Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก

Published by tsompane, 2017-05-13 00:21:26

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก

Search

Read the Text Version

1จุดประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า และ คาอธิบายรายวชิ าชื่อรายวิชา โปรแกรมกราฟิก รหสั วิชา 2204-2105หลกั สตู ร ระดบั ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ(ปวช.) พทุ ธศกั ราช พทุ ธศกั ราช 2556 ประเภทวิชา พาณิชยกรรม สาขาวิชา คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจจานวน 2 หนว่ ยกิต จานวน 4 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ จานวนรวม 72 ชวั่ โมงจุดประสงค์รายวชิ า1. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั หลกั การของภาพกราฟิก2. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั ประเภทและคณุ ลกั ษณะของแฟ้มภาพกราฟิก3. มีทกั ษะการใช้โปรแกรมกราฟิก4. สร้างและตกแตง่ ภาพกราฟิก5. จดั การแฟ้มภาพกราฟิก6. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีดีในการใช้คอมพวิ เตอร์มาตรฐานรายวิชา1. แสดงความรู้เก่ียวกบั หลกั การพืน้ ฐานคอมพิเตอร์กราฟิก2. ออกแบบภาพกราฟิกตามหลกั องค์ประกอบศลิ ป์3. สร้างภาพกราฟิกและจดั การแฟ้มภาพด้วยโปรแกรมกราฟิกคาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาและปฏิบตั เิ กี่ยวกบั ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกบั ภาพกราฟิก หลกั การของภาพกราฟิกแบบ Vectorและ Bitmap ประเภทและคณุ ลกั ษณะของแฟม้ ภาพกราฟิก การสร้างและตกแตง่ ภาพกราฟิก การจดั การแฟ้มภาพกราฟิก ความแตกตา่ งของภาพกราฟิกแบบ 2 มติ ิ การใช้โปรแกรมสร้างภาพกราฟิ กแบบ Vector และBitmapงานพฒั นาหลกั สูตรการเรียนการสอน ฝ่ ายวชิ าการ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณุโลก

2 ตารางวเิ คราะห์หลักสูตร รหัสวิชา 2201-2404 รายวิชา การใช้โปรแกรมตารางงาน จานวน 2 หน่วยกติ จานวน 4 ช่วั โมง/สัปดาห์ ระดบั พฤตกิ รรมท่พี งึ ประสงค์หน่วย ช่ือหน่วยการจัดการเรียนรู้ พุทธิพสิ ัย ทกั ษะ จิต ท่ี ความ ู้ร/ความจา พสิ ัย พสิ ัย เวลา ความเ ้ขาใจ การนาไปใ ้ช (ช.ม.) ิวเคราะ ์ห ัสงเคราะ ์ห ประมาณ ่คา1 ความรู้เบอื ้ งต้นเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์กราฟิก / / / / /4 / /2 ความรู้เบอื ้ งต้นเกี่ยวกบั โปรแกรมสร้าง /// / 8ภาพกราฟิ ก / /8 /3 มมุ มองภาพและการตกแตง่ ภาพด้วยเลเยอร์ / / / / / / 84 การสร้างขอบเขตพืน้ ที่ (Selection) และการ / / / / / /8 / / 12จดั การไฟล์ / /8 /85 การสร้างตวั อกั ษรและข้อความ //// /6 การระบายสี และภาพกราฟิกสาหรับเวบ็ เพจ / / / / 87 การวาดภาพ //////8 การใช้โปรแกรมกราฟิกแบบเวคเตอร์ //////9 การสร้างข้อความ การปรับรูปทรงภาพ และ / / / /การใช้ พาเลตพาธฟิ นเดอะ รวม 72 ความสาคัญ 321456 - - -สัดส่วนคะแนน (ร้อยละ) 80 20 -

3 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 ช่ือวชิ า โปรแกรมกราฟิก สอนสัปดาห์ท่ี 1 ช่ือหน่วย ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์กราฟิก สอนครัง้ ท่ี 1ช่ือเร่ือง รู้จกั กบั Microsoft Excel จานวนช่ัวโมง 41. สาระสาคัญครูผ้สู อนแนะนาตนเอง แจ้งจดุ ประสงคร์ ายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า คาอธิบายรายวิชา เกณฑ์การวดั ผลประเมนิ ผล ข้อตกลงเบอื ้ งต้นในการเรียน2. สมรรถนะประจาหน่วยแสดงความรู้เก่ียวกบั หลกั การพืน้ ฐานอคอมพวิ เตอร์กราฟิ ก3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายคอมพวิ เตอร์กราฟิกได้ 2. อธิบายคณุ คา่ และความสาคญั ของงานกราฟิกได้ 3. อธิบายการนาภาพกราฟิกท่ีใช้กบั คอมพิวเตอร์ได้ 4. จาแนกความแตกตา่ งระหวา่ งไฟล์ภาพกราฟิกแบบ Raster และแบบ Vectorได้ 5. บอกหลกั การใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์ได้ 6. บอกอปุ กรณ์เสริมที่จาเป็นสามารถนามาใช้ในงานกราฟิกได้ 7. ประยกุ ตใ์ ช้คอมพวิ เตอร์กราฟิกกบั งานด้านตา่ งๆ ได้

44. สาระการเรียนรู้ในอดีตการสร้างภาพกราฟิกโดยการใช้ดนิ สอ ปากกา หมกึ สี เขียนบนสื่อ เชน่ ผนงั ถา้ ผืนผ้า ไม้ไผ่ หรือแผน่ กระดาษแตใ่ นปัจจบุ นั คอมพวิ เตอร์เข้ามามีบทบาทสาคญั ในการสร้างภาพกราฟิกมากทาให้ได้ภาพกราฟิกท่ีงดงามมีคณุ ภาพและทาได้งา่ ย โดยการใช้คอมพิวเตอร์ทางานด้านกราฟิกเป็นไปอยา่ งกว้างขวาง เชน่ การโฆษณาขายสนิ ค้าตา่ งๆ ส่ือสงิ่ ตพี มิ พ์ ภาพยนตร์ เกมส์ การออกแบบผลิตภณั ฑ์ การแสดงผลข้อมลู การแสดงภาพทางการแพทย์ โดยสามารถใช้ระบบคอมพวิ เตอร์สว่ นบคุ คลทวั่ ไปที่มีการเพ่ิมเตมิอปุ กรณ์บางประการ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการทางานในการประมวลผลภาพและการนาเข้าข้อมลู เพ่ือแสดงผลข้อมลู แบบกราฟิก1.1 ความหมายคอมพวิ เตอร์กราฟิ ก 1.1.1 กราฟิ ก (Graphic) มีผ้ใู ห้ความหมายคาวา่ “กราฟิก” ดงั นี ้ กราฟิก หมายถงึ ศลิ ปะแขนงหนงึ่ ซง่ึ ใช้ส่ือความหมายด้วยเส้น สญั ลกั ษณ์ รูปวาด ภาพถา่ ย กราฟ แผนภมู ิการ์ตนู ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมลู ได้ถกู ต้องตรงตามท่ีผ้สู ื่อสารต้องการ (ทิพาภรณ์ ประดู่, 2549: 3) กราฟิ ก หมายถึง วสั ดุลายเส้นไดแ้ ก่ วสั ดุที่เกิดจากการวาดภาพ และการเขียน โดยแบ่งเป็นลกั ษณะ 2 มิติซ่ึงไดแ้ ก่ การออกแบบจดั ภาพประกอบ การประดิษฐต์ วั อกั ษร การทางานพมิ พ์ เป็นตน้ (สานกั งานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ, 2536) กราฟิ ก หมายถึง การออกแบบที่เกี่ยวกบั การออกแบบเคร่ืองหมาย การออกแบบท่ีเกี่ยวกบั การพมิ พต์ า่ งๆ ท่ีใชใ้ นอุตสาหกรรม (อารี สุทธิพนั ธ์, 2521: 4) กราฟิ ก มาจากคาในภาษากรีกวา่ Graphiko หมายถึง การเขียนภาพดา้ นสี และลกั ษณะขาวดา เม่ือนามารวมกบั คาวา่ Graphein ที่แปลวา่ การเขียนตวั หนงั สือ และการส่ือความหมายโดยใชเ้ ส้น คาวา่ กราฟิ กจึงหมายถึง รูปแบบของงานที่มุง่ แสดงความจริงหรือความคิดผา่ นทางการวาดรูปและเขียนตวั อกั ษร (อศั วนิ ศิลปเมธากลุ , 2543: 16) สรุป กราฟิ ก หมายถึง การส่ือความหมายดว้ ยการใชศ้ ิลปะดว้ ยเส้น การเขียน สัญลกั ษณ์ภาพ เพ่อื ส่ือความหมายใหถ้ ูกตอ้ งตรงความตอ้ งการ 1.1.2 คอมพวิ เตอร์กราฟิ ก มีผ้ใู ห้ความหมายคาว่า “คอมพิวเตอร์กราฟิก” ดงั นี ้ คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การใช้คอมพวิ เตอร์สร้างภาพโดยการวาดภาพกราฟิกหรือนาภาพมาจากส่ืออื่นๆ เชน่ วีดทิ ศั น์ตา่ งๆ ภาพยนตร์ กล้องถ่ายรูปดจิ ิตอล การออกแบบเวบ็ ไซต์ เชื่อมโยงข้อมลู โดยภาพกราฟิกเหลา่ นีป้ ระกอบด้วย เส้น สี แสง และเงาตา่ งๆ สามารถตอบสนองกบั ผ้ใู ช้งาน คอมพวิ เตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้างภาพ การตกแตง่ แก้ไข หรือการจดั การเกี่ยวกบั รูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพวิ เตอร์ในการจดั การ เชน่ การตกแตง่ แก้ไขภาพคนแกใ่ ห้มีวยั ที่เดก็ ขนึ ้ การสร้างภาพตามจินตนาการ การสร้างภาพเหมือน การลอกลาย และการใช้ภาพกราฟิกในการนาเสนอข้อมลู ในด้านตา่ งๆ การออกแบบเวบ็ ไซต์ เพ่ือให้สามารถส่ือความหมายได้ตรงตามที่ผ้สู ่ือสารต้องการ และดงึ ดดู ให้นา่ สนใจยิ่งขนึ ้ ด้วยกราฟ แผนภมู ิ แผนภาพ (ทิพา

5ภรณ์ ประด,ู่ 2549: 3) คอมพวิ เตอร์กราฟิก หมายถึง คอมพวิ เตอร์เพื่อแสดงภาพ แผนภาพ การแบง่ สว่ น การแสดงความสมั พนั ธ์กราฟ โดยใสข่ ้อมลู เข้าไปเป็นตวั เลข เกิดเป็นภาพบนจอภาพ สามารถขยายภาพ หมนุ เอียง หรือการจดั ทากบั ภาพเหลา่ นนั้ อยา่ งไรก็ได้ เพื่อการสื่อความหมายได้ดียง่ิ ขนึ ้ ปัจจบุ นั มีการใช้ภาพกราฟิกประยกุ ตใ์ ช้ในงานทกุ ๆ ด้านไมว่ า่ด้านธุรกิจ โรงงานอตุ สาหกรรม งานศลิ ปะ การบนั เทิง งานโฆษณาสนิ ค้า การศกึ ษา การวจิ ยั การฝึกอบรม และงานทางการแพทย์จนเห็นได้ชดั เจนวา่ คอมพิวเตอร์กราฟิกนนั้ มีการให้ความสาคญั เน่ืองจากเป็นเคร่ืองมือท่ีสามารถชว่ ยออกแบบกราฟิกได้อย่างรวดเร็วไมจ่ าเป็นต้องอาศยั เครื่องมือจานวนมากอีกทงั้ ผ้อู อกแบบสามารถดผู ลงานการออกแบบกอ่ นได้ทนั ที การนากราฟิกเข้ามาใช้ส่ือสารสามารถสร้างความเข้าใจในงานธรุ กิจด้านตา่ งๆ ภายในองคก์ รให้เข้าใจได้งา่ ยถกู ต้อง และชดั เจนยงิ่ ขนึ ้ (ทกั ษิณา สวนานนท์, 2536: 90) สรุป คอมพวิ เตอร์กราฟิก หมายถงึ การสร้างภาพ การตกแตง่ แก้ไขภาพ โดยใช้คอมพวิ ตอร์ในการจดั การกบัภาพ เชน่ การตกแตง่ ภาพคนแก่ให้มีวยั สาวขนึ ้ หรือสร้างภาพตามจินตนาการตา่ งๆให้กบั ภาพ เพ่ือนาภาพประกอบการเสนอข้อมลู ตา่ งๆ เพื่อใช้ในการส่ือความหมายให้ชดั เจนตรงตามท่ีผ้สู ่ือสารต้องการ และน่าสนใจด้วยภาพกราฟิก 1.1.3 ประเภทของภาพกราฟิ ก คอื การจาแนกภาพกราฟิก เชน่ ภาพถา่ ย รูปวาด หรือภาพ ที่เกิดจากการสร้างจากโปรแกรมสาเร็จรูปตา่ งๆ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั นี ้ 1.1.3.1 ภาพกราฟิกประเภท 2 มิติ คือ ศลิ ปะแขนงหนงึ่ ซง่ึ ใช้ส่ือความหมายด้วยเส้น สามารถมองเห็นตามแนวแกน X (ความกว้าง) กบั แกน Y (ความยาว) ภาพที่พบเหน็ โดยทวั่ ไป เชน่ ภาพถ่ายตา่ งๆ รูปวาดสญั ลกั ษณ์ และภาพการ์ตนู ตา่ งๆ ในโทรทศั น์ เชน่ ชินจงั โดเรมอ่ น การ์ตนู จะเป็นภาพกราฟิกเคล่ือนไหว(Animation) โดยจะมีกระบวนการสร้างท่ีซบั ซ้อนกวา่ ภาพวาดปกติ 1.1.3.2 ภาพกราฟิกประเภท 3 มิติ คือ ภาพกราฟิกที่สร้างจากโปรแกรมสร้างภาพแบบ 3มติ ิ เชน่ 3D max Maya ทาให้ได้ภาพมีสีและแสงเงาเหมือนจริง สามารถมองเห็นตามแนวแกน X (ความกว้าง) กบัแกน Y(ความยาว) และมีแกน Z (ความหนาหรือความสงู ) ทาให้มองเหน็ เป็นรูปร่างที่ชดั เจนยง่ิ ขนึ ้ เหมาะกบั งานด้านสถาปัตย์ การออกแบบตา่ งๆ การผลิตรถยนต์ การสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตนู หรือโฆษณาสนิ ค้าตา่ งๆภาพยนตร์การ์ตนู เอนเิ มชน่ั แบบ 3 มติ ิ เชน่ การ์ตนู เรื่อง Nemo The Bug ช้างก้านกล้วย และปังปอนด์แอนเิ มชนัเป็นต้น1.2 คุณค่าและความสาคัญของงานกราฟิ ก งานกราฟิกเป็นการสื่อสารด้วยศลิ ปะระหวา่ งผ้สู ร้าง กบั ผ้รู ับ (ผ้ดู ู ผ้เู หน็ ) ดงั นนั้ งานกราฟิกจงึ มีคณุ คา่ และความสาคญั ดงั นี ้ 1. เป็นส่ือกลางในการสื่อความหมายให้เกิดการเข้าใจตรงกนั สร้างระบบการเรียนรู้ สร้างแนวคิดใหมๆ่ เชงิ สร้างสรรค์ 2. สร้างความเร้าใจนา่ สนใจ ความประทบั ใจ และความเช่ือถือได้ของผลงาน เพื่อให้เกิด

6การเรียนรู้ เกิดการศกึ ษากบั กลมุ่ เปา้ หมายได้ 3. ก่อให้เกิดความคดิ สร้างสรรค์รูปแบบใหม่ โดยการประยกุ ต์ความคดิ จากผลงานเดมิ 4. ชว่ ยสรุปความคดิ และจนิ ตนาการออกมาเป็นข้อมลู ที่ส่ือสารได้ง่าย ทาให้ผ้พู บเห็นเกิดการเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมทงั้ ทางด้านการกระทาและความคดิ 5. สร้างระบบการถ่ายทอดที่มีความเดน่ ชดั แปลความหมายได้รวดเร็ว 6. สร้างความเจริญก้าวหน้าให้ธุรกิจ สร้างอาชีพและรายได้ในสงั คม 7. สร้างคา่ นิยมทางความคดิ ที่งดงาม ได้แนวคิดท่ีดี1.3 ภาพกราฟิ กท่ใี ช้กับคอมพวิ เตอร์ ภาพท่ีเกิดบนจอคอมพิวเตอร์ (Monitor) เกิดจากการทางานของโหมดสีแบบอาร์จีบี คลั เลอร์ (RGB Color)ซง่ึ ประกอบด้วย สีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีนา้ เงิน (Blue) โดยใช้หลกั การยิงประจไุ ฟฟา้ ให้เกิดการเปลง่ แสงของสีทงั้ 3 สี มาผสมกนั เกิดเป็นจดุ สีเลก็ ๆ ท่ีเรียกว่า Pixel “พิกเซล” โดยพิกเซลจะมีหลากหลายสีเมื่อนามาวางตอ่กนั จะเกิดเป็นภาพ มี 2 แบบ คือ 1.3.1 ภาพกราฟิ กแบบ Raster หรือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ กราฟิกแบบบติ แมป (Bitmap) เป็นภาพกราฟิกท่ีเกิดจากการเรียงตวั ของจดุ สี่เหล่ียมเล็กๆ หลากหลายสี เรียกวา่ Pixel (คล้ายๆ กบั การปักผ้าครอสตกิ ) นามาประกอบกนั จนเกิดเป็นภาพขนาดใหญ่ โดยเม็ดสีแตล่ ะเมด็ จะมีคา่ สีแตกตา่ งกนั ไป ภาพกราฟิกแบบ Raster จะต้องกาหนดจานวนพกิ เซลให้กบั ภาพ ภาพท่ีมีจานวนเมด็ สีมากๆ ภาพ จะมีความละเอียดมาก สวยคมชดั ภาพท่ีมีจานวนเมด็ สีน้อย เมด็ สีที่ประกอบเป็นภาพจะเรียงตอ่ กนั แบบห่างๆ และมองเหน็ เม็ดสีในภาพแตล่ ะเมด็ ภาพกราฟิกแบบ Raster เม่ือมีการขยายใหญ่ขนึ ้ ทาให้ภาพนนั้ มีความหยาบมองเหน็ ภาพเป็นจดุ ส่ีเหลี่ยม ดงั นนั้ การกาหนดจานวนพิกเซลจะบอกถึงความละเอียดของภาพหากภาพถกู กาหนดให้มีความละเอียด 1,200 ppi (ความละเอียด 1,200 เม็ดสีตอ่ ตารางนวิ ้ ) จานวนพิกเซลควรกาหนดให้เหมาะสมกบั ภาพกราฟิกในงานที่สร้าง เชน่ ภาพกราฟิกสาหรับเว็บไซตต์ า่ งๆ นนั้ เป็นภาพท่ีมีความละเอียดน้อยไฟล์ภาพควรกาหนดจานวนพกิ เซล ประมาณ 72 ppi เพื่อความสะดวกในการนาภาพอพั โหลด(Upload) ไฟล์ขนึ ้ เซริ ์ฟเวอร์ (Server) ได้รวดเร็ว การสร้างภาพกราฟิกใช้งานทวั่ ๆ ไป กาหนดจานวน Pixelประมาณ 100-150 ppi และภาพสาหรับนิตยสาร ปกหนงั สือ ภาพโปสเตอร์ขนาดใหญ่ และงานแบบพิมพ์ตา่ งๆ นนั้คววรกาหนดจานวน Pixel ประมาณ 300-350 ppi เน่ืองจากงานดงั กลา่ วต้องการภาพท่ีมีความละเอียดมาก ทาให้ภาพสวยสมจริง ภาพกราฟิ กแบบ Raster สามารถแก้ไขปรับแตง่ สี โดยการตกแตง่ ภาพทาได้ง่ายและมีความสวยงาม ซงึ่ โปรแกรมที่นิยมใช้สร้างภาพกราฟิกแบบ Raster คือ Adobe PhotoShop, Adobe PhotoShopCS,Paint เป็นต้น 1.3.1.1 คณุ ลกั ษณะของไฟล์ภาพกราฟิกแบบ Raster คือ ไฟล์ภาพกราฟิกที่มีภาพคณุ ลกั ษณะนามสกลุ ที่แตกตา่ งกนั ตามรูปแบบจากการสร้างภาพนนั้ จากโปรแกรมสาเร็จรูปตา่ งๆ เชน่ .BMP, .DIB,.JPG,

7.JPEG, .JPE, .GIF, .TIFF, .TIF, .PCX, .IMG, .MAC, .MSP และ .TGA เป็นต้น ซงึ่ ลกั ษณะของแฟ้มภาพจะแตกตา่ งกนั ออกไป และมีลกั ษณะงานแตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะการนาไปใช้ เชน่ สาหรับภาพทวั่ ไปเหมาะกบั งานที่ไมต่ ้องการความละเอียด งานนติ ยสารตา่ งๆ มีความละเอียดของภาพสงู ไฟล์กราฟิกแบง่ เป็นหลายรูปแบบ แตท่ ่ีนิยมใช้กนัมากในงานกราฟิกสาหรับเว็บไซต์ เชน่ GIF และ JPEG สาหรับงานพมิ พ์ เชน่ TIFF, EPS และ PDF 1.3.1.2 คณุ ลกั ษณะของภาพกราฟิกแบบ Raster คือ ภาพท่ีเกิดจากจดุ สีประกอบกนั เป็นภาพเหมาะกบั ภาพที่มีเฉดสีที่ใช้จานวนมาก เชน่ ภาพถ่ายจากกล้องดจิ ิตอล หรือภาพวาดทว่ั ไป สามารถปรับแตง่ สีตกแตง่ ภาพได้งา่ ยและมีความสวยงาม ซงึ่ โปรแกรมที่นยิ มใช้สร้างภาพกราฟิกแบบ Raster คอื โปรแกรมPhotoshop และ Paint ภาพกราฟิกแบบ Raster นนั้ เมื่อมีการขยายใหญ่ขนึ ้ จะมองเห็นภาพเป็นจดุ สี่เหลี่ยมคณุ ลกั ษณะของภาพดงั กลา่ วไมเ่ หมาะในการขยายขนาดภาพ 1.3.2 ภาพกราฟิ กแบบ Vector ภาพกราฟิกท่ีสร้างด้วยสว่ นประกอบของเส้นลกั ษณะตา่ งๆ และคณุ สมบตั เิ ก่ียวกบั สีของเส้นนนั้ ๆ ซง่ึ สร้างจากการคานวณทางคณิตศาสตร์ เชน่ ภาพถ่ายคนทว่ั ไป จะถกู สร้างด้วยจดุ ของเส้นหลายๆ จดุ เป็นลกั ษณะของเส้นโครงร่าง (Outline) และสีของคนก็เกิดจากสีของเส้นโครงร่างนนั้ ๆ กบัพืน้ ท่ีผิวภายใน เมื่อมีการแก้ไขภาพจะเป็นการแก้ไขคณุ สมบตั ขิ องเส้นทาให้ภาพไมส่ ญู เสียความละเอียดใดๆ ไฟล์ภาพมีขนาดไฟล์เลก็ แตอ่ ปุ กรณ์ท่ีใช้แสดงผลภาพ เชน่ การแสดงผลทางจอภาพคอมพิวเตอร์ หรือเคร่ืองพิมพ์จะเป็นการแสดงผลภาพแบบ Vector นยิ มใช้เพื่องานสถาปัตยกรรมตกแตง่ ภายใน และด้านการออกแบบตา่ งๆ เชน่ การออกแบบรถยนต์ การออกแบบงานอาคาร การสร้างภาพการ์ตนู ซงึ่ โปรแกรมที่นิยมใช้สร้ างภาพกราฟิกลายเส้นแบบVector เชน่ โปรแกรม Illustrator โปรแกรม CorelDraw โปรแกรม 3Ds และโปรแกรม Max ภาพกราฟิกแบบ Vectorเมื่อมีการปรับขยายภาพใหญ่ขนึ ้ ความละเอียดของภาพคงเดมิ 1.3.2.1 คณุ ลกั ษณะของไฟล์ภาพกราฟิกแบบ Vector คอื การเก็บไฟล์ภาพกราฟิ กแบบ Vector มีหลายนามสกลุ โดยผ้ใู ช้สามารถกาหนดได้ตามรูปแบบที่โปรแกรมกาหนด เชน่ .EPS .WMF .CDR.AI .CGM .DRW .PLT .DXF .PIC และ .PGL เป็นต้น ซงึ่ ลกั ษณะของไฟล์ภาพจะแตกตา่ งกนั1.4 ความแตกต่างของกราฟิ กแบบ Raster กบั แบบ Vector ความแตกตา่ งระหวา่ งกราฟิ กแบบ Raster และ Vector ลกั ษณะภาพแบบ Raster ประกอบขนึ ้ ด้วยจดุตา่ งๆ มากมายภาพมีจานวน Pixel คงที่จงึ ต้องการคา่ ความละเอียดมากขนึ ้ เม่ือขยายภาพ โดยจะคานวณคา่ สีทีละpixel ทาให้ภาพแตกเม่ือขยายภาพให้ใหญ่ เหมาะสาหรับงานกราฟิกในแบบที่ต้องการให้แสงเงาภาพแบบ Vectorใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตวั สร้างภาพ โดยรวมเอา Object เชน่ วงกลม เส้นตรงตา่ งชนิดมาผสมกนั สามารถยอ่และขยายขนาดได้มากกวา่ โดยสดั สว่ น และลกั ษณะของภาพยงั เหมือนเดมิ ความละเอียดภาพไมเ่ ปล่ียนแปลงเหมาะสาหรับงานแบบวาง Layout งานการพิมพ์ตวั อกั ษร

81.5 หลักการใช้สีและแสงในคอมพวิ เตอร์ จอภาพคอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลของภาพในรูปแบบสีโหมดตา่ งๆ ซง่ึ แบง่ หลกั การใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานด้านกราฟิกทว่ั ไปแบง่ เป็นโหมด (Mode) สี 4 แบบ คือ 1.5.1 โหมดสีแบบ RGB Color 1.5.2 โหมดสีแบบ CMYK Color 1.5.3 โหมดสีแบบ HSB Color 1.5.4 โหมดสีแบบ LAB Color 1.5.1 โหมดสีแบบ RGB Color คือ กาหนดโหมดสีแบบปกตขิ องภาพที่ใช้งานในโปรแกรม Photoshopซง่ึ ภาพเหลา่ นีไ้ ด้มาจากกล้องดจิ ติ อลเป็นสว่ นใหญ่ โหมดสีแบบ RGB Colorประกอบด้วย แมส่ ี 3 สี คือ สีแดง(Red) สีเขียว (Green) และสีนา้ เงิน (Blue) เม่ือนาสีดงั กลา่ วมาผสมกนั ทาให้เกิดเป็นสีตา่ งๆ บนจอภาพคอมพวิ เตอร์มากถึง 16.7 ล้านสี ซง่ึ ใกล้เคียงกบั สีท่ีสายตามนษุ ย์มองเห็นปกตสิ ีที่ได้จากการผสมสีนนั้ ขนึ ้ อยกู่ บั ความเข้มของสี ถ้าสีมีความเข้มข้นมากสีท่ีมาผสมกนั จะทาให้เกิดเป็นสีขาวจงึ เรียกระบบสีนีว้ า่ การผสมสีแบบ 1.5.2 โหมดสีแบบ CMYK Color คือ ระบบสีท่ีใช้กบั เครื่องพมิ พ์ที่พมิ พ์ออกทางกระดาษหรือวสั ดผุ ิวเรียบอื่นๆ โดยภาพที่กาหนดโหมดสีแบบ CMYK Color นนั้ สีคอ่ นข้างทบึ เมื่อแสดงบนจอภาพ แตเ่ มื่อพมิ พ์ออกทางเครื่องพมิ พ์จะมีสีที่สดใสสวยงาม โหมดสีแบบ CMYK Color นนั้ ประกอบด้วยสีหลกั 4 สี คือ สีฟา้ (Cyan) สีดา(Black) สีมว่ งแดง (Magenta) และสีเหลือง (Yellow) เม่ือนามาผสมกนั จะเกิดสีเป็นสีดาแตจ่ ะไมด่ าสนทิ เน่ืองจากหมกึ พิมพ์มีความไมบ่ ริสทุ ธิ์จึงเป็นการผสมสีแบบลบ (Subtractive) หลกั การเกิดสีของระบบนี ้ คือ หมกึ สีหนง่ึ จะดดู กลืนแสงจากสีหนง่ึ แล้วสะท้อนกลบั ออกมาเป็นสีตา่ งๆ เชน่ สีฟ้าดดู กลืนแสงของสีมว่ งแล้วสะท้อนออกมาเป็นสีนา้ เงิน สงั เกตเห็นได้วา่ สีท่ีสะท้อนออกมาจะเป็นสีหลกั ของโหมดสีแบบ RGB การเกิดสีนี ้ แบบสีจงึ ตรงข้ามกบั การเกิดสีในแบบ RGB 1.5.3 โหมดสีแบบ HSB Color สีสว่ นใหญ่ท่ีมองเหน็ จะมีระดบั ความเข้มข้นที่แตกตา่ งกนั ซง่ึ สายตามนษุ ย์สามารถแยกออกได้ เป็น 3 ลกั ษณะ คอื Hu คือ สีตา่ งๆ ที่สะท้อนออกมาจากวตั ถแุ ล้วเข้าสสู่ ายตามนษุ ย์ ซง่ึ มกั เรียกสีตามช่ือสี เชน่ สีเขียว สีแดง สีเหลือง เป็นต้น Saturation คือ คา่ ความสดของสี โดยคา่ ความสดของสีจะเร่ิมที่ 0 ถงึ 100 ถ้ากาหนดSaturation เป็น 0 สีจะมีความสดน้อย แตถ่ ้ากาหนดที่ 100 สีจะมีความสดมาก Brightness คือ ระดบั คา่ ความสวา่ งของสี โดยคา่ ความสวา่ งของสีจะเร่ิมท่ี 0 ถงึ 100 ถ้ากาหนดท่ี 0 ความสวา่ งจะน้อยซงึ่ จะเป็นสีดา แตถ่ ้ากาหนดที่ 100 สีจะมีความสวา่ งมากที่สดุ 1.5.4 โหมดสีแบบ LAB Color คอื โหมดสีที่มีชว่ งความกว้างในการแสดงสีได้สงู ที่สดุ เทียบเทา่ กบั สีดวงตาของมนษุ ย์สามารถรับได้ โดยแบง่ ออกเป็น 3 สว่ นคอื

9 “L” หรือ Luminance การกาหนดคา่ ความสวา่ ง ซงึ่ มีคา่ ตงั้ แต่ 1 ถึง 100ถ้ากาหนดท่ี 0 จะกลายเป็นสีดา แตถ่ ้ากาหนดท่ี 100 จะกลายเป็นสีขาว “A” เป็นคา่ ของสีที่ไลจ่ ากสีเขียวไปสีแดง “B” เป็นคา่ ของสีท่ีไลจ่ ากสีนา้ เงินไปสีเหลือง1.6 อุปกรณ์เสริมท่จี าเป็ นนามาใช้ในงานกราฟิ ก อปุ กรณ์เสริมท่ีจาเป็นนามาใช้ในงานกราฟิก เชน่ เครื่องคอมพิวเตอร์ และอปุ กรณ์เสริมตา่ งๆ เพ่ือเพิ่มความสะดวกในการทางานด้านกราฟิก เชน่ Print) กล้องถ่ายรูป และเครื่อง Scanner เป็นต้น 1.6.1 กล้องดจิ ติ อล คือ อปุ กรณ์เสริมที่ใช้สร้างภาพนิ่งตา่ งๆ หรือภาพวิดโี อแล้วนาภาพเข้ามาในเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ไข ปรับแตง่ เพม่ิ เตมิ และจดั เก็บไฟล์ภาพแสดงผลออกมาจากจอภาพ โดยการพิมพ์ออกมาทางเคร่ืองพิมพ์ ปัจจบุ นั กล้องดิจติ อลได้พฒั นาให้มีความละเอียดของภาพเพ่ิมขนึ ้ และมีความจสุ งู ในการเก็บภาพจานวนมาก สะดวกในการบนั ทกึ ภาพตา่ งๆ ได้รวดเร็ว และนาภาพเข้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพ่ือนามาปรับปรุงให้เหมาะสมกบังานตา่ งๆ ได้รวดเร็วในโปรแกรม Photoshop1.6.2 เคร่ืองกราดภาพ (Scanner) คอื อปุ กรณ์ท่ีใช้ตอ่ พว่ งเข้ากบั เครื่องคอมพิวเตอร์เพ่ือนาภาพหรือข้อความเข้าไปในหนว่ ยความจาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการกราดแสงผา่ นคอมพิวเตอร์นาข้อมลู เข้าหนว่ ยความจาสามารถนารูปภาพท่ีได้มาแก้ไข ปรับแต่ง เพิ่มเตมิ จดั เก็บ และแสดงผลออกมาทางจอภาพ หรือแสดงผลออกมาทางเครื่องพิมพ์1.6.3 เคร่ืองพมิ พ์ (Printer) คอื อปุ กรณ์แสดงผลข้อมลู ตา่ งๆ เชน่ แสดงข้อความ ตวั เลข ภาพสญั ลกั ษณ์ ฯลฯ แสดงออกทางเคร่ืองพิมพ์ในรูปแบบการพิมพ์ออกทางกระดาษหรือวตั ถอุ ่ืนๆ ท่ีมีผิวเรียบการแบง่เครื่องพมิ พ์ในปัจจบุ นั สามารถแบง่ ได้ 3 ประเภท คือ 1.6.3.1 เคร่ืองพิมพ์แบบจดุ (Dot-Matrix Printer) คือ ระบบหวั เขม็ กระแทกกบั ผ้าหมกึ ลงบนกระดาษ โดยหวั พิมพ์จะมีชดุ เขม็ เรียงกนั เป็นชดุ เพื่อกระแทกผ้าหมกึ ให้หมกึ ตดิ ลงบนกระดาษทีละจดุ เรียงกนั เป็นตวั อกั ษร ดงั นนั้ เวลาพมิ พ์จะมีเสียงกระแทกของหวั เข็มเสียงดงั งานท่ีได้มีคณุ ภาพปานกลางความเร็วในการพิมพ์ 1– 8 หน้าตอ่ นาที 1.6.3.2 เคร่ืองพมิ พ์แบบฉีดหมึก (Ink Jet Printer) คอื วธิ ีการฉีดพน่ หมกึ เข้าไปเป็นจดุ เลก็ ๆ บนกระดาษสามารถพมิ พ์ภาพสี และภาพขาวดาได้ คณุ ภาพของงานพิมพ์สวยงามนิยมใช้ในงานโรงพมิ พ์ทวั่ ไป ความเร็วในการพิมพ์ 1-10 หน้าตอ่ นาที

10 1.6.3.3 เคร่ืองพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer) คือ เครื่องพิมพ์ท่ีพฒั นาจากเคร่ืองพมิ พ์แบบจดุ และแบบฉีดพน่ หมกึ สามารถพิมพ์ได้เร็วและความคมชดั ของงานดีมากกวา่ แตร่ าคาเครื่องสงู กวา่เคร่ืองพิมพ์ชนิดอื่น และความเร็วในการพมิ พ์ 4 - 20 หน้าตอ่ นาที (ppm) และมีความละเอียดในการพิมพ์ 300 –1200 dpi (dots per inches - จานวนจดุ ที่พิมพ์ในหนง่ึ นวิ ้ ) 1.6.4 พล็อตเตอร์ (Plotter) คอื เคร่ืองพิมพ์แบบท่ีใช้ปากกาในการเขียนข้อมลู ลงบนกระดาษ ซงึ่เคร่ืองพมิ พ์ประเภทนีเ้หมาะกบั งานเขียนแบบของวิศวกรและสถาปนิก และเครื่องพิมพ์ประเภทนีม้ ีราคาแพงที่สดุ ในกลมุ่ เคร่ืองพิมพ์ประเภทตา่ งๆ 1.6.5 กระดานกราฟิ ก (Graphic Tablet) คือ อปุ กรณ์การเขียนหรือวาดภาพ โดยลกั ษณะของอปุ กรณ์ได้ออกแบบมาให้เหมือนกบั กระดานวาดภาพจะมีปากกาไว้ให้ใช้งาน และภาพท่ีวาดขนึ ้ บนกระดานกราฟิกจะปรากฎบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ สาหรับผ้ทู ่ีไมส่ ะดวกใช้เมาส์ในการวาดรูปท่ีรายละเอียดมากๆ1.7 คอมพวิ เตอร์กราฟิ กกับการประยกุ ต์ใช้ในงานด้านต่างๆ คอมพวิ เตอร์กราฟิกในปัจจบุ นั มีการพฒั นาทางด้านการใช้เทคโนโลยีมีการนาคอมพิวเตอร์มาพฒั นาในเร่ืองของการสื่อสารให้มีสีสนั สวยงาม สมจริงเสมือนการจาลองเหตกุ ารณ์ เพื่อดงึ ดดู สายตาผ้พู บเหน็ หรือเพื่อการแขง่ ขนัการแสดงสินค้า ซงึ่ แบง่ ภาพกราฟิกตามลกั ษณะการใช้งานในแตล่ ะด้านได้ดงั นี ้ 1.8.1 กราฟิ กด้านการออกแบบ คอมพวิ เตอร์กราฟิกถกู นามาใช้ในการออกแบบงานมาเป็นเวลานาน เชน่ การออกแบบทางวิศวกรรม งานด้านสถาปัตย์ออกแบบภายในบ้านตา่ งๆ การออกแบบรถยนต์ การออกแบบเคร่ืองจกั รกล รวมถึงการออกแบบวงจรไฟฟ้าอิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปกราฟิกตา่ งๆโปรแกรมเหลา่ นีช้ ว่ ยให้ผ้อู อกแบบ หรือวิศวกรออกแบบงานตา่ งๆ ได้สะดวกขนึ ้ กลา่ วคือ ผ้อู อกแบบสามารถเขียนเป็นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพ่ือให้ดคู ล้ายกบั ของจริงได้ และผ้อู อกแบบสามารถกาหนดขนาดของวตั ถลุ งในระบบซีเอดี (CAD) สามารถการยอ่ หรือการขยายภาพ การหมนุ ภาพไปในมมุ ตา่ งๆ การแก้ไขแบบ และสะดวกกวา่การออกแบบบนกระดาษ 1.8.2 กราฟิ กกับงานด้านโฆษณา ปัจจบุ นั ในการโฆษณาสินค้าตา่ งๆ ได้นาภาพกราฟิกเข้ามาชว่ ยในการโฆษณาและส่ือสงิ่ พิมพ์ตา่ งๆ เพ่ือเพ่มิ ความนา่ สนใจของสินค้าตอ่ ผ้บู ริโภค เชน่ โปสเตอร์ภาพสาหรับการโฆษณาตา่ งๆ สามารถทาให้ภาพท่ีเห็นเหมือนภาพถ่ายนนั้ แปลกออกไปจากเดมิ ได้ โดยมีภาพบางอยา่ งเพิม่ เข้าไปในภาพหรือบางสว่ นของภาพนนั้ หายไปทาให้เกิดภาพท่ีไมน่ า่ จะเป็นจริงแตด่ เู หมือนกบั เกิดขนึ ้ จริง เชน่ การนาการ์ตนูโฆษณาขายสนิ ค้าสาหรับเด็ก ปา้ ยโฆษณาโทรศพั ท์ ปา้ ยโฆษณารถยนต์ และปา้ ยหน้าร้านค้าตามแหลง่ ชมุ ชนตา่ งๆดงั นี ้

11 1.8.3 กราฟิ กกับงานด้านการนาเสนอ การส่ือสารด้วยภาพศลิ ปะระหวา่ ง ผ้สู ร้าง กบั ผ้รู ับ (ผ้ดู ู ผู้เห็น) ดงั นนั้ ภาพกราฟิก จงึ เข้ามาชว่ ยเพม่ิ ความเข้าใจให้กบั ผ้รู ับสาร เพื่อให้เข้าใจง่ายมากยง่ิ ขนึ ้ เชน่ แผนภาพแสดงการเงิน งานสถิติ และข้อมลู ทางเศรษฐกิจ จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผ้บู ริหาร หรือผ้จู ดั การกิจการตา่ งๆ มากขนึ ้เน่ืองจากสามารถทาความเข้าใจกบั ข้อมลู ได้งา่ ย และรวดเร็วกวา่ เดมิ โดยในกลมุ่ งานการวิจยั ตา่ งๆ เชน่ การศกึ ษาทางฟิสิกส์ กราฟ และแผนภาพมีสว่ นชว่ ยให้นกั วจิ ยั ทาความเข้าใจกบั ข้อมลู ได้ง่ายขนึ ้ เมื่อข้อมลู ที่ต้องวเิ คราะห์มีจานวนมาก5. การวัดผลและประเมินผลวิธีวัด เคร่ืองมือ เกณฑ์-การสงั เกต -การสงั เกต-การใช้ข้อคาถาม -ข้อคาถาม -ตอบได้ถกู ต้อง -ผา่ นเกณฑ์ 60%-การทดสอบ -แบบทดสอบ -ตอบได้ถกู ต้อง-การสงั เกต -การสงั เกต-การใช้ข้อคาถาม -ข้อคาถาม

126. บันทกึ หลังการสอน หนว่ ยท่ี.............. ภาคเรียนท่ี.............. ปีการศกึ ษา.............. 1) ผลการสอน................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2) ปัญหา/อุปสรรค................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3) ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่ือ ( ………………………. ) ตาแหนง่ ………………………….7. ข้อเสนอแนะของหวั หน้าสถานศกึ ษาหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย (ตรวจ/นิเทศ/เสนอแนะ/รับรอง)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ (……………………………………………) ตาแหนง่ รองผ้อู านวยการฝ่ายวิชาการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook