Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เมืองฟ้าแดดสงยาง

เมืองฟ้าแดดสงยาง

Published by kanikl, 2020-07-08 00:53:13

Description: บทความ: เมืองฟ้าแดดสงยาง: ความเชื่อและการศรัทธาต่อพระธาตุยาคู

Keywords: พระธาตุ,พระธาตุยาคู,เมืองฟ้าแดดสงยาง

Search

Read the Text Version

1 เมืองฟ้าแดดสงยาง : ความเช่ือและการศรัทธาต่อพระธาตยุ าคู นายกติ ศิ ักด์ิ จันทร์ขามป้อม รหสั 6172200198 สาขาวฒั นธรรมศิลปกรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น เมืองฟ้าแดดสงยาง เป็นเมืองในยคุ โบราณ สร้างข้ึนในราวพุทธศตวรรษที่12 - 16 ประมาณ 1,400 ปี ล่วงมาแลว้ มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น คนพ้ืนเมืองเรียก ฟ้าแดดสูงยาง ในบทวรรณกรรมทอ้ งถิ่นเรียก ฟ้า แดดสงยาง เรียกตามช่ือบา้ นเรียก บา้ นเสมา ตามประวตั ิศาสตร์สมยั พระเจา้ ฟ้างุม้ แห่งกรุงศรีสัตนาคนหุต เรียก โนนผ่ึงแดดหรือโพนผ่ึงแดด เป็นตน้ อาณาจกั รโบราณ ของอาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ์ เมืองฟ้า แดดสงยาง เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงมาต้งั แต่อดีตปัจจุบนั ร่องรอยการต้งั ถิ่นฐานซ่ึงแสดงถึงความยิ่งใหญ่ เป็ น แหล่งอารยธรรมตลอดจนศิลปะด้านต่าง ๆ ท่ีเจริญรุ่งเรืองมาก่อน เมืองฟ้าแดดสงยาง เป็ นเมืองท่ี เจริญรุ่งเรือง มีความอดุ ม ภาพประกอบที่ 1 บริเวณสถานที่ เมืองฟ้าแดดสงยาง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ เมืองฟ้าแดดสงยาง ตามตานานน้ัน ตานานฟ้าแดดสูงยางเป็ นเหตุการณ์กรณีพิพาทของกลุ่มชน 2 อาณาจักรคือ อาณาจกั รเซียงโสมที่เป็นชนเผา่ ลาวเดิมในทอ้ งถ่ิน กบั อาณาจกั รฟ้าแดดสงยางท่ีอยเู่ มืองกมลาไสยกาฬสินธุ์ ปัจจุบัน ซ่ึงเป็ นเมืองท่ีพวกแถน ฟ้าแดดสูงยางมีความเจริญเขม้ แข็งมีการคา้ ทางสาเภาในทะเลในเร่ือง สะทอ้ นพิธีกรรมเก่ียวกบั การนับถือผีเช้ือผีฟ้าผีแถนความนับถือในพุทธพราหมณ์ (ไผท ภูธา.2556) จาก หลกั ฐานทางโบราณคดีที่คน้ พบทาให้ทราบวา่ มีผูค้ นเขา้ มาอยู่อาศยั ในเมืองฟ้าแดดสงยางและมี พฒั นาการ ข้ึนเป็ นชุมชนต้ังแต่สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ตอนปลายในราวช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 - 8 ซ่ึงร่วมสมยั กับ วฒั นธรรมบา้ นเชียงยคุ สุดทา้ ย และมีการอยู่อาศยั อย่างต่อเน่ืองมาจนถึงยคุ วฒั นธรรมสมยั ทวารวดีช่วงพุทธ

2 ศตวรรษท่ี 12 - 16 และอยู่ต่อมาจนถึงสมยั อยุธยาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 14 - 23 จนมีการเคลื่อนยา้ ยเขา้ มา อีกในสมยั รัตนโกสินทร์ (จงั หวดั กาฬสินธุ์ .2550) อาณาจกั รโบราณ ของอาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ์ เมืองฟ้าแดดสงยาง เป็ นเมืองท่ีมีชื่อเสียงมาแต่อดีต ปัจจุบนั เหลือร่องรอยการต้งั ถิ่นฐานซ่ึงแสดงถึงความ ยงิ่ ใหญ่ เป็นแหล่งอารยธรรมตลอดจนศิลปะดา้ นต่าง ๆ ท่ีเจริญรุ่งเรืองมาก่อน เมืองฟ้าแดดสงยาง เป็นเมือง ท่ีเจริญรุ่งเรือง มีความอุดมสมบูรณ์ผปู้ กครองเมืองคือพญาฟ้าแดด มีพระมเหสีชื่อ พระนางจนั ทาเทวี(เขียว ค่อม) มีพระธิดาช่ือ พระนางฟ้าหยาด เป็ นผูท้ ่ีมีพระสิริโฉมงดงามมาก เป็ นที่หวงแหนของพระราชบิดา- มารดา พญาฟ้าแดดใหช้ ่างสร้างปราสาทเสาเดียวไวก้ ลางน้า โดยใชศ้ ิลาแลงในการก่อสร้างบริเวณน้ีปัจจุบนั เรียกวา่ \"โนนฟ้าแดด\" นอกน้นั ยงมีการขดุ สระไวร้ อบเมือง มีคูค่ายและเชิงเนิน มีหอรบอย่างแข็งขนั สระท่ี ขุดไวใ้ นปัจจุบนั เป็ นหนองน้าสาธารณะ เมืองลูกหลวงของเมืองฟ้าแดดคือ เมืองสงยาง มอบให้อนุชาชื่อ พญาอิสูรย์ (เจา้ ฟ้าระงุม้ ) เป็นผคู้ รองเมือง เมืองท้งั สองหางกนั ประมาณ 2 กิโลเมตร เลยรวมเรียกว่า \"เมืองฟ้า แดดสงยาง\" ภาพประกอบที่ 2 พระธาตุยาคู อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ พระธาตยุ าคู ยอ่ มุมที่ตรงปลายของแต่ละดา้ นที่ยื่นออกไป มีความสูงจากพ้ืนล่างข้ึนมาประมาณ 1 เมตรเศษ ต่อจากน้นั จึง เป็ น เรานท่ีบรณะข้ึนใหม่จากลกั ษณะที่เป็ นกองอิฐธรรมดาตามรอยเดิมในลกั ษณะของฐานเขียง ผงั แปด เหลี่ยมซ้อนกัน “น และอีกช้ันท่ี 4 มีความสูงมากกว่าทุกช้ันแต่ทาส่วนบนสอบเข้าเล็กน้อย จากน้ันทา ตอนบนเหนือข้ึนไปผาย ออกเล็กน้อย ทาส่วนบนสอบเขา้ หาจุดศูนยก์ ลางโดยการก่ออิฐลดหลนั่ เป็ นช้ัน บนั ไดข้ึนไปตอนบน แลว้ จึงเป็ นองค์ ระฆงั แปดเหลี่ยมทรงอวบอว้ นสอบเขา้ ตอนปลายเล็กนอ้ ย จากองค์ ระฆงั ข้ึนไปชารุดแต่ถูกบูรณะข้ึนใหม่ มีลกั ษณะ เป็ นองคร์ ะฆงั แปดเหลี่ยมทาเป็ นกลีบบวั ประดบั โดยรอบ อยา่ งเรียบงา่ ย มีเพยี งองคร์ ะฆงั แปดเหล่ียมเทา่ น้นั ท่ียงั รูป รอยเดิมอยู่ ลกั ษณะของส่วนยอดองคพ์ ระธาตุดงั ท่ี

3 เห็นในปัจจุบนั มีการซ่อมแซมข้ึนใหม่ในสมยั รัตนโกสินทร์ เมื่อ ปี พ.ศ. 2441 และบูรณะอีกคร้ังหน่ึงเม่ือปี พ.ศ. 2501 โดยฝี มือช่างชาวญวณ ขนาดของพระธาตุองคน์ ้ีมีขนาด กวา้ ง 16 เมตร ฐานอิฐสูง 1.15 เมตร สูง ประมาณ 15 เมตร พระธาตุยาคูไดร้ ับการประกาศข้ึนทะเบียนเป็ น โบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 54 วนั ที่ 9 มกราคม 2440 และประกาศกาหนดเขตโบราณสถานใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 44ตอนที่ 155 วนั ท่ี 21 ตุลาคม 2525 มีเน้ือที่ประมาณ 5 ไร่ 2 งาน (จงั หวดั กาฬสินธุ์, 2550) โดยชาวบา้ นจะจดั ให้มีพิธีสรง น้าพระธาตยุ าคู เดือน 5 ของทุกปี เพอื่ ความเป็นสิริมงคลใหก้ บั หมบู่ า้ น ภาพประกอบที่ 3 ความเชื่อและความศรัทธาตอ่ พระธาตุยาคู อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ ความเชื่อและการศรัทธาต่อพระธาตยุ าคู ในสังคมไทย วฒั นธรรม คติความเช่ือ มีความเกี่ยวพนั กบั มนุษยท์ ้งั ในระดบั ปัจเจกและระดบั ชุมชน มาช้านาน ผูป้ กครองสมยั โบราณอาศยั ความเชื่อทางศาสนาพุทธ พราหมณ์ผสานกบั ความเช่ือทอ้ งถ่ินใน ระดบั ชาวบา้ น สร้างความเป็นปึ กแผน่ ให้สังคม แต่ท้งั น้ีผปู้ กครองก็จะตอ้ งมีคุณธรรมดว้ ย นอกจากน้ี ความ เชื่อไม่ว่าจะเป็ นทางคติพุทธ พราหมณ์ และผี รวมท้ังเทวดา จะให้คุณหรือโทษข้ึนอยู่กับมนุษยท์ ี่จะมี วิจารณญาณอย่างไร จะใช้ให้เป็ นประโยชน์ก็ได้ หรือจะตกเป็ นทาสด้วยความเช่ืองมงาย ไร้เหตุผลก็ได้ เพราะแก่นพุทธศาสนาสอนให้มนุษยม์ ีเหตุผล เดินสายกลาง และผลเกิดจากเหตุ การมีสติอาจทาให้ไม่เสีย สตางคค์ ่างมงาย เช่น สะเดาะเคราะห์ดว้ ยราคา 999 หรือ 99 บาท นอกจากเสียเงินทองแลว้ บางคร้ังอาจเสีย ตวั ดว้ ยโดยเฉพาะสตรี และตอ้ งไมล่ ืมคานึงถึงความตา่ งของ 9 คาน้ี คือ (1) ไสยศาสตร์ (ไสยะ –ความหลบั ใหล งมงาย โงเ่ ขลา มวั เมา) (2) พุทธศาสตร์ (พทุ ธะ –ผรู้ ู้ ผตู้ ื่น ผเู้ บิกบาน แจ่มใส)

4 ภาพประกอบที่ 4 เคร่ืองบูชาขนั หมากเบง พระธาตุยาคู อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ จะเห็นว่าความจาเป็ นที่จะต้องทาความเข้าใจเร่ืองความเชื่อทางศาสนาอย่างลึกซ้ึง เพราะสิ่งน้ี ก่อใหเ้ กิดศิลปวฒั นธรรม ค่านิยมต่าง ๆ ในสงั คมไทย อยา่ งไรก็ตาม ก็ยงั มีวฒั นธรรมส่วนตา่ ง ๆ อีกมากมาย ในทุกภูมิภาคของไทยท่ีเกิดจากความเชื่อทอ้ งถิ่นน้ัน ๆ และส่ิงน้ีเป็ นประโยชน์ที่ทาให้เกิดการรวมตวั ของ สังคม โดยผ่านกระบวนการทางวฒั นธรรมดา้ นต่าง ๆ ท่ีเห็นเด่นชัดคือ ประเพณีหรือพิธีกรรมต่าง ๆ แต่ จะตอ้ งตระหนกั วา่ ในปัจจุบนั มีการใชค้ วามเชื่อทางไสยศาสตร์มากมายเพ่ือตอบสนองความไม่มน่ั คงทาง จิตใจของผูค้ นท่ียงั ขาดความเช่ือมน่ั ในหลกั ธรรมทางศาสนา จึงเปิ ดโอกาสใหค้ นทุจริตอาศยั ความงมงายเป็น ช่องทางทามาหากิน การใช้วิจารณญาณในเร่ืองความเช่ือทางศาสนามิใช่การแสดงออกทางวตั ถุเคร่ืองราง ของขลงั ติดตวั เท่าน้นั แต่หมายรวมไปถึงแบบแผนวิถีชีวิตทุกเรื่อง ไม่ว่าการกิน การอยู่ การรักษาพยาบาล แม้การนุ่งห่มหรือขอ้ ห้ามต่าง ๆ ที่เป็ นจารีตหรือกลไกให้คนในสังคมได้ใช้ชีวิตร่วมกันอย่างสันติจาก วฒั นธรรมหลากมิติอีกดว้ ย (แสงอรุณ กนกพงศช์ ยั . 2548) สรุป ความเช่ือและการศรัทธาต่อพระธาตุยาคูเมืองฟ้าแดดสงยาง ยคุ โบราณมีช่ือเรียกหลายช่ือ เช่น คน พ้ืนเมืองเรียก ฟ้าแดดสูงยาง ในบทวรรณกรรมทอ้ งถิ่นเรียก ตานานฟ้าแดดสูงยางเป็ นเหตุการณ์ในสังคม วฒั นธรรม คติความเช่ือ การเวลาผ่านไปหลายร้อยพนั ปี เปล่ียนผ่าน การดารงอยู่และสืบทอดของคนใน สังคมวฒั นธรรมกบั พ้ืนที่ ช่ึงอดีตเกิดจากความศรัทธาต่อพระธาตุอยา่ งนอบน้อมบูชา สังคมวฒั นธรรมผ่าน ความเชื่อและความศรัทธาเปลี่ยนรูปแบการบูชาที่มีความหลากหลายของเครื่องบูชา ความเชื่อท่ีสืบทอดกนั มายงั ดารงอยู่ ในเรื่องราวต่อองคพ์ ระธาตุยงั ไม่เส่ือมคลายแต่เปล่ียนแปลงแค่รูปแบบการบูชา สถานท่ี การ จดั วางและการคา้ ขาย เครื่องบูชาขนั หมากเบ่งท่ีประดิษฐ์สร้างข้ึนมาใหม่ให้คนที่มาช้ือและนามาไหวบ้ ูชา แตค่ วามศรัทธาน้นั ยงั ดารงอยใู่ นความเช่ือสืบทอดกนั มามิเส่ือมคลายพระธาตยุ าคูเมืองฟ้าแดดสงยาง

5 เอกสารอ้างองิ กาฬสินธุ์. (2550). ฟ้าแดดสงยาง โบราณวัถุลา้ ค่า ใบเสมา พระบูชา พระเครื่อง. กาฬสินธุ์ : กาฬสินธุก์ าร พิมพ์ ไผท ภูธา. (2556). ความเป็ มาคนอสี าน ในเหตกุ ารณ์ของประวัติศาสตร์. พิมพค์ ร้ังที่ 6. กรุงเทพ : ตถาตา พบั ลิเคชนั่ จากดั . แสงอรุณ กนกพงศช์ ยั . (2548). วฒั นธรรมในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook