอง คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ขอบข่ายงาน ๑.จัดทาแผนงานและโครงการงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ๒.จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาความประพฤติและระเบียบวินัยของนักเรียนในสถานศึกษา เช่น การตรงต่อเวลา ความสะอาด การแต่งกาย การเข้าแถว การแสดงความเคารพ การปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับและแนวปฏิบัติของโรงเรียน โดยจัดกิจกรรมเก่ียวกับการอบรม หรือส่งเสริมความประพฤติให้เกิด ศรัทธาที่จะประพฤติดีปฏิบัติชอบและมีวินัยในตนเอง ๓.การส่งเสริมพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ในด้านการประหยัดและการออม การเสียสละ ความ อดทน อดกล้ัน ความขยันหมั่นเพียร ความเมตตากรุณา ความสามัคคี โดยมีการจัดกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุน ให้การยกย่องชมเชยและประกาศเกียรติคุณให้ทราบโดยท่ัวกัน โดยทาเป็นประจาและต่อเน่ือง ๔.การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาในด้านความรับผิดชอบต่อสังคมในด้านการบาเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์ การปฏิบัติตามกฎจราจร การปฏิบัติตามกฎหมาย การพัฒนาสาธารณสถาน การให้ความรู้แก่ เยาวชน โดยการจัดกิจกรรมอย่างเป็นประจาต่อเน่ือง มีการปรับแก้ไข มีการเผยแพร่แก่ผู้เก่ียวข้องทราบ อยู่เสมอ ๕.การจัดกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ในด้านการศึกษาหาความรู้ โดย คมู่ ือบริหารงานกิจการนักเรยี น 2563

24 จัดบรรยายในโรงเรียน ให้มีคาขวัญ คติพจน์ บอร์ดความรู้สู่ชุมชน นาความรู้ความคิดสู่นักเรียน การ นันทนาการ การกีฬา การบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ ดนตรี การหารายได้โดยสุจริต ฯลฯ โดยการจัด กิจกรรมอย่างเป็นประจาต่อเน่ือง มีการปรับแก้ไขมีการเผยแพร่แก่ผู้เกี่ยวข้องทราบอยู่เสมอ ๖.จัดอบรมประจาวันหน้าเสาธง ประชุมระดับ สวดมนต์ไหว้พระ อบรมด้วยวิธีการและกิจกรรม ต่างๆกัน เรื่องชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ วิธีการเรียน ศีลธรรม จรรยามารยาท และวัฒนธรรมประเพณี กิจกรรมส่งเสริมการเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และโรงเรียน ๗.จัดกิจรรมยกย่องให้กาลังใจแก่นักเรียนดีเด่น ดาเนินการในด้านการให้เกียรติการยกย่อง สรรเสริญ แก่นักเรียนท่ีประพฤติดี มีระเบียบวินัย เพ่ือเป็นตัวอย่างแก่นักเรียนทั่วไป มอบประกาศเกียรติคุณบัตร แก่ผู้ปฏิบัติดีเด่น ๘.ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงานต่อผู้อานวยการโรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๙.ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย 3.งานระดับชั้น ขอบข่ายงาน ๑.ออกคาสั่งแต่งตั้งหัวหน้าระดับและครูท่ีปรึกษาประจาช้ันในแต่ละปีการศึกษา ๒.ดาเนินกิจกรรมเก่ียวกับงานกิจการนักเรียนในระดับช้ัน ให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน ท่ีกาหนด ๓.ประสานงานกับครูที่ปรึกษา และผู้ปกครองนักเรียน เพ่ือร่วมแก้ไขพัฒนานักเรียนที่มี พฤติกรรม ที่ไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียน ๔.ชี้แจง กฎระเบียบ ข้อบังคับของโรงเรียนให้นักเรียนในระดับให้เข้าใจและชัดเจน ง่ายต่อการ ปฏิบัติ ๕.อบรม ตรวจ ควบคุมดูแล แก้ไข เกี่ยวกับความประพฤติของนักเรียนในระดับ ๖.จัดทาระเบียนความประพฤติ ตรวจเช็ค ควบคุม การเข้าร่วมกิจกรรม สถิติการมาสาย การขอ อนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียนเป็นปัจจุบัน ๗.ควบคุม กากับดูแลการมาเรียน การลา การมาสายของนักเรียน โดยส่งหนังสือถึงผู้ปกครองเม่ือ นักเรียนขาดเรียน 3 วันข้ึนไป ๘.จัดแบ่งนักเรียน ครู ไปร่วมพิธีหรือกิจกรรมกับทางราชการ ทั้งรัฐพิธีและราชพิธีหรือกิจกรรมกับ ทางราชการ ทั้งรัฐพิธีและราชพิธี ๙.ติดตาม สรุป ประเมินผล และรายงานการดาเนินงาน / โครงการต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง ๑๐.ปฏิบัติงานอื่นๆท่ีได้รับมอบหมาย คมู่ ือบรหิ ารงานกิจการนกั เรียน 2563

25 4.งานคณะ ขอบข่าย ๑.ออกคาสั่งแต่งตั้งครูที่ปรึกษาคณะสีแต่ละปีการศึกษา ๒.ดาเนินการเลือกต้ังและออกคาสั่งแต่งตั้งกรรมการคณะสี ๓.ประสานงานระหว่างกลุ่มบริหารกิจการนักเรียนกับครูในคณะสี ๒.ส่งเสริมและกระตุ้นเตือนให้นักเรียนในคณะสีรู้จักการปกครองตนเองแบบพ่ีปกครองน้อง เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี ความผูกพันในสถาบัน ๓.ส่งเสริมให้นักเรียนในคณะสีมีจิตสานึกที่ดีในการรับผิดชอบต่อโรงเรียน และสังคม ๔.จัดบริเวณรับผิดชอบ ดูแล ความสะอาด ในพ้ืนท่ีที่ได้รับมอบหมายให้แต่ละคณะสี ๕.จัดครูคณะสีปฏิบัติหน้าที่เวรประจาวันในจุดต่างๆ ตามที่กลุ่มบริหารกิจการนักเรียนกาหนด ๖.ดาเนินการจัดแถว และประกอบพิธีกรรมหน้าเสาธงในตอนเช้า ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ๗.ส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมการแข่งขันในด้านต่าง ๆ เช่น การแข่งขันกีฬา ดนตรี ตอบปัญหา วิชาการและอ่ืน ๆ เพ่ือให้นักเรียนรู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๘.จัดตัวแทนคณะสีในการเชิญธงชาติ และการทากิจกรรมตอนเช้า ๙.ดูแลควบคุมความประพฤติและแก้ไขพฤติกรรมของนักเรียนให้อยู่ในกฎระเบียบของโรงเรียน และอยู่ในกรอบอันดีงามของสังคม ๑๐.ดูแลควบคุมในด้านการแต่งกายของนักเรียน ตลอดจนทรงผม และการใช้เครื่องประดับต่าง ๆ ของนักเรียนให้ถูกต้องตามระเบียบของโรงเรียน ๑๑.ดูแลและควบคุมพฤติกรรมการมาสายของนักเรียน ๑๒.บันทึกข้อมูล สถิติต่าง ๆ ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของนักเรียน เพื่อเป็นข้อมูลในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาต่อไป ๑๓.ประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความราบรื่น ๑๔.ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ที่ได้รับมอบหมาย 5.งานสร้างเสริม และพัฒนาอัตลักษณ์กุลสตรีผู้นา ขอบข่ายงาน ๑.จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาหลักสูตรอัตลักษณ์กุลสตรีผู้นากุลสตรีผู้นา ๒.จัดกิจกรรมการอบรมและพัฒนานักเรียนตามหลักสูตรอัตลักษณ์กุลสตรีผู้นา ๓.ปฐมนิเทศนักเรียนใหม่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ๔.จัดให้มีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรอัตลักษณ์กุลสตรีผู้นากุลสตรีผู้นา ๕.จัดให้มีการประเมินอัตลักษณ์กุลสตรีผู้นานักเรียนทุกคน คมู่ อื บรหิ ารงานกจิ การนกั เรยี น 2563

26 ๖.จัดกิจกรรมพัฒนาส่งเสริมอัตลักษณ์กุลสตรีผู้นา ๗.จัดทาข้อมูลนักเรียนท่ีมีความประพฤติไม่เหมาะสม ๘.จัดให้มีการกาหนดวิธีการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของนักเรียน ๙.จัดทาหลักฐานการแก้ไขพฤติกรรมตามวิธีการที่กาหนด ๑๐.ติดตามเร่งรัดการมาโรงเรียน การเข้าห้องเรียน ของนักเรียน ๑๑.ควบคุม กากับดูแล เอาใจใส่ แก้ไข นักเรียนที่มีความประพฤติไม่เหมาะสม ๑๒.ประสานกับผู้ปกครอง ครูประจาชั้น เพื่อร่วมแก้ไขพฤติกรรมนักเรียนที่มีพฤติกรรมที่ไม่ เหมาะสม ๑๓.การติดตามประเมินผลและรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ๑๔.ปฏิบัติงานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 6.งานส่งเสริมความร่วมมือ บ้าน โรงเรียน และชุมชน และเครือข่ายผู้ปกครอง ขอบข่ายงาน ๑.ประสานงานและอานวยความสะดวกในการทางานของคณะกรรมการเบญจมราชาลัยสมาคม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระ บรมราชูปถัมภ์ ๒.จัดแหล่งความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับงานของ เบญจมราชาลัยสมาคมในพระบรมราชินูปถัมภ์ คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์เพื่อ เพิ่มพูนศักยภาพการทางาน ๓.เสริมสร้างความร่วมมือ และความเข้าใจอันดีระหว่างสมาคมฯ กับโรงเรียน ๔.เผยแพร่ข่าวสารข้อมูลการดาเนินงานของ เบญจมราชาลัยสมาคมในพระบรมราชินูปถัมภ์ คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๕.ติดต่อ ประสานงาน ระหว่างกลุ่มบริหารกิจการนักเรียนกับชุมชน องค์กรต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ใน การดูแลด้านสวัสดิภาพของนักเรียน ๖.จัดให้มีผู้แทนผู้ปกครองเป็นคณะกรรมการระดับห้องเรียน ระดับชั้น และระดับโรงเรียน เป็น เครือข่ายผู้ปกครอง ๗.ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองในการแก้ปัญหาให้แก่นักเรียน ๘.เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครู ผู้ปกครอง นักเรียน และโรงเรียน ๙.ระดมทรัพยากรทุกๆ ด้านจากผู้ปกครอง เพื่อช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพนักเรียน ๑๐.จัดกิจกรรมในการเสริมสร้างความร่วมมือ และความเข้าใจอันดีระหว่างผู้ปกครองและ คูม่ ือบริหารงานกจิ การนักเรียน 2563

27 โรงเรียน ๑๑.ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 7.งานสารวัตรนักเรียน ขอบข่ายงาน ๑.จัดให้มีระเบียบโรงเรียนว่าด้วยข้อปฏิบัติสารวัตรนักเรียน เพ่ือให้การปฏิบัติงานสารวัตร นักเรียนเกิดประสิทธิภาพ ๒.รับสมัครนักเรียนมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมสารวัตรนักเรียน เพ่ือบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ด้วยใจที่มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละเพื่อส่วนรวม เสริมสร้างระเบียบวินัยให้กับตนเองและผู้อื่น สร้าง ความสามัคคีในหมู่คณะ ๓.ควบคุมติดตามการปฏิบัติงานสารวัตรนักเรียนให้เป็นไประเบียบโรงเรียนว่าด้วยข้อปฏิบัติ สารวัตรนักเรียน ๔.ปฏิบัติงานอ่ืนๆท่ีได้รับมอบหมาย 8.งานป้องกันแก้ไขปัญหาสารเสพติดและโรคเอดส์ ขอบข่ายงาน ๑.จัดทาสถิติข้อมูลนักเรียนที่มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับสารเสพติดชนิดต่างๆ ๒.ประสานงานกับครูประจาชั้นและผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเส่ียง ๓. การวางแผน สร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง ๔.การตรวจค้นหาสารเสพติดและสิ่งผิดกฎหมาย ๕.การสุ่มตรวจปัสสาวะนักเรียนกลุ่มเส่ียง ๖.ร่วมมือกับชุมชนในการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดและโรคเอดส์ ๗.ดาเนินการอบรมนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ๘.จัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมเวลาว่างให้เกิดประโยชน์เช่น กิจกรรมลานกีฬาต้านยาเสพติด ๙.การให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล ๑๐. การรายงานข้อมูลยาเสพติดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑๑.การติดตามประเมินผลและรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ๑๒. ปฏิบัติงานอ่ืนที่ได้รับมอบหมาย ๑๓.จัดทาข้อมูลสถิตินักเรียนกลุ่มมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์ ๑๔.เฝ้าระวังการระบาดของสถานการณ์เอดส์ ๑๕.จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันโรคเอดส์ ค่มู ือบรหิ ารงานกิจการนกั เรียน 2563

28 ๑๖.ติดต่อและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑๗.ปฏิบัติงานอื่นๆท่ีได้รับมอบหมาย 9.งานส่งเสริมประชาธิปไตย และคณะกรรมการนักเรียน ขอบข่ายงาน ๑.จัดทาเอกสารชี้แจง เผยแพร่หลักการของประชาธิปไตยโรงเรียน ๒.จัดให้มีหลักฐานการจัดกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย ๓.ประสานกับครูของโรงเรียน/ฝ่ายต่างๆเพื่อจัดกิจกรรมคณะกรรมการนักเรียน ให้สอดคล้องกับ นโยบาย ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๔.สนับสนุนส่งเสริมให้มีบรรยากาศของประชาธิปไตยในโรงเรียนอย่างเด่นชัด ๕.จัดให้มีการเลือกตั้งคณะกรรมการนักเรียนปีละ 1 ครั้ง ๖.ร่วมกับคณะกรรมการนักเรียน เป็นที่ปรึกษาในการประชุม ตลอดทั้งวางแผนงาน/โครงการ สาหรับปฏิบัติงานของคณะกรรมการสภานักเรียน ๗.ประสานกับนักเรียนในการทาความเข้าใจในกิจการของโรงเรียน เพ่ือความสามัคคี การเคารพ นบนอบ ของนักเรียนต่อครู ๘.ส่งเสริม ให้คาปรึกษา แนะนา เก่ียวกับการทากิจกรรมของคณะกรรมการนักเรียนให้อยู่ใน ขอบข่ายที่เหมาะสม และไม่ขัดต่อระเบียบของโรงเรียน ๙.จัดทาคู่มือคณะกรรมการนักเรียน ๑๐.ส่งเสริมให้นักเรียนจัดกิจกรรมและเข้าร่วมกิจกรรมในวันสาคัญของชาติ/ศาสนา / พระมหากษัตริย์และความเป็นไทย เพ่ือแสดงออกในด้านประชาธิปไตย ๑๑.ให้โอกาสครู นักเรียน แสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่อโรงเรียน ๑๒.ติดตามประเมินผล และรายงานผลให้ผู้บริหารทราบ ๑๓.ปฏิบัติงานอ่ืนๆ ที่ได้รับมอบหมาย 10.งานรักษาความปลอดภัยและจราจร ขอบข่ายงาน ๑.จัดทาคาส่ังแต่งตั้งข้าราชการครูและลูกจ้างประจา ปฏิบัติเวรยามกลางคืน ๒.จัดทาคาสั่งแต่งต้ังข้าราชการครูและลูกจ้างประจา ปฏิบัติเวรวันหยุดราชการ ๓.จัดทาคาสั่งแต่งตั้งยามปฏิบัติหน้าที่เวรยามเป็นผลัด ตลอด ๒๔ ชั่วโมง คูม่ อื บริหารงานกจิ การนกั เรยี น 2563

29 ๔.จัดวางระบบการตรวจสอบและควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของยามรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ช่ัวโมง ๕.ค้นคว้าเสาะหาข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยให้ก้าวทันเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง เพ่ือประโยชน์ ในการปรับปรุงเปล่ียนแผนยุทธศาสตร์ของยามรักษาความปลอดภัย ๖.จัดระบบจราจรภายในโรงเรียนให้เป็นระบบเพื่อความคล่องตัวเป็นระเบียบ ๗.กาหนดมาตรการการจัดระบบการจราจรภายในโรงเรียนให้เป็นไปตามนโยบายของโรงเรียน ๘.ตรวจสอบความสะอาดเรียบร้อยท่ัวไปทั้งภายในและนอกสถานศึกษา ๙.จัดระบบรักษาความปลอดภัยกล้องวงจรปิดในสถานศึกษา ๑๐.ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย 11.งานแผนงานสารสนเทศและพัสดุ ขอบข่ายงาน ๑.รับส่งหนังสือ ร่างพิมพ์หนังสือ ทาระเบียบวาระและบันทึกการประชุม บันทึกเสนอ เก็บหนังสือ ราชการ ๒.ประสานงาน ติดตาม เกี่ยวกับหนังสือที่มาถึงฝ่ายกิจการนักเรียน ๓.ออกใบรับรองความประพฤติให้กับนักเรียน ๔.วางแผนดาเนินการควบคุม ลงทะเบียนวัสดุครุภัณฑ์ของฝ่ายกิจการนักเรียน ๕.จัดทาแบบฟอร์มต่างๆ ในฝ่ายกิจการนักเรียน ๖.จัดทาแผนงานโครงการ และปฏิทินปฏิบัติงานกิจการนักเรียน ๗.จัดทาสมุดประจาตัวนักเรียนและสมุดคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ๘.เก็บรวบรวมสถิติในด้านต่างๆ เกี่ยวกับงานในฝ่ายกิจการนักเรียน ๙.รวบรวมคะแนนรายงานระเบียบวินัยเก่ียวกับงานพฤติกรรมนักเรียนท่ีไม่ผ่านการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑๐.จัดทาเอกสารเกี่ยวกับระเบียบกฎข้อบังคับ และแนวปฏิบัติ เพื่อใช้ในโรงเรียน ๑๑.เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ระเบียบวินัยกฎข้อบังคับ แนวปฏิบัติให้บุคลากรและนักเรียนทราบ โดยทั่วกัน๑๒.กาหนดแผนภูมิการจัดองค์กรฝ่ายกิจการนักเรียน ๑๓.จัดทาเอกสารพรรณนางาน ๑๔.ออกแบบประเมินงานทุกงาน ในฝ่ายกิจการนักเรียน ๑๕วิเคราะห์ผลการดาเนินงานกิจการนักเรียนและรายงานให้รองผู้อานวยการฝ่ายกิจการนักเรียน ให้รับทราบเพื่อนาผลการวิเคราะห์ไปปรับปรุงงานกิจการนักเรียน ๑๖.จัดทาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี ๑๗.ปฏิบัติงานอื่นๆท่ีได้รับมอบหมาย คู่มอื บรหิ ารงานกิจการนักเรยี น 2563

30 30 การบรหิ ารจัดการระบบช่วยเหลือนกั เรยี นในสถานศกึ ษา เครือข่าย คณะกรรมการอานวยการ(ทีมนา) เครอื ข่าย ผู้ปกครอง คณะกรรมการประสานงาน(ทมี ประสาน) คณะกรรมการ สถานศึกษา คณะกรรมการดาเนนิ งาน(ทีมทา) ดาเนนิ งาน(ครทู ี่ปรึกษา) กลุ่มพเิ ศษ กลุ่มปกติ กลมุ่ เสีย่ ง กลมุ่ มปี ัญหา(กลมุ่ ช่วยเหลอื ) กล่มุ ส่งเสรมิ /พัฒนา กลมุ่ ปอ้ งกัน กลุ่มชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นไดร้ บั การพัฒนาให้เปน็ คนดี ครแู นะแนว/ปกครองใหก้ ารช่วยเหลอื มปี ัญญา มคี วามสขุ ส่งตอ่ ผเู้ ช่ียวชาญ ดารงความเป็นไทย ค่มู อื บริหารงานกจิ การนกั เรยี น 2563

31 ประกาศโรงเรยี นเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ์ เรอ่ื ง ระเบียบการแต่งกายของนักเรียน โรงเรียนเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์ ..................................... นักเรยี นโรงเรียนเบญจมราชาลัยทุกคน จะต้องแต่งเครือ่ งแบบตามที่กระทรวงศกึ ษาธิการได้วาง ระเบยี บไว้โดยเคร่งครัด ดังตอ่ ไปนี้ ๑. เส้อื กระโปรง ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น (ม.๑, ม.๒, ม.๓) เสื้อ ผ้าขาวเกลี้ยงไมบ่ างเกนิ ควร แบบคอพับในตวั หรือคอกะลาสี คอลกึ พอให้สวมศีรษาได้สะดวก สาบตลกเข้าขา้ งใน สว่ นบนของสายให้ใหญ่พอแบะคอแลว้ ไมเ่ หน็ ตะเขบ็ ขา้ งใน มีปกขนาด ๑๐ ซม. ใชผ้ ้า ๒ ชน้ั เย็บแบบเข้าถา้ แขนยาวเพยี งเหนอื ศอก ปลายแขนจีบเล็กน้อย ขอบแขนประกอบดว้ ยผา้ สองช้ันกว้าง ๓ ซม. ขนาดตัวเสือ้ ให้มคี วามกวา้ งเหมาะสมกับตัว ไมห่ ลวมเกินไป และไมค่ บั จนรดั เอว ไมต่ เี กล็ดใดๆ ทง้ั สน้ิ รมิ ขอบดา้ นล่างเส้อื ดา้ นหน้าขา้ งขวาติดกระเป๋า ขนาดกวา้ ง ๘ – ๙ ซม. ตามสดั สว่ นของตวั เสือ้ ปากกระเป๋าพับ เปน็ ริม กวา้ งไม่เกนิ ๒ ซม. ผูกคอด้วยผ้าสกี รมท่า ชายสามเหล่ยี มกว่างประมาณ ๕ – ๘ ซม. ยาวประมาณ ๘๐ – ๑๐๐ ซม. ผกู เงอื่ นกะลาสี กระโปรง สกี รมทา่ เกลย้ี งไม่มีลวดลาย ไมเ่ ปน็ ผ้าชนดิ มนั ด้านหนา้ และดา้ นหลังพับเป็นกลบี ข้างละ ๓ กลีบ หันกลบี ออกด้านนอก เยบ็ กลีบยาวลงมาวัดจากขอบกระโปรงประมาณ ๖ – ๑๒ ซม. เว้นระยะความ กว้างตรงกลางพองาม กระโปรงยาวคลมุ เขา่ คอื ใต้เขา่ ลงมาประมาณ ๕ ซม. ขนาดตัวกระโปรงใหเ้ หมาะสมกบั ตัว ไมค่ ับเกนิ ไปจนนา่ เกลยี ด ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.๔, ม.๕, ม.๖) ค่มู อื บรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น 2563

32 เส้อื ใช้ผ้าขาวเกลี้ยงไมบ่ างจนเกินไป แบบคอเช้ติ ผา่ อกตลอด ทีอ่ กเสื้อทาเปน็ สายตลบเข้าข้างในกว้าง ๓ ซม. ตดิ กระดมึ กลมแบนสีขาวขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑ ซม. ๔ เม็ด แขนยาวเหนือขอ้ ศอก ปลายแขนจบี เล็กน้อย ขอบแขนระกอบด้วยผ้าสองชั้นกวา้ ง ๓ ซม. ขนาดตัวเส้อื ให้เหมาะสมกบั ตัว ไมร่ ดั เอวไมต่ ีเกล็ดใดๆ ท้ังสน้ิ เวลาสวมแล้วเกบ็ ชายเสื้อไว้ในกระโปรง ไมต่ ดิ เข็มกลัดหรือยางยดื ท่ีชายเสือ้ ชายเสือ้ ทุกสว่ นอยู่ในขอบ กระโปรง กระโปรง แบบเดียวกบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนต้น เข็มขดั ใช้เขม็ ขดั หนังสีดากว้าง ๓ – ๔ ซม. หัวเข็มขดั รูปสเ่ี หลย่ี มผนื ผ้า หมุ้ ด้วยหนงั สีดาชนิดหัวกลัด มปี ลอกหนงั สเี ดยี วกับเข็มขัด ขนาดกวา้ ง ๑.๕ ซม. สาหรบั สอดปลายเขม็ ขดั ให้คาดทับขอบกระโปรง เม่ือหวั เขม็ ขัดชารดุ ตอ้ งซ่อมหรอื ซอ้ื ใหม่ ๒. เครอื่ งหมาย ปักอกั ษร บ.ร. (ตอ้ งเปน็ แบบของโรงเรยี น ไม่ใช่เขียนข้ึนเอง) ท่ีอกเสอ้ื ดา้ นขวาตดิ บนเนื้อผ้า เหนอื ระดับอก ดว้ ยไหมสีนา้ เงิน และปักจุดเหนอื อกั ษร บ.ร. ตามระดบั ช้นั ดังนี้ นักเรียนชน้ั ม.๑ ปักวงกลมตามแบบทโ่ี รงเรยี นกาหนด ๑ จุด เหนอื อกั ษร บ.ร. ดว้ ยไหมสีเลอื ดหมู นกั เรียนช้นั ม.๒ ปักวงกลมตามแบบที่โรงเรียนกาหนด ๑ จุด เหนอื อักษร บ.ร. ดว้ ยไหมสเี ขียว นักเรียนชน้ั ม.๓ ปกั วงกลมตามแบบทโี่ รงเรียนกาหนด ๑ จุด เหนอื อักษร บ.ร. ด้วยไหมสเี หลือง นักเรียนชั้น ม.๔ ติดพระเกีย้ วตราโรงเรยี นเหนืออกั ษร บ.ร. และปกั วงกลมตามแบบที่โรงเรยี นกาหนด ๑ จดุ ไวท้ ีป่ กเสือ้ ดา้ นขวามือด้วยไหมสีเหลือดหมู นกั เรียนช้ัน ม.๕ ติดพระเก้ยี วตราโรงเรยี นเหนอื อกั ษร บ.ร. และปักวงกลมตามแบบทโี่ รงเรียนกาหนด ๑ จดุ ไว้ท่ปี กเสอื้ ดา้ นขวามอื ดว้ ยไหมสีเขียว นักเรยี นชน้ั ม.๖ ตดิ พระเกี้ยวตราโรงเรียนเหนืออักษร บ.ร. และปกั วงกลมตามแบบทโ่ี รงเรียนกาหนด ๑ จุด ไว้ท่ีปกเสอื้ ด้านขวามอื ดว้ ยไหมสีเหลอื ง ๓.รองเทา้ ,ถงุ เท้ารองเทา้ หนงั สีดาหุ่มส้นเทา้ หวั มนชนดิ หนัง รัดหลงั เท้าสิ้นเตย้ี ๒-๓ ซม. ขดั เปน็ มัน รองเท้าฝึก พละใชร้ องเท้าผ้าใบสีขาวไมม่ ีกุ๊นสตี ่างๆ ถุงเท้ายาวสีขวาไมม่ ีดอกหรือลาย ใชต้ ลบปลายพับตรงขอ้ เทา้ ไมม่ ีก๊นุ ตา่ งๆ ไมป่ ักและไม่บางเกินสมควร ๔. นกั เรยี นต้องมีเครื่องแบบพลศึกษาท่ีโรงเรียนกาหนดไว้ ๑ ชุด ในวนั ที่มวี ชิ าพลศกึ ษานักเรียนสวมเสือ้ พละ มาโรงเรยี น และนากางเกงพละมาเปล่ียนทโี่ รงเรยี น สวมรองเทา้ ผ้าใบสีขาวมาจากบา้ น กางเกงพละต้องใส่ไว้ ในกระเปา๋ มดี าหรอื กระเปา๋ เสรมิ ของโรงเรียน(เสือ้ พละจะสวมเฉพาะวนั ทีเ่ รียนพละเท่านั้น วันเรียนปกติไม่ อนุญาตให้สวมมา ยกเวน้ โรงเรยี นนดั หมายเป็นกรณีพิเศษ) คู่มอื บริหารงานกจิ การนักเรยี น 2563

33 ๕. นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ต้องมีเครอ่ื งแบบยวุ กาชาด เนตรนารเี หล่าเสนา ๑ ชุด ตามทีโ่ รงเรยี น กาหนดและต้องแต่งเครื่องแบบยวุ กาชาด หรือเนตรนารีตามวนั ท่ีทางโรงเรยี นกาหนด โดยเกบ็ ชายเสอ้ื ไวใ้ น ขอบกระโปรงมเี ข็มขัดคาดทขี่ อบกระโปรงใหม้ องเห็นเขม็ ขัดชดั เจน ติดเคร่ืองหมายของเคร่ืองแบบให้ครบถ้วน ถกู ตอ้ ง ๖. นักเรยี นต้องใชก้ ระเป๋าหนงั สอื แบบนกั เรยี นทาดว้ ยหนังสีดา กระเปา๋ หรือถุงเสรมิ ที่มตี ราโรงเรียนเทา่ นนั้ หา้ มใชก้ ระเปา๋ ใส่หนงั สือทีไ่ ม่ใช่แบบกระเปา๋ นกั เรียน ยา่ มสตี ่างๆหรอื ถุงกระดาษ ๗. ในวนั หยดุ ราชการ นักเรยี นท่มี าทากิจกรรมในโรงเรียนต้องแตง่ กายชุดเคร่อื งแบบนักเรียนหรือชดุ ทสี่ ภุ าพ ระเบียบการไว้ทรงผมของนกั เรยี น นกั เรียนต้อง ไม่ดดั ผม ไม่ย้อมผม ไมซ่ อยผม ไมต่ ่อผม ไมไ่ วผ้ มหน้าม้า ใหไ้ ว้ผมทรงบอ๊ บตรงยาว เทา่ กัน ถา้ ไวย้ าวมาแลว้ ต้องยาวเรยี บเสมอกนั แล้วรวบท่ีท้ายทอย ความยาวของผมไม่เกิน ๖ น้วิ หรือถักเปยี เดียว โดยเรม่ิ จากทา้ ยทอย ความยาวของเปยี ต้องไม่เกิน ๘ นิ้ว แล้วผกู รบิ บ้ินสกี รมทา่ หรือสดี า หา้ ใสเ่ ยลหรอื ฉีดสเปรย์ หา้ ยกหนา้ ผมหลงั สูง ไมป่ ล่อยผมรกรุงรักปรกหน้า หรอื ขา้ งแกม้ ต้องเกบ็ ผมให้เรยี บรอ้ ย นกั เรยี น คนใดถ้าวนั ทม่ี อบตัวไว้ผมบอ๊ บควรไว้ผมทรงบ๊อบตลอดไป เคร่อื งแบบพลศึกษาของโรงเรียน ๑.เส้ือ ใหใ้ ช้เสอ้ื แขนสนั้ คอโปโลตวั ยาวไมเ่ กินขอ้ มือ สีแดงเลอื ดหทู มีกระเปา๋ ขา้ งซ้าย ๑ ใบ ท่ี กระเป๋าปักเครอ่ื งหมายตราโรงเรยี นสขี าว ๒. กางเกง เปน็ กางเกงวอรม์ ขายาวสกี รมท่าเอวรดั ๓. ถงุ เทา้ สขี าวส้ันไม่มลี วยลาย ตลบปลายพับลงมาถงึ ขอ้ เท้า ๔. รองเทา้ ผ้าใบสขี าวล้วนมเี ชอื กผกู ส้นเต้ีย ห้ามใช้ชนิดทีม่ ีกนุ๊ สหี รอื ประกอบตัวรองเทา้ ด้วยสีตา่ ง ๕. ทป่ี กเส้อื ด้านขาวให้ปักเครือ่ งหมายเพือ่ แสดงช้ัน ขนานกบั ขอบปกดา้ นกว้าง ดังนี้ ม.๑ ปกั วงกลมตามแบบที่โรงเรยี นกาหนด ๑ จดุ ด้วยไหมสีขาว ม.๒ ปกั วงกลมตามแบบทโ่ี รงเรยี นกาหนด ๑ จดุ ดว้ ยไหมสีเขยี ว ม.๓ ปักวงกลมตามแบบทโ่ี รงเรียนกาหนด ๑ จุด ด้วยไหมสเี หลอื ง ม.๔ ปักรปู ดาวตามแบบทีโ่ รงเรยี นกาหนด ๑ จดุ ดว้ ยไหมสขี าว ม.๕ ปักวงกลมตามแบบท่ีโรงเรยี นกาหนด ๑ จุด ดว้ ยไหมสีเขียว ม.๖ ปกั วงกลมตามแบบที่โรงเรยี นกาหนด ๑ จุด ดว้ ยไหมสีเหลอื ง คู่มือบรหิ ารงานกิจการนกั เรียน 2563

34 ๖. ปักช่ือ นามสกุล ทีอ่ กเสือ้ ดา้ นขวาในระดับเดียวกนั กับปากกระเป๋า ด้วยไหมสขี าว ตวั อักษรมคี วามสูง ๓/๔ ซม. การปกั เครอื่ งหมายที่เสื้อพลศกึ ษา ระดับ ม. ตน้ ระดบั ม. ปลาย ปกั จุด หรือ ดาว ดว้ ยไหมสีตามท่โี รงเรียนกาหนด ทป่ี กเสือ้ ดา้ นขวา โดยใหข้ นานกับขอบปกดา้ นลา่ ง ปักชอื่ นามสกลุ ดว้ ยไหมสขี าว ทห่ี น้าอกดา้ นขวา ระดบั เดยี วกบั ปากกระเปา๋ สงั่ ณ วนั ที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๓ (นายวฒุ ิชยั วรชนิ ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ค่มู ือบรหิ ารงานกิจการนักเรยี น 2563

35 35 แนวปฏบิ ตั ิประจาวนั ๑. นักเรยี นไมค่ วรมาถงึ โรงเรียนกอ่ น ๐๖.๐๐ น. ๒. เมอื่ มาถงึ แลว้ ห้ามออกนอกบริเวณโรงเรยี น แมว้ า่ จะยงั ไม่ถึงเวลาเข้าเรียน ๓. หา้ มข้นอาคารเรียน กอ่ น ๐๖.๔๕ น. ๔. สญั ญาณออด ๗.๓๐ น. เตรียมเขา้ แถว ๗.๓๐ น. เพลงประจาโรงเรียนเบญจมราชาลยั เมอ่ื จบเพลง ทุกแถว ต้องเรียบรอ้ ยทาพิธเี คารพธงชาติ ดว้ ยความเคารพและตงั้ ใจ ๘.๐๐ – ๘.๒๐ น. คาบโฮมรูม ๘.๒๐ น. เริม่ เรยี นคาบเรยี นที่ ๑ ๑๐.๕๐ – ๑๑.๔๐ น. ม.๑ – ม.๓ พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั ๑๑.๔๐ – ๑๒.๓๐ น. ม.๔ – ม.๖ พักรบั ประทานอาหารกลางวนั ๑๕.๐๐ น. เลกิ เรยี น ๑๗.๐๐ น. นกั เรยี นลงจากอาคารเรยี นทุกอาคาร ๑๘.๐๐ น. ไม่อนุญาตให้นักเรยี นอยใู่ นโรงเรยี น นอกจากนกั เรยี นทร่ี อ ผู้ปกครองมารบั ให้รอที่ใตอ้ าคารเทพรัตน ๕. เมอ่ื นักเรียนออกจากโรงเรยี นใหน้ ากระเปา๋ หนังสอื ออกไปทกุ ครง้ั และไม่นาไปวางไว้ ตามท่ีต่างๆนอกบริเวณโรงเรยี น ๖. ถ้าเดินออกจากโรงเรยี นแลว้ ควรรีบกลบั บ้าน ถา้ มีความจาเปน็ ต้องกลบั เขา้ ไปในโรงเรยี น ต้องขออนุญาตครเู วรทุกครง้ั ๗. ไมค่ วรซ้อื อาหาร หรอื สิ่งของบริเวณหน้าโรงเรยี น เพราะไมส่ ะอาดและไม่เปน็ ระเบียบ คู่มือบริหารงานกิจการนกั เรียน 2563

36 36 คณุ สมบตั ขิ องนักเรยี นโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ นกั เรียนทีด่ พี ึงปฏบิ ตั แิ ละประพฤติตน ตามระเบยี บดงั น้ี การเข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ - นกั เรยี นต้องมาโรงเรยี นให้ทันสัญญาณเข้าแถวเคารพธงชาติ เวลา ๗.๓๐ น. - เมอ่ื ได้ยนิ เสียงเพลงโรงเรียนตอ้ งรีบไปเข้าแถวจดั แถวใหเ้ ป็นระเบยี บเรียบร้อย - รอ้ งเพลงชาติและกล่าวคาปฏิญาณตนพร้อมกัน และยนื ตรง แขนแนบลาตัว - สวดมนตไ์ หว้พระ นักเรยี นนง่ั พบั เพยี บ ประนมมอื สวดมนต์ตามนกั เรียนผู้นา สาหรบั นกั เรยี นทีไ่ ม่ไดน้ ับถือพทุ ธศาสนาต้องนง่ั พบั เพียบสงบน่งิ ระเบยี บภายในหอ้ งเรียน - ทกุ หอ้ งต้องเลอื กตั้งกรรมการนกั เรยี น - จดั เวรรกั ษาความสะอวดของหอ้ งเรียน ดูแลการจดั โตะ๊ เก้าอีน้ ่งั ใหส้ ะอาดเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ทง้ั ใหห้ อ้ งประจาช้ันและหอ้ งทไี่ ปเรียนตลอดทั้งวนั - ดูแลทรพั ย์สนิ ต่างๆ ภายในหอ้ งเรียน พยายามอยา่ ให้ชารุดเสียหาย ถ้าสง่ิ ใดชารดุ เสยี หายต้องแจ้ง ครทู ี่ปรึกษา - นักเรยี นแสดงความเคารพครทู ่เี ข้าสอนทกุ ครง้ั - กรณีทีน่ ักเรียนเข้าห้องเรยี นชา้ ต้องขออนญุ าตครูผู้สอน และทาความเคารพก่อนเขา้ ห้องเรียน - กรณีทมี่ คี วามจาเป็นตอ้ งออกนอกหอ้ งเรยี น ต้องขออนุญาตครผู ู้สอน ถ้าครูไมอ่ ยใู่ นห้องเรียน ให้ขออนญุ าตหัวหนา้ หอ้ ง และบนั ทึกเป็นหลักฐาน ระเบยี บภายนอกหอ้ งเรียน - นกั เรียนต้องชว่ ยกันรกั ษาความสะอาดของอาคารเรียน บริเวณโรงเรียน ตลอดจนชว่ ยดูแลทรัพยส์ ิน ของโรงเรียนให้อยู่ในสภาพเรยี บร้อย และใช้การไดด้ ีอยู่เสมอ - เม่อื นักเรยี นเดนิ สวนกบั ครทู า่ นใดกต็ าม ต้องหยุดยนื และแสดงความเคารพ พร้อมนอ้ มศีรษะ ไหว้ และกลา่ วคาว่า “สวสั ดีคะ่ ” ทกุ ครงั้ - ไมใ่ ช้วาจาหยาบคาย หรือสง่ เสยี งดงั อนั เปน็ การรบกวนผอู้ ืน่ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น - การขึ้นลงบนั ได ให้เดนิ แถวเรียงหน่ึงชิดทางขวามือของตนเสมอ - การใชห้ อ้ งน้าตอ้ งทาความสะอาดทกุ ครัง้ ผา้ อนามัยทใ่ี ช้แลว้ ทงิ้ ลงในถงั ที่เตรยี มไว้ให้ทงิ้ กระดาษ ชาระในตะกรา้ หรือถงั ทีเ่ ตรยี มไวใ้ ห้ (ไมว่ างหรอื ทิ้งทหี่ นา้ กระจกหรืออ่างน้า) ปดิ กอ๊ กนา้ ทกุ ครัง้ ก่อนท่ี คู่มือบริหารงานกิจการนกั เรยี น 2563

37 37 จะออกจากหอ้ งนา้ แจ้งครเู วรหรอื ครูหวั หนา้ อาคาร เม่ือพบสิ่งทีช่ ารุด เสยี หาย ไม่ขดี เขยี น คา ขอ้ ความ หรือรูปภาพ หรือแต้มสาใดๆ ทั้งในและนอกหอ้ งน้า ถา้ พบเห็นตอ้ งแจ้งครูหัวหนา้ คณะประจาวนั หรือครูอ่ืนๆ เพือ่ ใหน้ กั การทาความสะอาด การมาโรงเรยี น - เม่อื เข้ามาในโรงเรยี นแล้วจะออกนอกบรเิ วณโรงเรียนต้องไดร้ บั อนญุ าตจากกรรมการกล่มุ บรหิ าร กจิ การนักเรียน - แต่งเครือ่ งแบบนกั เรยี นทกุ ครง้ั ท่ีมาโรงเรยี น และไม่สวมรองเทา้ แตะ - หา้ มนักเรียนขับรถมาโรงเรยี นเด็ดขาด - ถา้ ผปู้ กครองขับรถมาส่งหรือมารับ ใหจ้ อดสง่ หรือรับหน้าโรงเรียน นกั เรียนควรเตรยี มกระเป๋าพร้อม ทจ่ี ะขึน้ หรอื ลงจากรถโดยไม่ชกั ช้าเพอ่ื ทจ่ี ะไดไ้ มท่ าให้การจราจรติดขัด - โรงเรยี นได้จดั ให้มีครูเวรอยทู่ ีป่ ระตูโรงเรียน ฉะนั้นกอ่ นเขา้ โรงเรยี นและกอ่ นออกนอกบริเวณ โรงเรยี นทุกวัน นักเรียนจะตอ้ งวางกระเปา๋ แล้วทาความเคารพครเู วร การมาสาย นักเรยี นทกุ คนต้องมาโรงเรยี นทันเขา้ แถวเคารพธงชาติ เวลา ๐๗.๓๐ น.ถา้ มาสายตอ้ งปฏิบัติดงั น้ี - มาไมท่ ันเวลาเขา้ แถว ๐๗.๕๐ น. ห้ามเขา้ ไปในแถว ใหเ้ ข้าแถวกลมุ่ ผมู้ าสายโดยอยใู่ นความดแู ล ของครเู วร หรือผู้ท่ีทางโรงเรียนกาหนด ลงชอ่ื ในแบบฟอรม์ นักเรยี นมาสายไมท่ นั เข้าแถว - มาไมท่ นั เวลา ๐๘.๐๐ น. ให้เซ็นชอ่ื ที่โต๊ะครูเวรประจาวัน ถ้านกั เรยี นมาสายเกนิ ๓ ครง้ั ทางโรงเรยี นจะเชิญผปู้ กครองมาพบรองผู้อานวยการกลมุ่ บริหารกจิ การนักเรียน เพอื่ รว่ มกนั แกไ้ ข และพัฒนานกั เรียน การลา - ลากิจธุระในระหวา่ งเรียน นกั เรยี นตอ้ งมีผ้ปู กครองมารับ และนาสมุดประจาตวั นักเรยี นไปให้ ครูท่ีปรึกษาเซน็ รบั ทราบและอนญุ าต เมอ่ื ผปู้ กครองมารบั ให้ไปบนั ทกึ การมารบั นักเรยี นท่ี ห้องกจิ การนักเรยี น ถ้าไมส่ มควรก็จะไมอ่ นญุ าต - ลาป่วยขณะเรียน แจ้งครูผู้สอน ครูท่ปี รกึ ษาเพ่ือขออนุญาตเขา้ พักในห้องพยาบาล ในกรณที ่ปี ่วย ต้องกลับไปรกั ษาตวั ที่บา้ น ต้องขอใบรับรองจากฝ่ายพยาบาล ไปแจง้ ต่อกลุ่มบรหิ ารกจิ การนักเรยี น ขออนญุ าตโทรศัพท์ถึงผู้ปกครอง และนาใบรับรองไปแจง้ แกค่ รูที่ปรึกษาและครผู ู้สอน จึงขออนุญาต ออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นได้ โดยตอ้ งมผี ปู้ กครองมารับ - การลาหยุดเรียนกรณีเจบ็ ป่วยหรือมีกิจธุระจาเป็น เม่อื มาโรงเรียนหลังจากลาหยดุ เรยี นในวันแรก ต้องนาจดหมายของผปู้ กครองมารับรองวา่ ปว่ ยจรงิ หรอื มีกิจธรุ ะจาเปน็ ระบุสาเหตุและอาการปว่ ย วนั เวลาที่ป่วย หรอื สาเหตุท่ตี อ้ งลากจิ มาแสดงตอ่ ครทู ่ีปรึกษา คมู่ อื บริหารงานกิจการนกั เรยี น 2563

38 38 การออกนอกบรเิ วณโรงเรียน นักเรยี นจะตอ้ งแจง้ ต่อคณะกรรมการกล่มุ บริหารกจิ การนักเรียนคือ รองผูอ้ านวยการกลมุ่ บริหาร กจิ การนกั เรียน ผูช้ ่วยรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารกจิ การนกั เรียน ครูหัวหนา้ ระดับนกั เรยี น นักเรยี นจะออก นอกบริเวณโรงเรยี นในระหว่างเวลาเรยี นไดก้ ต็ อ่ เมื่อ - ผปู้ กครองมารบั ด้วยตนเอง โดยแจง้ เหตุผลทร่ี องผ้อู านวยการกล่มุ บรหิ ารกจิ การนกั เรียน หรือหวั หนา้ ระดบั ซ่ึงจะเป็นผู้อนุญาตให้ออกนอกบริเวณรงเรียนพรอ้ มกบั ผู้ปกครอง - การออกนอกบริเวณโรงเรยี นเพอื่ ทากิจกรรมใด ๆ ที่โรงเรียนจดั ขึ้นภายนอกโรงเรียน โรงเรยี น จะมหี นงั สอื แจง้ ให้ผู้ปกครองรับทราบและขออนุญาตทุกครงั้ และจัดใหม้ ีครูควบคุมนักเรยี นทุกครงั้ การพบกบั บุคคลภายนอก ถา้ มีกิจธุระจาเปน็ ตอ้ งพบจริง ๆ นักเรียนต้องแจง้ ครูที่ปรกึ ษาและครูในกลุม่ บริหารกิจการ นักเรยี น ไวล้ ่วงหนา้ ดว้ ยตนเอง โดยใหบ้ ุคคลภายนอกตดิ ต่อและรออยูท่ โี่ ต๊ะครเู วรหรอื บรเิ วณที่โรงเรียนกาหนดเทา่ น้ัน บคุ คลภายนอกทขี่ อพบนกั เรยี น อาจไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากหวั หน้ากลุ่มบรหิ ารกิจการนกั เรยี น ถ้าพิจารณาแล้ว เห็นวา่ ไมเ่ หมาะสมหรอื ไมจ่ าเปน็ นกั เรียนทกุ คนจะต้องชี้แจงใหบ้ คุ คลภายนอกที่จะมาติดต่อใหท้ ราบวา่ ไมว่ ่า จะเป็นเพศใดวัยใดหรืออยทู่ ี่ใดก็ตามจะเขา้ มาในโรงเรียนตามความพอใจไม่ได้ ท้ังน้เี พอื่ ความสงบเรียบร้อยและ ความปลอดภัยของนกั เรียน อนง่ึ ถา้ ผูป้ กครองจะนาของฝากใหน้ กั เรยี นต้องฝากผ่านยามของโรงเรยี น ไม่อนญุ าตใหส้ ่งโดยตรงกบั นักเรียน การนดั พบสนทนาตามสวนสาธารณะ ร้านอาหารหรือท่ีอื่น ๆ เปน็ การกระทาท่ีไม่สมควร นักเรยี นต้องให้ผ้ปู กครองไดร้ ับรู้การกระทานั้นและตอ้ งไม่ทาให้โรงเรยี นเสียชอ่ื เสยี ง การเข้าห้องประชุม โรงเรยี นจดั ใหม้ กี ารประชมุ นักเรยี นในหอ้ งประชุมหมุนเวยี นอย่างน้อยระดบั ระดบั ๑ ครั้งตอ่ สัปดาห์ การเข้าห้องประชุมให้นกั เรียนปฏิบตั ิดังน้ี - นกั เรยี นแต่ละชั้นต้องรับผดิ ชอบว่าเป็นหนา้ ท่ีของนกั เรยี นท่ีจะต้องเขา้ ฟังการประชุมทกุ คร้ัง ตามวนั เวลาที่ทางโรงเรยี นกาหนดไว้ - เดนิ เข้าหอ้ งประชุม อย่างมรี ะเบียบเรียบรอ้ ยรวดเรว็ นง่ั ประจาท่ใี นแถวประจาชั้นในสภาพท่ีสงบ มรี ะเบยี บวนิ ยั นากระเป๋า อุปกรณต์ า่ ง ๆ รองเท้า มาวางใกล้ตัว - ฝ่ายทะเบยี นของหอ้ งรายงานช่ือนกั เรยี นท่ีขาดการประชุม ต่อครูทเ่ี ป็นผใู้ หก้ ารอบรมหรือควบคุม หรือครทู ปี่ รกึ ษาบนั ทกึ ลงสมุดบันทกึ การประชมุ และบันทกึ สาระสาคัญท่ไี ดร้ บั การประชุมสง่ หวั หนา้ ระดับ - เมื่อเสร็จสน้ิ การประชมุ นกั เรียนจะเดินออกจากหอ้ งประชุมเปน็ แถวอยา่ งมีระเบยี บใช้หลักการ พิจารณารวดเรว็ เรียบร้อย เสียสละ ใหอ้ ภัย สงบ รอคอย ค่มู อื บรหิ ารงานกจิ การนกั เรียน 2563

3939 ระเบยี บปฏบิ ัติทวั่ ไป นักเรียนทกุ คนปฏบิ ตั ิดังนี้ - เชอ่ื ฟงั และปฏิบัติตามคาเตอื นของครทู ุกท่าน - รักษาความสามคั คีใน หมู่คณะ รนุ่ นอ้ งนบั ถอื รุ่นพี่ รุ่นพ่ีประพฤติปฏบิ ัติให้เปน็ ตวั อย่างทีด่ ีแก่รุ่นน้อง - ตอ้ งประหยัดการใช้น้า ไฟฟา้ และวัสดุสิ้นเปลืองของโรงเรยี น - ช่วยกันรักษาทรพั ย์สมบัตขิ องโรงเรยี นใหอ้ ยใู่ นสภาพที่ดีงาม - รู้จักคาราวะบคุ คลอนื่ และต้องทาความเคารพเมอ่ื พบครูทกุ ท่านทงั้ ในและนอกโรงเรยี นรู้จัก กล่าวคา “สวสั ดี” “ขอโทษ” และ “ขอบคณุ ” ในโอกาสอนั ควร - ตอ้ งมคี วามสงบสารวม เมื่ออยู่ในโรงเรยี นและรักษาระเบียบวนิ ัยขณะมีกจิ กรรม - ไม่ตกแต่งเคร่อื งประดบั ใด ๆ เช่น ตุม้ หู เครอื่ งประดบั เงนิ ทอง (นาฬิกาขอ้ มือแต่มิใชน่ าฬกิ าเครื่องประดบั มสี ีสันต่าง ๆ ใหใ้ ช้สายหนงั สดี าหรอื นา้ ตาล หรอื โลหะสแตนเลส) - ไม่ไวเ้ ล็บ ทาเล็บ เขียวคว้ิ ทาปาก ใสเ่ ลนส์ตาทีม่ ีสนั ตกแตง่ ใบหน้าดว้ ยเครอ่ื งสาอาง - ไมน่ าสินคา้ และบริการทกุ ประเภทมาขายในโรงเรียน - ไม่เสพสารเสพยต์ ิดหรอื ของมนึ เมา ไม่มัว่ สุมหรือกอ่ ความราคาญ - การเข้าพบครทู กุ ครง้ั ใหน้ กั เรียนเขา้ ไปไหว้ แล้วคกุ เขา่ หรอื น่ังพบเพยี บตามโอกาสและสถานทีถ่ ้าอยู่ใกล้ ๑ เมตร/ศีรษะของนักเรียนตอ้ งไม่สูงกวา่ ศรี ษะของครู - นักเรียนต้องมอี ปุ กรณก์ ารเรยี นครบทกุ วิชา เขียนชือ่ นามสกุล เลขประจาตัว บนสมดุ หนังสอื ในกระเปา๋ หนงั สอื และอปุ กรณท์ กุ ชิน้ - ไม่ไว้ผมปรกหนา้ ผาก ไมด่ ัดผม ทาสีผม ซอยผม หรือไว้ผมตามสมัยนยิ ม ไม่ฉดี สเปรย์ ให้ไว้ผมทรงบอ๊ บ ถา้ ไว้ ยาวมาแลว้ ตอ้ งเรียบเสมอกันไมเ่ กิน ๖ น้วิ ตอ้ งรวบผมที่ทา้ ยทอย ความยาวของเปยี ไมเ่ กิน ๘ น้วิ ผูกรบิ บนิ้ สกี รมทา่ หรือดา ถา้ เกินกว่ากาหนดต้องตดั ตามกาหนดโรงเรยี น โรงเรียนไมม่ นี โยบายไว้ผมยาว แตอ่ นโุ ลม สาหรับผู้ท่ีไวผ้ มยาวมาแล้ว - ไมน่ าอาหาร เคร่อื งดม่ื และของขบเคยี้ วทุกชนิดและส่ิงของไปรบั ประทานในห้องเรียนบนอาคารหรือบรเิ วณ อื่นนอกห้องอาหาร - ไม่นาหนงั สอื เอกสารหรือแผ่นประกาศมาแจกหรอื นามาติดในโรงเรยี น เวน้ แต่ครูอนุญาตให้เป็นความรู้ ทเ่ี ผยแพรไ่ ด้ให้ติดบอรด์ ไมต่ ดิ ตามฝาผนงั หรือเสา หรือระเบยี ง - ไม่นาบคุ คลภายนอกเข้ามาในบริเวณโรงเรยี น หรือขึ้นบนอาคารเรยี น เว้นแตไ่ ด้รบั อนุญาตจาก รองผูอ้ านวยการกลุม่ บริหารกิจการนกั เรียนเป็นลายลักษณอ์ กั ษรส่วนทที่ น่ี กั เรียนจะพบปะพูดคุยธุระ กบั บคุ คลภายนอก คอื บริเวณม้านงั่ ใตอ้ าคารเทพรัตนเท่าน้ัน - ไม่เข้าไปในบริเวณตอ่ ไปน้ีคอื บา้ นพักยาม บา้ นพักคนงามภารโรง ทางเดนิ หลงั อาคารจนั ทรนภิ า คมู่ ือบริหารงานกจิ การนักเรียน 2563

4040 - ไมจ่ ัดกิจกรรมนาเท่ียวหรอื ชักชวนเพ่ือนนักเรยี น และผ้อู ่ืนไปตามสถานทีต่ ่าง ๆ โดยไมไ่ ด้รบั ความเหน็ ชอบ จากผูป้ กครอง - ต้องสวมเสื้อบงั ทรงและเกบ็ ชายเส้ือบังไวท้ รงในกระโปรง - ไมเ่ ล่นการพนัน แชร์ แชรล์ กู โซ่ ไพ่ หรือกิจกรรมอืน่ ใดที่เขา้ ข่ายการพนัน - สุภาพออ่ นโยนตอ่ บคุ คลทว่ั ไป ไม่กล่าวคาหยาบหรอื สอ่ เสยี ด - ไม่ประพฤตหิ รอื ทาการใด ๆ ท่นี าความเสอ่ื มเสยี มาสูโ่ รงเรยี น - ถา้ นกั เรียนจะมาโรงเรียนเพือ่ ทากจิ กรรมใด ๆ ต้องแต่งเครื่องแบบนกั เรยี นหรือชดุ สภุ าพเรียบรอ้ ย ทกุ คร้งั - เสือ้ พลศกึ ษา สวมในวันทีม่ เี รยี นพลศกึ ษาเท่านั้น หรือในวนั ที่โรงเรียนนดั หมายให้สวม มาได้ - ไม่ไปทากจิ กรรมใดทีบ่ ้านเพ่อื นในขณะท่ีไมม่ ผี ู้ปกครองและไม่เสนอหรอื ชวนหรืออนญุ าตใหเ้ พอ่ื นไปค้าง ที่บา้ น - ตอ้ งมีบตั รประจาตัวนักเรียนตดิ ตวั ไว้เสมอ - ไม่ใชโ่ ทรศพั ทห์ รอื โทรศพั ท์มอื ถอื ขณะเรียน ถา้ พบจะเกบ็ ส่งหอ้ งกิจการนกั เรยี นผ้ปู กครองมารบั เมอื่ สิ้นปี การศึกษา - ใหเ้ ก็บอุปกรณเ์ ครื่องใช้ไวใ้ กล้ตวั และเกบ็ เงินไวก้ ับตัวตลอดเวลาเพื่อกนั สูญหาย - โรงเรียนมนี โยบายใหป้ ระหยดั ควรใชแ้ ต่สง่ิ ท่ีทางโรงเรยี นจัดจาหน่ายเท่านัน้ - ไม่แต่งกาย และประพฤติตนตามแฟชั่นทุกชนิด อันเป็นการไมเ่ หมาะสมกับสภาพนกั เรยี น การลงโทษนกั เรยี น การลงโทษนกั เรียนตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ด้วยการลงโทษนักเรยี นและนกั ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ และระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยการลงโทษนักเรยี นและนักศกึ ษา (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๐ มีข้อกาหนดไวด้ งั นี้ โทษที่จะลงโทษแก่นักเรยี นหรือนกั ศึกษาที่กระทาผิดมี ๕ สถาน ดงั นี้ ๑. ว่ากล่าวตกั เตอื น ๒. ทาทัณฑ์บน ๓. ตัดคะแนนความประพฤติ ๔. ทากิจกรรมเพอื่ ปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรม ************************************************************** คู่มอื บรหิ ารงานกจิ การนกั เรียน 2563