Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สถาปัตยกรรมสุโขทัย

สถาปัตยกรรมสุโขทัย

Published by kanikl, 2021-07-06 03:52:41

Description: สถาปัตยกรรมสุโขมัย

Keywords: สุโขทัย,สถาปัตยกรรม

Search

Read the Text Version

สถาป�ตยกรรม สุโขทัย PHOTOBOOK นายรัตนบตุ ร เหมะ 637220002-7 สาขาวฒั นธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร� มหาวทิ ยาลัยของแก�น

01

คำนำ ศลิ ปะสุโขทยั จากหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร�ชใ้ี หเ� หน็ ว�า อาณาจกั รสุโขทัยในระยะแรกๆมีความสมั พันธ�กับเมอื งพระนครอาณาจักรเขมร และเมืองละโว� (ลพบุร)ี ซึง่ เปน� ศนู ย�กลางวัฒนธรรมเขมร ในลมุ� เจ�าพระยาอย�างใกลช� ิดทำให�งานศิลปกรรมในระยะนีไ้ ดร� ับอิทธิพล จากศิลปะเขมรเปน� อย�างมาก ดงั ตัวอย�างเชน� ปราสาทวดั พระพายหลวง เมืองสุโขทยั ซง่ึ เป�นศาสนสถานในศาสนาพุทธฝ�ายมหายาน ตามแบบนิยมในอาณาจักรเขมร และมีรปู แบบเดยี วกบั พระปรางค�สามยอด จงั หวัดลพบรุ ี 02

ต�อมาเมือ่ อำนาจทางการเมืองของ เขมรลดลง ได�กอ� ใหเ� กิดการเปล่ยี นแปลงทาง ศาสนาในสุโขทยั ขึน้ นน้ั คือ ได�มกี ารเปลยี่ นมา นบั ถือศาสนาพุทธ ลทั ธิเถรวาท ทีไ่ ดร� บั มาจาก ลงั กาแทน พรอ� มกันนนั้ ยังได�รับเอาแรงบัน- ดาลใจจากศลิ ปกรรมของบ�านเมอื งต�างๆที่ เกิดข้นึ มาก�อนหน�าหลายแหล�ง เขา� มาผสม ผสานในงานศลิ ปกรรมของตนดว� ย เชน� ศลิ ปกรรมจากลงั กา พกุ าม และหริภุญชัย ซงึ่ เจรญิ อย�ูในชว� งพทุ ธศตวรรษที่ 17-18 03

04

05

06

07

08

09

10

11

มณฑป มณฑป ไดแ� กอ� าคารหอ� งสี่เหล่ียมท่ปี ระดษิ ฐานพระพทุ ธรูปและสามารถเขา� ไปภายในได� รูปแบบ และคติการสรา� งอาจมาจากเจตยิ วหิ ารในศิลปะพุกาม และอาคารท่เี รียกว�าปฏมิ าคารในศิลปะลงั กา ถา� เป�นมณฑปขนาดเลก็ จะมีหลังคาเป�นหน�าจว่ั (ทรงโรง) แต�ถา� เปน� อาคารขนาดใหญ�หลงั คาอาจเป�น เคร่อื งไม�มุงกระเบื้องทรงยอดเหล่ยี มยกระดับลดหล่นั กนั ขึ้นไป โดยมักมีวิหารทมี่ ีโครงสร�าง หลังคาไม�มุงกระเบอื้ งเชอื่ มตอ� อยด�ู �านหนา� ซ่ึงแผนผังการจดั วางตำแหน�งของมณฑปไว�ท�าย วหิ ารเช�นน้ี คล�ายคลึงกบั มณฑปท�ายวหิ ารที่พบทั่วไปในลา� นนา ซึ่งอาจสร�างขน้ึ ตามคติ “คันธกุฎี” ท่กี ลา� วไวใ� นคัมภีร�ทางศาสนาโดยเลา� วา� เมือ่ พระพุทธเจ�าทรงแสดงธรรมเสร็จเรยี บรอ� ยแลว� จะเสด็จเข�าปลกี วเิ วกในอาคารท่เี รยี กว�าคนั ธุฎี 12

13

14

เจดยี ท� รงปราสาทห�ายอด เจดีย�ทรงนีน้ �าจะไดร� ับรปู แบบมาจากศลิ ปะล�านนา ซ่งึ ได�แหล�งบันดาลใจมาจากเจติยวหิ าร ในศิลปะพกุ ามอีกต�อหน่งึ รูปแบบของเจดยี แ� บบน้ยี งั คงรกั ษาระเบียบของเจดยี ท� รง ปราสาทยอดในศิลปะลา� นนาไว�อยา� งเครง� ครดั ไดแ� ก� การมเี รือนธาตุ มีสว� นยอดเปน� เจดยี �ทรงระฆังทปี่ ระดบั เจดยี �เล็กๆ (สถปู ก� ะ) ไวท� ี่มมุ ท้งั 4 เหนอื เรอื นธาตุ ทำใหม� ี ยอดรวมกันท้งั หมดเป�น 5 ยอด โดยมีสว� นทต่ี �างจากล�านนาและพกุ าม คือส�วนฐาน ที่เปน� ฐานบวั ลกู ฟ�ก ซ่งึ สว� นนีส้ ุโขทัยได�มาจากศิลปะเขมรทเี่ คยใช�ประดับสถาป�ตยกรรม ในสุโขทยั มาก�อนแลว� เจดยี ร� ูปแบบนี้พบในสมัยสุโขทยั เพยี ง 2 แห�ง คอื เจดยี �ประจำ มุมท้งั 4 องค�บนฐานไพทีของเจดยี ป� ระธานวัดมหาธาตุ สุโขทยั และเจดยี บ� ริวารประจำ มมุ ทิศตะวันตกเฉยี งเหนอื ของวัดเจดยี �เจด็ แถว เมอื งศรสี ัชนาลยั เจดยี �ทรงปราสาทยอดแบบสโุ ขทยั คือเจดยี ท� รงปราสาทที่มีเรอื นธาตแุ ละมียอดเปน� เจดียโ� ดยมีส�วนสำคญั ที่ แตกตา� งจากเจดียท� รงปราสาทห�ายอดแบบลา� นนา คือเหนือเรอื นธาตจุ ะมเี รอื นชัน้ ซอ� น 2-4 ชน้ั ประดับ กลีบขนนุ ไม�ประดับเจดียเ� ล็กๆ (สถปู �กะ) ไว�ที่มมุ ท้งั สี่ ส�วนยอด ดา� นบน ทำเป�นเจดยี �รปู แบบต�างๆ เจดีย�รปู แบบนน้ี า� จะได�แนวคดิ มาจากพุกามและ ลา� นนา แล�วนำมาผสมผสานกบั ปราสาทแบบเขมร ซง่ึ กค็ อื สว� นท่ีเป�นเรอื นชน้ั ซ�อน 2-4 ช้นั และมกี ารประดับกลบี ขนุน แตส� ว� นที่ต�างจากเรือนช้ันซอ� นของปราสาทเขมร คือการไม�มีชอ� งวมิ านและบรรพแถลง ทำแต�เพยี งกรอบซุม� ไวท� ีก่ ลางช้ันแต�ละชัน้ เท�านน้ั และส�วนใหญ�เปน� ซุม� แบบหนา� นาง จงึ จดั เป�นเจดีย�รูปแบบใหมท� ่เี กดิ ขึน้ เฉพาะในศิลปะสโุ ขทยั 15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

เจดยี �ทรงยอดดอกบัวตมู เจดีย�ทรงยอดดอกบัวตูม หรอื บางท�านเรยี กอกี ชอื่ หนึง่ ว�า เจดียท� รงพม�ุ ขา� วบณิ ฑ� เป�นเจดียท� รงแปลกตาทถ่ี อื เปน� เอกลักษณ�ของสถาป�ตยกรรมสโุ ขทยั อย�างแทจ� รงิ เจดยี �ทรงน้เี ป�นรูปแบบใหม�ทไ่ี มเ� คยเกดิ ข้ึนมาก�อน โดยเกิดขึ้นอยา� งฉบั พลนั ในราว กลางพทุ ธศตวรรษที่ 19 ด�วย การววิ ฒั นาการมาจากการผสมผสานรปู แบบศลิ ปะ หลายแหล�ง ท้ังศลิ ปะลา� นนา เขมร และพกุ ามของพมา� เจดยี ท� รงนย้ี ังแพร�หลายอย�ู ตามหัวเมืองตา� งๆ ของสุโขทัย รวมถึงเมืองทม่ี ีความสมั พนั ธ�ทาง ศาสนา เชน� เชยี งใหม� ซง่ึ แพรไ� ปพรอ� มกบั พระเถระจากสโุ ขทยั ทเ่ี ดินทางไปเผยแผ�ศาสนาท่ีเมืองเชียงใหม� เมอื่ พทุ ธศตวรรษที่ 20 25

เจดียท� รงระฆงั แบบสุโขทยั เจดยี �ทรงระฆัง นิยมสรา� งอย�างแพรห� ลายในแคว�น สโุ ขทัย เป�นเจดียท� มี่ าสายวิวฒั นาการมาจากเจดีย� ทรงระฆงั ของลงั กา ซง่ึ สโุ ขทัยยกยอ� งให�เป�น ดนิ แดนศนู ย�กลางพุทธศาสนาในเวลานนั้ ดังนั้นเจดีย�รูปแบบน้บี างคร้งั จึงนยิ มเรยี กว�า “เจดีย�ทรงลังกา” ซ่ึงทีถ่ ูกตอ� งควรเป�น “เจดีย�ทรงระฆงั แบบสุโขทยั ” มากกวา� แตห� าก สร�างในศลิ ปะอยุธยา กเ็ รยี กวา� “เจดยี ท� รงระฆงั แบบอยุธยา 26

27

28

29

บรรณานุกรม ศกั ด์ิชยั สายสงิ ห.� 2561. ศิลปกรรมโบราณในอาณาจักรสโุ ขทัย : มวิ เซยี มเพรส. 30

สถาป�ตยกรรม สุโขทัย PHOTOBOOK นายรตั นบตุ ร เหมะ 637220002-7 สาขาวฒั นธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบ คณะศลิ ปกรรมศาสตร� มหาวิทยาลยั ของแกน�


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook