Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore AHU system

AHU system

Published by jame_ga, 2019-02-22 02:29:13

Description: คณิต แก้วฟ้า
ฝ่ายวิศวกรรม
บริษัท เยเนอรัล ฮอสปิตัล โปร์ดักค์ จำกัด (มหาชน)

Search

Read the Text Version

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คมู อื ผูรบั ผิดชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 กรณศี ึกษา: โรงงานบรษิ ทั ไทยเพรซเิ ดนทฟ ูดส จาํ กดั (มหาชน) ประเภทโรงงาน: ผลิตบะหม่ีกงึ่ สําเร็จรปู การใชเ ทคโนโลยี: ติดตั้งฮที ไปปเพื่อลดความช้ืนทีค่ อยลเย็นของระบบปรับอากาศแบบสวนกลางหองผสม เครือ่ งปรุงบะหมกี่ ง่ึ สาํ เรจ็ รปู ใสซอง ทดแทนการระบบลดความชืน้ เดิม ซง่ึ ใชก ารลด อุณหภูมขิ องอากาศ และใชข ดลวดใหความรอนดว ยไฟฟา เงินลงทนุ : 1,140,000 บาท (เครอ่ื งปรบั อากาศใหมพรอ มฮีทไปป 28,500 Btu/hr x 4 ชดุ ) ผลประหยัดพลังงาน: ไฟฟา 673,344 kWh/ป คาพลังงานทป่ี ระหยดั ได: 1,683,360 บาท/ป คาใชจ ายอนื่ ท่ีประหยัดได: - ระยะเวลาคนื ทุน: 0.68 ป 11. แหลง ขอมูลอางอิง (1) Wrap-Around Dehumidifier Heat Pipes, Heat Pipe Technology, Inc. (2) เอกสารประกอบการนาํ เสนอ What are Heat Pipes, Heat Pipe Technology, Inc., Natural Green Innovation. (3) Why Heat Pipes? Case Summaries, Heat Pipe Technology, Inc. (4) กรณศี ึกษา 013 การใชฮที ไปปเพอื่ ประหยดั พลังงานในระบบปรับอากาศ, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนรุ กั ษพลังงาน, 2547 (5) เอกสารประกอบการนาํ เสนอ ระบบปรับอากาศ และ ระบบควบคมุ ความช้ืน สาํ หรับโรงแรมกับการประหยดั พลงั งาน, บริษทั เนเชอรัล กรนี อนิ โนเวช่นั จํากัด (6) เอกสารประกอบการนาํ เสนอ ระบบปรับอากาศ และระบบควบคุมความช้ืน สาํ หรับหอ งผา ตัดกับการประหยัด พลงั งาน, บรษิ ทั เนเชอรัล กรนี อินโนเวช่ัน จาํ กัด (7) รายงานพลังงานของประเทศไทยป 2549, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนรุ กั ษพลังงาน 4-47

ตอนที่ 3 บทที่ 4 ระบบปรบั อากาศ คมู อื ผูรบั ผดิ ชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 เทคโนโลยีการลดความช้นื ดว ยสารดูดความชืน้ เหลว (Liquid Desiccant Dehumidification) 1. หลกั การทํางานของเทคโนโลยี (1) (2) เทคโนโลยกี ารลดความชืน้ ดวยสารดดู ความชื้นเหลวอาศัยการทาํ งานของสารละลายของสารดูดความชื้นในการดึง ความช้ืนออกจากอากาศ โดยสามารถควบคุมความช้นื ของอากาศไดในระดับความช้นื สมั พทั ธตํ่ากวา 40% RH ในชวง อณุ หภูมิประมาณ 22 + 1 oC โดยระบบลดความชน้ื ดวยสารดดู ความช้ืนเหลวจะประกอบดวย 3 สวนหลัก คอื สวนดูด ความช้ืน (Collection Section), สว นคายความช้ืน (Regeneration Section) และสวนปม ความรอน (Heat Pump Section) ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.1 รูปที่ 1.1: แสดงสว นประกอบของระบบลดความชนื้ ดวยสารดดู ความชนื้ เหลว • สวนดูดความชน้ื (Collection Section) จะดูดอากาศท่ีตองการลดความช้นื ผานสว นดดู ความชื้น ที่มีสารละลาย ลิเทยี มคลอไรด (LiCl) ซึง่ ไหลผาน Heat Exchanger ฝง เย็นและไดรบั การถายเทความเย็นจาก Heat Exchanger จนมี อุณหภมู ิต่าํ พนกระจายเปนละอองฝอยอยูในสวนดดู ความชื้น เม่ืออากาศท่ีตอ งการลดความชนื้ สมั ผัสกบั สารละลาย ลิเทียมคลอไรด (LiCl) ตัวสารละลายลิเทยี มคลอไรด (LiCl) ก็จะดดู ความชื้นในอากาศไวพ รอมๆกับถายเทความเย็น จากสารละลายใหแ กอ ากาศ จึงทาํ ใหอากาศทผี่ านสว นดูดความช้ืนมีคุณสมบัตแิ หงและเย็น สารละลายลิเทียมคลอ ไรด ( LiCl ) ทีด่ ดู ความชนื้ ไวก็จะไหลลงมายงั ถาดรองรับ และไหลวนจากดานดูดความชืน้ ไปยังสวนคายความชื้น (Regeneration Section) • สวนคายความช้ืน (Regeneration Section) จะมปี มซึ่งทาํ หนา ที่ดดู สารละลายลเิ ทียมคลอไรด (LiCl) ไหลผา น Heat Exchanger ฝง รอน และไดรบั การถา ยเทความรอนใหสารละลายลเิ ทียมคลอไรด ( LiCl ) จนมีอณุ หภมู ิสูงขึน้ 4-48

ตอนท่ี 3 บทที่ 4 ระบบปรบั อากาศ คมู ือผรู ับผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 หลงั จากน้ันจะพนเปน ละอองฝอยลงในดานคายความช้ืน และเครื่องจะดูดอากาศจากภายนอกมาผา น Pre-Heat Coil ของสวนปมความรอ น เพือ่ ทาํ ใหอุณหภมู ขิ องอากาศสงู ขึ้น เม่ืออากาศจากภายนอกสมั ผัสกบั สารละลายลิเทยี มคลอ ไรด (LiCl) ดานคายความช้นื อากาศจากภายนอกก็จะพาความช้นื ท่เี กาะอยทู ่ีสารละลายลิเทียมคลอไรด (LiCl) ออกไปดวย สารละลายลเิ ทยี มคลอไรด (LiCl) ที่คายความช้ืนออกก็จะไหลวนกลับไปยงั ดานดูดความชืน้ เพอ่ื ทําการ ดดู ความชืน้ ตอไป • สว นปม ความรอน (Heat Pump Section) จะเปนสว นที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของนํ้ายา R-22 เพ่อื ใหเกิดการ ถา ยเทความรอนและความเยน็ ใหแก Heat Exchanger ทัง้ ฝงรอ นและฝงเยน็ ซ่ึงจะนําไปใชในการเพิ่มอณุ หภมู ิและ ลดอุณหภมู ิของสารละลายลิเทยี มคลอไรด (LiCl) จงึ เหน็ ไดว ากระบวนการตางๆของระบบลดความชนื้ ดวยสารดูด ความชื้นเหลวจะมกี ารใชพลงั งานหลักที่สวนปมความรอ นเทาน้ัน และไดนําคุณสมบัติดา นความเย็นและความรอ น ไปใชใหเ กิดประโยชนอยางเตม็ ท่ี จงึ ทําใหมีการใชพลังงานทีน่ อยกวาระบบอ่นื ๆ 2. การใชท ดแทนเทคโนโลยีเดมิ (2) (3) ในอดตี การออกแบบระบบควบคุมความชื้นในระดับตํ่ากวา 40% RH โดยมอี ณุ หภมู ขิ องหอ งปรบั อากาศประมาณ 22 + 1 oC มคี วามจําเปนที่จะตอ งใชเคร่อื งลดความช้ืน (Desiccant Dehumidifying Unit) ในการรักษาระดับความช้นื ภายในหอ ง ใหไ ดตามตอ งการ เน่ืองจากเคร่ืองปรับอากาศโดยทัว่ ไปไมส ามารถดงึ ความชน้ื ออกจากอากาศท่สี ภาวะดังกลาว ดังนั้น เคร่อื งปรบั อากาศจึงทําหนาทใ่ี นการเกบ็ ความรอนสัมผัสของหอ งเทาน้ัน และความช้นื ท่ีเกิดขึ้นท้งั หมดจะถูกกาํ จดั โดย เครือ่ งลดความช้ืนแตเ พียงอยา งเดียว เคร่อื งลดความชื้นแบบเดิมท่ีนยิ มใชกันจะเปนชนดิ กงลอ ดดู ความชื้น (Desiccant Wheel) ซง่ึ มีการใชสารดดู ความชื้น อาทิเชน LiCl หรอื Silica Gel และมีการใช Heater ซง่ึ อาจเปน Electric Heater หรอื Steam Heater ในการเพิม่ อุณหภมู ิ อากาศเพอ่ื ไลค วามชนื้ ออกจากสารดูดความช้ืน ซึ่งตองใชพลงั งานสงู มาก และผลทีต่ ามมา คอื อากาศแหง ท่สี ง กลับสู หอ งจะมีอณุ หภูมสิ งู ข้ึนมาก (เพิ่มประมาณ 15 – 20 oC จากอณุ หภมู ิหอ ง) จึงทําใหก ารออกแบบเคร่ืองปรับอากาศจะตอง มีขนาดการทําความเย็นทม่ี ากขึ้น เพ่อื ชดเชยภาระความรอนทเ่ี กิดขึ้นจากเครอ่ื งลดความชืน้ ดังน้ัน เทคโนโลยีในการ ควบคุมความช้นื แบบเดิมจงึ จาํ เปนท่จี ะตองส้นิ เปลอื งพลังงานเปนอยางมาก (ดูรปู 2.1 และแผนภูมิ Psychrometric ในรูป 2.2) รูปที่ 2.1: แสดงระบบลดความชนื้ ดวยกงลอดูดความชื้นซงึ่ ใช Electric Heater 4-49

ตอนที่ 3 บทที่ 4 ระบบปรับอากาศ คูมอื ผรู บั ผิดชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 รปู ท่ี 2.2: แผนภูมิ Psychrometric เปรียบเทียบสภาวะอากาศสาํ หรับระบบควบคมุ ความชนื้ แบบตา งๆ (3) ในปจ จุบันไดมีการพัฒนาเทคโนโลยสี ําหรบั เครอ่ื งลดความชื้น และอุปกรณลดความชื้นสําหรับเครอื่ งปรับอากาศ ซ่งึ สามารถลดการใชพ ลงั งานลงไดอยางมาก เทคโนโลยใี หมทีก่ ลาวถึงนค้ี ือ เคร่อื งลดความช้ืนแบบสารดูดซึมเหลว (Liquid Desiccant) ซงึ่ ใชสารดูดความชื้นชนิดสารละลายลิเทยี มคลอไรด (LiCl) ในการดงึ ความชื้นและลดอุณหภูมิของอากาศ ไปพรอมกัน ขอไดเปรยี บอยางยิง่ ของเทคโนโลยีนี้ คอื การออกแบบใชงานรวมกับระบบปม ความรอนทําใหการใช พลงั งานของตัวเคร่ืองเหลอื เพยี ง 1 ใน 3 เม่ือเปรยี บเทยี บกับเทคโนโลยีเดมิ อากาศท่ีผานการดึงความช้ืนออกจะมี คณุ สมบัตแิ หงและเยน็ มอี ุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมกิ อนเขา เครื่องลดความช้ืนประมาณ 5-7 oC จงึ ทําใหข นาดของ เคร่ืองปรับอากาศทใี่ ชทําความเย็นใหแกห อ งมีขนาดเล็กลงได ซึ่งชวยลดการใชพลังงานของทงั้ เครอื่ งลดความชื้นและ เคร่ืองปรับอากาศลงไดอ ยางมาก 3. ศักยภาพการประหยดั พลังงาน จากขอมูลกรณีศึกษาในประเทศไทย (3) เทคโนโลยกี ารลดความชื้นดวยสารดดู ความช้นื เหลวสามารถลดการใชพลังงาน ในกระบวนการลดความช้นื ไดป ระมาณ 50% เมอ่ื เทยี บกับระบบลดความชื้นเดมิ ทีใ่ ชกงลอดูดความชื้น (Desiccant Wheel) และพลังงานไฟฟา (Electric Heater) หรอื พลังงานความรอน (Steam Heater) ในการไลค วามช้นื จากกงลอดูด ความช้ืน (Regeneration) 4-50

ตอนที่ 3 บทท่ี 4 ระบบปรบั อากาศ คูม อื ผูร ับผดิ ชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 จากขอ มลู ผลการตดิ ตั้งใชง านของผูจ ําหนาย (2)(4) ในการนาํ เทคโนโลยกี ารลดความช้นื ดวยสารดูดความชนื้ เหลวมาติดตง้ั สาํ หรับหองบรรจอุ าหารอบแหง ทีผ่ า นกระบวนการทาํ แหงแบบ Vacuum Freeze Drying เพ่ือควบคุมสภาวะอากาศของ หองดงั กลาวใหมคี วามช้ืนสมั พัทธท ต่ี ํ่ามาก คอื 30% RH ทอ่ี ุณหภมู ิหอง 22.5 oC การเปรยี บเทียบการลงทุนและการ ประหยัดพลังงานระหวางระบบปรบั อากาศและควบคุมความชืน้ แบบเดมิ กบั แบบใหม ดังตารางตอ ไปนี้ รายละเอียดงบประมาณการลงทุน ระบบ Liquid Desiccant ระบบ Desiccant Wheel สวนตาง 1. ระบบ Air-Cooled Split Type (บาท) 1,250,000 (25 tons) 1,750,000 (35 tons) 500,000 2. เครอื่ งลดความชน้ื (บาท) 1,500,000 1,350,000 -150,000 งบประมาณการลงทนุ ทง้ั หมด (บาท) 2,750,000 3,100,000 350,000 1. ระบบปรับอากาศ 25 35 10 ขนาดทําความเยน็ รวม (Ton) 37.5 52.5 15 กําลงั ไฟฟาที่ใช (kW) 27,000 37,800 10,800 พลังงานไฟฟา ทีใ่ ชใน 1 เดือน (kW/เดือน) 74,250 103,950 29,700 คาใชจ ายพลังงานไฟฟา (บาท/เดอื น) 2. ระบบควบคุมความช้ืน พลงั งานไฟฟา ที่ใช (kW) 25 70 45 32,400 พลังงานไฟฟาท่ใี ชใน 1 เดอื น (kWh/เดอื น) 18,000 50,400 89,100 118,800 คา ใชจ า ยดานไฟฟา (บาท/เดือน) 49,500 138,600 1,425,600 รวมคาใชจายไฟฟาท้ังหมด (บาท/เดือน) 123,750 242,550 รวมคาใชจายไฟฟาทง้ั หมด (บาท/ป) 1,485,000 2,910,600 หมายเหต:ุ คดิ คา ใชจ ายดา นพลงั งานไฟฟาท่ี 2.75 บาท/kWh, 24 ชว่ั โมง/วนั , 30 วัน/เดือน, 1.5 kW/ton จากตารางขางตนสามารถจะเห็นไดว าการใชร ะบบลดความช้นื ดว ยสารดดู ความชนื้ เหลว สามารถลดงบประมาณรวมใน การลงทุนไดป ระมาณ 10% – 15% รวมท้ังยังสามารถลดคาใชจ า ยดานพลังงานไฟฟาไดม ากถงึ 50% 4. สภาพทีเ่ หมาะสมกับการใชเทคโนโลยี เทคโนโลยีการลดความชนื้ ดวยสารดดู ความช้ืนเหลวเหมาะสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมหรืออาคารปรบั อากาศที่ ตองการควบคมุ ความช้ืนในพน้ื ทห่ี รือกระบวนการผลิตใหอ ยูใ นชว งความชื้นสมั พัทธต ่าํ กวา 40% RH เพอ่ื ทดแทนระบบ ควบคุมความชนื้ แบบกงลอดูดความชน้ื ท่ีมีการใชพลงั งานสูง 5. กลมุ เปาหมายการประยุกตใชเ ทคโนโลยี กลมุ ของโรงงานอตุ สาหกรรมและอาคารท่ีสามารถประยกุ ตใชเทคโนโลยนี ้ี ไดแก 4-51

ตอนที่ 3 บทที่ 4 ระบบปรับอากาศ คูม ือผูรับผดิ ชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 • โรงงานผลิตและบรรจอุ าหารอบแหง • โรงงานผลิตอาหารแชแ ขง็ • โรงงานผลติ ภัณฑน ม • โรงงานผลิตยา • โรงงานผลติ ภัณฑพลาสติก • โรงงานผลติ ช้นิ สวนอิเล็กทรอนิกส • โรงงานผลิตเคมภี ณั ฑ • ฯลฯ รูปท่ี 5.1: ระบบลดความชน้ื ดวยสารดดู ความชน้ื เหลวทต่ี ดิ ตั้งในโรงงานผลิตยา (4) 6. ราคาของเทคโนโลยี ราคาของระบบลดความชื้นดว ยสารดูดความชืน้ เหลว จะข้นึ อยกู ับขนาดติดตั้งของระบบและประเภทการตดิ ตงั้ ใชงาน โดยจากขอ มลู กรณศี กึ ษาการติดตงั้ ในประเทศไทย (2) คา ใชจ ายของการติดต้ังระบบจะอยูทป่ี ระมาณ 400,000 – 600,000 บาทตอขนาดอัตราการไหล 1,000 CFM 7. ระยะเวลาคนื ทุนของเทคโนโลยี จากขอมลู จากกรณศี ึกษาในตางประเทศ (1) และกรณีศกึ ษาการติดตง้ั ในประเทศไทย (2) เทคโนโลยีการลดความช้ืนดวย สารดดู ความชนื้ เหลวสามารถใหผลประหยัดซึง่ มีระยะเวลาคนื ทุนประมาณ 3 – 5 ป 4-52

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรบั อากาศ คูมอื ผรู ับผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 8. ผลกระทบตอ สงิ่ แวดลอม เทคโนโลยีการลดความชืน้ ดวยสารดูดความช้ืนเหลว มผี ลกระทบตอสงิ่ แวดลอ มต่ําอยใู นระดบั เดยี วกับ เครื่องปรบั อากาศทวั่ ไป และสารลิเทียมคลอไรด (LiCl) ซ่ึงเปน สารดูดความชื้นเหลว เปนสารท่ีมคี วามเปนพษิ ตอ สง่ิ แวดลอ มต่ํา (ระดบั ใกลเ คยี งกับเกลอื โซเดยี มคลอไรด) 9. ความแพรหลายและศักยภาพการขยายผลในประเทศไทย จากการตรวจสอบกับผูจ ําหนายและฐานขอมูลโรงงานอาคารควบคุมของ พพ. ประมาณการวา มีการนาํ เทคโนโลยีการลด ความช้ืนดวยสารดดู ความชื้นเหลวไปประยุกตใชแลว กับสถานประกอบการประมาณไมเ กิน 3% ของจาํ นวนสถาน ประกอบการท่ีสามารถประยุกตใชเ ทคโนโลยนี ีไ้ ด (ประมาณ 40 แหง จาก 1,218 แหง ) โดยเมื่อพิจารณากลมุ เปา หมายการใชเทคโนโลยีนี้ ในกลมุ อุตสาหกรรมและอาคารที่มีศกั ยภาพแลวพบวา เทคโนโลยีน้ี สามารถขยายผลในสถานประกอบการที่มกี ารใชพลงั งานรวมกันประมาณ 472 ktoe ตามขอมลู การใชพ ลังงานของ ประเทศในป 2549 (5) และจากการประมาณการในกรณีที่ 20% ของสถานประกอบการทม่ี ศี กั ยภาพเหลา น้ีนาํ เทคโนโลยี ไปประยุกตใชจ ะทาํ ใหเกดิ ผลประหยดั พลังงานใหก ับประเทศไดป ละประมาณ 378 ลา นบาท 10. ตัวอยางกรณศี ึกษา (3) กรณศี กึ ษา: โรงงานบรษิ ัท โรงงานเภสัชกรรมแอตแลนติค จาํ กัด ประเภทโรงงาน: ผลติ ยา การใชเทคโนโลยี: ตดิ ต้ังระบบลดความชื้นดวยสารดูดความช้นื เหลวชนิดใชปม ความรอ น ทํางารว มกับระบบ ปรบั อากาศของโรงงาน เพอ่ื ควบคมุ สภาพความดนั อุณหภมู ิ และความช้นื ของพ้ืนที่ กระบวนการผลิต เงินลงทุน: 600,000 บาท (เครื่องลดความชื้นดว ยสารดูดความชนื้ เหลวชนดิ ใชปมความรอนขนาด 1,650 CFM) ผลประหยดั พลังงาน: ไฟฟา 40,248 kWh คาพลงั งานที่ประหยัดได: 110,688 บาท/ป คาใชจ ายอน่ื ทป่ี ระหยดั ได: - ระยะเวลาคนื ทุน: 5.4 ป กรณศี กึ ษา: โรงงานบรษิ ัท ดัชมิลล จํากัด ประเภทโรงงาน: ผลิตอาหารประเภทผลิตภัณฑนม 4-53

ตอนท่ี 3 บทที่ 4 ระบบปรับอากาศ คมู ือผรู บั ผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 การใชเทคโนโลยี: ตดิ ตั้งระบบลดความชื้นดวยสารดดู ความชืน้ เหลวชนิดใชปมความรอ น ทาํ งานรวมกับ ระบบเตมิ อากาศควบคุมความชนื้ (ฮที ไปป) เพ่อื ควบคมุ สภาพอุณหภมู ิ และความช้ืน ภายในตูฉีดพลาสติกสาํ หรับผลิตบรรจุภณั ฑใหอยใู นชวงท่เี หมาะสม เงินลงทุน: 1,654,000 บาท (แบง เปน คา เครื่องลดความชื้นดวยสารดูดความชื้นขนาด 1,000 CFM 592,000 บาท, คา ระบบเครอื่ งเติมอากาศ 476,000 บาท, คา ติดต้ังงานระบบและคาอุปกรณ อืน่ ๆ 586,000 บาท) ผลประหยดั พลังงาน: ไฟฟา 207,360 kWh/ป คาพลงั งานทป่ี ระหยดั ได: 570,240 บาท/ป คาใชจายอนื่ ที่ประหยดั ได: - ระยะเวลาคนื ทุน: 2.9 ป 11. แหลงขอมลู อา งอิง (1) 1996 ASHRAE Handbook: HVAC System and Equipment, Chapter 22 Desiccant Dehumidification and Pressure Drying Equipment. (2) เอกสาร การประหยัดพลังงานในระบบปรับอากาศและควบคมุ ความช้ืนระดบั ต่ําโดยใชเ ทคโนโลยีใหม, บริษทั เนเชอรัล กรีน อินโนเวชน่ั จํากัด (3) กรณศี กึ ษา 027 การใชเคร่ืองลดความช้ืนแบบสารดูดซึมเหลว (Liquid Desiccant Dehumidifier), กรมพฒั นา พลังงานทดแทนและอนุรักษพ ลังงาน, 2547 (4) Newsletter, Dry-Cooling News, Spring 2004, Volume III, DryKor Inc. (5) รายงานพลังงานของประเทศไทยป 2549, กรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนรุ ักษพ ลงั งาน 4-54

ตอนท่ี 3 บทที่ 4 ระบบปรับอากาศ คูมอื ผูร บั ผิดชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 เทคโนโลยีการบําบัดและปรับสภาพนา้ํ ดวยโอโซน (Ozone Water Treatment) 1. หลักการทํางานของเทคโนโลยี (3)(4) โอโซน คือ อะไร โอโซนเปนโมเลกุลท่ีประกอบไปดวยออกซเิ จนสามอะตอม มีสัญลักษณท างเคมีเปน O3 โอโซนเปน กา ซทไี่ มเ สถียรและ สลายไดด วยตัวเอง โดยปกติโอโซนจะเกิดขึ้นไดเ องตามธรรมชาติจากการทีร่ ังสอี ลั ตราไวโอเลตในแสงอาทิตยท าํ ให โมเลกุลของออกซเิ จนในบรรยากาศชั้นสตาโตรสเฟยร ทร่ี ะดับความสงู 15-50 กโิ ลเมตรเหนือระดบั นํา้ ทะเลแตกตัว ออกเปนอะตอมของออกซิเจนและไปทาํ ปฏกิ ิรยิ ารวมตัวกับออกซเิ จนกลายเปนโอโซน ดังแสดงในรูปที่ 1.1 OXYGEN (O2) OZONE(O3) O2 + O1 = O3 ULTRAVIOLET LIGHT o2 OXYGEN ATOMS รปู ที่ 1.1: การเกิดโอโซนตามธรรมชาติ (4) นอกจากการเกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติแลว โอโซนยังสามารถเกดิ ขนึ้ ไดจากการผานอากาศแหง และมีคุณสมบัตทิ ี่ เหมาะสมเขา ไปยงั สนามไฟฟาแบบ Corona Discharge ทาํ ใหออกซเิ จนในอากาศบางสวนแตกตัวเกิดอะตอมออกซิเจน ซง่ึ จะรวมตัวกับออกซเิ จนเกิดเปนโอโซนได ดงั แสดงในรปู ที่ 1.2 Ground Cooling Water OGFxaeysegden OGzaosne o3 o2 o2 o2 o3 Glass Dieleoc3tric Variable High Voltage Electrode High Voltage รปู ท่ี 1.2: แสดงรปู แสดงการเกดิ โอโซนจากสนามไฟฟา แบบ Corona Discharge (4) โอโซนมีคุณสมบัติที่สามารถเกิดปฏิกิริยาออกซิเดช่นั ไดอ ยา งรุนแรง สามารถทําลายเซลลเ น้ือเยื่อของเชอ้ื โรคไดแบบ เฉียบพลัน มฤี ทธ์ใิ นการฆาเชือ้ โรคไดเ ร็วกวาคลอรนี 3,125 เทา 4-55

ตอนที่ 3 บทที่ 4 ระบบปรับอากาศ คมู อื ผรู บั ผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 การประยุกตใ ชโอโซน โอโซนไดถูกนํามาประยกุ ตใชในงานดา นตางๆ เชน ใชปรับสภาพอากาศ เพอ่ื ขจดั กล่นิ อับ และฆาเช้อื โรค ใชประกอบ กบั เคร่ืองทํานํ้าดื่ม ใชประกอบการลางผักผลไม และอาหารสด ใชในการแพทย เชน ใชฆา เช้อื โรคในหองผาตัด ใชบําบดั น้าํ ในสระวายน้าํ ใชในกระบวนการซักผา รวมถงึ ใชเ พอ่ื ฆา เช้ือโรคและปรบั สภาพน้ําในระบบนํา้ ระบายความรอน สําหรับระบบปรับอากาศและกระบวนการผลิต 2. การใชท ดแทนเทคโนโลยเี ดมิ โอโซนสามารถนํามาประยกุ ตใ ชในงานดา นการอนรุ กั ษพ ลงั งานในกระบวนการบาํ บัดและปรับสภาพนํ้า เพ่ือลด คาใชจายในการใชส ารเคมเี พอ่ื ฆาเช้ือโรคหรอื ปรบั สภาพน้ํา และลดคาใชจ า ยดานพลังงาน ดังตอไปนี้ • การใชโ อโซนในระบบน้าํ ระบายความรอนของเครอ่ื งทาํ นา้ํ เยน็ เพ่ือฆา เชือ้ โรคและปรบั สภาพน้ําซงึ่ เปน สาเหตทุ ่ีทํา ใหเกดิ การกัดกรอนและตะกรนั ในระบบแทนการใชสารเคมีในการปรบั สภาพนาํ้ ระบบโอโซนเปนระบบท่ีมี ประสิทธภิ าพสงู ในการฆา เชือ้ โรคท่ีอยูในน้ํา ทาํ ใหลดการใชสารเคมี และความจําเปนในการโบลวดาวนเพื่อรกั ษา คุณภาพน้ําของระบบหอระบายความรอ น และท่ีสาํ คญั ชวยลดการเกิดตะกรันทาํ ใหเ พม่ิ ประสิทธภิ าพการ แลกเปล่ยี นความรอ นของหอระบายความรอ น สงผลใหสมรรถนะการทําความเยน็ ของเครอ่ื งทําน้ําเย็นดีอยู ตลอดเวลา ทาํ ใหการใชพลงั งานของระบบการทาํ ความเย็นลดลง รปู ท่ี 2.1: แสดงการใชสารเคมแี ละการโบลวดาวนในระบบนาํ้ ระบายความรอนสาํ หรับเครื่องทาํ นา้ํ เยน็ (1) 4-56

ตอนที่ 3 บทท่ี 4 ระบบปรบั อากาศ คูมือผูรบั ผดิ ชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 รูปที่ 2.2: แสดงการใชโ อโซนในระบบนํ้าระบายความรอ นสาํ หรับเครือ่ งทาํ นา้ํ เย็น (1) • การใชโอโซนในกระบวนการซักผา ระบบโอโซนสามารถติดตั้งกบั ระบบเครอ่ื งซักผา ทดแทนการใชน้ํารอ นและ ลดการใชผ งซักฟอก ทําใหสามารถลดปริมาณการใชนํา้ ผงซักฟอก สารเคมแี ละพลังงานที่ใชใ นการผลิตน้ํารอ นใน ระบบลงได รปู ท่ี 2.3: แสดงการใชโ อโซนในระบบเครอ่ื งซักผา (4) 4-57

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คมู อื ผรู บั ผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 3. ศักยภาพการประหยดั พลังงาน การใชโ อโซนในการบําบัดและปรับสภาพนํ้า มีศักยภาพในการประหยดั พลังงานดงั น้ี • กรณกี ารใชโอโซนในระบบน้ําระบายความรอนของเครื่องทํานํ้าเย็น จากขอ มูลการติดตง้ั ใชงานระบบโอโซนกับระบบนาํ้ ระบายความรอ นของเครือ่ งทําน้ําเย็นในประเทศสหรฐั อเมรกิ า (1) การใชโ อโซนสามารถเพ่มิ ประสิทธิภาพการแลกเปล่ยี นความรอน ทาํ ใหประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องทํา นา้ํ เย็นเพ่มิ ขนึ้ ประมาณ 10%-20% ชว ยลดปริมาณการใชสารเคมี ลดปริมาณการใชน าํ้ และการโบลวดาวนน้าํ ท้ิง ทงั้ นไ้ี ดม ีการสรปุ แสดงผลการเปรียบเทยี บคาใชจา ยจากการติดตงั้ โอโซนกบั ระบบระบายความรอนของเคร่ืองทํา น้ําเยน็ กับโรงงานอิเล็กทรอนกิ สไวด ังน้ี รายละเอยี ดคา ใชจา ย การปรบั สภาพดวยเคมี การปรบั สภาพดว ยโอโซน ผลประหยัด คา ไฟฟา ของระบบปรบั สภาพ $0 $2,592 -$2,592 (-100%) คา สารเคมี $0 $18,613 (100%) คาแรงงาน $18,613 $2,808 $6,562 (70%) คาใชจายจากการโบลวด าวน $9,370 $4,536 $40,824 (90%) คา กาซคลอรนี $45,360 $0 $6,120 (100%) คา ไฟฟาของระบบรวม $6,120 $47,479 $71,236 (60%) รวมคาใชจ า ยตอ ป $118,715 $57,415 $140,753 (71%) $198,168 • กรณกี ารใชโอโซนในระบบซกั ผา จากขอ มูลการติดตงั้ ระบบโอโซนในระบบเครื่องซกั ผา ขนาดใหญใ นตางประเทศ (2)(3) และกรณศี กึ ษาในประเทศ ไทย(4)(5) การใชโอโซนสามารถใหผลที่ชัดเจนในการลดขัน้ ตอนการซัก ปริมาณการใชน้าํ รอน ปริมาณการใช สารเคมีและผงซักฟอก ทําใหลดปริมาณการใชเช้อื เพลิงสําหรบั ผลติ นํ้ารอนในการกระบวนการซกั ไดป ระมาณ 80% ลดปรมิ าณการใชน ํ้าไดป ระมาณ 5%-20% และลดปริมาณสารเคมสี ําหรบั ซักลา งไดประมาณ 5%-30% นอกจากนก้ี ารซักผาท่ใี ชน ้ําอณุ หภมู ิตํ่าลงยังสงผลตอ คณุ ภาพของผา ทซี่ กั ดว ย จากขอ มลู การวจิ ัยการใชร ะบบโอโซนกับระบบเครือ่ งซกั ผา ขนาดใหญก บั โรงแรมแหงหนง่ึ ในประเทศไทย (3) ได แสดงผลประหยัดไวด ังนี้ 4-58

ตอนที่ 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คมู อื ผรู ับผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ข้นั ตอน กอนตดิ ตงั้ ระบบโอโซน หลงั ติดตง้ั ระบบโอโซน 1 2 ซักลา งนาํ้ เปลา (3 นาท)ี - 3 4 ซักโดยใชผ งซกั ฟอกและน้ํารอน (20 นาท)ี ซกั โดยใชผ งซักฟอกและนํ้าโอโซน (15 นาท)ี 5 ซักลา งนาํ้ เปลา (5 นาที) ซกั ลางนา้ํ โอโซน (3 นาที) ซักลางนาํ้ เปลา (5 นาท)ี ซักลางน้ําโอโซน (3 นาท)ี ซักลา งน้ําเปลา (5 นาท)ี - ตารางที่ 3.1: แสดงตวั อยา งเปรยี บเทียบขัน้ ตอนการซักผากอ นและหลงั ติดตงั้ ระบบโอโซน (3) พลงั งานที่ประหยัดได คา ใชจ า ยกอนตดิ ตง้ั คา ใชจ า ยหลงั ตดิ ตง้ั คา ใชจา ยทลี่ ดลง ผลการประหยัด (บาท/ป) (บาท/ป) (บาท/ป) (%) เคมีภัณฑ 698,979 412,807 286,172 40.94 คาไฟฟา 471,061 229,948 241,113 51.18 คา กาซ LPG 166,688 - 116,688 100 สําหรับทําน้ํารอน คา น้าํ 76,851 63,718 13,133 17.09 คาใชจ ายทง้ั หมด 1,413,579 706,474 707,105 50.03 ตารางท่ี 3.2: แสดงตวั อยา งเปรียบเทยี บคา ใชจ ายและผลประหยดั ในการติดต้ังระบบโอโซน (3) 4. สภาพทีเ่ หมาะสมกับการใชเ ทคโนโลยี เทคโนโลยีการบําบดั และปรับสภาพน้ําดวยโอโซนเหมาะสําหรับการติดต้ังใชกับโรงงานอุตสาหกรรมหรอื อาคารที่ใช ระบบทําความเย็นแบบระบายความรอ นดว ยน้าํ เพ่ือใชท ดแทนระบบปรับสภาพน้ําดวยสารเคมี และเหมาะกบั การตดิ ตั้ง กบั กระบวนการซกั ลางของโรงงานหรืออาคารขนาดกลางถึงขนาดใหญ เพอ่ื ทดแทนการใชผ งซกั ฟอก สารเคมแี ละ พลังงานความรอน 5. กลุมเปา หมายการประยกุ ตใ ชเทคโนโลยี กลมุ ของโรงงานอตุ สาหกรรมและอาคารที่สามารถประยุกตใชเทคโนโลยนี ้ี ไดแ ก • อุตสาหกรรมอาหาร เชน โรงงานผลิตอาหารและเครอ่ื งดืม่ • อุตสาหกรรมส่งิ ทอ ในกระบวนการซักฟอกยอ ม • โรงงงานอตุ สาหกรรมและอาคารทีใ่ ชเคร่อื งปรบั อากาศ หรือระบบทําความเยน็ ที่ระบายความรอนดว ยนํา้ • อาคารโรงแรมและโรงพยาบาลขนาดใหญ ท่มี ีกระบวนการซักผา • ฯลฯ 4-59

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรบั อากาศ คูมือผรู บั ผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 6. ราคาของเทคโนโลยี ราคาของระบบการบาํ บดั และปรับสภาพนํ้าดวยโอโซนจะขน้ึ อยกู ับขนาดและประเภทของการติดตั้งใชง าน โดย คา ใชจายของการติดต้ังระบบโอโซนสาํ หรับการปรบั สภาพนํ้าระบายความรอน (1) จะอยใู นชว งประมาณ 850,000 – 2,500,000 บาท ($25,000 - $70,000) สําหรับหอระบายความรอนขนาด 1,000 ตัน หรือเฉล่ียประมาณ 1,250 บาท ($36) ตอตัน สาํ หัรบราคาของระบบโอโซนตามกําลังผลิตสาํ หรบั ชวง 10 ถงึ 3,700 กรัม/ช.ม. จะมรี าคาอยใู นชวง 340,000 ถึง 10,200,000 บาท ($10,000 - $300,000) 7. ระยะเวลาคนื ทนุ ของเทคโนโลยี จากขอ มูลกรณีศึกษาการติดตง้ั ใชเทคโนโลยกี ารบําบัดและปรับสภาพนํ้าดว ยโอโซนในประเทศไทย (1) แสดงผล ประหยัดซง่ึ มรี ะยะเวลาคนื ทนุ ประมาณ 3 – 5 ป 8. ผลกระทบตอ สิ่งแวดลอ ม เทคโนโลยีการบําบดั และปรับสภาพน้ําดว ยโอโซน ชวยควบคุมคณุ ภาพน้ําระบายความรอ น ทาํ ใหลดความถี่และปริมาณ การใชส ารเคมแี ละนาํ้ เพ่ือลางทําความสะอาดระบบนํา้ ระบายความรอ น การใชโ อโซนในระบบซักผา ชวยลดปริมาณการ ใชน ้ํา ลดปริมาณการใชผงซักฟอก สารเคมี และทําใหนาํ้ ทงิ้ จากกระบวนการซกั ผา มคี ุณภาพทด่ี ีขึน้ เปนผลดีตอ สง่ิ แวดลอ ม 9. ความแพรหลายและศกั ยภาพการขยายผลในประเทศไทย จากการตรวจสอบกบั ผจู ําหนายและฐานขอมูลโรงงานอาคารควบคมุ ของ พพ. ประมาณการวามกี ารนาํ เทคโนโลยกี าร บาํ บัดและปรับสภาพนํ้าดวยโอโซนไปประยุกตใชแลวกบั สถานประกอบการประมาณไมเกิน 1% ของจาํ นวนสถาน ประกอบการทสี่ ามารถประยุกตใชเทคโนโลยีน้ีได (ประมาณ 11 แหง จาก 2,972 แหง) โดยเม่ือพิจารณากลุมเปาหมายการใชเทคโนโลยีนี้ ในกลุมอุตสาหกรรมและอาคารทีม่ ศี ักยภาพแลวพบวา เทคโนโลยีนี้ สามารถขยายผลในสถานประกอบการที่มีการใชพลังงานรวมกันประมาณ 450 ktoe ตามขอมลู การใชพลังงานของ ประเทศในป 2549 (5) และจากการประมาณการในกรณีท่ี 20% ของสถานประกอบการที่มศี กั ยภาพเหลานี้นําเทคโนโลยี ไปประยกุ ตใชจะทําใหเกดิ ผลประหยดั พลังงานใหกับประเทศไดป ละประมาณ 1,441 ลา นบาท 4-60

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรบั อากาศ คมู ือผรู ับผิดชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 10. ตัวอยางกรณีศกึ ษา (1) กรณีศึกษา: โรงงานบริษัท ซงิ เดนเกน็ (ประเทศไทย) จํากัด ประเภทโรงงาน: ผลิตชิ้นสว นรถจักรยานยนต การใชเทคโนโลย:ี ติดต้ังระบบโอโซน เพือ่ ปรบั สภาพนํ้าในระบบนํ้าระบายความรอนของเครอ่ื งทาํ นํ้าเย็น เงนิ ลงทนุ : 410,250 บาท (ระบบโอโซนขนาดกาํ ลังผลิตกาซโอโซน 20 กรัม/ช.ม.) ผลประหยัดพลังงาน: ไฟฟา 48,260 kWh/ป คาพลงั งานท่ีประหยัดได: 93,756 บาท/ป คา ใชจายอนื่ ท่ปี ระหยดั ได: 200,000 บาท/ป (คาลา งทําความสะอาดคอนเดนเซอร) ระยะเวลาคนื ทุน: 1.4 ป กรณีศกึ ษา: โรงแรมโซฟเทล เซ็นทรัล หัวหิน ประเภทอาคาร: โรงแรมขนาดใหญ การใชเ ทคโนโลยี: ติดตั้งติดต้ังระบบผลติ กาซโอโซนเพอ่ื ทํางานรวมกับเคร่อื งซักผาเดมิ จํานวน 6 เครือ่ ง ของ โรงแรม เงินลงทนุ : 1,800,000 บาท (ระบบโอโซนสําหรับเครื่องซกั ผา 6 ชดุ ขนาดซักผา รวม 387 ปอนด) ผลประหยัดพลังงาน: ไฟฟา 31,965 kWh/ป, LPG 13,671 kg/ป คา พลงั งานท่ปี ระหยดั ได: 270,300 บาท/ป คา ใชจายอน่ื ท่ปี ระหยัดได: 347,000 บาท/ป ระยะเวลาคืนทุน: 2.9 ป 11. แหลงขอมลู อา งองิ (1) Federal Technology Alert: Ozone Treatment for Cooling Towers, The New Technology Demonstration Program, U.S. Department Of Energy, 1998. (2) Ozone in Laundry: Measurable Economic Benefits, American Laundry News, July 2007. (3) จนั ทนา กุญชรรัตน, ไพรวลั ย เซยี่ งหลวิ , การใชเ ทคโนโลยรี ะบบโอโซนเพ่อื การประหยัดพลังงานในเครอ่ื งซกั ผาขนาดใหญ (Ozone for Energy Saving in Laundry System), การประชมุ เชิงวิชาการเครือขา ยพลังงานแหง ประเทศไทยครง้ั ที่ 1, 11-13 พฤษภาคม 2548 (4) กรณีศกึ ษา 029 การทาํ ความสะอาดและปรับสภาพนํ้าโดยใชโอโซน (Ozone for Water Treatment), กรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพ ลงั งาน, 2547 (5) รายงานพลังงานของประเทศไทยป 2549, กรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนรุ ักษพลงั งาน 4-61

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรบั อากาศ คูม อื ผูรับผิดชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 4-62

ตอนที่ 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คมู ือผูรบั ผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 เทคโนโลยรี ะบบปรับอากาศแบบ VRF (VRV) แนวคดิ และหลกั การทาํ งาน ภาพแสดงตวั อยางระบบ VRF (VARIABLE REFRIGERANT VOLUME) ระบบปรับอากาศแบบ VRF (VARIABLE REFRIGERANT FLOW SYSTEM) ไดถูกออกแบบข้ึนใน ประเทศญ่ีปุนเมื่อ 20 กวาปท่ีผานมาและไดขยายออกมาสูประเทศตางๆ ทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา ยุโรป และประเทศอ่ืนๆ ท่ัวโลก ในประเทศญ่ีปุนเองมีการใชระบบ VRF ประมาณ 50% ของอาคาร พาณิชยขนาดกลาง (พื้นที่ไมเกิน 6,500 ตารางเมตร) และประมาณ 33% ของอาคารพาณิชยขนาดใหญ (พ้ืนท่ีมากกวา 6,500 ตารางเมตร) ถึงแมวาระบบ VRF ในบางประเทศเชนประเทศสหรัฐอเมริกายังเพ่ิม เร่ิมตนมีการใชระบบน้ีไมก่ีปท่ีผานมาแตก็มีแนวโนมเติบโตและมีการใชมากข้ึนบริษัทผูผลิต เครอ่ื งปรบั อากาศจากประเทศตางๆ ก็มีการพัฒนาระบบ VRF ภายใตช ื่อทางการคาของตนเองออกมา 4-63

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรบั อากาศ คูมือผูร ับผิดชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 บริษัทผผู ลติ เครอื่ งปรบั อากาศ ชื่อทางการคา DAIKIN HITACHI VRV SAMSUNG SET FREE MIDEA DVM TRANE MDV LG TVR YORK (JOHNSON AND CONTROL) MULTI V CARRIER (TOSHIBA) VRF FUJITSU VRF VRF คนท่ีทาํ งานกบั เคร่ืองปรับอากาศโดยสว นใหญ ไมว า จะเปนผใู ช ผอู อกแบบ ผตู ิดตง้ั ผูดูแลรกั ษา คอ นขาง คุนเคยระบบแบบแยกสว น SPLIT TYPE หรอื ไมก ็ระบบผลิตน้ําเยน็ แบบรวมศนู ย หรือ CENTRAL WATER CHILLER สําหรับความหมายของระบบ VRF อาจพจิ ารณาไดวาเปน แบบ SPLIT TYPE ทมี่ ี EVAPORATOR หรอื FAN COIL UNIT หลายตัว ตออยูกบั CONDENSING UNIT ตวั เดยี ว ภาพแสดงการเชอ่ื มตอระหวา ง CONDENSING UNIT และ EVAPORATORS ถาเปรยี บเทียบระหวาง ระบบผลิตนํา้ เย็นแบบรวมศูนย กับ ระบบ VRF จะพบวา ระบบผลิตน้าํ เย็นแบบ รวมศนู ย จะตองอาศัยทง้ั ระบบทอน้ําและระบบทอลม ในการหมุนเวียนถายเทความรอ นออกจากอาคาร ในขณะท่ี VRF จะใชการอาศยั ระบบน้ํายาโดยตรง ในการหมนุ เวยี นถา ยเทความรอนออกจากอาคาร แต ท้งั นีร้ ะบบเองก็จะตองใชระบบทอน้ํายาและการควบคุมทซ่ี ับซอนกวา 4-64

ตอนที่ 3 บทที่ 4 ระบบปรบั อากาศ คูม อื ผูร ับผิดชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 คาํ วา VARIABLE REFRIGERANT VOLUME หมายถงึ การทรี่ ะบบจะตอ งสามารถควบคมุ ปริมาณการ ไหลของน้ํายา ไปยงั EVAPORATOR แตล ะตัวไดอ ยา งอสิ ระ ซ่งึ จะทาํ ใหระบบปรบั อากาศ ทาํ งานได หลายสภาวะในขณะเดยี วกนั ขน้ึ กับพนื้ ทแี่ ละการใชงาน ตวั อยา งเชน พื้นท่ีที่ตอ งการควบคมุ อุณหภูมแิ ละ ความช้ืนท่ีแตกตางกัน หรอื พ้ืนทส่ี องโซนทํางานพรอ มกนั โดยโซนหนง่ึ ตองการความรอน อีกโซนหนึง่ ตอ งการความเยน็ อีกทั้งยงั สามารถนําความรอ นและความเยน็ มาแลกเปล่ียนกนั ไดอ กี ดว ย การควบคุม ปรมิ าณการไหลของนาํ้ ยาโดยการใช VARIABLE SPEED COMPRESSORเปน หัวใจสาํ คญั ของการ ทํางานของระบบ VRF ภาพแสดงตวั อยา งเทคโนโลยี VARIABLE SPEED COMPRESSOR การปรับเปลีย่ นระดับการทํางานของคอมเพรสเซอร ระบบ VRF ซ่งึ เปน ระบบหลักของเครือ่ งระบบนี้ ทํางานผา นอุปกรณท เี่ รยี กวา VARIABLE SPEED COMPRESSOR ทาํ ให คอมเพรสเซอร ของระบบนี้ สามารถปรบั เปลีย่ นการทาํ งานเปน ขั้นๆ ตามภาระการทําความเยน็ ทต่ี องการ โดยตัวอยา งของผผู ลิตราย หนึ่ง เริม่ ตน จากรนุ เล็กซ่งึ มขี นาด 6 แรงมา (ประมาณ 5 ตนั ความเย็น) สามารถควบคุม การทาํ งานขนึ้ ลง ได 13 ขน้ั สว นในรุนใหญขนาด 10 แรงมา (ประมาณ 9 ตนั ความเย็น) สามารถ ควบคุมรอบ การทาํ งาน ของคอมเพรสเซอรได 21 ข้ัน 4-65

ตอนที่ 3 บทที่ 4 ระบบปรับอากาศ คมู ือผรู บั ผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ภาพแสดงตวั อยา งการปรบั เปล่ยี นระดบั การทาํ งานของคอมเพรสเซอร อปุ กรณท อ แบง จา ยนา้ํ ยา (REFRIGERANT PIPING) เปนอุปกรณเสรมิ ทท่ี าํ ใหสามารถเดินทอน้ํายาแบบ รวมทอหรือแยกทอ ไดเ หมือนการเดินระบบทอ น้ําประปา ทําให การติดตง้ั ทอ นา้ํ ยาปรบั อากาศ สะดวก ประหยดั และยดื หยนุ กวาการเดนิ ทอ น้าํ ยาในระบบเดิม ทําใหร ะบบน้ี สามารถตดิ ตั้ง FCU หลายชุด กับ CDU เพียงตัวเดยี วได ภาพแสดงการเดนิ ทอนํ้ายาระหวาง FCU และ CDU ภาพแสดงอปุ กรณท อ แบงจายนาํ้ ยา (REFRIGERANT PIPING) 4-66

ตอนที่ 3 บทที่ 4 ระบบปรับอากาศ คมู ือผูร ับผิดชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ภาพแสดงการเดนิ ทอนํ้ายาระหวา ง CONVENTIONAL SPLIT TYPE และ VRF SYSTEM ผูใชงานสามารถเลือกใชอุปกรณ FCU หรือ INDOOR UNITS หลายชนิด ไดตามความเหมาะสม เชน แบบฝงฝาเพดาน (CEILING MOUNTED CASSETTE), แบบซอนในฝาเพดาน (CEILING MOUNTED DUCT TYPE และ CEILING MOUNTED BUILT-IN TYPE), แบบแขวนใตฝา (CEILING SUSPENDED TYPE), แบบติดผนัง (WALL MOUNTED TYPE), แบบต้ังพื้นภายนอก (FLOOR STAND TYPE), แบบต้ังพื้นชนิดซอน (CONCEALED FLOOR STAND TYPE) เพ่ือใหเกิด ความ หลากหลายในการใชง าน การควบคุมของระบบ VRF จะใช WIRING SYSTEM ลกั ษณะจะเปนสายสญั ญาณทต่ี อ กันในรูปแบบ อนุกรมจากเครื่อง FCU เขาหากันแลว ตอเขา เคร่อื ง CDU การตออุปกรณค วบคมุ สามารถตอ กับ CDU เพียงจดุ เดยี วจะสามารถควบคุมการทํางานของระบบท้ังหมดได (รายละเอียดเกย่ี วกับระบบควบคมุ การ ทํางาน มีขอปลีกยอย อกี มาก สามารถ ศึกษาไดจ ากเอกสารของผูผลติ แตละราย) ระบบควบคมุ การทาํ งาน และแจงความผิดพลาดในการทาํ งานของเครอ่ื งตั้งแตการตรวจสอบความผดิ พลาดในการตอ เช่ือมสาย เคเบิลความผิดพลาดในการเดนิ ทอน้ํายาปรบั อากาศ และในบางผลิตภณั ฑส ามารถเชอ่ื มตอ ระบบควบคมุ นี้ เขา กบั ระบบบรหิ ารอาคาร (BMS) สวนกลางไดดว ย 4-67

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คูมือผรู ับผิดชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ภาพแสดงระบบ WIRING ของการควบคุมระหวาง FCU และ CDU การแกปญหาเร่ืองระบบน้าํ มนั หลอล่นื ระบบ VRF มีการพฒั นาและแกไ ขปญหาเร่ืองระบบนํา้ มันหลอลื่น ในคอมเพรสเซอร ทําใหสามารถวางทอ นํา้ ยาทําความเยน็ ไดไ กลกวา การวางทอน้าํ ยาในระบบเดิมมาก ดัง ในภาพเปน ตวั อยางของผลิตภัณฑห นง่ึ ซ่ึงระยะหางของระหวา ง CDU (OUTDOOR UNIT) กับ FCU (INDOOR UNIT) ในระบบแบบน้ี มรี ะยะทางสงู สุดเทา กบั 100 เมตร ระดบั แตกตางระหวาง OUTDOOR UNIT กบั INDOOR UNIT เทา กับ 50 เมตร ระดับแตกตางของ INDOOR UNIT แตละชดุ ในระบบ เดยี วกันเทา กบั 15 เมตร (ทัง้ นใี้ นแตล ะผลติ ภัณฑอาจมีขอจํากัดในสวนนแ้ี ตกตา งกัน ซง่ึ ผอู อกแบบและ ผูใชจ ะตอ งศกึ ษาขอมูลจากผผู ลิตแตล ะราย) ภาพแสดงตัวอยา ง ระยะหางระหวา ง CDU และ FCU 4-68

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คมู ือผรู บั ผิดชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ขอเปรยี บเทียบระบบปรับอากาศ ลกั ษณะการเปรียบเทยี บ ระบบ SPLIT TYPE ระบบ WATER ระบบ VRF อปุ กรณและการใชพ นื้ ที่ แบบ CONSTANT COOLED CHILLER VARIABLE REFRIGERANT SYSTEM REFRIGERANT FLOW SYSTEM FLOW SYSTEM ตอ งมพี น้ื ทวี่ าง FCU ตอ งมพี น้ื ทีว่ าง FCU ตอ งมพี ้นื ท่ีวาง FCU โดยสามารถกระจายไป โดยสามารถกระจาย โดยสามารถกระจาย เปนจุดยอ ย หรืออาจตอ ไปเปนจดุ ยอย หรือ ไปเปนจดุ ยอ ย หรอื เปนทอ ลมจากเครอ่ื ง อาจตอ เปนทอลมจาก อาจตอเปน ทอ ลมจาก FCU ก็ได เครอ่ื ง FCU กไ็ ด เครื่อง FCU กไ็ ด ตองมีพน้ื ทวี่ าง CDU ตองมีพน้ื ทว่ี าง พืน้ ที่วาง CDU รวม ตาํ แหนง จะตองอยูใกล CHILLER COOLING เปน จดุ ใหญจดุ เดยี ว FCU TOWER และปม น้ํา หรอื แบง เปน โซน สวนกลาง การวางอปุ กรณแตล ะ ระยะหา งของ FCU กับ ระยะหางระหวา ง ระยะหางระหวาง สว น CDU ไดประมาณ 15 FCU, CHILLER, FCU, CDU อยหู างกนั เมตร COOLING TOWER ไดม าก เนื่องจากใช การถายเทความรอ น อยหู างกนั ไดมาก ระบบ VARIABLE การถา ยเทความรอ น เน่ืองจากใชร ะบบปม SPEED เกิดข้นึ ในขัน้ ตอนเดยี ว น้ําและตอ งใชร ะบบ COMPRESSOR ทอ น้าํ เย็นในการ ไมตอ งใชร ะบบทอนา้ํ ทํางาน ซึง่ ระบบทอ นาํ้ เยน็ ในการทํางาน สวน เยน็ มกั มขี นาดใหญ ระบบทอน้ํายาทตี่ อง และตองการพน้ื ท่ี เดนิ ในอาคารมขี นาด ตดิ ตงั้ มากในอาคาร เลก็ และตองการพ้ืนที่ ตดิ ต้งั นอ ยกวา ระบบ ทอ น้าํ การถา ยเทความรอ น การถายเทความรอ น เกิดขน้ึ สองข้ันตอน เกดิ ขนึ้ ในข้นั ตอนเดียว 4-69

ตอนท่ี 3 บทที่ 4 ระบบปรับอากาศ คมู ือผูรับผดิ ชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ระหวา งน้าํ ยาทําความ ประกอบไปดว ย 1) ระหวา งนํ้ายาทาํ ความ เยน็ และอากาศ ขัน้ ตอนระหวา งนํ้ายา เยน็ และอากาศ ทําความเยน็ และน้ําเยน็ 2)ะขั้นตอนระหวางน้ํา เยน็ และอากาศ สงผล ตอความสูญเสียของ พลังงาน ผลกระทบตอรูปแบบ ตองมีสถานท่ีเปดโลง ไมจําเปนตอ งมสี ถานที่ ตองมีสถานท่ีเปด โลง สถาปตยกรรมภายนอก หรือมีเกล็ดระบาย เปดโลง หรอื มเี กล็ด หรอื มเี กล็ดระบาย อากาศ ทกุ ตาํ แหนง ของ ระบายอากาศ ทกุ อากาศ ทุกตําแหนง การติดตัง้ CDU ซง่ึ ตําแหนงของการตดิ ตั้ง ของการตดิ ตั้ง CDU กระจายไปทวั่ อาคาร CDU ซง่ึ กระจายไปทวั่ ซงึ่ กระจายไปทัว่ อาคาร อาคารแตจ ํานวนของ แตจ าํ เปน ตองมีหอ ง CDU จะนอ ยกวาใน เครื่องสําหรบั กรณีของ ระบบ SPLIT CHILLER, ระบบปม TYPE น้าํ , ทีต่ ัง้ ของ แบบ CONSTANT COOLING TOWER REFRIGERANT FLOW SYSTEM อยู มาก การทํางาน PART LOAD การทํางานของ CDU CHILLER ในระบบ การทํางานของ CDU ของอุปกรณทาํ ความเยน็ เปนแบบ ON/OFF CONSTANT WATER เปน แบบ VARIABLE CONTROL ไมส ามารถ FLOW ทาํ งาน PART SPEED CONTROL ทํางานแบบขนั้ ได LOAD ไมไ ด ตอ งเปด สามารถทาํ งานแบบขนั้ หรอื ปดอยา งเดยี ว ได ในขณะท่ี CHILLER ในระบบ VARIBLE WATER FLOW ทํางาน PART LOAD ได แตไ ดน อย แบงสว นการทาํ งานโดย ขัน้ แบงสวนการทํางาน กระจาย FCU ไปใน โดยกระจาย FCU ไป 4-70

ตอนที่ 3 บทท่ี 4 ระบบปรบั อากาศ คูมือผูรบั ผิดชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 พืน้ ทท่ี ต่ี อ งการ แบงสว นการทํางาน ในพื้นทที่ ตี่ องการ โดยกระจาย FCU หรอื AHU ไปในพน้ื ทที่ ่ี เหมาะสาํ หรับการใชงาน ตอ งการ เหมาะสาํ หรับการใช ท่ีมกี ารเปดปด ระบบ งานท่ีมกี ารเปด ปด ปรับอากาศไมพ รอ มกัน เหมาะสําหรบั การใช ระบบปรบั อากาศไม และการควบคมุ อุณหภูมิ งานท่มี ีการเปด ปด พรอ มกันและการ ไมเ ทากันในแตล ะสวน ระบบปรบั อากาศ ควบคมุ อุณหภมู ไิ ม พรอ มกัน เทากันในแตละสวน การแบงชวงการตดิ ต้ัง สามารถแบง การติดตง้ั ตอ งติดต้ังระบบ สามารถแบง การติดตัง้ ระบบ การควบคมุ อณุ หภูมิใน ระบบเปนสวนๆ ไดต าม ทงั้ หมดในครง้ั เดียว ระบบเปน สว นๆ ได สว นพ้ืนท่ีปรบั อากาศ การเปดใชงานของ ตามการเปด ใชงานของ การใชงานและการ บํารงุ รักษา อาคาร อาคาร ตดั การทํางานของ CDU ตอ งใชร ะบบ VAV ทาํ งานรว มกนั ระหวาง ถาอณุ หภูมิถึงจดุ ท่ี (VARIABLE AIR FCU และ CDU ตองการและจะเรมิ่ VOLUME) เขา มาชว ย สามารถควบคมุ ทาํ งานอกี คร้ังเมือ่ เวลา ในการควบคุมปริมาณ อุณหภมู ิในแตล ะพืน้ ท่ี ผา นไปไมนอ ยกวา 3 อากาศทไี่ หลเขาพ้นื ที่ ไดแตกตา งกนั นาที ใชงาน การทาํ งานของ CDU การทํางานของ CDU เปนแบบ VARIABLE เปน แบบรอบการหมุน SPEED คงท่ี COMPRESSOR มีจํานวนอุปกรณทตี่ อง มีจํานวนอุปกรณท่ีตอง มีจํานวนอุปกรณทต่ี อง ดแู ลรกั ษานอ ย ดแู ลรักษามาก ดูแลรกั ษานอย สามารถใชชา ง และตองใชช าง แตย งั คงตอ งใชช า ง เครอื่ งปรับอากาศท่ัวไป เคร่ืองปรับอากาศที่มี เครอื่ งปรบั อากาศท่มี ี ในการซอมบํารุง ความรเู ฉพาะในการ ความรูเฉพาะในการ ซอ มบํารุง ซอมบํารุง 4-71

ตอนที่ 3 บทที่ 4 ระบบปรับอากาศ คมู อื ผูรับผิดชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ประโยชนข องระบบ VRF การติดตัง้ : ระบบผลิตนา้ํ เยน็ แบบรวมศนู ย หรอื CENTRAL WATER CHILLER มกี ารใช WATER CHILLER ซ่ึงเปนอุปกรณห นกั และตอ งการการยกดว ยปนจัน่ สว นระบบ VRF เปนอุปกรณท ี่มนี ้าํ หนกั เบามากกวา ไมวาจะเปน CONDENSING UNIT หรือ EVAPORATOR การขนยา ยแตละ UNIT ทาํ ไดง าย กวา ในกรณที ่ตี องระบบท่ีมี CAPACITY มาก เชน หลายรอ ยตันความเยน็ กส็ ามารถทาํ ไดโ ดยการใช UNIT ยอ ยมาทํางานตอเน่ืองกัน แตล ะระบบเปน ระบบน้าํ ยาท่ีสามารถควบคมุ ไดโดยอิสระ แตใ ชร ะบบ ควบคมุ รวมกนั ซึ่งมีประโยชนใ นกรณที ี่อาคารมีภาระความรอนไมเตม็ พกิ ดั (PART LOAD) หรือมกี าร ใชอาคารในบางพนื้ ทไี่ มท ้งั หมด การปรับนา้ํ ยาสามารถทําใหระบบมคี วามเหมาะสมกบั แตละพ้ืนทไ่ี ด ซึง่ มคี วามคลา ยคลึงกับระบบ VAV (VARIABLE AIR VOLUME SYSTEM) ท่ที ํางานรวมกบั ระบบผลิตนาํ้ เยน็ แบบรวมศนู ย และยงั คงใชแนวคดิ ในการถายเทความรอนโดยผานระบบทอนาํ้ และระบบทอ ลม การที่ ระบบ VRF มนี า้ํ หนกั เบา ทาํ ใหโ ครงสรางทต่ี องรองรบั มขี นาดเลก็ ลง ไมต อ งมีการใชทอ ลมสําหรบั การ จายลมเยน็ แตย ังคงมกี ารใชท อ ลมสําหรับการระบายอากาศระบบ VRF มคี วามเหมาะสมสาํ หรบั การ ปรับปรงุ หรอื ตดิ ตง้ั เครอื่ งปรับอากาศสําหรับอาคารเกาหรืออาคารทตี่ องมกี ารอนรุ ักษเ พราะทาํ ใหเกดิ ผล กระทบตอโครงสรางเดมิ นอยกวา ระบบผลิตนํ้าเย็นแบบรวมศนู ย ซง่ึ ตองมพี นื้ ทใ่ี นการวาง WATER CHILLER, พืน้ ทีใ่ นการวาง AHU, และการเดนิ ทอ ลม อยา งไรก็ตามเน่ืองจากการที่ตองใชก ารเดนิ ทอ นํา้ ยาจํานวนมากในอาคาร การเดินทอดงั กลาวตอ งการชา งติดต้งั ทมี่ ที ักษะการทํางานทส่ี ูง เพือ่ ใหไ ดง าน ติดตัง้ ทีม่ คี ุณภาพและไมม ีปญ หาในการทํางานตางๆ เชน การรว่ั เกดิ ข้นึ 4-72

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรบั อากาศ คมู ือผูรับผิดชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ภาพแสดงตัวอยางการติดตงั้ ระบบ VRF ความยืดหยนุ ในการออกแบบ : CONDENSING UNIT 1 ตัวสามารถทํางานไดก บั EVAPORATOR ได หลายตวั (ขอ มูลเรื่องจํานวน สอบถามไดจ ากบริษทั ผผู ลติ ) โดยที่ EVAPORATOR หรอื FAN COIL 4-73

ตอนท่ี 3 บทที่ 4 ระบบปรบั อากาศ คมู อื ผรู บั ผิดชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 UNIT อาจมไี ดหลายรปู แบบเชน แบบตดิ ผนัง แบบแขวนใตฝา แบบตงั้ พน้ื การเพิม่ เติมระบบสามารถทํา ไดงา ยกวาระบบผลติ นํ้าเยน็ แบบรวมศนู ย ภาพแสดงการทํางานรว มกันระหวาง CDU 1 UNIT กบั FCU หลาย UNIT ท่ีมคี วามหลากหลาย การดแู ลรกั ษาและซอ มบํารุง ถึงแมว าระบบจะมคี วามซับซอนเร่อื งการควบคุมนาํ้ ยาแตเ ปนความซบั ซอ นภายในวงจรควบคมุ อีเลคโทร นคิ เทา นนั้ ในแงผใู ช ผตู ดิ ตง้ั ผูด ูแลรักษา ระบบ VRF จะมลี กั ษณะทค่ี ลายกับ ระบบ SPLIT TYPE มาก ซึ่งมีความซับซอน อปุ กรณท น่ี อยกวา และการดแู ลรักษาที่ประหยดั กวา ระบบผลิตนา้ํ เยน็ แบบรวมศนู ย การดแู ลรักษาพืน้ ฐานก็จะเหมือนกบั เคร่ืองปรับอากาศแบบแยกสว นทว่ั ไป เชนการเปลี่ยนแผนกรอง การ ทําความสะอาด COIL ความแตกตา งทีช่ ัดเจนคอื ไมม รี ะบบทอ นา้ํ เย็น ไมต อ งมกี ารทํา WATER TREATMENT อยางไรกต็ ามการดแู ลรกั ษาสําหรบั ระบบควบคมุ และอีเลค็ โทรนิคอาจจะตอ งพง่ึ พา บริษทั ผผู ลติ ท้ังในแง SERVICE และ SPARE PART การควบคุมอณุ หภมู แิ ละความชืน้ : ระบบ VRF สามารถควบคมุ โซนหลายๆ โซนทต่ี องการความ แตกตา งของอณุ หภูมิและความช้นื ได เน่ืองจากระบบใช VARIABLE SPEED COMPRESSOR ทาํ ให สามารถควบคมุ ปรมิ าณการไหลของนํา้ ยา ความแมนยาํ ในการควบคมุ อณุ หภมู ิอยใู นชว ง +/- 1 DEG F (+/- 0.6 DEG C) 4-74

ตอนที่ 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คูมือผรู บั ผดิ ชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ขอเปรยี บเทียบการควบคุมอุณหภูมริ ะหวาง VRF และ ระบบ AHU ทว่ั ไป การประหยดั พลังงาน : ดว ยพื้นทแี่ ละสภาพการณท เ่ี หมาะสม ระบบ VRF อาจมีประสทิ ธภิ าพทด่ี กี วา ระบบผลติ นํา้ เย็นแบบรวม ศนู ย ที่ทํางานรว มกับระบบทอ ลม เน่ืองจากการท่ีมที อ ลม โดยทว่ั ไปจะมกี ารรัว่ ของอากาศหมนุ เวยี น ประมาณ 10-20 % ของระบบลมหมนุ เวยี นทง้ั หมด ระบบ VRF มักจะประกอบไปดว ย 2-3 COMPRESSOR ตอ 1 CONDENSING UNIT ทําใหเกดิ ผลดีเมอ่ื ระบบตอ งการการทํางานแบบ PART LOAD ซึ่งโดยทัว่ ไประบบปรับอากาศจะทํางานอยูที่ 40-80 % ของ FULL LOAD กรณีอาคารทต่ี องการ ท้ังความรอ นและความเย็นในเวลาเดยี วกัน ระบบสามารถถายโอนพลงั งานระหวา งโซนได โดยการใช ระบบ HEAT RECOVERY 4-75

ตอนที่ 3 บทที่ 4 ระบบปรับอากาศ คูมอื ผรู บั ผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ภาพแสดง TWIN DC COMPRESSOR สาํ หรับผผู ลติ VRF แตล ะราย จะมแี นวทางการออกแบบเปน ของตนเอง หลายรายมกี ารใชระบบทอ แบบ สามทาง (LIQUID, SUCTION และ DISCHARGE) ประกอบกบั วาลวและอปุ กรณแ ลกเปลีย่ นความรอ น ทีใ่ ชในถา ยเทความรอนจากน้าํ ยาสภาวะ SUPERHEAT ไปสอู ปุ กรณอ นื่ ทต่ี อ งการความรอน ประสทิ ธภิ าพของระบบ VRF ขึ้นกบั พน้ื ที่และสภาพการณท เี่ หมาะสม ตัวอยางเชนอาคารหนว ยงานรัฐ หลังหน่งึ ในประเทศสหรฐั อเมริกา แบงพนื้ ที่เปน 2 โซน มีพื้นทใี่ กลเ คียงกัน โดยโซน 1 มีการติดตั้ง ระบบ ROOFTOP VAV และโซน 2 มีการตดิ ต้งั ระบบ VRF จากการทดสอบเปรียบเทียบพบวา การใช พลงั งานของ VRF ตํา่ กวา ระบบ VAV ประมาณ 38% การทดสอบเปรยี บเทียบระหวา งผูผลติ VRF ขนาด 200 TR ระหวา ง VRF แบบระบายความรอนดว ย อากาศและระบบผลติ นํ้าเยน็ แบบรวมศนู ยร ะบายความรอ นดวยนํ้า ในประเทศสหรฐั อเมริกา แสดงให เหน็ คา ตดิ ตงั้ ของระบบ VRF ท่ีถูกกวาระบบผลติ นาํ้ เยน็ แบบรวมศูนยร ะบายความรอ นดวยน้าํ ประมาณ 5-20% สําหรบั การทํางานในชว งปกตสิ าํ หรับ VRF ท่ีใชน ้ํายา R410A พบวา คาการประหยดั พลงั งานของ ระบบ VRF ดกี วาระบบผลติ นํ้าเย็นแบบรวมศนู ยร ะบายความรอนดว ยนา้ํ ประมาณ 30-40% โดยเฉลยี่ ขอ นา สังเกตอันหนงึ่ จากการทดสอบพบวา ระบบผลิตน้าํ เยน็ แบบรวมศนู ยร ะบายความรอ นดว ยนาํ้ มี ประสทิ ธิภาพทดี่ ีกวาระบบ VRF ณ ที่สภาวะมากกวา 90% ของ FULL LOAD แตใ นชวงเวลาทํางานจริง 4-76

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คมู ือผูรบั ผดิ ชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 มากกวา 80% ของระบบทําปรบั อากาศทํางานอยทู ่ีสภาวะ 45-80% ของ FULL LOAD ซึ่งระบบ VRF มี ประสทิ ธิภาพท่ีดีกวา ระบบผลิตนา้ํ เยน็ แบบรวมศนู ยร ะบายความรอ นดวยนาํ้ จากการเปรียบเทยี บน้แี สดง ใหเ หน็ ถงึ ประสทิ ธิภาพท่ดี กี วา ในชว ง PART LOAD ของระบบ VRF การตรวจสอบการใชพลังงานของระบบ VRF โดยการตดิ ตั้งมเิ ตอรว ัดยอ ยสําหรบั แตละชุด CONDENSING UNIT สามารถทําไดโ ดยงาย ทาํ ใหสามารถตรวจสอบการใชพ ลงั งานของแตล ะโซน แต ละพนื้ ทไี่ ดอ ยา งชดั เจน มากกวาระบบระบบผลิตนาํ้ เย็นแบบรวมศนู ยซ ง่ึ จาํ เปน ตองทําการตรวจสอบการ ใชพ ลังงานในภาพรวมเทานน้ั ในบางลักษณะงานเชนเปน ในอาคารทม่ี พี น้ื ทใี่ ชงานรว มกันหลาย หนว ยงาน กส็ ามารถทาํ การตรวจสอบการใชพลังงานของแตละโซน แตละพน้ื ท่ีไดอยางชดั เจน ความสามารถในการควบคุมสภาวะอากาศท่ีหลากหลาย ระบบ VRF สามารถควบคุมโซนหลายๆ โซนท่ตี องการความแตกตางของอุณหภมู แิ ละความชืน้ ได เนอ่ื งจากระบบใช VARIABLE SPEED COMPRESSOR ทาํ ใหสามารถควบคมุ ปรมิ าณการไหลของ นา้ํ ยาไดอ ยา งแมนยํา จึงมคี วามเหมาะสมในการใชงานสาํ หรบั อาคารท่มี หี ลายลกั ษณะพื้นทใ่ี ชงานและ ตอ งการการควบคุมทแ่ี ตกตา งกัน เชน อาคารสํานกั งาน โรงพยาบาล โรงแรม เปนตน 4-77

ตอนท่ี 3 บทที่ 4 ระบบปรับอากาศ คูม อื ผรู ับผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ภาพแสดงระบบ VRF ทสี่ ามารถควบคุมโซนหลายๆ โซนทต่ี องการความแตกตา งของอุณหภูมิและ ความชื้นได ความตา นทานตอ กระแสลมในอาคารสูง โดยทั่วไปความเร็วในการ DISCHARGE อากาศออกจาก CONDENSING UNIT อยูท่ีความเร็ว 3-4 M/S เมื่อติดตัง้ CONDENSING UNIT ในอาคารสูงซึง่ มกี ระแสลมท่แี รงทําใหก ารระบายความรอนไมสามารถ ทําไดอยางท่ีควรจะเปนจากในภาพจะเปนผลการ SIMULATION ของอากาศท่ีเกิดการ RECIRCULATION เนื่องจากลมแรงในอาคารสูง สงผลใหการระบายความรอนของ CONDENSING UNIT เกิดปญ หา 4-78

ตอนที่ 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คูมอื ผรู ับผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 3-4 m/s 10 m/s ภาพแสดงผลการ SIMULATION ของอากาศทเ่ี กิดการ RECIRCULATION เนื่องจากลมแรงในอาคารสงู จากกราฟในภาพแสดงใหเ หน็ ถึงการเปลีย่ นแปลงความสามารถในการทํางานของเครื่องปรบั อากาศแบบ CONVENTIONAL SPLIT TYPE ซง่ึ CONDENSING TEMPERATURE สง ผลตอ COOLING CAPACITY ถาอณุ หภมู ขิ องอากาศภายนอกเทากบั 35 องศาเซลเซยี ส อุณหภมู ิในการควบแนน ของ CDU จะอยูท ี่ 55 องศาเซลเซยี ส แตถา อุณหภมู ขิ องอากาศภายนอกเทากับ 31 องศาเซลเซยี ส อณุ หภูมใิ นการ ควบแนน ของ CDU จะอยทู ี่ 50 องศาเซลเซยี ส ซ่ึงถาอณุ หภูมใิ นการควบแนน เพมิ่ ขน้ึ จาก 50 องศา เซลเซียส มาเปน 55 องศาเซลเซยี ส ความสามารถในการทําความเย็น หรอื COOLING CAPACITY ก็จะ ลดลงประมาณ 10 % สงผลตอการใชพลงั งานเพิ่มขน้ึ 4-79

ตอนที่ 3 บทที่ 4 ระบบปรบั อากาศ คูมือผูรับผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ภาพแสดงการเปล่ียนแปลงของ COOLING CAPACITY เนื่องจากการเปล่ยี นแปลงของ CONDENSING TEMPERATURE เมอื่ นาํ มาเปรียบเทยี บระหวา งระบบ CONVENTIONAL SPLIT TYPE และระบบ VRF ไมว าจะเปน สภาวะมีลมแรงไหลขน้ึ บน หรอื ลมแรงไหลลงลาง ระบบ VRF ทํางานไดอ ยางถูกตอ ง โดยไมม ี ผลกระทบจากลมแรงของอาคารสงู ภาพแสดงผลการเปรยี บเทียบความตา นทานตอแรงลม ระหวา งระบบ CONVENTIONAL SPLIT TYPE และระบบ VRF 4-80

ตอนที่ 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คูม ือผูรบั ผดิ ชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ตัวอยา งอาคารท่ีใชร ะบบปรบั อากาศ VRF อาคาร A.C.E. DAIKIN COMPLEX ชนิดของอาคาร: สาํ นกั งาน, โชวรมู , หองสมั มนาและฝก อบรม โรงงานผลติ สนิ คา ไฮเทค, สวนบริการ ซอมบาํ รงุ , โกดงั เก็บสนิ คา แบบ อตั โนมตั ิ ทตี่ งั้ : ANG MO KIO INDUSTRIAL PARK ตําแหนงทต่ี ัง้ ของ CDU บริเวณดาดฟาชน้ั 2 ของอาคารไดมกี ารแบงกลมุ ของ CDU เปน กลมุ แตละกลุม จะจา ยน้ํายาปรบั อากาศใหแ ก FCU ของอาคารแตละชัน้ 4-81

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คมู อื ผรู ับผิดชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 อาคาร GOLDBELL TOWER ชนิดของอาคาร: อาคารสาํ นกั งาน สูง: 25 ช้ัน กอ สรา งเสรจ็ : 2541 จาํ นวน เคร่อื งปรับอากาศภายนอก: 160 หนว ย จาํ นวนเครอ่ื งปรบั อากาศภายใน: 505 หนว ย ชนิดของเครอ่ื งปรบั อากาศภายใน: ติดผนัง และแบบฝงฝา เพดาน ผนงั ดานขา งของอาคารสว นหนงึ่ เปน เกลด็ อลูมเิ นยี มระบายอากาศ เปนบรเิ วณทใี่ ชต ั้งเครอื่ ง CDU โดย กระจาย อยใู น ทกุ ชน้ั ของอาคาร 4-82

ตอนที่ 3 บทที่ 4 ระบบปรบั อากาศ คมู อื ผรู บั ผิดชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 หอ งควบคุมงานระบบของอาคาร ดานซา ยมอื จะเห็น แผงวงจร ควบคมุ ที่ตอ จาก ระบบ ปรับอากาศ ของ อาคาร แตละชนั้ มารวมกนั ทหี่ อ งนี้ และ ระบบน้ี จะเช่ือม เขา เครอ่ื งคอมพิวเตอรก ลาง เพือ่ ความสะดวก ในการควบคมุ ระบบ ทงั้ หมด จากจุดเดยี ว อาคาร ITE HQ ชนดิ ของอาคาร: อาคารดา นการศกึ ษาดา นเทคนคิ ระดับ ปวส. ปวช. ท่ีตง้ั : ฝง ตะวนั ออกของเกาะสิงคโปร ปท ก่ี อ สรางเสร็จ: พ.ศ.2538 จํานวน เครือ่ งปรับอากาศภายนอก: 84 หนว ย จาํ นวนเครอื่ งปรับอากาศภายใน: 354 หนว ย ชนดิ ของเครอื่ งปรับอากาศภายใน: แบบซอ นในฝา เพดาน ตดิ ผนงั และแบบฝง ฝาเพดาน 4-83

ตอนที่ 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คูมือผรู บั ผิดชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 ลักษณะ การวาง FCU แบบ CEILING MOUNTED CASSETTE TYPE ในหอ งเรยี น ซ่ึงเปน วธิ ที ่เี ปน ท่ี นิยมในประเทศสิงคโปร มากกวา การเดนิ ทอลม เน่อื งจากคา แรงในการตดิ ตงั้ ทอ ลมมีราคาสูง ประกอบ กับอุปกรณแ บบ CEILING MOUNTED CASSETTE TYPE มรี าคาไมแพง ตาํ แหนง CDU ของอาคารแหงน้ตี ัง้ อยบู นดาดฟาชั้นสองของอาคาร 4-84

ตอนที่ 3 บทท่ี 4 ระบบปรบั อากาศ คูมือผรู ับผดิ ชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 โรงแรม OXFORD ทต่ี ัง้ : ใจกลางเมอื งสงิ คโปร ชนดิ ของอาคาร: โรงแรมระดับ 3 ดาว จาํ นวนชัน้ ของอาคาร: 11 ชนั้ จาํ นวนหอ งพกั : 135 หอง จาํ นวน เคร่อื งปรับอากาศภายนอก: 20 หนว ย จํานวนเครอื่ งปรับอากาศภายใน: 190 หนว ย ชนิดของเครอื่ งปรบั อากาศภายใน: ติดผนงั และแบบฝง ฝา เพดาน ตาํ แหนง CDU. ของโรงแรม อยบู รเิ วณดาดฟาชนั้ ที่ 12 จะสงั เกตเุ ห็นวา สามารถวางเครือ่ ง อยใู กลก นั มาก เนอ่ื งจากเปนระบบลมรอนพดั ขน้ึ ดา นบน 4-85

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คมู อื ผรู บั ผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 JOHN HANCOCK TOWER ท่ตี ั้ง: ยานธุรกจิ ใจกลางเมืองสิงคโปร จาํ นวนชน้ั ของอาคาร: 25 ชน้ั ปทกี่ อสรา งแลว เสรจ็ : 2535 จาํ นวน เคร่อื งปรบั อากาศภายนอก: 152 หนวย จํานวนเครื่องปรบั อากาศภายใน: 348 หนว ย ชนดิ ของเครอื่ งปรบั อากาศภายใน: แบบฝง ฝาเพดาน ดา นขา งของอาคาร ทมี่ ีการออกแบบผนงั บางสว นเปนผนงั เกลด็ อลมู ิเนยี มระบายอากาศ ใชเ ปนทตี่ ั้ง CDU สําหรบั ระบบปรบั อากาศในแตละช้ัน 4-86

ตอนที่ 3 บทท่ี 4 ระบบปรับอากาศ คูม อื ผรู บั ผดิ ชอบดา นพลงั งาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 CDU บางเครื่องตงั้ อยบู ริเวณที่จอดรถยนต ทีต่ ัง้ ของเคร่อื ง CDU บรเิ วณมมุ อาคาร อุปกรณ วางอยบู นพ้ืนตระแกรงเหล็ก 4-87

ตอนท่ี 3 บทท่ี 4 ระบบปรบั อากาศ คูม อื ผูรบั ผิดชอบดา นพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553 เอกสารอางอิง [1] กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพ ลงั งาน, (2547), ตําราฝกอบรมหลกั สูตรผูรบั ผิดชอบดา นพลงั งาน (ผชพ.) สามญั [2] กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพ ลังงาน, (2551), คูมืประกอบการฝก อบรมหลักสตู ร “พัฒนา บุคลากรภาคปฏบิ ัติดานเทคโนโลยีการอนรุ กั ษพลงั งานในระบบปรับอากาศ [3] วัชระ มั่งวิทิตกุล (2544), กระบวนการและเทคนิคการลดคาใชจายพลังงาน สําหรับอาคารและโรงงาน อุตสาหกรรม, ศูนยอ นรุ ักษพลังงานแหงประเทศไทย, กรุงเทพฯ. [4] Chirarattananon, S. (2005), Building for Energy Efficiency, Asian Institute of Technology and Energy Policy and Planning Office, Bangkok, Thailand. [5] Kreider, J. F., Curtiss, P. S., and Rabl, A. (2002), Heating and Cooling of Buildings: Design for Efficiency, Second Edition, McGraw-Hill, Inc., USA. [6] Sonntag, R. E., Borgnakke, C., and Van Wylen, G. J. (2003), Fundamentals of Thermodynamics, Sixth Edition, John Wiley & Sons, New York, USA. [7] Stoecker, W. F. and Jones, J. W. (1982), Refrigeration and Air Conditioning, Second Edition, McGraw- Hill, Inc., Singapore. [8] Vangtook, P. and Chirarattananon, S. (2007), “Application of Radiant Cooling as a Passive Cooling Option in Hot Humid Climate”, Building and Environment, Vol. 42, No. 2, pp. 543-556. [9] http://cipco.apogee.net/ces/library/cws.asp (พฤศจกิ ายน 2551). [10]http://www.co2sensor.co.kr/new/eng/images/product4_01.gif (พฤศจิกายน 2551). [11]http://www.corgi-direct.com/shopassets/ui/products/normal/4b4879ab350x350.jpg (พฤศจิกายน 2551). [12]http://www1.eere.energy.gov/femp/new_technology/techdemo_comp1.html (พฤศจกิ ายน 2551). 4-88


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook