Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาพวิถีชีวิตมหรสพการแสดงหมอลำที่ขาดไม่ได้ในฮูปแต้มอีสาน

ภาพวิถีชีวิตมหรสพการแสดงหมอลำที่ขาดไม่ได้ในฮูปแต้มอีสาน

Published by kanikl, 2020-08-06 02:57:22

Description: บทความภาพวิถีชีวิตมหรสพการแสดงหมอลำที่ขาดไม่ได้ในฮูปแต้มอีสาน

Keywords: ฮูปแต้ม

Search

Read the Text Version

หมอลาในฮูปแต้มสมิ อสี าน: มหรสพการแสดงพ้ืนบา้ นคนอีสานท่ขี าดไมไ่ ด้ Morlam in Mural Painting: I-San Folk Performing Arts that are Indispensable. บญุ จันทร์ เพชรเมืองเลย บทคัดยอ่ มหรสพการแสดงพนื้ บา้ นหมอลาอีสานทป่ี รากฏในฮปู แต้มสิมอสี านทีข่ าดไม่ได้ ผลการศกึ ษาพบว่า ฮูปแต้มหมอลาที่ปรากฏในสิมทั้ง 5 แห่ง ทาให้ทราบถึงความสาคัญของหมอลา ได้แก่ 1) หมอลาให้ความ บนั เทิงและสรา้ งความสามคั คปี องดองกับคนในชุมชน ดังปรากฏภาพการลาและเซิ้งประกอบขบวนแห่ สิมวัด สระบวั แก้ว สิมวดั โพธาราม และสิมวัดป่าเรไรย์ 2) หมอลาช่วยกล่ันกรองการเลือกคู่ของหนุ่มสาว ดังปรากฏ ภาพการลาและจา่ ยผญา สมิ วัดสนวนวารี และ3) หมอลาให้การศกึ ษาแก่คนในชุมชนและช่วยให้หนุ่มสาวได้ทา ความรู้จักกัน ดังปรากฏภาพการแสดงหมอลาผญาและหมอลากลอน สิมวัดประตูชัย หมอลานับว่ามี ความสาคัญอย่างย่ิงจนกระท่ังช่างแต้มได้นาการแสดงหมอลาแต้มแทรกในบริเวณพ้ืนที่ว่างของสิมด้วย จนปรากฏเปน็ หลักฐานเชงิ ประจักษส์ บื มาจนถึงปจั จบุ นั คาสาคญั : มหรสพการแสดง, หมอลา, ฮปู แต้ม,สิมอสี าน ABSTRACT I-San folk performing arts are indispensable that appeared in moral painting. These arts appeared in 5 temples. The arts told the important of Morlam: 1) Morlam made entertainment and harmonious in society that appeared the picture of processing in the Sim I-San (Northeast Buddhist Holy Temple) at Srabua temple, Photharam temple and Pha Re Rai temple. 2) Morlam helps to find the couple that appeared in the picture of I-San song at Sanaun Wa Ree temple. 3) Morlam gives the studying in society that appeared in the picture of I-San song and Lam Klorn performing in the Sim I-San (Northeast Buddhist Holy Temple) at Pra Too Chai temple. Morlam is important so that the artist kept the folk song to insert to the space of the Sim I-San and they want to show to the other today. Keywords: entertainment, Morlam (I-San song), moral painting, Sim I-San (Northeast Buddhist Holy Temple) 1บญุ จนั ทร์ เพชรเมอื งเลย นักศกึ ษาหลกั สตู รปรัชญาดษุ ฏีบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรม ศลิ ปกรรม และการออกแบบ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ศป.ม (วจิ ัยศิลปะและวัฒนธรรม), ศษ.ม (การบรหิ ารการศกึ ษา)

บทนา ภาคอีสานมีขนบประเพณีอันเก่าแก่ที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ภายในรอบ 1 ปี (365 วัน) จะมีบุญ ประเพณีครบท้ังหมดสิบสองเดอื น ชาวอีสานเรียกว่า ประเพณฮี ตี สบิ สอง นอกจากบญุ ประเพณีที่กล่าวมาแล้ว อสี านยงั มีภาษาและวรรณกรรมเป็นของตอนเองอีกด้วย ดังปรากฏหลักฐานในจิตกรรมฝาผนัง หรือ ฮูปแต้ม สิมอีสาน ที่มีเร่ืองราวจากวรรณกรรม เช่น สินไซ พระลักพระลาม พระเวสสันดร เป็นต้น นอกจากเรื่องราว จากวรรณกรรมแล้วยังปรากฏมีภาพวิถีชีวิตของชาวบ้าน ได้แก่ การละเล่น การทามาหากิน มหรสพ ด้วย เช่นกัน จากการลงพ้ืนที่ศึกษาดูงานเรียนรู้ด้านศิลปะและวันธรรมอีสานใต้ ในวันที่ 20-23 ตุลาคม 2561 ผเู้ ขียนไดเ้ ห็นภาพเนอ้ื หานทิ านจากวรรณกรรม และภาพวิถีชีวิตผู้คนที่ปรากฏอยู่ในฮูปแต้มสิมอีสาน ซึ่งภาพ วิถีชีวิตเหล่านี้ได้สะท้อนถึงประวัติศาสตร์ของคนอีสานที่อาศัยอยู่ในท้องถ่ินนี้มาแต่โบราณกาลแล้ว จนมีผู้ กลา่ ววา่ หากจะหาตัวตนของคนอสี านจะตอ้ งหาให้ครบทง้ั 5 วิญญาณ คอื ข้าวเหนียว ปลาร้า ส้มตา ลาบ และ หมอลา (ณัฐสดุ า ภารพนั ธ์, 2552) ซ่งึ หมอลาเป็นหน่งึ ในวญิ ญาณทงั้ 5 ของอีสาน ซ่ึงก็ได้ปรากฏอยู่ในฮูปแต้ม สิมอีสานดว้ ยเชน่ กนั ผเู้ ขียนจึงมีความสนใจศกึ ษามหรสพการแสดงหมอลาที่ปรากฏในฮูปแต้มสิมอีสาน ซึ่งเป็นการละเล่น สร้างความบันเทิงในงานบุญประเพรีท่ีปรากฏในฮูปแต้มสิม ในจังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม และ จังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อหาความสาคัญของมหรสพการแสดงหมอลาพื้นบ้านหมอลาท่ีปรากฏอยู่ในฮูปแต้มสิม อสี าน เหตใุ ดหมอลาจึงมคี วามสาคญั ตอ่ กคนอสี านยิ่งนกั และมีคณุ ค่าตอ่ คนอสี านอย่างไร วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือศกึ ษาความสาคัญของมหรสพการแสดงพ้ืนบา้ นหมอลาในฮปู แต้มสอิ ีสาน วธิ ดี าเนนิ การศึกษาวจิ ัย การศึกษาบทความเรื่อง หมอลาในฮูปแต้มสิมอีสาน: มหรสพการแสดงพื้นบ้านคนอีสานท่ีขาดไม่ได้ ผศู้ กึ ษาเลอื กศกึ ษาฮปู แตม้ สิมอสี าน ในช่วงลงพน้ื อีสานกลาง-ใต้ ระหวา่ งวนั ท่ี 20-23 ตลุ าคม 2561 ได้แก่ 1. ฮูปแตม้ สิมวดั สนวนวารพี ฒั นาราม ต.หวั หนอง อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแกน่ 2. ฮูปแตม้ สมิ วดั สระบวั แกว้ ต.วงั คูณ อ.หนองสองห้อง จ.ขอนแกน่ 3. ฮปู แตม้ สมิ วัดโพธาราม บ.ดงบัง อ.นาดูน จ.มหาสารคาม 4. ฮูปแตม้ สิมวดั ป่าเลไลย์ บ.หนองพอก อ.นาดูน จ.มหาสารคาม 5. ฮปู แต้มสมิ วัดประตชู ัย (บ้านคาไฮ) บา้ นประตูชยั อาเภอธวัชบรุ ี จังหวดั รอ้ ยเอ็ด ในการศึกษาครั้งนผี้ ู้วจิ ยั ใช้วิธกี ารศึกษาวิจัยเชงิ คณุ ภาพ (Qualitative research) ซ่งึ มขี ัน้ ตอนดงั น้ี 1. ประชากรกลมุ่ เปา้ หมายทใี่ ชศ้ กึ ษาในการศึกษาครั้งนี้ คือ กลุ่มผู้รู้ด้านดนตรีและหมอลา จานวน 3 ทา่ น คอื ดร.ราตรีศรีวไิ ล บงสิทธพิ ร (เช่ยี วชาญดา้ นหมอลา) รศ.สาเร็จ คาโมง (เชยี่ วชาญด้านดนตรีไทยสากล และพ้ืนบ้าน) และดร.หริ ัญ จักรแสน (เชยี่ วชาญดา้ นดนตรพี ื้นบ้าน) 2. ศึกษาเอกสาร งานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ งเพื่อใชอ้ ้างผลการศึกษา ได้แก่ ความรู้เก่ยี วกับฮปู แต้มสิมอีสาน ความร้เู กีย่ วกับหมอลา ความรเู้ กีย่ วกับประเพณขี องอีสาน และแนวคิดทฤษฏีท่เี กี่ยวขอ้ ง 3. ศึกษารวบรวมข้อมูลโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาจากเอกสารที่เก่ียวข้อง และ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการศึกษา ไดแ้ ก่ แบบสงั เกตแบบไมม่ ีส่วนรว่ ม เพอื่ สังเกตสภาพทั่วของฮูปแต้มอีสานท่ีปรากฏ

อยใู่ นสิม และแบบสัมภาษณช์ นิดไมม่ โี ครงสรา้ ง เพือ่ สัมภาษณอ์ ย่างไม่เป็นทางการท่ีเป็นผู้รู้เกี่ยวกับดนตรีและ หมอลา 4. การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลข้อมูลโดยวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากศึกษาเอกสาร การสังเกต การ สัมภาษณ์ และนาเสนอขอ้ มูลโดยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศกึ ษา ก่อนจะกล่าวถึงความสาคัญของมหรสพการแสดงพ้ืนบ้านหมอลาในฮูปแต้มสิมอีสาน ผู้เขียนขอ กลา่ วถึงความหมายของฮูปแต้มสิมอสี านกอ่ น เพอื่ นาไปสู่ความเขา้ ใจเบ้ืองต้นเรอื่ งของสถาปัตยกรรมสิมพ้ืนถิ่น อีสาน และจติ รกรรมพ้นื ถิน่ อีสาน ดงั นี้ ภายในบริเวณวัดมสี ถาปัตยกรรมท่ีเรียกวา่ โบสถ์ หรอื สิม ซึง่ หมายถึง เขตอโบสถ์ที่พระสงฆ์ใช้ทาการ ประชุมทาสังฆกรรมตามพุทธวินัยของวัดภาคอีสาน (วสันต์ ยอดอ่ิม, 2545) รูปแบบสิมพื้นถ่ินอีสาน ได้แก่ สิ มก่อผนังแบบด้ังเดิม (287-147 ปี) สิมโปร่งแบบด้ังเดิม (272-73 ปี) สิมก่อผนังรุ่นหลัง (190-73 ปี) และสิม แบบผสม (190-73 ป)ี (สาโรช พระวงศ์, 2551) บริเวณภายในและภายนอกสิมจะปรากฏภาพจิตกรรมฝาผนัง หรอื ฮูปแตม้ เต็มทง้ั หลัง “ฮปู แต้ม” คอื ภาพจติ กรรมฝาผนงั ทีต่ กแต่งในสิม คนอีสานมักเรียกว่า ฮูปแต้ม ที่ปรากฏในสิมเรียก วา่ ฮปู แตม้ อสี าน ซ่ึงหมายถึง ภาพเขียนท่ีบันทึกเร่ืองราวของคนอีสานผ่านงานศิลปะท่ีมีคุณค่าทางด้านจิตใจ สะท้อนถึงคาสอนและคาเตือนเพ่ือให้ผู้พบเห็นได้ยึดมั่นทาแต่ความดี และสะท้อนถึงภาพวิถีชึวิตที่สาคัญของ คนอสี านแต่กอ่ นเก่าอย่างลึกซ้งึ งดงาม (ขนิษฐา ขันคา, 2560) ฮูปแต้มอีสานเหล่าน้ี มักจะวาดด้วยกลุ่มช่าง 3 กลุ่ม คือ กลุ่มช่างเขียนแบบอีสานประเพณี กลุ่มช่างเขียนแบบอีสาน-ไทยประเพณี และกลุ่มช่างเขียนแบบ ไทยประเพณรี ัตนโกสินทร์ ฮูปแต้มสิมอีสานสามารถจาแนกตามเนื้อเร่ืองได้ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเรื่องราวทางศาสนา ได้แก่ พุทธ ประวัติ พระมาลัย ไตรภมู อิ รรถกถาชาดก ปรศิ นาธรรม กลุม่ วรรณกรรม ได้แก่ สนิ ไซ พระลัก-พระลาม สรุ ิวงศ์ กาละเกด ปาจติ น์อรพมิ พ์ เป็นต้น (พทิ กั ษ์ นอ้ ยวงั คลัง, 2549) โดยมีภาพชาวบ้านแสดงเป็นตัวละครประกอบ ทส่ี ะท้อนวถิ ีชีวติ สภาพความเป็นอยขู่ องชาวอสี าน (สมบตั ิ ประจญศาสต์, 2559) ประกอบด้วย อาชีพชาวบ้าน ได้แก่ การทานา การตักนา้ และการทอผ้า เปน็ ต้น การละเลน่ ประกอบดว้ ย การละเล่นสาหรบั เดก็ ได้แก่ ขี่ม้า กา้ นกลว้ ย หอยเบยี้ เปน็ ต้น และการละเล่นสาหรับผู้ใหญ่ ตีไก่ มวย หัวล้านชนกัน เป็นต้น และมหรสพการ แสดงหมอลา (ไพโรจน์ สโมสร และคณะ, 2532) หมอลา: มหรสพการแสดงของอสี าน ในภาคอีสานหมอลาเป็นมหรสพท่ีมีวิวัฒนาการควบคกู่ ับสงั คมอสี าน (วิภารัตน์ ข่วงทิพย์, 2559) มา ยาวนาน มหรสพ หมายถงึ การแสดงต่าง ๆ เพื่อความสนุกสนานรื่นเริง (ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมฉบับ พ.ศ. 2554) ท้ังท่ีเป็นแบบแผนและไม่มีแบบแผน มีความหมายเดียวกันกับคาว่า การแสดง กีฬาและ นนั ทนาการ (สายไหม จบกลศึก, 2541) หมอลาเป็นมหรสพการแสดงท่ีอยู่คู่กับสังคมอีสานมายาวนานโดยมีมาต้ังแต่ก่อนพุทธศตวรรษที่ 20 (กอ่ น พ.ศ. 1900) ได้เกิดหมอลาผีฟ้า และผญาเกี้ยวข้ึน และในพุทธศตวรรษที่ 20 (หลัง พ.ศ. 1900) ได้เกิด เทศน์แหล่ของพระสงฆ์ขึ้น ในพุทธศตวรรษท่ี 24 (หลัง พ.ศ. 2322) ได้เกิดหมอลาพ้ืน และหมอลากลอนข้ึน ภายหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 (ประมาณ พ.ศ. 2485 - 2490) ได้เกิดหมอลาเร่ืองต่อกลอนขึ้น ประมาณ พ.ศ. 2490 – 2510 ได้เกิดหมอลาเพลิน และหมอลาชิงชู้ข้ึน ในระหว่างปี พ.ศ.2523 – 2524 ได้เกิดหมอลาเพลิน

ประยกุ ต์ และเพลงลกู ทุ่งหมอลาขึน้ และ ในปี พ.ศ.2529 จนถึงปัจจุบันเกิดหมอลาซ่ิงข้ึน (สนอง คลังพระศรี, 2541) หมอลาเปน็ เพลงพ้นื บ้านท่นี ยิ มมากในภาคอีสาน ไดพ้ ฒั นาการแสดงเปน็ คณะมีการฝกึ หดั เป็นอาชีพ จน มผี ้สู นใจว่าจ้างหมอลาไปแสดงในงานตา่ ง ๆ มที านองลาเรยี กตามภาษาถน่ิ ว่า “ลาย” คอื ลายทางส้ัน ลายทาง ยาว และลายลาเต้ย (จตพุ ร ศิริสมั พนั ธ์, 2552) โดยเฉพาะเมื่อมีบุญประเพณีเกิดข้ึนมักต้องมีมหรสพเป็นส่ิง คู่กันเสมอ คือ การแสดงหมอลา การแสดงหมอลาของภาคอีสานมักจัดแสดงเป็นมหรสพท้ังในงานอวมงคล และงานมงคล รวมทั้งการแสดงหมอลาน้นั อาจแยกออกเป็น 2 ประเภท คือ หมอลาในงานพิธีกรรม และหมอ ลามหรสพ (ณัฐสุดา ภาระพันธ์, 2552) อาจกล่าวได้ว่า หมอลา คือ การและเล่น หรือกิจกรรมนันทนาการ ของคนอสี านอยา่ งหน่ึงทส่ี บื ทอดมาจนถึงปัจจุบัน (อุดม บวั ศรี, 2546) ดังจะเห็นได้จากตามงานบุญประเพณีฮีตสิบสอง มักจะมีการจ้างหมอลามาทาการแสดงอยู่เสมอ โดยเฉพาะหมอลากลอนทเ่ี ปน็ ท่ีนิยมของมหรศพสมโภชงาน หมอลากลอนมีเพียงหมอลาชายหญิง 1 คู่ และ หมอลา1 คนเท่าน้ัน แต่ชาวบ้านกย็ ังให้ความสนใจน่ังชมการแสดงต้ังแต่หัวค่าจนถึงเกือบสว่างเลยก็มี รวมไป ถึงหนว่ ยงานของราชการ ก็มักจา้ งหมอลาไปลารณรงคใ์ นหลาย ๆ ด้าน เช่น ด้านสาธารณสุข การเมือง และ สงั คมกม็ คี วามตอ้ งการอาศัยหมอลาไปช่วยเป็นส่ืออยู่เสมอ (ภัทรวุธ บุญประเสริฐ, 2552) เร่ืองราวของหมอ ลานอกจากจะมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาแล้วหมอลายังมีการบันทึกโดยการวาด แทรกไว้ตามฝาผนังสมิ อีสานอีกด้วย หมอลาในฮูปแต้มสิมอสี าน: มหรสพการแสดงพนื้ บา้ นคนอีสานท่ีขาดไมไ่ ด้ จากทีก่ ลา่ วมาแลว้ วา่ ฮปู แต้มสิมอีสานนอกจากเนื้อหาท่ีเป็นวรรณกรรมแล้วยังมีภาพเร่ืองราววิถีชีวิต ของชาวบ้านแทรกอยู่ในส่วนต่าง ๆ ด้วย ได้แก่ ภาพการทามาหากิน ภาพหนุ่มสาวเกี้ยวพาราสีกัน ภาพบุญ ประเพณตี ามฮีตสบิ สอง และภาพมหรสพการแสดงพน้ื บ้านอสี านหมอลาปรากฏอยู่ ฮูปแต้มสมิ อีสานท่ปี รากฏภาพหมอลา ได้แก่ ฮูปแต้มสิมวดั สนวนวารพี ัฒนาราม จ.ขอนแก่น ฮูปแต้มสิมวัดสระบัวแก้ว จ.ขอนแก่น ฮูปแต้มสิมวัดโพธาราม จ.มหาสารคาม ฮูปแต้มสิมวัดป่าเลไลย์ จ.มหาสารคาม และฮูปแตม้ สิมวดั ประตูชยั จงั หวัดรอ้ ยเอด็ ผลการศกึ ษาพบว่า การลาและจ่ายผญา เป็นการลาโตต้ อบกนั ระหว่างหมอลาชายและหมอลาหญิง พบท่ีสิมวัดสนวนารี พฒั นาราม จงั หวัดขอนแกน่ สรา้ งใน ปี พ.ศ. 2475 (บรุ ินทร์ เปลง่ ดสี กลุ , 2554) ปรากฏฮูปแต้มสินไซเป็นหลัก และมีฮูปแต้มวิถีชีวิตของคนอีสานด้วย (กัลญาณี กิจโชติประเสริฐ, 2545) ส่วนฮูปแต้มหมอลาท่ีปรากฏ คือ ภาพหมอลาชายหญิง 1 คู่ หมอลาฝา่ ยชาย 1 คน ฝ่ายหญิง 1 คน ซ่ึงแต่ละฝังของชายหญิงยังมีบริวารหรือทีม อย่ปู ระมาณ 4-5 คน ซึ่งการแสดงหมอลาในลักษณะน้ีมักเป็นการแสดงหมอลาเพ่ือจ่ายผญาระหว่างหนุ่มสาว ชาวอสี าน ปรากฏดงั ภาพท่ี 1

ภาพประกอบที่ 1 ภาพฮปู แตม้ การแสดงหมอลาผญาในสิมอีสาน วดั สนวนวารีพัฒนาราม จ.ขอนแกน่ การลาและจ่าย คอื การร้องเพลงพ้นื บ้านของชาวอสี านประเภทหน่งึ เปน็ การร้องลาเกี้ยวกัน ระหว่าง ชายหญิง โดยมีการจา่ ยผญา เว้าผญา พดู ผญา และการแก้ผญา ผูถ้ ามสว่ นใหญ่เป็น หมอลาฝ่ายชาย ฝ่ายหญิง เป็นฝ่ายตอบ การลาและจ่ายผญา ในสมัยโบราณนิยมน่ังกับพื้น หมอลาหรือหมอผญาและหมอแคน นั่งล้อม เป็นวง สว่ น ผู้ฟังกน็ ั่งเปน็ วงล้อมรอบ บางคร้ังกล็ ุกข้นึ ฟอ้ น แตผ่ ูจ้ ่ายผญาจะไมม่ ีการฟอ้ น ในบางครั้งทางานไป ด้วย แก้ผญาไปด้วย บางครั้งก็มีหมอสอยคอยสอดแทรก (“สอย” คือสานวนท่ีชาวอีสานนิยมพูดเสริมหรือ สอดแทรก ขัดจังหวะหมอลา เป็นบทร้อยกรองปากเปล่าว่าส้ันๆ ส่วนมากมีถ้อยคาออกไปในทางหยาบโลน เป็นการหยอก ลอ้ ทั้งหมอลาและผฟู้ ัง เพอ่ื ให้เกิดความสนกุ สนาน ผสู้ อยเก่งๆ เรียกว่า “หมอสอย”) ทาให้ผู้ฟัง ได้รับความ สนุกสนาน (พระมหาโสภรรณ ธนปญฺโญ (เศรษฐา), 2553) จานวนผู้แสดง 2 คน ได้แก่ หมอลา ชาย และหมอลาหญิง บทกลอนลาทใ่ี ช้เช่น “ตายดบั นกเอ้ยี งฝ้าย ตายวายนกเอี้ยงโหมง่ ตายดับนกอจี ู้ ชูแลว้ จั่งแตง่ ดอง อันวา่ เครือบนุ่ เกี้ยวเครอื บุน่ ซา้ ผดั ตาย อนั วา่ เครอื หวายเก้ยี วเครือหวายซา้ ผัดเนา่ อันว่าช้เู กา่ น้องทางบา้ นก็บม่ ี ดอกนา น้าต้องตาดคือนอ้ งสิแกว่งหลา น้าตอ้ งผาคือน้องสิแกว่งอิ้ว ฟ้ายิกคิว้ คอื นอ้ งสแิ กวง่ แขวน เห็นว่าดาข้ีหล่ีอย่าฟ้าวขี่เฮือกลาย เห็นว่าดาขอยลอยอย่าฟ้าวพายเฮือเว้น บาดว่าเฮือคาแก้งดาขอ ยลอยสิไดช้ ่อย คันบไ่ ด้ช่อยน้อยยังชิได้ชอ่ ยหลาย” (ประตูสู่อสี าน, 2561: เว็บไซต์) โอกาสที่แสดงได้ทุกโอกาส ประโยชน์มีบทบาทให้ความบันเทิง หมอลาให้ความบันเทิง สนุกสนาน ตน่ื เต้นดว้ ยเสียง ภาษา ท่าทาง เน้อื เร่ืองท่ีสนุกสนานเช่น การอ่านหนังสือจากวรรณกรรมเร่ืองต่างๆ ทั้ง คดีโลกคดธี รรมหรอื การเก้ยี วพาราสี ชิงไหวพริบกันของหนุ่มสาว มีบทบาทด้านความรู้ หมอลาโดยทั่วไปจะ สอดแทรกความรู้ทั้งคดีโลกและคดีธรรม เพื่อให้ขอ้ คิดแกผ่ ฟู้ ังได้ความรู้ โดยไม่ใหร้ ตู้ วั การลาและเซิง้ ประกอบขบวนแห่ ปรากฏฮูปแต้มการลาและเซิง้ ประกอบขบวนแห่อยู่ 3 แห่งด้วยกัน ไดแ้ ก่ฮูปแตม้ สิมวัดสระบวั แกว้ จ.ขอนแกน่ สร้างใน ปี พ.ศ. 2474 (บุรินทร์ เปล่งดีสกุล, 2554) ผนังสิมแต้มฮู ปพระลัก พระลามเป็นหลัก และภาพวิถีชีวิตของผู้คนในยุคน้ัน (บุญยงค์ เกศเทศ, 2560: เว็บไซต์) ส่วนฮู

ปแต้มของหมอลาท่ีปรากฏ คือ ภาพขบวนแห่มีหมอลาแคน 1 คน และมีชายหญิงฟ้อนราประกอบ ซ่ึงแสดง ลักษณะนีส้ ว่ นใหญ่มกั เปน็ การลาในขบวนแห่เซิ้งอสี าน ปรากฏดังภาพที่ 2 ภาพประกอบท่ี 2 ภาพฮปู แตม้ การลาและเซงิ้ ในสิมวดั สระบวั แกว้ จ.ขอนแก่น ฮปู แตม้ สิมวดั ฮปู แต้มในสิมวดั โพธาราม จ.มหาสารคาม สร้างก่อน ปี พ.ศ. 2500 (บุรินทร์ เปล่งดีสกุล , 2554) ผนังสิมแต้มฮูปวรรณกรรมเรื่องเผวสันดรชาดกเป็นหลัก ส่วนภาพวิถีชีวิตเสนอภาพชีวิตผู้คนตาข้าว ด้วยครกมอง และการลงข่วงเข็ญฝา้ ย (ศภุ ชยั สิงห์ยะบศุ ย์ และคณะ, 2559) ส่วนฮูปแต้มของหมอลาท่ีปรากฏ คอื ภาพหมอแคน 1 คน ชายหนมุ่ และหญิงสาวฟ้อนราเกย้ี วพาราสกี ัน ซึ่งแสดงลกั ษณะน้สี ว่ นใหญ่มักเป็นการ ลาในขบวนแห่เซ้งิ อีสาน ปรากฏดังภาพท่ี 3

ภาพประกอบท่ี 3 ภาพฮปู แตม้ การลาและเซ้งิ ในสิมวดั โพธาราม บ.ดงบงั อ.นาดนู จ.มหาสารคาม ฮปู แต้มวัดปา่ เลไลย์ จ.มหาสารคาม สร้างใน ปี พ.ศ. 2400 (บรุ ินทร์ เปล่งดีสกุล, 2554) ผนงั สิมแต้ม ฮปู พทุ ธประวัตแิ ละวถิ ีชวี ติ ของชาวบา้ น คอื การทามาหากนิ การประกอบอาชีพ ประเพณีท้องถ่ินตา่ ง ๆ และ การละเลน่ แสดงหมอลา (พรเพ็ญ บุญญาทิพย,์ 2556) สว่ นฮปู แต้มของหมอลาท่ปี รากฏ คอื ภาพหมอแคน 2 คนแบง่ ออกเปน็ 2 กลุม่ มชี ายหนุ่มฟ้อนราอยา่ งสนุกสนานประจากลมุ่ ละ 7-8 คน ท่ามกลางหญิงสาวท่ียนื ดู อยู่ ซง่ึ แสดงลกั ษณะนี้ส่วนใหญม่ ักเป็นการลาในขบวนแหเ่ ซงิ้ อสี าน ปรากฏดงั ภาพที่ 4 ภาพประกอบที่ 4 ภาพฮปู แต้มการลาและเซิง้ ในสมิ วัดปา่ เลไลย์ จ.มหาสารคาม จากฮูปแต้มการแสดงหมอลาท่ีปรากฏจะเห็นได้ว่าสิมท้ัง 3 หลังน้ี ได้ปรากฏการแสดงหมอลาใน ลกั ษณะคล้ายกับการลาและเซิ้ง การลาและเซงิ้ หมายถึง การฟ้อนประกอบการขับกาพย์ ส่วนใหญ่นิยมใช้ใน พธิ แี หบ่ งั้ ไฟขอฝน นยิ มเซงิ้ เป็นกลุ่มต้ังแต่ 3-5 คนมีหัวหน้าเป็นคนขับกาพย์เซ้ิงนา แล้วคนอื่น ๆจะน้องรับไป เรอ่ื ย ๆ จานวนผแู้ สดง 3-5 คนข้ึนไป บทกลอนลา เช่น ตวั อยา่ งกาพยเ์ ซง้ิ บงั้ ไฟที่ใช้ในช่วงเตรียมงาน

“…โอเฮาโอพวกเซง้ิ เฮาโอ มาฮอดนี่ฌอาขอสาก่อน มาฮอดบอ่ นเฮือนเจา้ ศรทั ธา ขอเงินตราไปซอื้ กินเหล้า ขอนาเจา้ ผเู้ พ่ินใจบุญ จั่งเปน็ คุณลูกหลานมาจอด...” (อรา่ มจิต ชินชว่ ง, 2531) โอกาสที่แสดง บุญประเพณใี นฮีตสบิ สอง ประโยชน์ชว่ ยให้ผ่อนคลายความตึงเครียดในชีวิตประจาวัน จากภาวะเศรษฐกิจที่บีบรัดในปัจจุบัน สื่อหมอลาสามารถใช้ศิลปะการแสดงการผ่อนคลายความตึงเครียดใน ชีวิตประจาวันของประชาชนได้เป็นอย่างดี โดยในศิลปะการแสดงนั้นประกอบไปด้วยบทตลก โศกเศร้า ดีใจ เสียใจ ทาให้ผู้ฟัง ผู้ชมมีอารมณ์ร่วมคล้อยตามกับนักแสดงนั้น ๆ จนสามารถทาให้ผู้ฟัง ผู้ชมลืมสภาพการณ์ ความเปน็ จรงิ ในชวี ิตประจาวันได้ การแสดงหมอลาผญาและหมอลากลอน วัดประตูชัย(บ้านคาไฮ) จังหวัดร้อยเอ็ด สร้างใน ปี พ.ศ. 2464 (บุรินทร์ เปล่งดีสกุล, 2554) ฮูปแต้มผนังสิมเน้นเน้ือหาวรรณกรรมสินไซและพระเวสันดรชาดก เป็น หลัก และมีการแต้มฮูปวิถีชีวีชาวบ้านด้วยซึ่งในช่วงนี้รัฐสยามได้เข้ามาปกครองพื้นท่ีชุมชนอีสานแล้ว (ศุภชัย สงิ ห์ยะบศุ ย์ และคณะ, 2559) ส่วนฮูปแตม้ ของหมอลาทป่ี รากฏ คือ มีหมอลาแคน 1 คน มีชายหญิงราเก้ียวคู่ กนั 1 คู่ และมีชายหนุ่ม 3 คน ฟ้อนรากันอย่างสนุกสนาน ซ่ึงแสดงลักษณะน้ีส่วนใหญ่มักเป็นการแสดงหมอ ลาผญาและหมอลากลอน ปรากฏดังภาพท่ี 5 ภาพประกอบท่ี 5 ภาพฮูปแตม้ แสดงหมอลาผญาและหมอลากลอนในสิมวัดประตูชยั จังหวัดร้อยเอ็ด จากฮูปแต้มการแสดงหมอลาที่ปรากฏจะเห็นได้ว่าสิมวัดประตูชัย ได้ปรากฏการแสดงหมอลาใน ลกั ษณะคล้ายกบั แสดงหมอลาผญาและหมอลากลอน ดังน้ี การแสดงลาผญา หมายถึง การนาผญามาใส่ทานองลา \"กลอนผญา\" น้ี คนโบราณใช้พูดเกี้ยวพาราสี กนั เมื่อชายหนมุ่ หรือหญิงสาว ไปพบกัน ถ้ามีความรักใคร่พอใจกัน จะพูดเก้ียวกันเป็นผญา เรียก \"จ่ายผญา\" จานวนผู้แสดงมี 3-5 คน แต่พวกผ้ไู ทยในเขตมุกดาหาร นครพนม สกลนคร เอาผญานี้ไปใช้เป็นกลอนลา เมื่อ ไปลา ณ ท่ีใด ก็เอาผญาไปเป็นกลอนลา ลาเกี้ยวกันไปเกี้ยวกันมา ลาเป็นบทกลอนสั้นๆ ต่อมาพวกลากลอน เห็นว่า แบบผู้ไทยสะดวกไม่ต้องท่องกลอนยาว จึงเลียนแบบผู้ไทยมาลา เปล่ียนช่ือกลอนไปใหม่ว่า \"ลาเต้ย\" เอาช่ือบา้ นชื่อเมืองไปตามเจ้าของ เช่น เต้ยหัวดอนตาล เต้ยศรีภูมิ เต้ยพม่า เป็นต้น ความจริงก็คือ \"ลาผญา\" นน้ั เอง จะไดน้ าเอาเต้ยมาแสดงพอเป็นตวั อยา่ ง ดังต่อไปนี้

“…ผจู้ บจ่ังน้องผงู้ ามจงั่ นอ้ งยมื เพศผใู้ ดมา ผูจ้ บจงั่ น้องผงู้ ามจงั่ น้องยืมขาผ้ใู ดยา่ งมานอ หอื แมน่ เท พะไทล้ วงล้อใหพ้ ี่ตาย บ้อนอ บ่จบปานใดแลว้ บง่ ามปานใดแลว้ หตู ามีใหเ้ บง่ิ เอาถอ้ น คนั แม่นดีแลฮ้ายเชิยเจ้าให้เบ่ิงเอา หัน้ ถ้อน ผจู้ บจ่งั เจ้า ผ้งู ามจ่งั เจา้ อยากขอแนวไปปลกู คันแม่นได้ลูกแล้ว แนวเจ้าสิสง่ คนื ดอกนา ยา้ นแต่ติแถลงเว้าเอาเงางามาป้ันฮูบ เอาหนี แฮม่ าค้ันส้ม เอาลมเฮด็ ตองหอ่ เอาแดดมาเฮ็ดตอกกวิ้ สไิ ปหมนั้ บอ่ นใด บไ่ ดต้ ิแถลงหลม้ ตมบม่ ีคาดลาดหมื่น บไ่ ด้คาดลาดล้มเดอื นหา้ กอ่ นฝน ดอกนา ลมพานต้องตองแกย้านบแ่ น่ ลมพานต้องตองแต้แนบ่ ่นอ…” (ประตสู ่อู สี าน, 2561: เวบ็ ไซต์) โอกาสที่แสดง สามารถแสดงได้ทุกโอกาส ประโยชน์เนื้อหาที่ปรากฏอยู่ในกลอนลายังมีบทบาท สะท้อนให้เห็นประเพณีวัฒนธรรมชุมชนในท้องถิ่น สร้างเอกภาพทางการเมืองและความคิดของผู้ฟัง สภาพ สังคมชาวอสี าน 1. การประกอบอาชพี ซง่ึ มหี ลายอย่าง เช่นการทานา ทาไร่ วัฒนธรรมการกิน เช่น การ กินอาหารของชุมชน ประเพณีต่างๆ เช่น ประเพณีแต่งงาน ประเพณีการลงเข็นฝ้าย 2. สร้างเอกภาพทาง การเมอื งและความคิด หมอลามีบทบาทสร้างเอกภาพทางความคิดให้แก่ผู้ฟัง โดยวิธีการเสนอข้อมูลที่เป็น บรรทดั ฐานสังคม ใหค้ นปฏิบัติเหมือนกัน 3. สภาพสังคมชาวอีสาน ได้แก่ 1.ธรรมเนียมเก่ียวกับชีวิต เช่น ฮี ตสิบสองคองสิบสี่ 2.สะท้อนด้านความรัก ความกตัญญู ต่อผู้มีพระคุณ ของชาวอีสาน 3.สะท้อน อาชีพ และ การดาเนินชีวิต ของชาวอีสาน 4.แสดงถึงสุภาษิต คาพังเพย 5.แสดงถึงคาสอน 6.แสดงถึงความเชื่อ (บุญ เสรมิ แก่นประกอบ, ม.ป.ป.). หมอลากลอน หมายถงึ หมอลาท่ีลาเปน็ คู่ โตต้ อบกันระหว่างชายหญิง เนน้ เน้อื หาบทกลอนเป็นสาคัญ อาจเกย่ี วกบั เหตุการณ์ สงั คม ประเพณี และวัฒนธรรมทีเ่ กิดข้ึนในขณะน้ัน หรือบทกลอนทางประวัติศาสตร์ก็ ได้ โดยมีการนาแคนเข้ามาประกอบขณะลา (สุวิทย์ รัตนปัญญา, 2553) การแสงหมอลากลอน เป็นการลา สลบั ชายหญิง กลอนลาท่ีลาขึ้นอยู่กับการนาเสนอ เช่น กลอนวิชาการ กลอนประวัติศาสตร์ กลอนธรรมชาติ และลักษณะของกลอนขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ได้แก่ กลอนเก้ียว กลอนโจทย์แก้ กลอนเดินดง เป็นต้น ซึ่ง ฝ่ายชายและฝ่ายหญิงจะลาโต้ตอบหรอื บางครั้งก็อาจจะมีการประชันกลอน โดยขึ้นต้นเปิดฉากด้วยกลอนไหว้ ครู ใช้ทานองลาทางสั้น และถัดจากนั้นจะเป็นกลอนบรรยายอาจเป็นกลอนนิทาน ใช้ทานองลาทางยาว และ สุดท้ายเป็นกลอนลาเกยี้ วระหว่างหมอลาชายและหมอลาหญิง ใช้ทานองลาเต้ยโขง พม่า และธรรมดา การแต่ง กายผูช้ ายนยิ มแต่งกายดว้ ยชุดสากล เสื้อแขนยาวผูกไท้ ส่วนหมอลาหญิง จะแต่งกายท่ีสวยงามตามสมัยนิยม คอื สวมชุดผ้าไหม เคร่อื งดนตรที ี่ใช้ในการแสดง คอื แคน เป่าคลอประกอบขณะลา หมอลากลอนเป็นหมอลา ทถ่ี ือว่าเปน็ ต้นเคา้ ของหมอลาท่เี ป็นครูถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ชาวบ้านเป็นอย่างดี เพราะเนื้อหาของกลอน ลาส่วนใหญ่จะมีท้งั คดีโลก และคติธรรมทแี่ ทรกด้วยคาสอนต่าง ๆ ของประเพณี และวัฒนธรรมในสังคมอีสาน อย่างสมบูรณ์ (เอ้อื มเดอื น ถ่ินปญั จา, 2548) จานวนผแู้ สดง มี 3 คน บทกลอนลาเชน่ “โอ่ย…โอย้ ละนอ…เออ…อ่วย ฟ้าเอยฟ้าฮ้องหล่าย ทางอุดรหนองคาย นอ้ งไดย้ นิ หรอื บ่ ฟา้ เอ้ยนอฮอ้ งตึง้ พุ้นต้งึ พ้ี ใจอา้ ย…หว้ งพะนาง..เอ้ยเอย…น่า… บรบวนแลว้ ชายลาสิลาจาก สไิ ด้พากพ่นี ้อง ลุงปา้ คู่สคู่ น ลามาโดนจนล้า ตาลายปากฝ่าว ทางผ่องอดิ ออ่ นลา้ ขายง้ั สบิ ่ไหว…”ฯลฯ (สุนทร แพงพทุ ธ, 2556)

โอกาสท่ีแสดงสามารถแสดงได้ทุกโอกาส ประโยชน์มีบทบาทเผยแพร่ศาสนาและรักษาบรรทัดฐาน ของสังคม ศาสนามีความสาคัญกับสังคมของอีสานมาก รวมทงั้ เป็นตัวกาหนดค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณี ความเชือ่ อีกทั้งหมอลาเป็นผู้ถ่ายทอดคาสอน เช่น การนาเอาชาดกมาลาเป็นเร่ืองราว และตอนท้ายหมอ ลากจ็ ะสรุปคตธิ รรมที่ปรากฏในชาดกนั้นๆ เป็นต้น เช่น ทาดีได้ดี ทาช่ัวได้ชั่ว บาปบุญคุณโทษ และนอก จากน้ีหมอลายังมีบทบาทเป็นส่ือพ้ืนบ้าน คือการลาเพื่อเสนอข่าวสารแก่สาธารณชน หมอลาเป็นสื่อที่ ชาวบ้านเข้าถึงและให้ความเช่ือถือโดยไม่ได้ต้ังใจ เร่ืองราวท่ีส่ือสารอาจเป็นการชักชวนให้จงรักภัคดี การ ตักเตอื นภัยทเี่ กิดแก่ชมุ ชน ข่าวสารทางราชการต้องการประเทศให้ชุมชนได้รับทราบ นอกจากนี้หมอลายังมี ประโยชน์ในหลายด้านคอื 1) สรา้ งงาน สรา้ งอาชพี จากการพัฒนาปรับปรุง ประยกุ ต์ จนได้รับความนิยมอย่าง กว้างขวาง แพร่หลาย จริงจัง ประกอบกับมีผู้สนใจศึกษาเรียนรู้ ฝึกหัด เป็นหมอลาหลายประเภท จนมี สานักงานหมอลาสาหรบั ตดิ ตอ่ วา่ จ้างใหแ้ สดง ซงึ่ สามารถทาใหบ้ คุ ลหลายคนมีงานทา มีอาชีพเล้ียงตนเองและ ครอบครัวได้ 2) สร้างโอกาสการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอื่น ๆของประชาชน กล่าวคือ เม่ือมีการ แสดงหมอลาจะทาให้ประชาชนจากหลายท้องที่มีโอกาสมาพบปะสังสรรค์ สันทนาการซึ่งกันและกัน ซึ่ งจะ กอ่ ให้เกิดปฏิสมั พนั ธท์ ่ีดแี ก่ชุมชน กลายเปน็ การแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ การตดิ ต่อช่วยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและ กันในโอกาสต่อไป และ 3) การแสดงถึงความเจริญงอกงามทางด้านวัฒนธรรมจิตใจของประชาชน ท้ังในบท กลอนลาของหมอลานั้น จะประกอบด้วยการกล่าวถึงประวัติความเป็นมาของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เชิญชวนให้ประชาชนประพฤติดี มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และอื่น ๆ โดยทั้งหมดนี้จะแทรกในความ บนั เทิงจากศลิ ปะการแสดงน้ัน ๆ (เทพพร มงั ธานี, 2545) จากการศึกษาฮูปแต้มสิมอีสานท้ังหมดจานวน 5 หลัง มีการสร้างฮูปแต้มขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2400- 2500 ซึ่งตรงกบั การเกิดหมอลาอสี านในชว่ งปี พ.ศ. 2322-2490 ได้แก่ หมอลาพนื้ หมอลากลอน และหมอลา เร่ืองตอ่ กลอน จะเห็นไดว้ า่ หมอลาท่ปี รากฏในฮูปแตม้ สมิ อสี านจะเป็นภาพ หมอลาชาย หมอลาหญิง และหมอ แคนปรากฏอยู่ ซึ่งเป็นองค์ประกอบของการแสดงหมอลากลอนอีสาน และบางภาพยังปรากฏว่ามีขบวนเซ้ิง และมีการลาประกอบเพื่อสร้างความสนุกสนานในขบวนแหด่ ้วย นอกจากนี้ยังปรากฏเห็นภาพการเล่นหมอลา เกยี้ วพราราสีของหน่มุ สาวโดยอาจจะเป็นลาจ่ายผญาก็เป็นได้ ซ่ึงฮูปแต้มสิมอีสานท่ีปรากฏมหรสพการแสดง หมอลาท่ีปรากฏพบทั้งหมด 5 หลัง แบ่งหมอลาที่ปรากฏออกเป็น 3 กลุ่ม คือ การลาและจ่ายผญา การลา และเซ้ิงประกอบขบวนแห่ และการแสดงหมอลาผญาและหมอลากลอน มีลักษณะดังนี้ 1) การลาและ จ่ายผญา สมิ วัดสนวนวารี ฮูปแตม้ หมอลาทปี่ รากฏ คือ ภาพหมอลาชายหญิง 1 คู่ หมอลาฝ่ายชาย 1 คน ฝ่าย หญงิ 1 คน ซงึ่ แต่ละฝังของชายหญงิ ยงั มีบริวารหรอื ทีมอยูป่ ระมาณ 4-5 คน ซึ่งการแสดงหมอลาในลักษณะน้ี มักเปน็ การแสดงหมอลาเพ่อื จา่ ยผญาระหว่างหนุ่มสาวชาวอีสาน 2)การลาและเซ้ิงประกอบขบวนแห่ สิมวัด สระบัวแก้วฮูปแต้มของหมอลาที่ปรากฏ คือ ภาพขบวนแห่มีหมอลาแคน 1 คน และมีชายหญิงฟ้อนรา ประกอบ ซ่งึ แสดงลกั ษณะนส้ี ่วนใหญม่ ักเป็นการลาในขบวนแหเ่ ซง้ิ อสี าน สิมวดั โพธาราม ฮูปแต้มของหมอลาที่ ปรากฏ คือ ภาพหมอแคน 1 คน ชายหนุ่ม และหญิงสาวฟ้อนราเกี้ยวพาราสีกัน ซึง่ แสดงลักษณะนสี้ ่วนใหญ่มัก เปน็ การลาในขบวนแหเ่ ซิง้ อสี าน และสิมวัดป่าเรไรย์ ฮูปแต้มของหมอลาที่ปรากฏ คือ มีหมอลาแคน 1 คน มี ชายหญิงราเกี้ยวคู่กัน 1 คู่ และมีชายหนุ่ม 3 คน ฟ้อนรากันอย่างสนุกสนาน ซ่ึงแสดงลักษณะน้ีส่วนใหญ่มัก เปน็ การแสดงหมอลาผญาและหมอลากลอน และ3) การแสดงหมอลาผญาและหมอลากลอน สิมวัดประตูชัย ฮปู แตม้ ของหมอลาที่ปรากฏ คอื มีหมอลาแคน 1 คน มีชายหญงิ ราเกย้ี วคู่กัน 1 คู่ และมีชายหนุ่ม 3 คน ฟ้อน รากันอย่างสนกุ สนาน ซ่งึ แสดงลักษณะนสี้ ่วนใหญ่มักเป็นการแสดงหมอลาผญาและหมอลากลอน อาจกล่าวได้กว่า มหรสพการแสดงของคนอีสาน ไม่สามารถขาดการแสดงหมอลาได้ เพราะหมอลา เป็นสงิ่ เติมเตม็ ความสุขทางด้านรา่ ยกาย (รา) และได้จิตใจ (เสียงลา) ให้แก่คนอีสานมาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

เม่ือใดทีม่ ภี าพวิถชี ีวิตของชาวอีสานปรากฏข้นึ เกยี่ วกบั งานบญุ ประเพณี หรือการละเล่นของคนอีสานแล้วย่อม ปรากฏมมี หรสพการแสดงหมอลาอยู่ด้วยเสมอ สรุปและอภปิ รายผล จะเห็นได้ว่ามหรสพการแสดงหมอลามีความสาคัญกับคนอีสานเท่ากับลมหายใจเลยก็ว่าได้ ดังท่ี ปรากฏฮูปแตม้ มหรสพการแสดงหมอลาในสิมอีสานซ่ึงยืนยันได้แล้วว่า หมอลาเป็นมหรสพท่ีมีความสาคัญต่อ อีสานอย่างแทจ้ ริง จากการศกึ ษาความสาคัญของมหรสพการแสดงพืน้ บ้านหมอลาในฮปู แตม้ อสี าน สรุปได้ว่า 1) หมอลาให้ความบันเทิงและสร้างความสามัคคีปองดองให้กับคนในชุมชน ดังปรากฏภาพ การลา และเซิ้งประกอบขบวนแห่ สิมวัดสระบัวแก้วฮูปแต้มของหมอลาท่ีปรากฏ คือ ภาพขบวนแห่มีหมอลาแคน 1 คน และมชี ายหญงิ ฟอ้ นราประกอบ ซึ่งแสดงลักษณะนี้ส่วนใหญ่มักเป็นการลาในขบวนแห่เซ้ิงอีสาน สิมวัดโพ ธาราม ฮูปแต้มของหมอลาที่ปรากฏ คือ ภาพหมอแคน 1 คน ชายหนุ่ม และหญิงสาวฟ้อนราเกี้ยวพาราสีกัน ซึ่งแสดงลักษณะน้ีส่วนใหญ่มักเป็นการลาในขบวนแห่เซิ้งอีสาน และสิมวัดป่าเรไรย์ ฮูปแต้มของหมอลาท่ี ปรากฏ คอื มีหมอลาแคน 1 คน มชี ายหญิงราเกีย้ วคกู่ ัน 1 คู่ และมชี ายหนุม่ 3 คน ฟอ้ นรากนั อย่างสนุกสนาน ซง่ึ แสดงลักษณะนสี้ ่วนใหญ่มกั เปน็ การแสดงหมอลาผญาและหมอลากลอน 2) หมอลาชว่ ยกลัน่ กรองการเลือก ค่ขู องหนมุ่ สาว ดังปรากฏภาพการลาและจ่ายผญา สิมวัดสนวนวารี ฮูปแต้มหมอลาท่ีปรากฏ คือ ภาพหมอลา ชายหญงิ 1 คู่ หมอลาฝ่ายชาย 1 คน ฝา่ ยหญิง 1 คน ซึง่ แต่ละฝังของชายหญิงยังมีบริวารหรือทีมอยู่ประมาณ 4-5 คน ซ่ึงการแสดงหมอลาในลักษณะนี้มักเป็นการแสดงหมอลาเพ่ือจ่ายผญาระหว่างหนุ่มสาวชาวอีสาน และ 3) หมอลาให้การศึกษาแก่คนในชุมชนและช่วยให้หนุ่มสาวได้ทาความรู้จักกัน ดังปรากฏภาพการแสดง หมอลาผญาและหมอลากลอน สิมวัดประตูชัย ฮูปแต้มของหมอลาท่ีปรากฏ คือ มีหมอลาแคน 1 คน มีชาย หญิงราเก้ียวคู่กัน 1 คู่ และมีชายหนุ่ม 3 คน ฟ้อนรากันอย่างสนุกสนาน ซึ่งแสดงลักษณะนี้ส่วนใหญ่มักเป็น การแสดงหมอลาผญาและหมอลากลอน อาจสรุปได้วา่ หมอลาเป็นส่วนช่วยควบคุมสังคมทางอ้อมด้วยเน้ือหากลอนลาท่ีมีลักษณะเป็นคาสอน แทรกคุณธรรม จริยธรรม วิถีการดารงชีวิต และประวัติศาสตร์ เป็นส่ือคอยย้าเตือนชาวบ้านอยู่ตลอดเวลา หมอลาจงึ มคี ณุ ค่าทง้ั ทางด้านการออกกาลังการด้วยการฟ้อนรา การได้ความรู้จากการฟังลา ซึ่งสอดคล้องกับ ทฤษฏีโครงสร้างหน้าที่ของโบรนสิ ลอร์ มาลิเนาสกีท่ีกล่าวถึงหน้าท่ีนิยมมาใช้กับอินทรีย์นิยม หลักความคิดใน การวิเคราะห์สังคม คือ องค์ประกอบต่างๆของวัฒนธรรมทุกส่วนทาหน้าที่สนองความต้องการจาเป็นของ มนษุ ยแ์ ละวฒั นธรรม “ทัศนะของหน้าทีน่ ยิ มท่มี ีต่อวฒั นธรรมเน้นหลกั สาคัญทีว่ ่าประเพณีทกุ อย่าง วัฒนธรรม ทุกอย่าง ความคิดทุกความคิด ความเช่ือทุกความเชื่อของวัฒนธรรม สนองตอบความต้องการจาเป็นหรือทา หนา้ ท่ีอย่างใดอยา่ งหนึ่ง มหี นา้ ท่จี ะต้องทาหรอื เปน็ ตัวแทนของสว่ นทจี่ ะขาดเสียไมไ่ ด้ในวัฒนธรรมนั้น” จดุ เดน่ ในความคิดหน้าท่ีนิยมของ Malinowski อยู่ท่ีแนวโน้มส่วนลด คือ แนวการวิเคราะห์ของเขาจะเร่ิมมีความ ตอ้ งการจาเป็นของแตล่ ะคน เชน่ อาหาร ที่อยู่อาศัย และการมลี ูกหลาน เนื่องจากความต้องการของมนุษย์แต่ ละคนนี้ จึงต้องมีการรวมตัวกันเป็นชุมชนหรือกลุ่มสังคม หรือแม้แต่การสร้างสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมข้ึนก็ ด้วยสาเหตุอันเดยี วกัน แต่สญั ลกั ษณ์ทาหนา้ ทีค่ วบคุมใหบ้ ุคคลตอ้ งปฏบิ ัติหรือกระทาตามแบบที่กาหนดเพ่ือให้ สามารถสนองความตอ้ งการจาเปน็ ได้อยา่ งเปน็ ระเบียบและมปี ระสิทธภิ าพ ขณะเดียวกนั การต้งั กลุ่มหรือชุมชน และวฒั นธรรมขึ้นใหม่ก็เปน็ สาเหตใุ ห้ต้องมกี ลุ่มหรอื ชมุ ชนที่ซับซ้อนข้ึนไป สนองความต้องการท่ีเพ่ิมข้ึนมานั้น อกี ทอดหน่ึง วนเวียนไปเช่นนั้น (ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สานักงานปลัดกระทรวง, 2552) จากทฤษฏีโครงสร้างหน้าท่ีนิยมดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเม่ือนามาอธิบายหมอลาแล้วจะเห็นได้ว่าหมอลาเปรียบ เหมือนสัญลกั ษณ์ของสังคมท่มี ีหน้าทีส่ าคญั ในการชว่ ยจดั ระเบียบสังคมผ่านการแสดงหมอลา เช่นควบคุมหนุ่ม

สาวให้อยใู่ นจารตี ประเพณีของสังคมเพ่อื ไมใ่ ห้เกดิ การชู้สาวโดยมีประเพณีการลาผญาเก้ียวบ่าวสาว เป็นกุศโล บายให้หนุ่มสาวได้จีบกนั เป็นตน้ หมอลาจงึ มีความสาคัญจนกระท่ังทาให้ช่างแต้มได้นาการแสดงหมอลาแต้ม แทรกในบริเวณพ้นื ทวี่ ่างของสมิ ด้วยจนปรากฏเป็นหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์สบื มาจนถงึ ปจั จุบนั ข้อเสนอแนะ ผลจากการศึกษาบทความเรอ่ื ง หมอลาในฮูปแตม้ สมิ อสี าน: มหรสพการแสดงพนื้ บา้ นคนอสี านทขี่ าด ไม่ได้ มขี อ้ เสนอแนะดังน้ี 1. ขอ้ เสนอแนะในการนาผลวจิ ยั ไปใช้ หนว่ ยงานสถาบนั การศึกษาสามารถนาผลการศึกษาบทความนไ้ี ปจดั ทาเป็นหลักสูตรท้องถน่ิ หมอ ลาในฮปู แต้มสมิ อสี าน พร้อมทง้ั สามารถเผยแพรเ่ ปน็ เอกสารประกอบการสัมมนาความรเู้ ร่อื งหมอลาในฮปู แต้ม สิมอสี านได้ 2. ข้อเสนอแนะการศกึ ษาคร้งั ตอ่ ไป ควรมีการศึกษาบทความเร่อื ง ศิลปะการแสดงพื้นบา้ นอสี านท่ปี รากฏอยู่ในฮปู แตม้ สิมในภาคอีสาน เอกสารอา้ งอิง กลั ญาณี กิจโชติประเสริฐ. (2545). ฮูปแต้มสิมวันสนวนวารพี ฒั นาราม, นิตยสารศลิ ปากร (ก.ย. – ต.ค. 2545). ขนษิ ฐา ขันคา. (2560). โฮมภมู ิ ครั้งท่ี 3 ภมู ิปญั ญาสอู่ นาคต. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . 15-16 มิถนุ ายน 2560. จตุพร ศริ ิสมั พนั ธ์. (2552). เพลงพน้ื บา้ น. กรุงเทพฯ. สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนไทย เลม่ ที่ 34 โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว. ณัฐสุดา ภาระพันธ์. (2552). การปรบั ตัวของเพลงหมอลาพื้นบา้ นอีสานสเู่ พลงลกู ทุง่ หมอลาในปจั จบุ ัน: กรณศี ึกษา 10 บทเพลง. จลุ สารลายไทยฉบับพิเศษวนั ภาษาไทยแช่งชาติ 29 กรกฎาคม 2552 เทพพร มงั ธาน.ี (2545). เปดิ ผ้าม่านก้งั : เปิดจิตวญิ ญาณอสี านสจู่ ิตวญิ ญาณสากล. ขอนแกน่ : พระธรรมขันต์ บุญยงค์ เกศเทศ. (2560). ฮูปแตม้ บนผนังสมิ วัดสระบวั แก้ว อาเภอหนองสองหอ้ ง จังหวดั ขอนแก่น. สืบคน้ จาก. https://www.technologychaoban.com/thai-local-wisdom/article_23590 สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี 2 ธนั วาคม 2561. บญุ เสรมิ แกน่ ประกอบ. (ม.ป.ป.). สื่อการเรยี นร้กู ล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เรอ่ื ง เพลงพืน้ บ้าน. เอกสารประกอบการสอน.โรงเรียนบ้านชงโค บุรินทร์ เปล่งดีสกุล. (2554). พัฒนาการของจติ รกรรมฝาผนังอีสาน กรณศี ึกษาจงั หวดั ขอนแก่น จังหวัดมหาสารคามและจังหวดั ร้อยเอด็ . วารสารคณะศิลปกรรมศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบบั ที1่ (84-113). ประตูส่อู ีสาน. (2561). กลอนเตย้ หรอื ผญา. สืบคน้ จาก. https://www.isangate.com/new/klonlum /224-klon-tery-paya.html. สืบคน้ เมือ่ วันที่ 3 ธนั วาคม 2561. พรเพญ็ บุญญาทิพย.์ (2556). กระบวนการมสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษจ์ ติ กรรมฝาผนัง วัดโพธาราม และวดั ปา่ เรไรย์ จงั หวัดมหาสารคาม. ดารงวชิ าการ.

พระมหาโสภรรณ ธนปญโฺ ญ (เศรษฐา). (2553). การสังเคราะหผ์ ญาสุภาษติ อีสานลงในพุทธศาสนสุภาษติ . วทิ ยานพิ นธ.์ ปรญิ ญาพุทธศาสตรมหาบัณฑติ .สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา: มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พิทักษ์ นอ้ ยวังคลัง. (2549). คา่ นยิ มไตรภมู ใิ นจติ กรรมฝาผนงั โบสถอ์ ีสาน. วารสารสานกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ 38,2 (ก.ค.-ธ.ค.2549) 283-300. ไพโรจน์ สโมสร และคณะ. (2532). จิตรกรรมฝาผนังอสี าน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พรนิ้ ตง้ิ กรปุ๊ จากดั . ภทั รวธุ บุญประเสรฐิ . (2552). การใช้สอื่ พน้ื บ้านในการส่ือสารทางการเมอื ง ศึกษากรณหี มอลา นายภัทรวธุ บญุ ประเสรฐิ . เอกสารวชิ าการ หลักสูตรผูบ้ รหิ ารการส่อื สารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 1 สถาบนั อิศรา มูลนธิ ิพฒั นาสอื่ มวลชนแหง่ ประเทศไทย. ราชบัณฑติ ยสถาน พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (2556). พิมพค์ ร้งั ที่ 2กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน. วสนั ต์ ยอดอิ่ม. (2545). สิมพ้นื ถิน่ ในเขตภาคอีสานตอนบน.วิทยานิพนธ์.ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาประวัตศิ าสตรส์ ถาปัตยกรรม บณั ฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. วิภารตั น์ ขว่ งทิพย์. (2559). หมอลาพ้ืนฐาน. สืบคน้ จาก. https://fineart.msu.ac.th/e- documents/myfile/หมอลา.pdf. สบื คน้ เม่ือวันท่ี 1 ธนั วาคม 2561. ศภุ ชยั สงิ ห์ยะบุศย์ และคณะ. (2559). สารานกุ รมศิลปวฒั นธรรมอีสาน “จิตรกรรมฝาผนงั พุทธอโุ บสถ แบบด้ังเดิมในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ” มหาสารคาม. มหาสารคาม. ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร สานักงานปลัดกระทรวง (2552) แนวคิดและทฤษฎที างสังคม. สบื คน้ จาก. http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail. php? NewsID=9510&Key=news_researchสบื ค้นเมื่อวันท่ี 2 ธันวาคม 2561. สนอง คลงั พระศรี. (2541). หมอลาซงิ่ : กระบวนการปรบั เปลี่ยนทางวัฒนธรรมดนตรีของหมอลา ในภาคอีสาน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (วัฒนธรรมศกึ ษา). กรุงเทพฯ: บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยมหดิ ล. สมบตั ิ ประจญศาสต์. (2559). ภูมปิ ญั ญาการกาหนดพื้นที่ภายในสมิ อีสาน. วจิ ยั . มหาวิทยาลยั ราชภฏั บุรรี ัมย์. สายไหม จบกลศึก. (2541). การละเล่นพ้นื เมือง. กรงุ เทพฯ. สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนไทย เล่มที่ 23 โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั . สาโรช พระวงศ์. (2551). การศกึ ษาความหมายของแสงในสมิ อสี าน. วทิ ยานิพนธ์. ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรม์ หาบัณฑิต สาขาสถาปตั ยกรรม บณั ฑิตวทิ ยา: มหาวทิ ยาลัยศิลปากร สุนทร แพงพุทธ และประมวล พมิ พ์เสน. (2556). กลอนลาประยกุ ต์. ขอนแกน่ : คลงั นานาวทิ ยา. สุวทิ ย์ รตั นปัญญา. (2553). หมอลากลอน: บรบิ ท คณุ ค่า แนวโนม้ การเปล่ียนแปลงและการดารงอยู่ ในประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว. วทิ ยานิพนธ์ ปริญญาปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ ายทุ ธศาสตร์การพัฒนาภมู ิภาค. เลย: มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย. อรา่ มจติ ชินชว่ ง. (2531). กาพยเ์ ซงิ้ บ้งั ไฟ : กรณศี ึกษาเฉพาะอาเภอเมอื ง จงั หวัดยโสธร. ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทวิโรฒ. อดุ ม บวั ศรี. (2546). วฒั นธรรมอสี าน. ขอนแกน่ : คลังนานาวทิ ยา.

เอ้อื มเดอื น ถิน่ ปัญจา. (2548). การพัฒนาหลกั สูตรท้องถ่ินกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเรอื่ งหมอลากลอน สาหรับนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นม่วงหวานพัฒนาศึกษาจังหวดั ขอนแก่น. วิทยานพิ นธ.์ ปรญิ ญาศึกษาศาสตร มหาบณั ฑิต (หลักสตู รและการสอน) ขอนแกน่ : บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น