Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หัวโขน :สินค้าทางวัฒนธรรมในยุคจินตนาการใหม่

หัวโขน :สินค้าทางวัฒนธรรมในยุคจินตนาการใหม่

Published by kanikl, 2020-07-09 00:34:31

Description: บทความ หัวโขน :สินค้าทางวัฒนธรรมในยุคจินตนาการใหม่

Keywords: หัวโขน

Search

Read the Text Version

1 “หวั โขน” สินค้าทางวฒั นธรรม ในยคุ จินตนาการใหม่ ยวุ ดี พลศิริ สาขาวฒั นธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น บทคดั ยอ่ การศึกษาเร่ือง “หัวโขน” สินทางค้าทางวัฒนธรรมในยุคจินตนาการใหม่ โดยมุ่งศึกษาความสาคัญของ ศลิ ปวฒั นธรรม อทิ ธพิ ลของนักท่องเทย่ี วส่กู ารปรบั เปลย่ี นหวั โขน คุณค่าและความงามของหวั โขน ในเมอื งมรดกโลก ผู้ ศกึ ษาม่งุ ศกึ ษาดว้ ยกระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากการทางานภาคสนามทเ่ี มอื งหลวงพระบาง สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตย ประชาชนลาว การสารวจและการสงั เกตจากพน้ื ทศ่ี กึ ษาในเมอื งมรดกโลก สาธารรณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ผลการศกึ ษาพบว่า “หลวงพระบาง” ไดข้ น้ึ ชอ่ื วา่ เป็นเมอื งมรดกโลก ทม่ี กี ารรกั ษาประเพณีวฒั นธรรมทด่ี งี ามอย่าง ต่อเน่อื งและเขม้ แขง็ ขณะเดยี วกนั กม็ ชี าวต่างชาตเิ ขา้ มาท่องเทย่ี วในดนิ แดนน้ีมากยงิ่ ขน้ึ เน่อื งจากเมอื งน้เี ป็นเมอื งเลก็ ๆท่ี ถกู โอบด้วยแมน่ ้าสองสายทไ่ี หลผ่านเมอื งและเป็นเมอื งทอ่ี ย่รู มิ โขงและเป็นหบุ เขารอบเมอื ง ทม่ี คี วามโดดเดน่ ดา้ นธรรมชาติ สงั คม ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม และวฒั นธรรม สงั เกตได้จากทุกพ้นื ท่ขี องตกึ อาคารบ้านเรอื น และสนิ ค้า รา้ นอาหาร สไตล์ชาวยุโรปเรมิ่ เขา้ มาแพร่กระจายในเมอื งเลก็ ๆแห่งน้ี นัน่ ย่อมชใ้ี ห้เหน็ ว่านกั ท่องเท่ยี วชาวยุโรปเขา้ มาท่องเทย่ี วเพม่ิ มากข้นึ ทกุ ปี ปัจจบุ นั จงึ มกี ารหนั มาใหค้ วามสาคญั กบั สนิ คา้ ของทร่ี ะลกึ โดยมองหาความเป็นอตั ลกั ษณ์ของหลวงพระบาง ทางดา้ นวฒั ธรรมและศลิ ปะการแสดง นนั่ กค็ อื “หวั โขน” การประดษิ ฐ์หวั โขน ท่เี รียกได้ว่าเป็นสนิ ค้าทางวฒั นธรรมทถ่ี ูก ปรบั เปลย่ี นจากการแสดงกลายเป็นสนิ คา้ ของทร่ี ะลกึ โดยอาศยั ทกั ษะความสามารถของเจา้ ของชน้ิ งานในการประดษิ ฐว์ าด ลวดลาย ยง่ิ หากมคี วามคดิ เชงิ สร้างสรรคแ์ ละประณีต และมเี อกลกั ษณ์กน็ ่าสนใจมากยง่ิ ข้นึ เพราะสาหรบั ชาวต่างชาติใน แถบยโุ รป มกี าลงั ในการซ้อื สนิ คา้ ค่อนขา้ งสงู คณุ คา่ ความงามของ“หวั โขน”เกดิ จากการผสมผสานศาสตร์จากหลายๆแขนง ประกอบดว้ ย ความงามทางดา้ นวรรณกรรมพะลกั พะลาม การถอดบทบาทของตวั ละครและคติความเช่อื ทแ่ี ฝงอยู่ในตวั ละครแต่ละครจากวรรณกรรมเพ่ือนามาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างหวั โขน ความงามทางด้านประติมา กรรมและ สถาปัตยกรรม ทแ่ี สดงออกถงึ ลกั ษณะรปู รา่ ง รปู ทรง สดั ส่วนทพ่ี องาม ความงามจากจติ รกรรม สขี องตวั ละคร และลวดลาย ทบ่ี ่งบอกถงึ อารมณ์ของตวั ละครเหล่านนั้ ไดเ้ ป็นอย่างดี สใี นความหมายของหวั โขนทป่ี รากฏจะบ่งบอกว่าเป็นตวั ละครใดได้ อยา่ งชดั เจน คาสาคญั : หวั โขน ของทร่ี ะลกึ สนุ ทรยี ภาพ

2 Abstract Education about Khon mask . The study of the importance of art and culture. The influence of tourists on the change of the Khon mask. The value and beauty of the Khon mask. World Heritage Sites. The study was conducted by collecting data from field work at Luang Prabang. Lao People's Democratic Republic. Survey and Observation of Study Areas in World Heritage Cities Lao People's Democratic Republic.The study found that \"Luang Prabang\" Recognized as a World Heritage Site. Tradition is maintained continuously and strong. At the same time, there are more foreigners to visit this territory.Because this city is a small town that is entwined with two rivers running through the city and a city on the Mekong and a valley around the city. The distinctive natural, social, artistic, architectural, and cultural. Observe all areas of buildings, houses and goods. European-style restaurants start to spread in this small town. That would indicate that European tourists come to visit more and more every year. Nowadays many people turn to the importance of souvenir products. By looking at the identity of the Luang Prabang culture and art. That is the \"Khon mask\" Invention of the Khon mask. The so-called cultural goods that were modified from the show became a souvenir. The skill of the owner of the work to create a pattern. If you have creative ideas and delicate. And unique, it's even more interesting. For foreigners in Europe. There are plonty of money for high end purchases. The beauty of \"Khon mask\" is the result of a combination of science from various branches to consist of The beauty of literature Pra- Lak Pra-Lam. Removing the roles of characters and beliefs hidden in characters, but dramas from literature to inspire the creation of the Khon mask. The beauty of sculpture and architecture. The expression of the shape, proportions and beauty. The beauty of the paintings of the characters and patterns that indicate the emotions of those characters as well. Color in the meaning of the Khon mask appears bong tells the character clearly. Keywords: Khon mask ,souvenir ,aesthetics

3 บทนา : “หวั โขน” จากของสงู ค่าในเมืองมรดกโลก เมอื งหลวงพระบางได้รบั บรรจุช่อื เป็นมรดกโลก หมายเลขท่ี 479 ในวนั ท่ี 1 ธนั วาคม ค.ศ. 1995 รฐั บาลลาวได้ ดาเนนิ การจดั ทาแผนบูรณะอาคารบ้านเรอื นในเขตเมอื งหลวงพระบางใหเ้ ป็นรปู ธรรม เพ่อื ประชาชนไดเ้ หน็ ผลการทางานว่า ไดไ้ ปส่กู ารเปล่ยี นแปลงในการซ่อมแซมอาคารมรดก และอกี 3 ปีต่อมา ค.ศ. 1998 ไดม้ กี ารแห่ขบวนไปตามถนนสายต่างๆ จากขบวนแห่น้ีทาให้ประชาชนได้รบั รสู้ ถานภาพการเป็นเมอื งมรดกโลกยง่ิ ข้นึ คนต่างชาตทิ ่ชี ่นื ชมกต็ ่นื เต้นไปกบั การข้นึ ทะเบียน แต่กเ็ กรงว่าเมอื งท่ตี นช่นื ชอบจะเปลย่ี นแปลงไปในทางทเ่ี ลวรา้ ยลงต่อความเป็นเมอื งหลวงพระบาง เน่ืองจาก เมืองน้ีเป็นเมอื งเลก็ ๆท่ถี ูกโอบด้วยแม่น้าสองสายท่ไี หลผ่านเมอื งและเป็นเมอื งทอ่ี ย่รู มิ โขงและเป็นหุบเขารอบเมอื ง ท่ีมี ความโดดเด่นด้านธรรมชาติ สงั คม ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม และวฒั นธรรม เป็นการเปล่ยี นแปลงสถานภาพของเมอื ง เลก็ ๆ ใหเ้ ป็นเมอื งมรดกโลกกลายมาเป็นท่รี ู้จกั ของคนทวั่ ไปทงั้ ในและต่างประเทศ ทาให้นักท่องเท่ยี วเข้ามาเย่ยี มเยอื น อย่างไม่ขาดสาย หลงั จากขน้ึ ทะเบยี นได้ประกาศใหเ้ ป็นแหล่งท่องเท่ยี วกม็ กี ารปรบั ปรุงสภาพสง่ิ แวดล้อมทางด้านต่างๆ ส่งผลต่อการปรบั เปล่ยี นทางดา้ นสงั คม วถิ ชี วี ติ ความเป็นอยแู่ ละประเพณีวฒั นธรรม โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ทางดา้ นกายภาพ เกย่ี วกบั ทอ่ี ย่อู าศยั รา้ นคา้ อาคาร การจราจร บุญมี สริ ศิ รสี วสั ดิ ์(2547) ภาพท่ี 1 เมอื งหลวงพระบางในภาพความทรงจา ทม่ี า : https://sites.google.com/site/hlwngphrabang592021045111/ ปัจจุบนั ดว้ ยยุคท่ที นั สมยั มากข้นึ สปป.ลาวกา้ วเข้าส่ยู ุคจติ นาการใหม่ท่คี ่อนข้างมอี สิ ระและแสดงความเป็นชน ชาตขิ องตนเองไดอ้ ย่างเด่นชดั ไมว่ า่ จะเป็นดา้ นวถิ ชี วี ติ ประเพณี ศลิ ปะและวฒั นธรรม ขณะเดยี วกนั “หลวงพระบาง” ไดข้ น้ึ ช่อื ว่าเป็นเมอื งมรดกโลก นัน่ ย่อมแสดงใหเ้ ห็นว่า หลวงพระบางมกี ารรกั ษาประเพณีวฒั นธรรมทด่ี งี ามอย่างต่อเน่ืองและ เขม้ แขง็ ขณะเดยี วกนั กม็ ชี าวต่างชาตเิ ขา้ มาท่องเทย่ี วในดนิ แดนน้ีมากยงิ่ ขน้ึ สงั เกตไดจ้ ากทกุ พน้ื ทข่ี องตกึ อาคารบ้านเรอื น และสนิ คา้ รา้ นอาหาร สไตลช์ าวยุโรปเรมิ่ เขา้ มาแพร่กระจายในเมอื งเลก็ ๆแห่งน้ี นนั่ ย่อมช้ใี หเ้ หน็ ว่านกั ท่องเท่ยี วชาวยุโรป เข้ามาท่องเท่ียวเพิ่มมากข้นึ ทุกปี สถาบันวจิ ยั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท) (2540) กล่าวว่า จากการสารวจข้อมูล พน้ื ฐานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การท่องเทย่ี ว ไดแ้ ก่ทพ่ี กั อาหาร บรกิ ารนาเทย่ี ว พาหนะเดนิ ทาง การตดิ ต่อสอ่ื สาร สนิ คา้ และของท่ี ระลกึ และสถานบนั เทงิ โดยแบ่งเกณฑเ์ ป็น 3 ระดบั ดี ปานกลาง และควรปรงั ปรุง มผี ตู้ อบแบบสอบถาม 248 ราย พบว่า สนิ คา้ และของทร่ี ะลกึ อย่ใู นระดบั ดี รอ้ ยละ 56.00 ระดบั ปานกลาง ร้อยละ 38.29 และควรปรบั ปรุง 5.71 เม่อื เฉล่ยี รวมทงั้ หมด สนิ คา้ ของทร่ี ะลกึ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ดว้ ยเหตุน้จี งึ มองเหน็ ปัญหาท่เี กดิ ขน้ึ ปัจจบุ นั จงึ มกี ารหนั มาใหค้ วามสาคญั กบั

4 สนิ ค้าของทร่ี ะลกึ โดยมองหาถงึ ความเป็นอตั ลกั ษณ์ของหลวงพระบางทางด้านวฒั ธรรมและศลิ ปะการแสดง นนั่ กค็ อื หวั โขน ของตวั ละครทป่ี รากฏในวรรณกรรมพะลกั พะลามทแ่ี ฝงดว้ ยคตคิ วามเชอ่ื ภาพท่ี 2 ฟ้อนพะลกั พะลาม ทม่ี า : ยวุ ดี พลศริ ิ พรรณี กมั มสุทธิ ์ (2544) กล่าว่า ภาวะผู้นาของพระรามนนั้ พระองค์ไดใ้ ช้ 2 ประเภท คอื อานาจตามธรรมเนียม ประเพณีและอานาบารมเี พ่อื เป็นเครอ่ื งมอื ส่วนส่งเสรมิ ในการปกครองผใู้ ต้บงั คบั บญั ชาใหเ้ ช่อื ฟังและปฏิบตั ติ ามคาสงั่ ดว้ ย ความเต็มใจ อกี ทงั้ สะหาย (Sahai. 1973) กลา่ วว่า ความแตกต่างของตวั ละครในเรอ่ื งพะลกั พะลาม กบั รามายณะของวาล มกิ ี ไวว้ ่า ทา้ วราพพะนาสวนไม่ใชย่ กั ษ์เหมอื นยกั ษร์ าวณะทม่ี สี บิ หวั ในเรอ่ื งรามายณะของวาลมกิ ี แต่เป็นเจา้ ชายทม่ี รี ปู งาม และมสี ติปัญญาเฉลยี วฉลาดในหลกั ธรรมทางพุทธศาสนา ตวั ละครแต่ละตวั ในเร่อื งจะประพฤตเิ หมอื นคนลาว และเป็น ตวั แทนของสงั คมลาว เชน่ นางจนั ทาและนางสดี าเป็นตัวแทนของคนลาวทป่ี ระพฤตติ วั ตามวถิ ชี วี ติ ของคนลาวอยา่ งแทจ้ รงิ ทา้ วหนุ ละมาน เป็นตวั แทนของลกู ทด่ี ใี นสงั คมลาวนอกจากจะเป็นลกู แลว้ ยงั เป็นทหารเอกของพลามอกี ดว้ ย ส่วนมา้ มนกี าบ ซง่ึ เป็นตวั ละครท่สี ร้างขน้ึ มาใหม่ตามความนิยมของท้องถิ่น เป็นตวั ละครท่สี าคญั และมบี ทบาทมากท่สี ุ ด ไม่เป็นเพียง พาหนะนาพาพะลกั พะลามไปยงั จุดหมายปลายทางเท่านัน้ แต่ยงั เป็นผทู้ ่คี อยใหค้ าแนะนาคอยช่วยเหลอื และคอยแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ ดว้ ยเหตุน้ี จากอทิ ธพิ ลทางวรรณกรรมพะลกั พะลาม ซง่ึ ถอื เป็นวรรณกรรมชน้ิ เอกทบ่ี ่งบอกความเป็นชนชาติ ลาวได้อย่างเด่นชดั หากมองวรรณกรรมผ่านการแสดงกไ็ ดเ้ พยี งแค่เสพสุขเพยี งชวั่ ขณะ หลงั จบการแสดงกไ็ ม่สามารถนา กลบั ไปช่นื ชมหรอื เป็นของท่รี ะลกึ ให้เพ่อื จดจาได้ ในยุคจนิ ตนาการใหม่จงึ มีการสรา้ งสรรค์สินค้าของท่รี ะลึกโดยถอด บทบาทของตวั ละครและคติความเช่อื ทแ่ี ฝงอย่ใู นตวั ละครซ่งึ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ วถิ ชี วี ติ และประเพณีของชาวลาวผา่ น การ ประดษิ ฐห์ วั โขน ท่เี รยี กไดว้ ่าเป็นสนิ คา้ ทางวฒั นธรรมท่ถี ูกปรบั เปลย่ี นจากการแสดงกลายเป็นสนิ คา้ ของท่รี ะลกึ โดยอาศยั ทกั ษะความสามารถของเจา้ ของช้นิ งาน ยงิ่ หากมคี วามคดิ เชงิ สร้างสรรค์และประณีต มเี อกลกั ษณ์ก็น่าสนใจมากยิง่ ข้นึ เพราะสาหรบั ชาวต่างชาตใิ นแถบยโุ รป มกี าลงั ในการซอ้ื สนิ คา้ ค่อนข้างสูง สนิ คา้ ทางวฒั นธรรมทก่ี าลงั เป็นท่นี ยิ มและแสดง ถงึ เอกลกั ษณ์ทางการแสดงของหลวงพระบางคอื หวั โขนเพ่อื ของทร่ี ะลกึ เน่อื งจากหวั โขนทล่ี กั ษณะทโ่ี ดดเด่นอย่แู ลว้ เพราะ สามารถบ่งบอกถงึ บุคลคิ ลกั ษณะของตวั ละครทแ่ี ฝงดว้ ยคตคิ วามเช่อื ไดเ้ ป็นอย่างดี เช่นโขนยกั ษ์ แสดงถงึ ความเป็นผนู้ าใน การปกครองเหล่ายกั ษ์ บุคลกิ หน้าตาจะดูน่ากลวั เกรงขามสงั เกตได้จากลวดลายท่ปี รากฏบนใบหน้าและเคร่อื งประดบั ยศฐาบรรดาศกั ดขิ ์ องตวั ละครนัน้ โขนพระ(พะลกั พะลาม) มบี ทบาททางดา้ นการปกครองและลกู น้องเหล่าบรวิ ารให้ความ

5 เคารพ บุคลกิ ใบหน้าจะเรยี วยาว สมส่วนดูสงา่ งาม ส่วนชฎานางสดี า จะมลี กั ษณะสวยงามอร่ามตาบทบาทแสดงถึง การ ปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอย่างท่ดี ยี ดึ ตามประเพณีและฮตี คอง เป็นต้น เดมิ นกั ท่องเท่ยี วเคยเหน็ หวั โขนเฉพาะในการแสดงทโ่ี รง ละครแห่งชาติหลวงพระบางเท่านัน้ แต่การถอดบทบาทของตัวละครเพ่ือเป็นสนิ ค้าของท่ีระลึกนัน้ มีน้อย กลุ่มคนท่ี สรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะการตกแต่งหวั โขนกล็ ดน้อยลงทุกที เพราะทกุ คนหนั ไปสนใจกบั วฒั นธรรมใหมท่ ฉ่ี าบฉวย จากการกระทบท่ี กลา่ วมาขา้ งต้นจงึ เป็นแรงบนั ดาลใจใหช้ ายหนุ่มวยั รนุ่ ผหู้ ลงไหลในศลิ ปะการทาหวั โขน สามารถประยุกต์จากหวั โขนทใ่ี ชใ้ น การแสดงมาปรบั แนวคดิ ใหก้ ลายเป็นหวั โขนเพ่อื เป็นของท่รี ะลกึ ไวป้ ระดบั บ้านเรอื นเพ่อื ความเป็นสริ มิ งคล หรอื มอบเป็น ของขวญั แก่ญาติผู้ใหญ่ บุคคลท่กี ล่าวถึงน้ีมนี ามว่า “ดุ้มดุ่ม” หนุ่มไฟแรง ท่พี ยายามขบั เคล่อื นศิลปะวฒั นธรรมการทา หวั โขนใหค้ งอยใู่ นยุคจนิ ตนาการใหม่ภายใต้การแพร่กระจายทางวฒั นธรรมไดอ้ ยา่ งไมน่ ่าเชอ่ื ภาพท่ี 3 หวั โขน สนิ คา้ ทางวฒั นธรรม ทม่ี า : ยวุ ดี พลศริ ิ การสร้างอตั ลกั ษณ์ของหวั โขน : นบั วนั อทิ ธพิ ลทางวฒั นธรรมของชาวตะวนั ตกเขา้ มามบี ทบาทในเมอื งมรดก โลกแห่งน้ีมากขน้ึ จนค่อยๆกลนื วฒั นธรรมแบบลาวเดมิ ลงทลี ะนิดอย่างไม่ร้ตู วั ซ่งึ สะท้อนให้คนลาวต้องพยายามแสวงหา หรอื สรา้ งสรรคส์ นิ คา้ ทางวฒั นธรรมแบบใหม่ใหค้ งอยู่ในยคุ ปัจจุบนั ใหไ้ ดแ้ ต่ยงั คงร่องรอยทางวฒั นธรรมอนั เก่าแก่เอาไวด้ ว้ ย เช่นกนั อตั ลกั ษณ์ (Identity) เป็นคาทถ่ี ูกพดู ถงึ โดยทวั่ ไปในปัจจบุ นั ทงั้ ในระดบั โลก ระดบั สากล ระดบั ทอ้ งถิ่น และระดบั บุคคล โดยอตั ลกั ษณ์ไม่เพยี งแต่จะเป็นประเดน็ ทางวชิ าการทก่ี าลงั ไดร้ บั ความสนใจมากขน้ึ หากแต่เป็นเรอ่ื งราวในฐานะท่ี เป็นเครอื งมอื ทางความคดิ เพ่อื ทจ่ี ะเขา้ ใจการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมวฒั นธรรม เศรษฐกจิ และการเมืองใหช้ ดั แจง้ ยงิ่ ขน้ึ แคท รนี วูดเวอร์ (1997) อ้างถึงใน อภิญญา เฟ่ืองฟูสกุล (2546) ว่า ประเภทของอัตลกั ษณ์มี 2 ระดบั คือ อัตลกั ษณ์บุคคล (Personal Identity) และอตั ลกั ษณ์ทางสงั คม (Social Identity) เพ่อื ศกึ ษาความคาบเกย่ี วและปฏสิ มั พนั ธ์ของทงั้ สองระดบั น้ี เม่อื ตงั้ คาถามว่าอตั ลกั ษณ์ของคนๆหน่ึงคอื อะไรนนั้ จะได้คาตอบจาก 2 มุมมอง คอื คาตอบของบุคคลผู้นนั้ นิยามตนเอง และคาตอบจากผ้อู ่นื ท่นี ิยามบุคคลนนั้ โดยอาศยั เกณฑ์ความเหมอื น และความแตกต่าง การส่อื สารผ่านสญั ลกั ษณ์ ซ่งึ คาตอบท่อี าจมีมากกว่าหน่ึงรปู แบบ เพราะในตวั บุคคลหน่ึงนนั้ มีการประกอบสร้างอตั ลกั ษณ์อย่างเป็น “กระบวนการ” (Process) และเต็มไปดว้ ยความหลากหลายภายใต้บรบิ ทท่แี ตกต่างกนั ไป อรี คิ อรี คิ สนั (Erick Erickson) นกั จติ วทิ ยามอง ว่า การก่อตวั ของอตั ลกั ษณ์เป็นกระบวนการตลอดทงั้ ชีวิต (A Life – Long Process) และคนเราสามารถเปล่ียนแปลง

6 ลกั ษณะสาคญั ของตนเองได้ อีรคิ สนั เลอื กใชค้ าว่าอตั ลกั ษณ์ (Identity) แทนคาว่า บุคลกิ ภาพ และแมแ้ ต่จะไดร้ บั อทิ ธพิ ล จากฟรอยด์ แต่อรี คิ สนั เลอื กท่จี ะเน้นบทบาทของ Ego มากกว่าบทบาทของจติ สานึก และมนี ยั ของการเน้นเสรภี าพในการ เลอื กของแต่ละคน ทต่ี ้องรบั ผดิ ชอบต่อทางเลอื กในชวี ติ และรปู แบบอตั ลกั ษณ์ทต่ี นเลอื กจะเป็น ปัจเจกสามารถจะบรู ณาการ ความหลากลหายใหเ้ ขา้ มาอยภู่ ายใต้อตั ลกั ษณ์เพยี งหน่งึ เดยี วได้ อย่างไรกต็ าม การท่คี นอ่ืนมองเราและเรามองตวั เองอย่างอาจไม่สมั พนั ธก์ นั เสมอไปเพราะมีการวางลาดบั ขนั้ ของอตั ลกั ษณ์ท่สี งู กว่าหรอื ต่ากวา ทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ พฤติกรรม การปฏบิ ตั ิตนของผู้คนในสงั คม ทงั้ น้ีความหมายของอตั ลกั ษณ์ท่ีขัดแย้งหรือมุมมองท่ีขดั แย้งกนั อาจมีผลมาจากความตึงเครียด ของการมีตัวตนในหลายๆบทบาทด้วยกัน เช่นเดยี วกบั “ดมุ้ ดุ่ม” ผทู้ ม่ี บี ทบาทหน้าทห่ี ลายดา้ นดว้ ยกนั บทบาทของคนสร้างหวั โขน บทบาทของนกั ดนตรี บทบาทของ หวั หน้าวง บทบาทของเจา้ ของร้านสกั ลาย เป็นต้น บทบาทเหล่าน้ีคอื ลกั ษณะของอตั ลกั ษณ์ท่หี ลากหลายของซบั ซ้อน ภายในคนๆเดยี ว อตั ลกั ษณ์ทางวฒั นธรรม : ฮอลล์ (Hall, S., 1997,1) อ้างถึงใน ฉลาดชาย รมติ านนท์ ว่า อตั ลกั ษณ์หรอื Identity ไมใ่ ช่สง่ิ ทม่ี อี ยตู่ ามธรรมชาติ หรอื เกดิ ขน้ึ ลอยๆแต่กอ่ ตวั ขน้ึ มาภายในวฒั นธรรม ณ ชว่ งเวลาใดเวลาหน่ึง ซ่งึ วฒั นธรรมนนั้ กเ็ ป็นโครงสรา้ งทางสงั คม (Social Construct) ทไ่ี ม่หยดุ นิ่งตายตวั และเป็นวงจรซง่ึ เรยี กว่า “วงจรแหง่ วฒั นธรรม” (Circuit of Culture) ดงั นัน้ อัตลกั ษณ์จงึ ถูกผลติ (Produced) ถูกบรโิ ภค (Consumed) และถูกควบคุมจดั การ (Regulated) ภายใต้ วฒั นธรรม พร้อมกบั การสร้างความหมายต่างๆ (Creating Meanings) ผ่านระบบของการสร้างภาพตวั แทน (Symbolic Systems of Representation) ท่เี กย่ี วกบั ตาแหน่งต่างๆทางอตั ลกั ษณ์อนั หลากหลายทส่ี ามารถนาสรา้ งเป็นอตั ลกั ษณ์ได้ ใน ทน่ี ้ีผศู้ กึ ษาจะศกึ ษาอตั ลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมทางสรา้ งหวั โขนเพ่อื เป็นสนิ คา้ ของทร่ี ะลกึ ผา่ นกระบวนการสร้างภาพตวั แทน ของตวั ละครบทบาทของตวั ละครทป่ี รากฏในวรรณกรรมพะลกั พะลาม ทแ่ี สดงส่อื ใหเ้ หน็ ถงึ จารตี ประเพณี และวถิ ชี วี ติ ของ คนลาวไดอ้ ยา่ งเดน่ ชดั ปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลง สู่ยุคจินตนาการใหม่ : กระบวนการผลิตหวั โขนเพ่อื เป็นสนิ ค้าของท่รี ะลกึ มขี นั้ ตอน เช่นเดยี วกนั กบั การผลติ หวั โขนเพ่อื การแสดงแต่ละมสี ่วนทแ่ี สดงถงึ ฝีมอื ความสามารถของช่างนนั่ คอื การย่อส่วนทุกส่วน ของหวั โขนให้ดเู ลก็ ลง ซง่ึ จะมพี น้ื ทใ่ี นการออกแบบลวดลายลดลงโดยอตั โนมตั ิ แต่ยงั คงลวดลายเดมิ ลกั ษณะสหี น้า ใบหน้า ท่าทางยงั คงเหมอื นเดมิ ซง่ึ นนั่ แปลวา่ ชา่ งจะตอ้ งใชท้ กั ษะความประณีตในการวาดลวดลายและการประกอบส่วนประกอบทุก ชน้ิ ใหส้ มบูรณ์แบบมากทส่ี ุด ขณะเดยี วกนั ในกรณหี วั โขนขนาดปรกตกิ ม็ ขี นั้ ตอนการประกอบสรา้ งเหมอื นเดมิ แตกต่างจาก หวั โขนเพ่อื การแสดงตรงท่ไี ม่ต้องวดั ขนาดของหวั ผู้สวมใหย้ งุ่ ยาก สามารถออกแบบให้มคี วามเหมาะสมของช่าง สนิ คา้ ท่ี เกดิ จากภูมปิ ัญญาของบรรพบุรุษมาแต่โบราณ ถูกถ่ายทอดจากรนุ่ ส่รู ุ่น ปัจจบุ นั ความสาคญั ของช่างทาหวั โขนนนั้ ค่อนขา้ ง หายาก ทงั้ ๆท่เี ป็นศลิ ปะชนั้ สูงท่ถี ูกรบั ใช้เจ้าชวี ติ มาก่อน แต่ผ้คู นส่วนใหญ่ไม่ไดใ้ หค้ วามสาคญั ในจุดน้ี ถูกมองข้าม อาจ เป็นเพราะขนั้ ตอนการถ่ายทอดวชิ าความรู้ของครบู าอาจารยค์ ่อนข้างสลบั ซบั ซอ้ น ความอดทนของคนสมยั น้ีมนี ้อย ขาด แรงจงู ใจและงบประมาณสนบั สนุน โขนคอื ศลิ ปะทม่ี อี ตั ลกั ษณ์เพราะเป็นวรรณกรมชน้ิ เอกทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ วฒั นธรรมของ คนลาวไดเ้ ป็นอยา่ งดี จากอตั ลกั ษณ์สว่ นน้ถี ูกมองขา้ มไป ถงึ แมว้ ่าจะช่นื ชมเฉพาะในสว่ นการแสดงอาจไม่เพยี งพอ เพ่อื เป็น การสรา้ งภาพการจดจาท่ดี คี วรท่จี ะมกี ารสนับสนุนทาเป็นสนิ ค้าของท่รี ะลกึ ดงั เช่น “ดุ้มดุ่ม” ท่พี ยายามสรา้ งสรรค์ศลิ ปะ หวั โขนเป็นสนิ คา้ ส่งออกยงั ต่างประเทศจนถงึ ทุกวนั น้ี ซง่ึ กอ็ าจจะมกี ลุม่ คนทส่ี นใจอย่กู เ็ ป็นไดแ้ ต่หากเม่อื ใดทเ่ี รามกี ารบูรณา การ ผสมผสานร่วมศลิ ปะวฒั นธรรมรว่ มกนั ชว่ ยกนั สรา้ งเช่อื วา่ สนิ คา้ ทางวฒั นธรรมน้จี ะกลบั มามชี วี ติ อกี ครงั้ เพราะหวั โขน ไม่ใช่เพียงแค่ไว้เป็นสินค้าประดบั ตกแต่งเพียงอย่างเดียว ยงั แฝงถงึ ความเช่อื ของตัวละครแต่ละตวั ท่สี ะท้อนสงั คมใน ปัจจุบนั ไดเ้ ป็นอย่างดี อกี ประการหน่ึง หากมองภาพรวมของสนิ คา้ ชน้ิ น้ีแล้วมนั คอื ความงดงาม สุนทรยี ภาพทเ่ี กดิ จากการ

7 ลงมอื ทาของช่าง และสุนทรยี ภาพท่เี กดิ จากการไดส้ ะสมส้นคา้ ในตวั ละครท่ตี นมคี วามช่นื ชอบ มนั คอื ความงามท่เี กดิ ข้นึ ภายในจติ ใจของมนุษยน์ นั่ เอง ภาพท่ี 4 ลวดลายของหวั โขน ทม่ี า : ยวุ ดี พลศริ ิ สนุ ทรียภาพของหวั โขน : จ.ี ศรนี ิวาสนั (2545) สุนทรยี ศาสตร์ (Aestheties) เป็นแขนงหน่งึ ของปรชั ญาในส่วนท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั การแสวงหาคณุ ค่า (Axiology) ในสมยั ก่อนวชิ าน้เี ป็นทร่ี ู้จกั กนั ในรูปของวชิ า “ทฤษฎแี ห่งความงาม” (Theory of Beauty) หรอื ปรชั ญาแห่งรสนิยม (Phliosophy of TASTE) ซง่ึ วา่ ดว้ ยการศกึ ษามาตรฐานของความงามในเชงิ ทฤษฎีอนั เก่ียวกบั ประสบการณ์ทางสุนทรยี ภาพ พยายามต้นหาหลักเกณฑ์หรอื มาตรฐานในเร่อื งของความงาม ปัญหาท่ี สุนทรยี ศาสตร์จะต้องค้นหาคาตอบกค็ อื ว่า อะไรคอื สงิ่ ท่สี วยงาม เราจะตดั สนิ ได้อย่างไรว่าสงิ่ ใดงาม เราจะใช้อะไรเป็น มาตรฐานในการตัดสินว่าอะไรงามไม่งาม สุนทรียศาสตร์ เดิมเรียกวิทยาศาสตร์เยอรมัน ( The German Science) เน่อื งจาก ตลอดระยะเวลาสองศตวรรษทผ่ี ่านมา เยอรมนั มผี ลงานทางดา้ นสนุ ทรยี ศาสตรม์ ากกว่าผลงานของ ประเทศอ่นื ๆ ถงึ สามประเทศรวมกนั งานดา้ นสุนทรยี ศาสตรข์ องเยอรมนั มที งั้ ความเรยี ง วทิ ยานิพนธร์ ะดบั ปรญิ ญาเอก วทิ ยานิพนธ์ ระดบั ปรญิ ญาโท และความงามท่เี กย่ี ว ข้องมากมาย ปราชญ์ของประเทศอ่ืนๆ ไม่มใี ครกล่าวถึงความงาม (Beauty) แต่ ประการใด สุนทรยี ศาสตรเ์ รม่ิ มี ความหมายแบบสมยั ใหมใ่ นลกั ษณะเป็นสาขาของปรชั ญา (Aesthetics) ซง่ึ ประวตั ทิ ่มี าของ คาๆน้ี เกดิ จากนกั ปรชั ญาเหตุผลนยิ มชาวเยอรมนั ช่อื โบมการ์เตน (Alexander Gottlieb Baumgarten) ไดเ้ ขยี นหนงั สอื ช่อื “เอซ็ เธทกิ า” (Aesthetica) ซง่ึ ตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ “เอซ็ เธทถิกส”์ (Aesthetics) หนงั สอื เล่มน้ตี พี มิ พ์เม่อื ปี ค.ศ. 1753 ได้ กล่าวถึงความแตกต่างระหว่างความรทู้ างผสั สะและความรทู้ ่เี ป็นเหตุผลตามนยั แห่งตรรกวทิ ยาจงึ ขาดรายละเอยี ดในดา้ น ศลิ ปะและความงาม แต่นกั ปรชั ญาโดยทวั่ ไปยงั คงยอมรบั หนงั สอื เลน่ น้มี าใชเ้ ป็นเลน่ แรกทใ่ี ชค้ าว่า “Aesthetics” ความงามท่ี เกิดข้ึนภายใต้สินค้าทางวัฒ นธรรมช้ินน้ีปรากฏอยู่ใน “หัวโขน” เป็ นความงามท่ีเกิดจากการผสมผสานศิลป์ สุนทรยี ศาสตรม์ ผี ใู้ หค้ วามหมายของคาไวห้ ลายท่านดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี ซานตายานา (Santayana) กลา่ ววา่ สนุ ทรยี ศาสตรเ์ ป็นศาสตรเ์ หน็ ความรสู้ กึ รวมทงั้ ความรสู้ กึ ฝ่ายสขุ และฝ่ายทกุ ข์ ทศั นะน้มี ผี ยู้ อมรบั กนั มากเพราะไม่ไดเ้ พ่งไปท่คี วามงามทางศลิ ปะอย่างเดยี วแต่มองกวา้ งไกลออกไปถงึ ความรสู้ กึ ต่างๆ ท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั ความรสู้ กึ ฝ่ายบวกและฝ่ายลบ หรอื ความรสู้ กึ ทเ่ี ป็นสุขและทกุ ข์

8 กรี ติ บุญเจอื , (2522) กล่าวว่า สุนทรยี ศาสตร์ เป็นวชิ าว่าดว้ ยสงิ่ ท่สี วยงามหรอื ไพเราะ คาว่า Aesthetics (เอ็ซ เธทถิกส)์ มาจากภาษากรกี ว่า Aisthetikos (อสี เธทิโคส) = ร้ไู ด้ด้วยสมั ผสั สุนทรยี ธาตุ (Aesthetics Elements) ซ่งึ มอี ยู่ 3 อยา่ งคอื 1) ความงาม (Beauty) 2) ความแปลกหแู ปลกตา (Picturesqueness) 3) และความน่าทง่ึ (Sublimity) พจนานุกรมศพั ทศ์ ลิ ปะ (2532) กล่าววา่ สุนทรยี ภาพ (Aisthetics) หมายถึง ความซาบซง้ึ ในคุณค่าของสงิ่ ท่งี าม ไพเราะ หรอื รน่ื รมย์ ไมว่ า่ จะเป็นธรรมชาติ หรอื ศลิ ปะ กาจร สุนพงษ์ศรี (2555) กล่าวว่า การผสมผสานศลิ ป์ (Mixed art) คอื รวมกาใช้ทงั้ ประสาทสมั ผสั ทงั้ ตาหแู ละอ่นื ๆ มากาหนด รวมทงั้ มกี ารนาเอาคุณลกั ษณะและคุณสมบัติของศิลปะสาขาอ่ืนมาใช้ร่วมผสมผสาน เช่น ละครการเต้นรา ภาพยนตร์ การแสดง หรอื งานประเภทต่างๆ ของศลิ ปะสมยั ใหม่และศลิ ปะรว่ มสมยั ซง่ึ มกั นิยมนาเอาศลิ ปะสาขาอ่นื มาใช้ ร่วมในผลงานชน้ิ เดยี วกนั แบ่งตามลกั ษณะของสอ่ื แสดงออกคอื 1. จติ รกรรม มสี อ่ื แสดงออกคอื สี แสงเงา เสน้ มลี กั ษณะเป็น 2 มติ ิ 2. ประตมิ ากรรม มสี ่อื แสดงออกคอื รปู รา่ ง รปู ทรง ปรมิ าตร มวลและวสั ดุ มลี กั ษณะเป็น 3 มติ ิ 3. สถาปัตยกรรม มสี ่อื แสดงออกเช่นเดยี วกนั กบั ประตมิ ากรรม มกี ารเพม่ิ เรอ่ื งโครงสรา้ ง หน้าทใ่ี ชส้ อยและอ่นื ๆ มลี กั ษณะเป็น 3 มติ ิ 4. วรรณกรรม กวนี พิ นธ์ มสี ่อื แสดงออกคอื ภาษาเขยี น-พดู 5. ดนตรี มสี อ่ื แสดงออกคอื เสยี ง จงั หวะ 6. ผสมผสานศิลป์ (Mixed art) มีส่อื แสดงออกหลายแบบหลายชนิดมารวมกนั เช่น นาฏศิลป์ การเต้นรา ภาพยนตรก์ ารแสดง มกี ารใชก้ ารเคลอ่ื นไหวของร่างกายประกอบดว้ ยแสง สี เสยี ง “หวั โขน” สนิ คา้ ของทร่ี ะลกึ ทางวฒั นธรรม เกดิ จากการผสมผสานจากหลายๆแขนง ประกอบดว้ ย ความงาม ทางดา้ นวรรณกรรมพะลกั พะลาม การถอดบทบาทของตวั ละครจากวรรณกรรมเพ่อื นามาเป็นแรงบนั ดาลใจในการสรา้ ง หวั โขน ให้มคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกบั วรรณกรรม ความงามทางดา้ นประติมากรรมและสถาปัตยกรรม ลกั ษณะ รปู ร่าง รปู ทรง สดั ส่วนทพ่ี องามผ่านวสั ดอุ ุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการประกอบสรา้ งเพ่อื ใชเ้ ป็นสนิ ค้าของทร่ี ะลกึ หรอื ใชใ้ นการประดบั ตกแต่งเพ่อื ความเป็นสริ มิ งคล ความงามจากจติ รกรรม สขี องตวั ละคร และลวดลายทบ่ี ่งบอกถงึ อารมณ์ของตวั ละครเหล่านนั้ ไดเ้ ป็นอย่างดี สใี นความหมายของหวั โขนทป่ี รากฏจะบ่งบอกวา่ เป็นตวั ละครใดไดอ้ ย่างชดั เจน

9 ภาพท่ี 5 “หวั โขน”ของทร่ี ะลกึ ของเมอื งมรดกโลก ทม่ี า : ยวุ ดี พลศริ ิ บทสรปุ : การประเมินคณุ ค่าของสินค้าทางวฒั นธรรม หากพจิ ารณาถงึ คณุ ค่าของสนิ ค้าของทร่ี ะลกึ ทางวฒั นธรรมชน้ิ น้ีแลว้ ผศู้ กึ ษามองว่ามคี ณุ ค่า 2 ประการดว้ ยกนั คอื คณุ คา่ ทางดา้ นจติ ใจ และคุณค่าทางดา้ นวตั ถุ ทงั้ น้ีขน้ึ อย่กู บั ประสบการณ์ในการมอง และความชน่ื ชอบส่วนบุคคล ซง่ึ กว่า จะเป็นหวั โขนแต่ละหวั นนั้ ต้องใชร้ ะยะเวลาผสมผสานกบั ความตงั้ ใจวาดลวดลายลงบนใบหน้าอย่างประดดิ ประดอย ไม่ เพยี งแค่นนั้ ภายใต้หวั โขนยงั มแี นวคดิ คตคิ วามเช่อื ทส่ี อดแทรกอย่ดู ว้ ยดงั ทจ่ี ะอธบิ ายพอสงั เขปไดด้ งั น้ี หวั โขนพระราม ความเช่อื แฝง เช่อื วา่ การเป็นผนู้ าทด่ี ี มบี ารมี บรวิ ารใหก้ ารนบั ถอื หวั โขนทศกณั ฑ์ ความเช่อื แฝง เปรยี บเสมอื นเป็นบุคคลทม่ี บี ารมี สามารถปกครองหรอื เป็นผนู้ าได้ ชฎานางแกว้ ความเช่อื แฝง หวั โขนหนุมาน ความเช่อื แฝง หวั โขนทา้ วราพะนาสวน ความเชอ่ื แฝง อ่นื ๆ เพอ่ื เป็นการสรา้ งอตั ลกั ษณ์แก่ สนิ คา้ ในเมอื งมรดกโลก ควรหนั มาชว่ ยกนั สรา้ งภาพการจดจาทด่ี ดี ว้ ยการสง่ เสรมิ และสนบั สนุนทาเป็นสนิ คา้ ของท่รี ะลกึ ดงั เช่น “ดมุ้ ดุ่ม” ท่พี ยายามสร้างสรรคศ์ ลิ ปะหวั โขนเป็นสนิ ค้าสง่ ออกยงั ต่างประเทศ จนถงึ ทุกวนั น้ี ซง่ึ กอ็ าจจะมกี ลุ่มคนทส่ี นใจอย่กู เ็ ป็นไดแ้ ต่หากเม่อื ใดทเ่ี รามกี ารบูรณาการ ผสมผสานร่วมศลิ ปะวฒั นธรรม ร่วมกนั ช่วยกนั สรา้ งเช่อื วา่ สนิ คา้ ทางวฒั นธรรมน้จี ะกลบั มามชี วี ติ อกี ครงั้ ดว้ ยการรว่ มมอื ร่วมใจกนั อนุรกั ษ์ศลิ ปะวฒั นธรรม ของเกา่ ใหอ้ ย่บู นฐานความนิยมในสมยั ใหม่ดว้ ย “หวั โขน” สนิ คา้ ทางวฒั นธรรมของเมอื งมรดกโลก ไปดว้ ยกนั

10 อ้างอิง กรี ติ บุญเจอื . (2522). ชดุ ปัญหาปรชั ญา ปรชั ญาศิลปะ. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช. กาจร สนุ พงษศ์ ร.ี (2555). สนุ ทรยี ศาสตร์ : หลกั ปรชั ญาศิลปะ ทฤษฎีทศั นศิลป์ ศิลปะวิจารณ์. กรงุ เทพฯ:จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . จ.ี ศรนี ิวาสนั . (2534). สนุ ทรียศาสตร.์ แปลโดย สเุ ชาวน์ พลอยชุม กรงุ เทพฯ : โครงการตารา ภาควชิ าปรชั ญาและ ศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, บุญมี สริ ศิ รสี วสั ด.ิ ์ (2547). การปรบั เปลี่ยนสิ่งแวดล้อมเมืองหลวงพระบาง ภายหลงั เป็นเมอื งมรดกโลก. สาขาวชิ าการ จดั การมนุษยก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม, มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. พรรณี กมั มสทุ ธ.ิ ์ (2544).บทบาทความเป็นผนู้ าของพระรามในรามเกียรต์ิ. วทิ ยานิพนธ์ ศศ.ม. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2532). พจนานุกรมศิลปกรรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถานอกั ษร ก. กรุงเทพฯ. อภญิ ญา เฟ่ืองฟูสกุล (2546). แนวความคิดหลกั ทางสงั คมวิทยาเร่ืองอตั ลกั ษณ์. เอกสารประกอบการนาเสนอในการ ประชุม วชิ าการระดบั ชา้ ติ สาขาสงั คมวทิ ยา ครงั้ ท่ี 1 คณะกรรมการสถาบนั วจิ ยั แห่งชาต.ิ Hall, S. (ฮอลล)์ . (1977). “Cultural Studies: two paradigms.”Media Culture and Society 2:57-72. Sahai, Sachchidanand. (สจั จดิ านนั ดะ สะหาย). (1973). พระลกั พระลาม หลือ พระลามชาดกพากที่1. หนองคาย : โฮงพมิ มดิ ไท.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook