Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มอดูลที่ 3 โครงการจัดและดูแลสวน

มอดูลที่ 3 โครงการจัดและดูแลสวน

Published by เสน่ เสน่, 2021-02-24 02:33:05

Description: มอดูลที่ 3 โครงการจัดและดูแลสวน

Search

Read the Text Version

กจิ กรรมท่ี ๔ สร้าง พัฒนามอดลู หน่วยท2่ี มอดลู ประวตั ิความเปน็ มาและรปู แบบของสวน ชอื่ วิชา โครงการจัดการและดูแลสวน ผจู้ ัดทา นายคธาวธุ เครอื วยิ ะ แผนกวิชาพชื ศาสตร์

2 คานา บทเรียนมอดูลหน่วยท่ี 2 เรื่องประวัติความเป็นมาและรูปแบบของสวน ฉบับบน้ีข้าพเจ้าเรียบ เรียงข้ึนเพ่ือใช้ประกอบการเรียนวิชาโครงการจัดและดูแลสวน รหัสวิชา 20501-2277 ระดับช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยพยายามเขียนให้นักเรียนเข้าใจง่าย นักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง เพอื่ ใหม้ คี วามรู้พื้นฐานก่อนท่จี ะศึกษาเนื้อหาจริง และยงั ได้เพิ่มเน้ือหาบางตอนเพื่อชว่ ยเสริมความรู้ความ เขา้ ใจแกน่ กั เรยี น นอกจากนย้ี งั ไดเ้ พ่ิมใบกิจกรรมเสริมให้แก่นกั เรียนให้มปี ระสบการณ์มากขนึ้ บทเรียนมอดูลชุดน้ีมจี ุดประสงค์เพื่อใหน้ ักเรียนได้ศึกษาเก่ียวกบั ประวตั ิความเปน็ มาและรูปแบบ ของสวนต่างภายในบทเรียนประกอบด้วยคาแนะนาการใช้บทเรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียนรวมท้ังเฉลย บทเรียนนี้นักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเองและเรยี นรู้เปน็ กลมุ่ เลก็ ๆ ผู้จัดทาหวังว่าบทเรียนชุดนี้จะช่วยให้นักเรียนได้รับความรู้ความเข้าใจ เรื่องประวัติความเป็นมา และรูปแบบของสวน มากย่ิงขึ้น และส่งผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนสูงข้ึน ข้าพเจ้ายินดีรับฟัง ความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ และพร้อมแกไ้ ขปรับปรงุ บทเรียนโมดลู เลม่ น้ใี หม้ ีความสมบรู ณ์และถูกต้อง คธาวธุ เครือวิยะ

สารบัญ 3 คานา หน้า สารบญั 2 คาชแี้ จงในการใช้มอดูลสาหรับนกั เรียน 3 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 4 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 5 ใบความรู้ ประวัติความเปน็ มาและรปู แบบของสวน 6 แบบทดสอบหลงั เรยี น 8 28

4 คาชี้แจงในการใชม้ อดูลสาหรับนักเรยี น การใช้บทเรียนมอดูลให้เกิดประสทิ ธิภาพตอ่ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนได้อย่างสงู สุด นักเรียนควร ปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. การเตรียมตวั ของนักเรียน 1.1 ศกึ ษาบทเรียนมอดูลก่อนที่จะทาแบบทดสอบ หรือปฏิบตั กิ จิ กรรมต่าง ๆเพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกบั วตั ถปุ ระสงค์ ประวัติความเปน็ มาและรปู แบบของสวน 1.2 วางแผน และจัดตรยี มอุปกรณท์ ีใ่ ชป้ ระกอบการเรียนรู้ของตนเองหรือของกล่มุ ให้พร้อมสาหรบั การ ปฏิบตั ิกจิ กรรมตามที่ได้รับมอบหมาย 2. ดาเนินการจัดกจิ กรรมในแต่ละครงั้ นกั เรยี นควรปฏิบตั ิ ดงั นี้ 2.1 ศกึ ษาแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมให้มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ หากพบปัญหา หรือขอ้ ขัดข้องใหส้ อบถามข้อมลู เพมิ่ เติมจากครู 2.2 ปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามลาดับข้นั ตอนท่กี าหนด ดงั น้ี 2.2.1 นักเรียนทาแบบทดสอบภาคความรู้ก่อนเรียน 2.2.2 นกั เรยี นศึกษาและปฏิบตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ ตามแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ตู ามลาดับ ขั้นตอนที่กาหนด 2.2.3 นักเรยี นสง่ ผลงานหรอื ชิ้นงานในการปฏบิ ัติกิจกรรม มสี ่วนรว่ มในการนาเสนอผลงานหรือ อภิปรายความรู้ 2.24 นกั เรียนทาแบบทดสอบภาคความร้หู ลังเรียน

5 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) 1. นักเรียนอธบิ ายถงึ ประวัตคิ วามเปน็ มาของอารยะธรรมการจัดสวนแบบตะวันตกได้ 2. นักเรียนอธิบายถงึ ประวตั คิ วามเปน็ มาของอารยะธรรมการจัดสวนแบบตะวันออกได้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) 3. นักเรียนสามารถใชก้ ระบวนการกลุ่มในการสบื ค้นหาความร้เู ก่ยี วกับประวัติความเปน็ มาของอารยะ ธรรมการจดั สวน ดา้ นคุณลักษณะ (A) 4. นกั เรียนมีเจคคติทีด่ ีต่อการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์ประวตั ิความเปน็ มาของอารยะธรรมการจดั สวน 5. นกั เรยี นมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ไดแ้ ก่ ความมวี นิ ยั ความรับผดิ ชอบและมีจิตประวตั คิ วามเป็นมา ของอารยะธรรมการจัดสวน

6 แบบทดสอบก่อนเรียน เรอื่ ง ประวตั ิของการจดั สวน คาชแ้ี จง ให้เลือกขอ้ ทีถ่ ูกทีส่ ุด แล้วกากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ 1. เราสามารถกลา่ วไดว้ า่ ชนชาติใดเป็นชาติแรกๆ ทม่ี ีบนั ทกึ เร่ืองราวเกยี่ วกบั การจัดสวนขึน้ ก. ไทย ข. จีน ค. อียปิ ต์ ง. อังกฤษ 2. สวนลอยบาบโิ ลน ซ่งึ เปน็ สงิ่ ก่อสรา้ งทเี่ ป็น1ใน7 ส่งิ มหัศจรรยข์ องโลก เกิดจากชนชาติใด ก. ชนชาติอียิปต์ ข. ชาติอาหรับ ค. ชนชาติอติ าลี ง. ชนชาตไิ ทย 3. การวางผงั พนื้ ทอี่ าคารใหม้ ีลานโล่งเพอ่ื จัดสวนตรงกลาง ได้รบั อิทธพิ ลมาจากยุคสมัยใด ก. โรมัน ข. กรีก ค. ฝรัง่ เศส ง. อยี ิปต์ 4. การสรา้ งสวนประกอบกบั บา้ นพักตากอากาศทีเ่ รยี กวา่ วลิ ลา่ (Villa) นิยมทากนั ในภมู ปิ ระเทศแบบใด ก. ในถา้ ข. รมิ แม่น้า ค. รมิ คลอง ง. บนเนินเขา 5. รปู แบบของสวนตัง้ แตใ่ นยคุ อียปิ ต์ กรีก โรมนั มคี วามคล้ายคลงึ กันในเร่ืองใด ก. เปน็ สวนแบบประดษิ ฐ์ ข. จดั สวนในพื้นทโี่ ลง่ กลางบ้าน ค. มกี ารใชน้ า้ มาประกอบสวน ง. ถกู ทกุ ข้อ 6. ยุคสมยั ใดท่กี ารจดั สวนแบบประดิษฐไ์ ด้พัฒนาอยา่ งมากจนมีรูปแบบสวยงามยง่ิ ใหญ่ตระการตามากทีส่ ดุ ก. องั กฤษ ข. อติ าลี ค. ฝร่ังเศส ง. ขอ้ ข. และขอ้ ค. 7. สวนของชนชาตติ ะวนั ตกยุคใด ทีเ่ ร่มิ มกี ารเปล่ยี นแปลงมาสู่รูปแบบสวนธรรมชาติ (Natural style) มากขน้ึ ก. องั กฤษ ข. อติ าลี ค. เสปน ง. ฝรั่งเศส 8. สวนของชาวตะวนั ออกหรือชาวเอเชยี มีแนวทางการจัดในรูปแบบใด ก. แบบประดษิ ฐ์ (Formal style) ข. แบบธรรมชาติ (Informal style) ค. แบบสวนปา่ ง. ถกู ทกุ ข้อ 9. สวนญป่ี ่นุ มรี ปู แบบที่ไดร้ บั อทิ ธพิ ลการจัดมาจากชนชาติใดมากทส่ี ุด ก. อียิปต์ ข. เกาหลี ค. จีน ง. อังกฤษ

7 10. การนาหินมาก่อเป็นเนินดินสูงๆประกอบกับพันธ์ุไม้ไทยและองค์ประกอบสวนแบบไทย เป็นรูปแบบเฉพาะ ของสวนไทยซ่ึง มีช่อื เรียกว่าอะไร ก. เขามอ ข. เขาดิน ค. เขาวัง ง. เขาชอ่ ง เฉลย 1. ค 2. ข 3. ข 4. ข 5. ก 6. ค 7. ก 8. ง 9. ค 10. ก

8 ใบความรู้ ประวตั ิความเปน็ มาและรปู แบบของสวน ประวัตขิ องการออกแบบจัดสวน การจัดสวนเป็นวัฒนธรรมที่อยู่คู่กับกับมนุษย์มายาวนานนับแต่มนุษย์เร่ิมมีอารยะธรรมและได้พัฒนาสืบ ทอดต่อมาหลายยุคหลายสมัยจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ได้มีการศึกษาพัฒนาปรับปรุงวิทยาการการจัดสวนมาจนก่อ เกิดรปู แบบสวนขึ้นมามากมายตามปจั จัยต่างๆท่ีเก่ียวข้อง การศึกษาเก่ียวกับประวตั ิความเปน็ มาของงานจัดสวน จะช่วยให้ผู้เรยี นไดท้ ราบถึงรปู แบบสวน ทีม่ ตี ้นกาเนิดจากแหลง่ วัฒนธรรมต่างๆของโลกเรา เพอ่ื สามารถนาความรู้ ดงั กล่าวมาประยกุ ตใ์ ช้ในงานออกแบบจดั สวนต่อไปได้ ประวัตคิ วามเป็นมาของการจดั สวนนับแต่อดตี จนถึงปจั จุบัน มนุษย์เราน้ัน เรียกได้ว่าเป็นสิ่งมีชวี ิตช้ันสูง ที่มีการคิดค้น ศึกษา หาวิทยาการใหม่ๆ ที่จะช่วยให้การดารง ชีพเป็นไปอย่างม่ันคงปลอดภัยและครบถ้วนด้วยปัจจัยที่สาคัญในการดารงชีพของตน โดยเฉพาะการก่อสร้างท่ีพัก อาศัยเพื่อความปลอดภัยในตนเองและครอบครัว อารยะธรรมการอยู่ร่วมกันเป็นสังคมของมนุษย์นั้น ก่อให้เกิด การตั้งถิ่นท่ีอยู่อาศัย มีชุมชน มีสังคม จากยุคโบราณท่ีอาศัยอยู่ตามป่าเขา ในถ้าหรือเพิงที่พัก ก็ได้พัฒนาต่อมา จนกระท่ังมีเทคโนโลยีในการก่อสร้างที่สูงขึ้นวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี มีหลักวิชาการที่สร้างสรรค์ รวมทั้งมีการใช้ภาษาสืบทอดกันชัดเจนขึ้น วัฒนธรรมเกี่ยวกับการปลูกพืชพันธ์ุไม้ประดับและการชื่นชมในความ งามของธรรมชาติ ได้ทุกบันทึกเป็นภาพเขียน ภาพวาดทิวทัศน์ต่างๆ รวมท้ังบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และ ถ่ายทอดต่อๆกันมาจากคนรุ่นก่อนสู่คนรุ่นหลัง เช่น ชนชาติอียิปต์รู้จักใช้ต้นอินทผลัมปลูกเพ่ือกินผลให้ร่มเงาและ ตกแต่งอาคาร ชนชาติจีน ญ่ีปุ่นรู้จักปลูกต้นเบญจมาศเพ่ือประดับมาช้านานแม้แต่ตราสัญลักษณ์ราชวงศ์ญี่ปุ่นยัง เป็นรูปดอกเบญจมาศ หรือการวาดลวดลายดอกไม้ ทิวทัศน์ไว้บนแจกันเครื่องเซรามิคของจีน เป็นต้น แสดงถึง ความผูกพันระหว่างมนุษย์กับพันธ์ุไม้สวยงามและการประดับตกแต่งด้วยต้นไม้ช้านาน จนนาไปสู่การจัดสวนใน ทสี่ ดุ การจัดสวนยุคแรกๆ อาจยังมิได้มีหลักการจัดวางอะไรที่แน่นอนชัดเจน อาจมีการทาแปลงปลูกเป็นแถว เป็นแนว รูปแบบเรียบๆง่ายๆแบบเดียวกับการปลูกพืชผลทางการเกษตรต่างๆ ต่อมามีการรู้จักใช้ภาชนะปลูก กระถาง กระบะ ดังน้ันไม้ประดับจึงถูกนาไปใชป้ ระดับตกแต่งอาคารสถานที่อย่างใกลช้ ิดได้มากขึ้น ซ่ึงในท่ีสุดกม็ ผี ู้ คิดค้นหลักในการเลือกใช้พันธ์ุไม้เพื่อมาประดับตกแต่ง หรือหลักการจัดวางองค์ประกอบในสวนเพื่อความสวยงาม และพฒั นามาเปน็ รปู แบบสวนที่ชัดเจนมากย่งิ ขึ้น

9 ภาพที่ 1 รปู วาดลายเส้นการปลูกต้นอินทผลมั รอบสระน้าของชาวอียปิ ต์ ภาพท่ี 2 ภาพเขยี นแบบจนี ที่แสดงออกถงึ ความชื่นชม ในธรรมชาตขิ องปา่ เขา วัฒนธรรมการจัดตกแตง่ สวนของแตล่ ะชนชาติอาจมีความแต่งตา่ งกันไปตามแต่ปจั จัยหลายประการ ไม่วา่ จะเป็นสภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ รวมถึงขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมในท้องถ่ินน้ันๆ บางชาติมี หลักการวิธีการจัดสวนเป็นรูปแบบของตน แต่บางชนชาติก็อาจรับเอาวัฒนธรรมมาจากชนชาติอื่น หรือบางครั้ง อาจนาเอาหลักวิชาการจัดสวนของชาติอื่นมาประยุกต์และพัฒนาใช้เป็นรูปแบบเฉพาะของชนชาติตนในท่ีสุด เช่น เช่นชาติโรมัน กรีกรับวิทยาการด้านสถาปัตยกรรมและงานจัดสวนส่วนหนึ่งมาจากชาติอาหรับ ส่วนญี่ปุ่นได้รับ อทิ ธพิ ลการจัดมาจากสวนจีน เกาหลีและพฒั นาเป็นรปู แบบของตนเองขึน้ มาอย่างมีแบบแผน ที่แฝงไปดว้ ยศาสตร์ ศลิ ป์ และหลกั ปรชั ญา จากอิทธิพลการจัดสวนที่สืบทอดกันมาจากแต่ละชนชาติน้ัน ได้ก่อให้เกิดรูปลักษณ์ของสวนแบบต่างๆข้นึ มากมาย ตามแต่ปัจจัยแวดล้อมและวิทยาการด้านสวนที่พัฒนากันข้ึนมาในแต่ละยุค ทาให้รูปแบบของสวนมีท้ัง ลักษณะท่ีคล้ายคลึงหรือต่างกันไปตามแต่ต้นกาเนิดของวัฒนธรรมนั้นๆ เราสามารถแบ่งจาแนกรูปแบบของสวน ตามแหล่งของวัฒนธรรมสาคัญซ่ึงยังคงมีอิทธิพลต่อรูปแบบการจัดสวนมาจนถึงทุกวันนี้ได้เป็น 2 รูปแบบ หลักๆ นั่นคือ การจัดสวนของวัฒนธรรมตะวันตกในรูปแบบสวนประดิษฐ์ (Formalism) และวัฒนธรรมการจัดสวนของ ชาวเอเชยี หรือซีกโลกตะวันออกในรปู แบบธรรมชาตินิยม (Naturalistic style) ซ่ึงจะกล่าวถึงรายละเอียดของท่ีมา และรปู แบบสวนในอดีตแตพ่ อสงั เขป ดงั น้ี 1. การจัดสวนของวัฒนธรรมตะวนั ตกในรปู แบบสวนประดษิ ฐ์ (Formalism) อิยปิ ต์ (Egypt) ขวัญชัย จิตสารวย,2540 กล่าวว่า อียิปต์น่าจะเป็นชนชาติแรกๆที่มีการพัฒนาวิทยาการทางด้านการจัด สวน พบหลักฐานว่ามีการจัดสวนต้ังแต่ 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช รูปแบบสวนต่าง ๆ จะมีลักษณะปิด เนื่องจาก บ้านเรือนที่พักอาศัยจะมีรูปทรงเรขาคณิต การจัดสวนจะเป็นแบบมีระเบียบ (formal styles) ซ่ึงจะมีการจัด เฉพาะในพระราชวังและบ้านข้าราชบริพารชั้นผู้ใหญ่และสถานท่ีทางศาสนา การจัดสวนจะมีแหล่งน้าเข้ามา

10 เกี่ยวข้องเพ่ือใช้ในช่วงฤดูร้อน คลองส่งน้าต่าง ๆ จะมีในสวนขนาดเล็กหากเป็นสวนขนาดใหญ่ ๆ ระบบน้าจะ เปลี่ยนแปลงในรูปของสระรูปทรงเรขาคณิต มีการเล้ียงปลาในสระน้า การปลูกพรรณไม้ก็เพ่ือใช้ประโยชน์ในการ ให้ร่มเงา ป้องกันความร้อนจากดวงอาทิตย์มีการสร้างเรือนต้นไม้และปลูกไม้เล้ือย เช่น องุ่น ไอว่ี มีการปลูกปาล์ม เพื่อให้ร่มเงา นอกจากน้ีชนชาวอียิปต์จะปลูกพืชผักต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยเฉพาะหอมหัวใหญ่ เคร่ืองเทศ เพ่ือ การลดน้าหนัก รวมทั้งมกี ารปลกู พืชสมนุ ไพรเพอ่ื ใชเ้ ป็นยารกั ษาโรค ภาพที่ 3 ภาพท่ี 4 ภาพที่ 5 ภาพท่ี 3-5 ภาพวาดแสดงถงึ รูปแบบสวนอยี ิปต์และแผนผังงานออกแบบสวนของชนชาตอิ ยี ิปต์ในอดีต เปอรเ์ ซยี (Persia) การจัดสวนของชนชาวเปอร์เซยี หรือชนชาติอาหรับ (อิรกั อหิ รา่ นในปจั จบุ ัน) ไดพ้ ัฒนามานับพันปตี ่อจาก สมัยอิยิปต์ ตามประวัติศาสตรช์ นชาตนิ ี้เปน็ ชนชาตทิ ี่มีความรงุ่ เรืองมาก โดยเฉพาะทางศิลปวิทยามีการสร้างสรรค์ อารยะธรรมของตนเอง พยายามปรับปรงุ รูปแบบศิลปะต่าง ๆ จากอดีตจนเป็นอารยะธรรมของชนรุ่นหลังต่อมา 1 ใน 7 ของส่งิ มหศั จรรยข์ องโลก คอื สวนลอยแห่งบาบิโลน (The Hanging Garden of Babylon) สวนนีส้ ร้างข้นึ ใน สมัยประมาณ 600 ปี ก่อนครสิ ต์ศกั ราช การจัดสวนของเปอร์เซียน้ี จะตกแต่งประดับแทรกตัวอยู่ในสถาปัตยกรรม ออกแบบเป็นรูปทรงเรขาคณิตแ ละ มักจะวางผังสวนเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีการทาสระน้ารูปสี่เหล่ียม มีน้าพุและน้าไหลรินจากตุ๊กตาประติมากรรม

11 ต่างๆรอบๆสระน้าจะปลูกไมใ้ หญ่ ให้รม่ เงาและช่วยควบคุมความร้อนไปในตัวดว้ ย รูปแบบของสวนยังเป็นแบบปิด มีการปลกู พรรณไมเ้ ลือ้ ย เช่น องนุ่ ไมผ้ ลทีป่ ลูก ได้แก่ พชี (peach) แอปเปลิ้ (apple) เชอรี่ (cherry)กล้วย อินทผาลัมและมะกอก ไมด้ อก ไดแ้ ก่ ปอ๊ ปป้ี (poppies) ลลิ ่ี (lilies) เบญจมาศ (chrysanthemum) นาซสิ ซิส (narcissi) และกหุ ลาบ โดยปลกู ในแปลงปลูกทรงเรขาคณติ แทรกอยูร่ ะหวา่ งคลองสง่ น้า ภาพท่ี 6 ภาพท่ี 7 ภาพท่ี 6-7 รปู วาดจากจินตนาการแสดงถงึ บรรยากาศของสวนลอยฟ้าแหง่ อาณาจักรบาบโิ ลนในยคุ ท่ีอารยธรรมรุ่งเรือง กรีก (Greek) พ้นื ทข่ี องกรีกโดยทวั่ ไปจะเปน็ เกาะมีผนื แผ่นดินใหญใ่ กลท้ ะเล อากาศจะสดช่นื แจม่ ใส ผูค้ นทอี่ าศัยอยู่ ชอบท่จี ะใช้ชวี ิตอยูภ่ ายนอกอาคารมากกว่าภายในบ้าน การทากจิ กรรมต่าง ๆ จะนาเอาธรรมชาติเขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง ดว้ ย การเล่นกฬี ากลางแจ้ง การรา่ ยราบูชาเทพยดาก็จะเนน้ เอาธรรมชาตเิ ปน็ ฉากหลงั โดยจะเลือกสถานทีท่ จ่ี ะ มองเห็นธรรมชาติ หรอื ทิวทัศน์ให้มากท่ีสุด ลักษณะบา้ นเรือนท่ีพักอาศยั จะมลี ักษณะเรยี บง่าย หนั หน้าเขา้ สู่ลานบา้ นภายในร่วมกันซึ่งตรงกลางจะ เปิดเป็นลานโล่งให้รับแสงแดด อาจจะมีบ่อน้าเพื่อรองรับน้าฝนจากหลังคา การจัดสวนในยุคนี้จะปลูกพืชผักรวมทั้ง ถั่วตา่ ง ๆ มีสวนผลไม้ เชน่ แอปเปลิ้ (apple) แพร์ (pear) มะกอก (olive) และแปลงองุ่น เป็นต้น ภาพท่ี 8 ภาพท่ี 9 ภาพที่ 8-9 ภาพวาดถงึ เทพเจา้ ในความทา่ มกลางความผกู พัน กับธรรมชาตขิ องชนชาติกรกี และรปู แบบของสวนที่มีลักษณะปิด ล้อมดว้ ยอาคาร

12 โรมัน (Roman) การใช้พ้นื ท่ีท้งั หมดของอาณาจักรโรมนั มีการแบง่ บ้านเรอื นออกเปน็ ลกั ษณะดงั น้ี บา้ นในเมือง หรือท่เี รยี กวา่ โดมุส (domus) ลักษณะจะหันหน้าเขา้ ส่ภู ายในรว่ มกัน เช่นเดยี วกบั กรีก มี ลานซอ้ นกัน 2 ชั้น ลานด้านหน้า (atreum) เป็นสว่ นรบั แขก มขี นาดเลก็ มีลานโลง่ (peristyle) ซอ้ นอยู่ด้านหลงั มี ขนาดใหญ่ ใชเ้ ป็นที่พักสว่ นตวั บรเิ วณน้จี ะจัดสวนโดยตรงกลางจะมีบอ่ นา้ มกี ารปลูกพรรณไม้ อาจจะมีแท่นบชู า และรูปปัน้ ตา่ ง ๆ ด้วย บ้านพกั ตากอากาศ หรอื ท่ีเรียกว่า วลิ ล่า (villa) สร้างบนภูเขา โดยตดั พนื้ ทีต่ ามไหล่เขาออกเพ่ือสรา้ งเป็น สวน เมือ่ มองจากวลิ ล่าก็จะมองเหน็ สวนลดหลัน่ กันลงมาตามขั้นบนั ได ซ่ึงมักจะเป็นบ้านของเหลา่ บุคลมฐี านะหรือ ขนุ นางชน้ั สูง ระบบการใหน้ ้าของสวน ใช้การทดนา้ ขนึ้ ไปไวข้ ้างบน แล้วปล่อยลงมาเปน็ น้าพนุ ้าตก สวนของชนชาวโรมัน เปน็ สวนท่ีมีความงดงาม มีชื่อเสียง และยงั คงมีอทิ ธพิ ลมา จนถึงศตวรรษท่ี 20 การจัดสวนจะอยู่บรเิ วณจดุ ศนู ย์กลางของบา้ น ซง่ึ ใชเ้ ปน็ ที่พกั ผ่อน รับแขกและอ่ืน ๆ การจดั สวนในยุคนีจ้ ะมีทุกบ้าน และยังถือแบบการจัดสวน แบบกรีก มีการสร้างสถาปัตยกรรมแบบ formal สอดแทรกด้วยแปลงไม้ดอกและทางเดิน มีการสร้างศาลาพัก มี นา้ พุ และสระสาหรับระบบชลประทาน ไมด้ อกท่นี ยิ มปลูกในสวน ไดแ้ ก่ ไวโอเล็ต (violet) ป๊อปปี้ (poppy) ไอริส (iris) ลิลี่ (lily) แพนซ่ี (pansy) และกุหลาบ (rose) นอกจากน้ยี งั ปลูกไมเ้ ล้ือยบริเวณศาลาพกั และแนวทางเดนิ อีกด้วย พืชผักมีการปลูกผกั สลัด (salad crops) กะหลา่ (cabbage) เทอรน์ ิพ(turnips) ถั่วต่าง ๆ (beans) กระเทยี ม (garlic) หนอ่ ไม้ฝร่ัง (asparagus) เรดชิ (radishs) แครอท (carrots) หอม (onion) และแตง (melons) พืชผกั ต่าง ๆ เหล่านี้ เมือ่ โรมนั เข้าไปในยุโรป ก็มีการนาผกั ผลไม้ต่าง ๆ เขา้ ไปสปู่ ระเทศนนั้ ๆ ทาให้เกิดความรู้ แพรก่ ระจายเกิดการเรียนรทู้ างด้านการเกษตรขึ้น (agriculture & horticulture)

13 ภาพท่ี 10 ภาพท่ี 11 ภาพท่ี 12 ภาพที่ 13 ภาพที่ 10-13 ภาพแสดงถงึ รปู แบบสวนของชนชาตโิ รมนั ท่ีมกี ารใช้รูปป้ันประตมิ ากรรม การตัดแต่งทรงพุ่มพนั ธไ์ุ ม้ มีการใช้นา้ ประกอบสวนและรปู แบบของสวนท่ียังคงมลี ักษณะปดิ ลอ้ มดว้ ยอาคารเหมือนชนชาติกรกี สเปน (Spain) ขวัญชัย จติ สารวย, 2536. กล่าววา่ สเปนได้รับอทิ ธพิ ลการจดั สวนมาจากโรมนั และชาวมวั ร(์ ชนชาติ อาหรับ) รูปแบบสวนจึงมีลกั ษณะของวัฒนธรรมทางยุโรปและตะวันออกกลางรวมกนั หากแต่ชาวเสปนมี ความสามารถปรับปรุงพัฒนาให้มคี วามเหมาะสมสมั พนั ธ์กับสภาพภูมปิ ระเทศ รวมท้ังตามหลักความเชื่อ สวนใน รูปแบบการจัดแบบเสปนท่ีมีชื่อเสยี งและยิ่งใหญน่ ัน้ เกดิ ขึน้ มากมายหลายแห่ง เชน่ สวนบริเวณพระราชวังอัล แฮมบรา (Alhambra) และ เจเนรลั ไลฟ์ (Generallife) สวนเสปนมีลักษณะทเ่ี ป็นแบบแผนหรอื ทเ่ี รียกวา่ แบบประดษิ ฐ์ (Formal style) แตก่ ม็ ีลกั ษณะตาม ธรรมชาติแสดงใหเ้ ห็นอยูบ่ า้ ง มกี ารนาเอานา้ มาใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตรและใชน้ ้าเปน็ ส่วนประกอบในสวน รจู้ กั การใช้นา้ พมุ าสรา้ งจุดรวมสายตา มกี ารใชน้ ้าล้อมรอบใหค้ วามช่มุ เย็นแก่ตัวอาคารซ่ึงมีลกั ษะทาง

14 สถาปตั ยกรรมทรี่ ับอิทธิพลมาจากวฒั นธรรมอาหรับ และเน้นการจดั ทาส่งิ ก่อสรา้ งประดบั สวนในรูปแบบทีว่ จิ ิตร บรรจงมาร่วมกบั การใชพ้ รรณไมต้ ดั แตง่ ทรงพุ่มตา่ งๆ ภาพที่ 14 ภาพที่ 15 ภาพที่ 14-15 ภาพแสดงถงึ รูปแบบสวนของสวนแบบเสปน มีการใชน้ ้าในสวนประกอบกบั พรรณไม้ การจดั สวนในยุคกลาง (ประมาณช่วงคริสศตวรรษท่ี 15-17) ยคุ กลางเปน็ ชว่ งยุคท่ีอยู่ระหวา่ งยุคโรมันและยุคเรอเนซองส์ของอิตาลี ฝรง่ั เศส เมือ่ อาณาจักรโรมันเร่มิ เสอ่ื มสลายเกิดการสรู้ บแยง่ ชิงอานาจระหวา่ งกลมุ่ ชนชาตติ ่างๆกระจัดกระจายไปท่วั ประชาชนขาดความปลอดภยั ทาใหร้ ปู แบบของเมอื งมลี ักษณะไปตามสภาพการณ์ในยคุ นั้น 2 รปู แบบ คอื Castle Town ประชาชนจะตง้ั บา้ นเรือนล้อมรอบประสาทของขุนพล Monastry Town ประชาชนจะต้ังบ้านเรือนลอ้ มรอบวัด สถานทท่ี างศาสนา

15 ในยคุ นขี้ ุนนางและพระ จะมคี วามสาคญั มาก การจัดสวนจะมลี กั ษณะเปน็ ลานโล่งสเ่ี หลีย่ ม สว่ นมากจะอยู่ ทางทิศใต้ของวดั มีการทดลองปลูกพชื สมุนไพร พืชผักสวนครัว โดยมีบอ่ น้าตรงกลางใชร้ ดตน้ ไมต้ า่ ง ๆ มีการปลกู ปาลม์ เคร่อื งหอม เครื่องเทศ และพืชทผ่ี ลติ นา้ หมึก เป็นตน้ ภาพท่ี 16 ภาพแสดงถงึ รูปแบบสวนในยุคกลางซง่ึ มีลักษณะเป็นสวนพืชผกั สมนุ ไพรโดยมีพระ นักบวชเปน็ ผเู้ ชี่ยวชาญในวิทยาการ ดงั กล่าว6 สมยั เรอเนซองส์ (ศตวรรษท่ี 15-17) แบ่งออกเป็น 1. อิตาเลยี นเรอเนซองส์ (Italian Renaissance) ศตวรรษที่ 15-16 2. ฝรงั่ เศสเรอเนซองส์ (French Renaissance) ศตวรรษท่ี 17 การจดั สวนยคุ อติ าเลียนเรอเนซองส์ ในชว่ งตน้ ศตวรรษท่ี 15 การจดั สวนเปน็ แบบ formal มีลกั ษณะปดิ การปลกู พชื จะเปน็ พวกองนุ่ และมะกอก (olive) จนถึงศตวรรณท่ี 16 มกี ารพฒั นาการจดั สวนขึน้ โดยท่ีลักษณะ พืน้ ท่ีจะเป็นเนินเขาที่ลาดชนั การจดั สวนจงึ เป็นแบบข้ันบันได (terrace) เปน็ ระดบั ลดหลั่นกันไป มีการปลูกไม้ดอก ไมใ้ ห้รม่ เงา มกี ารตดั แต่งต้นไม้ เปน็ รูปทรงเรขาคณิต (topiary) รวมท้ังตดั แต่งทรงตน้ ใช้แทนผนังหรอื ร้ัว (espalier) การปลกู แปลงไม้พมุ่ ไมค้ ลมุ ดินเปน็ ลวดลายบนสนามทเ่ี รียกว่าลายปาแตร์ (parterre) มกี ารใช้น้าเป็นองค์ประกอบ สาคญั ทง้ั รปู น้าตก นา้ พุ มีการใชร้ ปู ปัน้ ประดบั ในสวน ทาใหเ้ กิดความสวยงามย่ิงขน้ึ แต่การจดั สวนกย็ งั คงมีรปู แบบ formal styles ภาพที่ 17 ภาพที่ 18 ภาพท่ี 17-18 ภาพแสดงถึงรปู แบบสวนในยุคเรอเนซองสท์ ่ีการจดั สวนแบบประดษิ ฐย์ ง่ิ ใหญ่รงุ่ เรืองเป็นอย่างย่ิง

16 การจดั สวนยคุ ฝรงั่ เศสเรอเนซองส์ ลักษณะการจดั สวนของฝร่ังเศสจะต่างจากอิตาลี บางประการ เน่ืองจาก สภาพภูมปิ ระเทศของฝรงั่ เศสเปน็ พนื้ ท่ีราบ ไมส่ ามารถจัดสวนแบบขน้ั บนั ไดได้ ฝร่ังเศสจึงเน้นการจดั สวนใน แนวราบ (horizontal) ทางด้านกว้างแทน ดังน้นั การจัดสวนในยคุ น้ีจึงมีขนาดกวา้ งใหญ่ เน้นเส้นนอนสุดลูกหูลกู ตา และการจัดทาเปน็ แบบ bilateral symmetry โดย 2 ข้างจะสมดลุ กัน เนอ่ื งจากฝรัง่ เศสมแี สงแดดสดใสทาให้ สามารถปลูกพชื พรรณต่าง ๆ ไดม้ ากขน้ึ มกี ารใช้ไม้ดอกสีต่าง ๆ ปลูกประดับในสวนเปน็ ลวดลาย มีการสรา้ งซมุ้ ไมร้ ะแนง ปลูกไมเ้ ถาเล้อื ย มศี าลาพักนง่ั ชมววิ มกี ารใชน้ ้าเขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง นอกจากนชี้ าวฝร่ังเศสยงั นิยมตดั แตง่ ตน้ ไม้เปน็ รูปทรงตา่ ง ๆ (topiary) มากท่ีสดุ ตวั อยา่ งสวนของฝรงั่ เศสคือสวนของพระราชวังแวร์ซายส์ ซึง่ ออกแบบ โดย Andre Lenote นกั ออกแบบในยคุ นน้ั ซง่ึ เปน็ สวนท่สี วยงามยิ่งใหญ่ตระการตาเป็นอย่างย่งิ ภาพที่ 19 ภาพที่ 20 ภาพท่ี 21 ภาพที่ 22 ภาพที่ 19-21 ภาพแสดงถึงรปู แบบการจดั สวนในยุคเรอเนซองสซ์ ง่ึ นยิ มการตดั แตง่ พันธไุ์ มเ้ ป็นลวดลายท่เี รียกว่า ลายปาแตร์ (parterre) และการตดั แต่งทรงพมุ่ พนั ธุ์ไม้ใหเ้ ปน็ รูปทรงเรขาคณติ ซึง่ เรียกวา่ โทปิอารี ( topiary) ในภาพท่ี 22

17 ภาพท่ี 23 ภาพแสดงถึงรูปแบบสวนบริเวณพระราชวงั แวรซ์ ายอันเลอื งชอ่ื ในความย่งิ ใหญ่อลังการในอดตี อังกฤษ (England) การจัดสวนของชนชาวองั กฤษเริม่ ระหวา่ งศตวรรษที่ 16-17 โดยได้รับอิทธพิ ลจากอติ าลีและฝรั่งเศส จนกระทั่งมกี ารพัฒนาเป็นรปู แบบของตัวเอง ในช่วงศตวรรษที่ 17 มีหนงั สอื เกี่ยวกบั การทาสวนเลม่ แรกเกิดขึ้น มี การค้นคว้าหาพนั ธพุ์ ืชใหม่ ๆ ตลอดจนมีร้านขายพันธุ์ไมข้ ึ้นมาเปน็ ครัง้ แรก บ้านของชนชาวองั กฤษในอดตี จะเป็น บ้านแบบชนบท (country house) และชนชาวองั กฤษจะมคี วามต่ืนตวั และสนใจทางด้านศลิ ปะแขนงตา่ งๆ รวมทง้ั วรรณกรรมดว้ ย นักวจิ ารณ์สมยั น้ันพากนั โจมตีสวนของฝรั่งเศสวา่ ไม่มีชวี ิตชีวาแข็งกระด้าง ไมใ่ ห้ความรู้สึกที่ผอ่ น คลาย ทาให้เกดิ ความคิดที่จะหันกลับไปสู่ธรรมชาติ ในครัง้ แรกภาพทิวทัศนต์ ่าง ๆ จะใชก้ บั งานวาดมากกว่า ภาพวาดต่าง ๆ มกั จะมธี รรมชาติทส่ี วยงามเขา้ มา เกย่ี วข้อง อิทธพิ ลจากภาพเหลา่ น้นั ทาให้เกิดความคดิ ว่าสวนที่ดคี วรเป็นสวนแบบธรรมชาติ ทาใหเ้ ริ่มมกี ารจัดสวน อยา่ งจรงิ จงั โดยเริ่มจัดสวนตามภาพวาด เปล่ียนทางเดินท่ีเป็นเสน้ ตรงต่าง ๆ ให้คดเค้ยี วเป็นเสน้ โคง้ และปลกู ตน้ ไม้เป็นแนวขนานไปด้วย พรรณไมต้ า่ ง ๆ ก็ปลูกให้เจริญเติบโตตามธรรมชาติ ไมม่ ีการตัดแต่งเปน็ รูปทรงต่าง ๆ อีกต่อไป นอกจากนี้ส่งิ ทีเ่ น้นมากส่งิ หนึง่ ในการจดั สวนแบบอังกฤษ ก็คอื ต้องมศี าลาพัก (pavillion) ในสวน ซึ่งจะมี รูปแบบท่ีคลาสสิกเปน็ รปู โดม มีการสรา้ งอยา่ งสวยงามอาจจะใชห้ นิ อ่อนเปน็ วัสดุก่อสรา้ ง ศาลาพักน้จี ะแทรกอยู่ ในหมู่แมกไม้เหมอื นไมต่ ั้งใจ มีการสร้างสะพานก่อดว้ ยหินธรรมชาติ ทาใหเ้ กดิ สวนแบบธรรมชาติ (naturalistic styles) ข้ึน

18 ภาพที่ 25 ภาพที่ 26 ภาพที่ 25-26 ภาพแสดงถึงรูปแบบสวนของอังกฤษ ซ่ึงเริ่มปรบั เปน็ สวนแนวธรรมชาติมากขน้ึ โดยเนน้ การใช้ไมด้ อก และพนั ธ์ไุ มท้ ี่ปลอ่ ยใหเ้ จริญเติบโตด้วยทรงพุ่มตามธรรมชาติ แต่คงยงั มีบรรยากาศแบบยคุ คลาสสิคแฝงอยู่ ในศตวรรษที่ 18 มกี ารเปลยี่ นแปลงการปกครอง กจิ การต่าง ๆ มีการพัฒนา เกิดการจดั สรรท่ดี นิ แบ่งขาย โดยขนุ นาง รูปแบบของสวนถูกจากัดขนาดลง การใชท้ ี่ดนิ จัดสวนจะทาเป็นส่วนรวม ใหค้ นในหมู่บ้านไดใ้ ชร้ ว่ มกนั คนภายนอกห้ามเขา้ มาใช้ ปลายศตวรรษท่ี 18 มีการพัฒนาทางดา้ นอุตสาหกรรมในเมืองใหญ่ ๆ เกษตรกรเร่ิมละ อาชพี ในชนบทเขา้ มารบั จ้างทางานในเมือง เกิดภาวะแออัด ความเป็นอยู่ไม่ถูกสุขลักษณะ ทาใหเ้ กดิ โรคติดตอ่ โรค ระบาดในเมือง จากสภาวะดังกลา่ วทาให้มีการรณรงค์เพ่ือให้มีท่วี ่างสาหรบั ประชาชนได้ใช้พักผ่อน ความคดิ เรื่อง การสรา้ งสวนสาธารณะสาหรับประชาชนจึงเกิดขึ้น มกี ารขอบริจาคที่ดนิ จากชนชั้นปกครองมาใช้จดั สวน ใหเ้ ป็น ของสว่ นรวม ไมน่ บั วา่ ยากดีมีจน สวนสาธารณะจงึ ได้เกิดข้ึนในครงั้ นนั้ ภาพท่ี 27 ภาพแสดงถงึ สวนสาธารณะทเี่ กิดขน้ึ มา เนือ่ งจากเสยี งเรียกร้องของประชาชนสว่ นใหญ่ จากประวตั ศิ าสตร์ของการจดั สวนในอดตี ของซีกโลกตะวันตกทุกๆชนชาติ แสดงให้เห็นถงึ ลกั ษณะท่ีมกี าร นาเอาศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ความเช่ือ ตลอดจนภมู ิประเทศและภาวะสงคราม มาเปน็ ตัวกาหนดรูปแบบของ

19 สวน โดยจะจัดเปน็ รปู แบบสวนประดิษฐเ์ สียเป็นสวนใหญ่ ท้ังน้ีเพือ่ แสดงถึงอานาจ ความย่ิงใหญ่ ความเป็นระเบยี บ การแสดงออกถงึ ความพยายามอยู่เหนือธรรมชาติ ควบคมุ ธรรมชาตไิ ด้ของมนุษย์ จึงเปน็ แนวคดิ ที่ทาใหร้ ปู แบบ การจดั สวนแบบประดิษฐ์ มักออกมาในรูปแบบของการใช้เส้นท่ีควบคมุ ไดเ้ ชน่ เส้นตรง หรือรปู เรขาคณติ เชน่ วงกลม ส่เี หล่ียม สามเหลย่ี ม ซ่ึงทาให้รูปแบบสวนดเู ป็นระเบยี บ ยิ่งใหญต่ ระการตา น่าเกรงขาม และมอี ิทธพิ ลต่อ การจดั สวนตงั้ แต่ยุคนน้ั มาจนถึงปจั จุบนั สาหรับการจัดสวนของซีกโลกตะวันออก หลักฐานเกยี่ วกบั การจัดสวนในอดตี เริม่ จากประเทศจนี ญป่ี ุ่นซึ่ง เนือ้ หาการจัดสวนค่อนขา้ งเด่นชัด และมหี ลกั วิชาการทบี นั ทกึ ไว้อย่างมหี ลักการ ดังรายละเอียดดังนี้ 2. การจัดสวนซีกโลกตะวันออกหรือรปู แบบธรรมชาตินิยม (Naturalistic stye) จนี (China) สวนของจีนเปน็ วิวัฒนาการการจดั สวนท่ีเดน่ ชัดท่ีสดุ จากประวตั ศิ าสตร์ในสมัยราชวงศ์ฉนิ และราชวงศ์ฮนั่ มีสวนในพระราชวงั มีอทุ ยานสาหรบั ล่าสัตวแ์ ละสวนสาหรบั พกั ผ่อน สวนจีนมลี ักษณะเฉพาะตัวคอื เป็นเอกลักษณ์ มีรปู แบบท่ีได้จากแนวคิดทางศลิ ปะ เน้นการใชก้ ้อนหนิ และไม้ต้น โดยเฉพาะเนน้ เส้นลายละเอียดออ่ นคดโค้ง และมี รายละเอยี ดค่อนข้างมาก การจดั สวนของจนี ได้รบั ความคดิ มาจากธรรมชาติ โดยพยายามดึงธรรมชาตใิ ห้มาอยใู่ กล้ ตวั มากท่ีสุด สว่ นใหญจ่ ะจัดเป็นสวนเลก็ ๆ ในเนอื้ ทจี่ ากัดเนอื่ งจากคนจนี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความงามทางศิลปะ ออกมาในรปู ของภาพเขียนและบทกวี แล้วถา่ ยทอดออกมาเปน็ ภาพทีจ่ บั ต้องไดด้ ว้ ยการออกแบบและจัดสวน ใน ยคุ นั้นนกั ออกแบบสวนจึงเปน็ คนคนเดยี วกบั จิตกรและกวี ลกั ษณะของสวนจงึ เปน็ การถา่ ยทอดเนื้อหาของ ภาพเขียนและบทกวนี ัน้ ๆ ดังนนั้ แนวคิดการจัดสวนของจีนจะเปน็ ลักษณะของการประดษิ ฐ์และขดั เกลาเน้ือหา แห่งความงามทางศิลปะออกมา โดยใชต้ น้ ไม้ ก้อนหนิ เปน็ หลัก อาจจะมีการปรงุ แต่ง ดัดแปลงธรรมชาตบิ ้าง ก็โดย การใชห้ นิ ทม่ี ีพ้ืนผวิ ขรุขระเป็นรู หรอื การใชไ้ ม้ดัด นอกจากนอ้ี ิทธิพลของศาสนากม็ ีส่วนต่อการจัดสวน โดยเน้น ความเป็นธรรมชาติ ในเรอื่ งของการใชห้ นิ จะให้ความสาคัญคอ่ นขา้ งมาก คือจะเน้นเร่ืองราว เน้นความงามด้วย รูปทรงและเส้นของหิน มากกวา่ ต้นไม้หลายเท่าตัว การใช้ไม้ดอกจะนิยมปลูกในลกั ษณะเป็นกลมุ่ ปลกู ในกระบะท่ี เตรียมไว้ หรอื ในองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมที่เตรยี มไวส้ าหรับปลูกต้นไมโ้ ดยเฉพาะ สว่ นการทาสนามหญ้า แทบจะไมม่ ีใหพ้ บเห็นในสวนจีน เพราะคนจนี จะเน้นธรรมชาติของสายน้า กอ้ นหิน และผนื แผน่ ดนิ มากกว่า โดยเฉพาะสายน้านั้นคนจีนถือว่านา้ ทใ่ี สสะอาด คือส่ิงที่แสดงออกถึงความบรสิ ุทธิแ์ ละความจรงิ แท้

20 ภาพที่ 28 ภาพท่ี 29 ภาพที่ 28-29 แสดงรปู แบบของสวนจีนซึ่งใช้ความเปน็ ธรรมชาตมิ าจัดวางองคป์ ระกอบ มีการใช้หิน สระนา้ พันธไ์ุ ม้ อยา่ ง กลมกลืนตามธรรมชาติ องคป์ ระกอบทีส่ าคัญในการจัดสวนจีน คอื กาแพง ทางเดิน สะพาน และศาลาพัก โดยทศ่ี าลาพักจะมี ขนาดต่าง ๆ กัน มีทั้งชนดิ ปิดทบึ และเปิดโล่ง หลังคาของศาลามุงด้วยกระเบอื้ งดินเผา มีลูกกรงระเบยี งเปน็ ลวดลาย ต่าง ๆ หรือไม่ก็ทาช่องมุมช่องแสงตอนบน เป็นลวดลายประแจจีน ซง่ึ การออกแบบลวดลายผนังโปรง่ น้ี เปน็ ทนี่ ิยม กันอยา่ งมาก การจดั สวนจนี มีลกั ษณะเดน่ ของการยึดแม่แบบของธรรมชาติ ท่ีแฝงไว้ด้วยความคดิ ทางศิลปะ ปรชั ญา ทางพุทธศาสนา รวมท้ังแนวความคดิ เกี่ยวกบั จติ วญิ ญาณ ความเชือ่ และความเป็นชีวิต ซง่ึ เปน็ เร่ืองท่ลี กึ ซงึ้ และ ซบั ซอ้ นในการแสดงออกมากกวา่ สวนทางซีกโลกตะวันตก ภาพที่ 30-31 แสดงองค์ปรภะากพอทบี่ 30ในสวนท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ของวัฒนธรรมแบบจนี เช่นศภาาลพาทชี่ 3ม1สวน รปู สงิ โตหินแกะสลกั

21 ภาพที่ 32 ภาพท่ี 33 ภาพท่ี 30-33 แสดงองค์ประกอบรูปแบบการสรา้ งกรอบมองภาพหรือช่องเจาะผนัง ( Moon gate ) กรอบซุ้มประตูในสวน ช่อง เจาะหนา้ ตา่ ง รปู ร่างตา่ งๆ เพือ่ สรา้ งมุมมองทดี่ เู หมือนภาพวาดของสวนท่ีมีชวี ติ มีมติ ิ เปน็ เอกลักษณข์ องวฒั นธรรมการจดั สวน แบบจีน ญี่ปุ่น (Japan) สวนของญีป่ นุ่ ไดร้ ับอิทธิพลมาจากจนี ในระยะแรกการจดั สวนมีลกั ษณะค่อนข้างหยาบ มบี ่อนา้ กับกอ้ นหนิ เปน็ ตัวสื่อความหมายทางความคดิ ที่แปลมาจากพทุ ธปรชั ญาของลัทธเิ ต๋าและเซน ตอ่ มามกี ารเปลี่ยนแปลงแนวคดิ และรายละเอียดต่าง ๆ มากขึ้น ในท่ีสุดสวนญีป่ ุ่นจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว จนกลายเป็นประเภทหนึ่งของการจดั สวนมาจนถึงทุกวนั นี้ การจดั สวนของญป่ี ุน่ เป็นงานศลิ ปะที่คานงึ ถึงสญั ลักษณต์ า่ งๆ ในการเปน็ ตวั แทน ดงั นัน้ การใช้ตน้ ไม้ ก้อน หิน และน้า จึงมคี วามหมายทั้งสิ้นและเป็นความหมายที่มากกว่าสภาพของตัวเอง การใช้ต้นไม้หรือกอ้ นหินจะต้อง ระบไุ ด้วา่ สิ่งน้นั ๆ จะแสดงออกถึงอะไร มคี วามหมายอยา่ งไร หินทน่ี ามาใชอ้ าจจะหมายถึงเกาะที่มีรูปร่างเหมือน เตา่ หรือนกกระเรียน อนั เป็นอมตะญีป่ นุ่ เช่ือกนั วา่ เตา่ และนกกระเรยี นนั้นมีอายุยนื ถึง 1000 ถงึ 10000 ปี การจัด กลุม่ ก้อนหนิ กม็ ีความหมายท้ังสนิ้ ในเร่อื งการใช้พรรณไม้ ญป่ี นุ จะเลอื กใช้ไมท้ ีไ่ มผ่ ลัดใบ (evergreen) เพราะให้ ความสงบ สดช่นื ตลอดปี และมีความหมายถึงการมีอายยุ ืนยาว อาจใชไ้ ม้ดอกและไม้พุ่มบ้าง แต่ไม้ดอกจะไม่นิยม ใชม้ ากนกั เพราะการจัดสวนของญี่ปุ่นจะคานงึ ถึงความเปน็ เอกภาพ ความเปน็ หน่ึงเดยี ว พรรณไม้ทีเ่ ลือกใช้ จะมีตน้ สน ตน้ ไผ่ และตน้ พลมั นอกจากนย้ี งั มีการตัดแต่งตน้ ไม้เป็นรปู ร่างต่าง ๆ โดยตดั แต่งเลียนแบบธรรมชาติ เพยี งแต่ มขี นาดเลก็ ลง (bonsai)

22 ภาพที่ 34 ภาพแสดงของการใช้ไมแ้ คระ (BonZai) มาจดั ตกแตง่ เปน็ สวนจาลองขนาดเลก็ การจัดสวนของญ่ีปนุ่ เป็นการจดั สวนแบบแบน (flat garden) และแบบสวนแห้ง (dry landscape garden) การจัดสวนแหง้ อาจจะเรยี กว่าสวนกรวดก็ได้ เพราะองค์ประกอบในการจดั จะใช้หนิ และกรวดเป็น สัญลกั ษณแ์ ทนสง่ิ ต่าง ๆ เชน่ ใช้หนิ แสดงเปน็ เกาะเป็นภูเขา กรวดจะเปน็ ตัวแทนของผืนน้าของแผ่นดิน หนิ เกลด็ จะ ใช้เรยี งกนั แทนลาธารสายน้า เป็นต้น ภาพท่ี 35 แสดงการจดั สวนแห้ง (Dry garden) โดยใช้หินและกรวดโรยแทนสอื่ ความหมายของเกาะและผืนนา้ กว้างใหญ่ท่ีวดั เรียว อนั จิ การจดั สวนของญป่ี ุน่ มกี ารพัฒนารูปแบบใหก้ า้ วหน้าขนึ้ โดยเฉพาะจักรพรรดิ และพระเป็นผูท้ ่ีทาใหเ้ กิด การพัฒนาอยา่ งมาก สวนในพระราชวังจะมีความสวยงามประณีต มีเนื้อท่ีกว้างขวาง มีทงั้ ไม้ตน้ ไม้พุม่ ทะเลสาบ หนิ กรวด ผสมผสานกบั ทางเดิน สะพานใหเ้ กดิ ประโยชน์ใชส้ อยไดม้ ากขึน้ สว่ นสวนในวดั จะเนน้ ทีค่ วามสมถะสงบ การจัดจะไม่เน้นความสวยงาม แต่ต้องการความหมายทีแ่ สดงออกถึงจักรวาล ธรรมชาติโดยเฉพาะแผ่นดนิ ผืนผ้า และภูเขา สวนประเภทน้ีจะใชก้ อ้ นหินเป็นตัวแทนของภูเขา กรวดเป็นแผน่ ดินผนื น้า การสรา้ งลวดลายบนผนื กรวด ที่ดาดเตม็ พนื้ ท่ีก็เพ่ือก่อใหเ้ กิดสมาธิ สรา้ งเร่ืองราวให้เกิดขน้ึ ในจิตใจ เพอื่ จะหล่อหลอมจิตใจของผดู้ ูให้สงบ นง่ิ และ มองเหน็ ถึงความเปน็ ไปของชีวิต

23 ภาพท่ี 36 ภาพแสดงสวนทจ่ี ัดประกอบเสน้ ทางเดินไปสู่เรอื นนา้ ชาภายในบา้ น สวนญป่ี ุ่นรงุ่ เรืองท่สี ุดในสมัยจักรพรรดมิ ูโรมาชิ ซง่ึ เนน้ ท่ีความบริสทุ ธิ์ สจั จะของสรรพสิ่ง นอกจากนีย้ ังมี การจัดสวนจาลองขนาดเล็กลงในถาดท่ีเรียกกันว่า \"บอนเซกิ\" กบั การจดั กระถางจดั ดอกไม้ที่เรยี กวา่ \"อิเคบะนะ\" สาหรบั บอนเซกนิ ัน้ ต่อมาได้กลายเป็นการจัดบอนไซในปจั จุบนั ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซ่ึงเป็นชว่ งทีศ่ ิลปะการจัดสวนรงุ่ เรือง มกี ารทาหนงั สือเก่ียวกับการจดั สวน มกี าร นาเอาวสั ดกุ ่อสรา้ ง วสั ดุธรรมชาตติ า่ ง ๆ มาใชใ้ นการจดั สวนมากขึน้ โดยเฉพาะฟาง ไมไ้ ผ่ ทนี่ ามาทาร้วั ประดับต่าง ๆ และนบั แต่คริสตศ์ ตวรรษท่ี 17 เปน็ ตน้ มาจนถงึ ปัจจุบัน มกี ารผสมผสานแนวความคดิ ทางศลิ ปะตา่ ง ๆ เขา้ มา เกยี่ วข้องกบั การจัดสวนมากขึ้น โดยเฉพาะการจัดสวนบา้ นจะเนน้ ความเปน็ ธรรมชาติมากกว่าเน้นเรื่องสัญลักษณ์ ดงั นัน้ สวนญ่ปี ่นุ ในยคุ ต่อ ๆ มา จึงดูแลว้ เขา้ ใจได้ง่ายขนึ้ มกี ารจัดกลมุ่ ของหินและต้นไม้ เชน่ กลมุ่ ของต้นไมท้ ่ีขน้ึ อยู่ ตามโขดหินอยรู่ ิมลาธาร มีสะพานขา้ มจากฝั่งหนึง่ ไปอีกฝ่งั หนึง่ ในปจั จบุ ันการจดั สวนของญีป่ นุ่ อาจจะมีแนวคดิ ของ ยโุ รปสอดแทรกเขา้ มาบ้าง เช่น ลักษณะทางเดินริมสระ การใช้วัสดกุ ่อสร้างทาขอบทางเดนิ เป็นต้น ลักษณะการจดั สวนที่เดน่ อกี ประการหนึง่ ของญป่ี ุ่น คอื การจัดสวนนา้ ชา (tea garden) เพ่อื ให้เปน็ อาหาร ตา เป็นมมุ มองจากห้องด่ืมน้าชา ซ่งึ การด่มื น้าชานี้ญีป่ ุ่นได้รับอิทธิพลมาจากจีน การจัดสวนน้าชาจะคานึงถงึ ประโยชน์ใชส้ อย เช่น เตรยี มสถานท่ีสาหรับพักคอยของแขกก่อนเขา้ ไปในห้องน้าชา มีท่ีวางกานา้ อุน่ สาหรับล้างมอื มีตะเกยี งหินใหแ้ สงสว่าง มีทางเดนิ ปดู ว้ ยหนิ แผน่ เพ่ือนาไปสู่ห้องด่ืมนา้ ชา

24 ภาพท่ี 37 ภาพแสดงสวนน้าชา (Tea garden) เพ่ือใช้รบั รองแขกในมุมสงบ เป็นสว่ นตัว ความงามของสวนญี่ป่นุ อยู่ท่ีความเปน็ เอกภาพของสีสนั แต่มคี วามหลากหลายในรปู ทรง เนน้ ความเปน็ ธรรมชาตขิ องหนิ น้า ตน้ ไม้ มีความประณีต เปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย โดยท่ีไม่ได้ทาลายชวี ิตและวญิ ญาณของ ธรรมชาติ จดุ เดน่ ของการจัดสวนญีป่ ุน่ อยทู่ ี่การใชว้ ัสดแุ ละต้นไมน้ ้อยชนดิ ซ่งึ มีรูปร่างรปู ทรงสวยงามตามธรรมชาติ มคี วามเป็นเอกภาพทสี่ ามารถดึงดูดสายตาและความรสู้ ึกของผพู้ บเห็นมาจนถงึ ปจั จุบันนี้ ไทย (Thai) สาหรับประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศท่ีอดุ มสมบรู ณ์ไปดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติ ท้ังป่าเขาลาเนาไพร ต้นน้า ลาธาร จงึ ไม่มีรปู แบบในการจดั สวนเปน็ ของตนเองโดยเฉพาะ ส่วนใหญ่จะใช้ทาเลทางธรรมชาติทม่ี อี ยู่แล้วเปน็ เครื่องประกอบเสรมิ ความงามและบรรยากาศเท่านั้น การจัดสวนของไทยในสมยั โบราณเห็นได้จากหลกั ฐานในศิลาจารกึ สมยั สโุ ขทัยเป็นราชธานี \"สร้างปา่ หมาก ปา่ พลู ท่ัวเมอื งน้ีทุกแหง่ ป่าพรา้ ว กห็ ลายในเมืองนี้ ป่าลางกห็ ลายในเมืองน้ี หมากมว่ งก็หลายในเมืองนี้ หมากขามกห็ ลายในเมืองน้ี\" จะเห็นไดว้ า่ สมยั สุโขทัยรูจ้ ักการทาสวนผลไมป้ ลกู ผลไม้ไวเ้ ป็นอาหารและใหป้ ระโยชน์ ในการให้รม่ เงา ต่อมาในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยา มกี ารปลกู ไม้ดอกไม้ประดบั ตกแตง่ บรเิ วณพระราชวงั และตามบา้ นเรอื นต่าง ๆ มที ง้ั ไม้ใบไม้ดอก รวมท้งั ไม้ดัด มีท้ังไม้ใหญ่ ไมพ้ ุ่ม ไมเ้ ลอ้ื ยทารั้ว ข้ึนซ้มุ ให้ดอกผลและใหร้ ม่ เงาดังจะเห็นได้จาก เสภาเรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผน ซ่งึ พระเจา้ บรมวงศ์เธอสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงพระนิพนธไ์ ว้หลายรอ้ ยปี มาแล้ว ซ่งึ กลา่ วถงึ ภาพบ้านขนุ ช้างตอนขุนแผนขนึ้ ไปหานางวนั ทอง

25 \"โจนลงกลางชานร้านดอกไม้ ของขนุ ช้างปลูกไว้ดาษดื่น รวยรสเกสรเมือ่ ค่อนคนื ช่ืนชน่ื ลมชายสบายใจ กระถางแถวแกว้ เกดพกิ ุลแกม ยสี่ นุ่ แซมมะสงั ดัดดอกไสว สมอรดั ตัดทรงสมละไม ตะขบข่อยดดั ไวจ้ งั หวะกัน ตะโกนาทง้ิ กิ่งประดบั ยอด ฯลฯ \" จะเห็นได้ว่าในสมัยกรุงศรีอยุธยามีการปลูกพรรณไม้ในลักษณะที่เป็นไม้กระถาง ไม้ดัด และยกร่องทา แปลง ไมด้ ัดซง่ึ ตัดแต่งรูปทรงตา่ ง ๆ เป็นแม่แบบไมด้ ัดไทยมาจนปจั จบุ นั น้ี สมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก ทรงโปรดให้สร้างพระบรมมหาราชวังและวดั พระศรีรัตนศาสดาราม และให้ปลูกไม้ดัดไว้ในพระบรมมหาราชวัง ดังปรากฏอยู่โดยรอบสนามของพระที่นั่ง อมรินทร์วินิจฉัยจนทุกวันน้ี นับตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นต้นมา ได้มี การจัดสวนไม้ประดับตกแต่งบริเวณพระที่นั่ง พระอุโบสถ โดยจัดสวนในลักษณะประดิษฐ์และสวนแบบ จินตนาการ มภี ูเขา สระนา้ รปู ป้นั สลกั เปน็ รูปสตั ว์ รปู ตกุ๊ ตาจนี รปู ปั้นในวรรณคดี ส่วนพรรณไม้จะเปน็ ไม้พุ่มทรง ต่าง ๆ รวมทั้งไม้ดัด เช่น ข่อย มะขาม ตะโก เป็นต้น ในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยหู่ วั ทรงโปรดใหส้ รา้ งพระราชวังสราญรมย์ ซ่งึ เปน็ สวนสราญรมย์ในปัจจบุ ัน

26 ภาพที่ 38 ภาพแสดงสวนด้านหนา้ พระราชวงั สนามจนั ทร์ในอดีต ซงึ่ ยงั คงเป็นการจัดในรปู แบบสวนประดิษฐ์ (Formalstyle) ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์สนพระทัยในเร่ืองต้นไม้อย่างย่ิง ท้งั นเี้ พราะพระองคเ์ สดจ็ ประพาสตา่ งประเทศท้ังเอเชยี และยโุ รป ไดท้ อดพระเนตรเห็นว่าภูมิประเทศบ้านเมืองต่าง ๆ โดยเฉพาะยุโรปเต็มไปด้วยสวนไม้ดอกที่ปลูกตกแต่งอย่างมีระเบียบงดงาม ถนนหนทางก็ร่มรื่น ด้วยเหตุ ดังกล่าวพระองค์จึงโปรดเกล้าให้ปลูกต้นไม้สองข้างถนนอย่างในต่างประเทศ เช่น ปลูกมะขามรอบ ๆ สนามหลวงและถนนราชดาเนิน เป็นตน้ ในสมยั รชั กาลท่ี5 ไดม้ ีการตดิ ตอ่ กับต่างประเทศ ศิลปะและสถาปัตยกรรม ต่างๆ ได้แพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยการก่อสร้างพระบรมมหาราชวัง และสถานท่ีราชการ ได้รับอิทธิพลตะวันตกมา ผสมผสาน เชน่ หัวเสา ประตู หน้าตา่ ง รูปป้นั เปน็ ตน้ การจดั สวนบรเิ วณตา่ ง ๆ ก็เช่นเดียวกนั การปลูกพรรณ ไม้จะตกแต่งอย่างมีระเบียบปลูกเป็นแถว ตดั แต่งเปน็ รูปทรงเดยี วกัน ไม้ดอก ไมค้ ลมุ ดนิ จะปลูกลงในแปลงรูปทรง เรขาคณิต ซ่ึงมักจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสลับด้วยไม้พุ่มเตี้ยตัดแต่งเป็นรูปกลมหรือรูปเหลี่ยม สนามจะปลูกหญ้า เป็นลานกว้างและบริเวณสนามหญ้าจะมีรูปปั้นแบบโรมันประดับริมทางเดิน หรือหน้าอาคาร สนามหญ้าที่กว้างน้ี จะใช้เพอ่ื ต้อนรับแขกเมือง และการแสดงดนตรี ทางเดนิ ปูด้วยแผ่นหิน มีซุม้ ไม้เลื้อย สระน้า นา้ พุ รูปป้นั สลกั และ ศาลาพักร้อน จะเห็นได้ว่าการจัดสวนของไทยส่วนใหญ่จะเป็นลักษณะสวนแบบประดิษฐ์ และเน่ืองจากไม้ดัดจะมี ความกลมกลืนกับสถาปัตยกรรมไทย ดังน้ันการใชไ้ ม้ดัด การกอ่ เขามอ. การปลูกบวั และไมน้ ้าในภาชนะท่ีมรี ูปทรง สวยงามจึงถูกนามาตกแต่งเสริมเพิ่มให้สภาพสวนสวยงามย่ิงขึ้น รวมทั้งมีการนาเอาความเชื่อทางศาสตร์ลึกลับ หรือช่ือพันธุ์ไม้มงคลและไม้อวมงคล ท่ีจะนามาปลูกภายในอาคารบ้านเรือนซ่ึงเป็นท่ียึดถือของผู้ที่จะปลูกสร้าง บา้ นเรือนกนั มายาวนานจนกลายเป็นส่วนหน่งึ ของวถิ ชี วี ติ แบบไทยๆไปโดยปรยิ าย

27 ภาพที่ 39 แสดงสวนไมด้ ดั ไทยหน้าพระบรมมหาราชวงั ภาพท่ี 40 ภาพที่ 41 ภาพท่ี 39-40 แสดงการกอ่ เขามอซ่ึงเป็นสวนลกั ษณะการจาลองแบบเขาไกรลาสหรอื เขาในวรรณคดไี ทยมาแสดงไวใ้ นวัดหรอื พระราชวัง

28 แบบทดสอบหลงั เรยี น เร่ือง ประวตั ิของการจดั สวน คาชี้แจง ใหเ้ ลอื กขอ้ ทีถ่ ูกท่สี ุด แล้วกากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ 1. สวนลอยบาบโิ ลน ซงึ่ เปน็ สง่ิ กอ่ สร้างทเี่ ป็น1ใน7 สิง่ มหศั จรรยข์ องโลก เกิดจากชนชาติใด ก. ชนชาติอาหรับ ข. ชาตอิ ิยปิ ต์ ค. ชนชาติอติ าลี ง. ชนชาตจิ ีน 2. การวางผังพ้นื ทีอ่ าคารให้มลี านโลง่ เพอ่ื จดั สวนตรงกลาง ได้รับอทิ ธิพลมาจากยุคสมยั ใด ก. โรมนั ข. กรีก ค. อียปิ ต์ ง. อติ าลี 3. สามารถกลา่ วได้วา่ ชนชาติใดเปน็ ชาตแิ รกๆ ท่ีมีการจัดสวน เกดิ ขนึ้ ก. อียปิ ต์ ข. จีน ค. โรมนั ง. องั กฤษ 4. การสรา้ งสวนประกอบกับบา้ นพกั ตากอากาศที่เรยี กว่า วลิ ลา่ (Villa) นยิ มทากันในภมู ิประเทศแบบใด ก. ในถ้า ข. กลางแอ่งกน้ กระทะ ค. บนเนินเขา ง. บนหนา้ ผา 5. รปู แบบของสวนตงั้ แตใ่ นยุคอียปิ ต์ กรกี โรมัน อติ าลี ฝรั่งเศส มคี วามคลา้ ยคลงึ กนั ในเร่อื งใด ก. จดั สวนในพน้ื ท่โี ล่งกลางบ้าน ข. มกี ารใช้น้ามาประกอบสวน ค. เปน็ สวนแบบประดษิ ฐ์ ง. ถูกทกุ ขอ้ 6. ยคุ สมยั ใดท่กี ารจัดสวนแบบประดษิ ฐไ์ ดพ้ ัฒนาอย่างมากจนมรี ูปแบบสวยงามยง่ิ ใหญต่ ระการตามากทีส่ ดุ ก. อังกฤษ ข. กรีก ค. อติ าลี ฝร่ังเศส ง. โรมนั

29 7. สวนของชนชาติตะวนั ตกยคุ ใด ที่เร่มิ มกี ารเปลย่ี นแปลงมาสูร่ ปู แบบสวนธรรมชาติ (Natural style) มากขน้ึ ก. กรีก ข. โรมนั ค. อังกฤษ ง. ฝรั่งเศส 8. สวนของชาวตะวนั ออกหรอื ชาวเอเชียมแี นวทางการจดั สวนในรปู แบบใดทีเ่ ปน็ เอกลกั ษณ์ ก. แบบธรรมชาติ (Informal style) ข. แบบประดิษฐ์ (Formal style) ค. แบบสมยั ใหม่ (Contempolary style) ง. ถูกทกุ ขอ้ 9. สวนญ่ปี ุ่น มีรปู แบบทไี่ ดร้ บั อิทธิพลการจดั มาจากชนชาตใิ ดมากทส่ี ดุ ก. อยี ปิ ต์ ข. จีน ค. เกาหลีเหนือ ง. เกาหลีใต้ 10. การนาหินมาก่อเป็นเนินดินสูงๆประกอบกับพันธุ์ไม้ไทยและองค์ประกอบสวนแบบไทย เป็นรูปแบบเฉพาะ ของสวนไทยซึ่ง มีชือ่ เรยี กว่าอะไร ก. เขาวงั ข. เขาดนิ ค. เขามอ ง. เขาช่อง เฉลย 1. ก 2. ค 3. ก 4. ค 5. ง 6. ค 7. ค 8. ก 9. ข. 10. ค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook