Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การถ่ายโยงวัฒนธรรม

การถ่ายโยงวัฒนธรรม

Published by kanikl, 2020-07-09 21:45:38

Description: บทความ การโยงวัฒนธรรมการแต่งกายในฮูปแต้มวัดตะคุสู่การแสดงในโครงการนวัตวิถี

Keywords: วัฒนธรรม,การแต่งกาย,ฮูปแต้ม

Search

Read the Text Version

1 การถ่ายโยงวฒั นธรรมการแต่งกายในฮปู แต้มวดั ตะคสุ ่กู ารแสดงในโครงการนิ วตั วิถี ยวุ ดี พลศิริ สาขาวฒั นธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น บทคดั ยอ่ การศกึ ษาฮปู แต้มการแต่งกายในสมิ วดั ตะคุ มวี ตั ถุประสงค์เพ่อื ศกึ ษาความเป็นมาของฮปู แต้มท่ีปรากฏใน สมิ วดั ตะคุ วฒั นธรรมการแต่งกายส่กู ารแสดงในโครงการนวตั วถิ ี โดยใช้กระบวนการศกึ ษาดว้ ยวธิ กี ารสมั ภาษณ์ การ ลงพน้ื ทร่ี วบรวมขอ้ มลู จากภาคสนาม ฮปู แต้มวดั ตะคุเป็นศลิ ปะทเ่ี กดิ ข้นึ โดยชา่ งชาวบา้ นหรอื ช่างท่เี กดิ จากการการเป็น ลุกมอื มาจากเทพฯ ภาพท่วี าดอย่ฝู าผนังสมิ หรอื โบสถ์ภายในอุโบสถหลงั เก่า มจี ติ รกรรมฝาผนังซ่งึ เป็นภาพการเล่า เร่อื งราวสกั การะพระพุทธบาท นอกจากนนั้ ยงั แทรกภาพชวี ติ ประจาวนั ของชาวบ้านในสมยั นนั้ ดว้ ย เช่น การฟ้อนรา ผชู้ ายเป่าแคนผหู้ ญงิ แสดงท่าทางการเดนิ เป็นแถวเรยี งหน้ากระดานในลกั ษณะท่าทางเดยี วกนั มอื ซ้ายถอื รม่ สแี ดงมอื ขวาแสดงลกั ษณะการกรดี กรายของมอื สนั นิษฐานว่าเป็นการแสดงถงึ การเคล่อื นไหวร่ายรา จากภาพจงึ สนั นษิ ฐานได้ วา่ เป็นการแต่งกายทม่ี งี านเทศกาลเพราะสวมใส่เสอ้ื แขนกระบอกและห่มสไบ ส่วนผชู้ ายสวมโจงกระเบนมผี ้าคลอ้ งคอ ชายตลบไปด้านหลงั ลกั ษณะมีเคร่อื งดนตรที ่เี รยี กว่า “แคน” การถ่ายโยงทางวฒั นธรรมการแต่งกายในฮปู แต้มสู่การ แสดง ซง่ึ ใชต้ ้อนรบั นกั ทอ่ งเทย่ี วในโครงการนิวตั วถิ ี สง่ ผลใหช้ าวบา้ นเกดิ ความต่นื ตวั เกย่ี วกบั วฒั นธรรมการแสดงของ ตนเองทาให้ทุกคนหนั มาใหค้ วามสาคญั ซง่ึ เป็นโครงการทม่ี อี ิทธพิ ลมาจากนโยบายการพฒั นาของรฐั บาลท่มี งุ่ หวงั ตงั้ ใจ จะขบั เคลอ่ื นทุกโครงการไปพรอ้ มกนั นนั้ มสี ว่ นสาคญั ทท่ี าใหช้ าวบ้านหนั มาใหค้ วามสาคญั กบั วฒั นธรรม ประเพณี วถิ ี ชวี ติ ของตนเอง โดยกระบวนการเช่อื มโยงของวฒั นธรรมเดมิ เข้ากบั ยุคสมยั นนั่ คอื การแสดงและการแต่งกายแบบ ดงั้ เดิม การแต่งกายส่วนใหญ่มีลกั ษณะเหมอื นกนั จะแตกต่างกนั คือ มีเพมิ่ สีของผ้า เช่น เส้อื ยงั ใช้รูปแบบเส้อื แขน กระบอก สไบและผา้ ถุงเหมอื นกนั เพมิ่ เตมิ คอื ลวดลายบนผา้ สไบและผา้ ถุง สว่ นทแ่ี ตกต่างกนั คอื ในอดตี มเี ครอ่ื งประดบั น้อยชน้ิ ปัจจุบนั มเี คร่อื งประดบั ตกแต่งเพอ่ื ความสวยงามและแต่งหน้าใหม้ สี สี นั สดใส คาสาคญั : ฮปู แต้ม วดั ตะคุ นวตั วถิ ี

2 Abstract Hoop education marriages within the temple,Simeon Trucker ku. The objective is to study the history of hoop appearing in trucker mawat ku culture can mave out into the shoe in a very innovativetrajectories embedded structures by using the precess method. Study interviews Getting in to space, gathering data from the field. Hoop WATKUTrucker. Is art made by locals artisan cansed by a Crew from Bangkok. Pictures painted on the walls inside the church or Chapel of the old Sim Great painters are painting apietue narrative worship wednesday baht. it will also insert a picture of daily life in modern dance man blowing the canterbury women’s pasture to Walk into a row sort rows in the same getures Left hand. HoIding a red umbella the right hand of report showingThe swagger of a hand Assamed that as dres thet has a festival Because they wear shawl blanket andtelescople cylinder the Assistant wears heck-cloth loincloth man to throw back have a musical styleKnown as the cannon takina the cultural links in the hoop into show Use the welcome tourists in a very innovative trajcetories, project Result Spawning a culture of their owm, so everyoneTurns up In the importance, the project has in fluenced the development of the Government ofdayabai graduated at the aim Intenden to move the project along Contribuding to the villagers turned attention to cultures, that is,to display and Costume. the dress looks mostly the Same it's thedifierence add a color of fabrie, such as T- Shirtchat format also bird Shawl and Sarong- like cylinder logether More is the pattern on the fabrie shawl and sarong the difference In tne Past few pieces of jewelry Currently , there are. ornaments to beantify and make it colorful. Keywords: Hoop, Wat Taku, Wattage

3 บทนา : ฮปู แต้มในอีสานมาจากไหน ปัจจุบนั คุณค่าของฮปู แตม้ หรอื จติ รกรรมฝาผนงั ทอ่ี ยบู่ นผนงั ของ \"สมิ \" หรอื โบสถ์ กย็ ง่ิ มมี ูลค่าอยา่ งมากมาย มหาศาล ชุมชนใหค้ วามสนใจร่วมกนั อนุรกั ษ์ไวเ้ ป็นมรดกของชมุ ชน อกี ทงั้ ยงั มีหน่วยงานราชการกไ็ ดใ้ หค้ วามสาคญั ใน การศกึ ษาเรยี นรู้ การถอดบทเรยี นจากการศกึ ษาเร่อื งราวจากสิม สาขาวฒั นธรรมศลิ ปกรรมและการออกแบบ คณะ ศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น เป็นอกี สถาบนั หน่ึงทใ่ี หค้ วามสนใจในการศกึ ษาฮปู แตม้ ในครงั้ น้ี เพ่อื ไม่ใหส้ ูญ หายไปตามกาลเวลา โดยเฉพาะฮูปแต้มในอีสาน ฮปู แต้มท่ปี รากฏในสมิ อสี าน นนั้ ไพโรจน์ สโมสร (2532) บอกว่า ช่างแต้มทงั้ หลายเป็นช่างพ้นื บ้านโดยแท้ และ ช่างท่ไี ดม้ กี ารศกึ ษาร่าเรยี นมา สองกล่มุ คอื กลุ่มท่ไี ด้อิทธพิ ลช่างหลวง กรุงเทพฯ และ อิทธพิ ลช่างหลวงกรุงเทพฯ คอื จะมรี ูปแบบการเขยี นแบบประเพณีนิยม ผสมกบั เทคนิควธิ กี ารแบบ พ้ืนบ้าน เช่น วัดตะคุ หรือวดั หน้าพระธาตุ อาเภอปักธงชยั จังหวดั นครราชสีมา และ วฒั นธรรมผสมล้านช้าง - กรงุ เทพฯ กลุ่มน้สี ่วนใหญ่เป็นช่างแถบลุม่ น้าโขง ช่างกลุ่มน้ีวาดภาพ ผสมผสานกนั เพ่อื สบื ทอดวฒั นธรรมเดมิ ตนแต่ก็ ยงั คงศกึ ษาการเขยี นแบบช่างกรุงเทพฯ เอาไว้ดว้ ย ช่างเหล่าน้ีอาจจะมกี ารรบั จา้ งเขยี นทงั้ ฝัง่ ซา้ ยแม่น้าโขงและรมิ ฝัง่ ขวาด้วยในแถบลุม่ น้าโขง เช่น วดั หวั เวยี งรงั สี วดั โพธชิ ์ ยั นาพงึ วดั ทุ่งสเี มอื ง ดงั นนั้ รปู แบบกไ็ ม่ชดั เจน ตามคติน่าจะ เป็นเร่อื ง พน้ื ทแ่ี ละเวลา นนั้ กห็ มายความวา่ สมิ สรา้ งสมถะเรยี บงา่ ยไม่ใหญ่โต เพยี งเพ่อื สนองประโยชน์ใช้สอย ทาง สงฆ์ คอื การเขา้ ไปทาพธิ บี วช หรอื ทาวตั รเชา้ เยน็ กรณีบวช กจ็ ะเข้าเฉพาะนาค และพระอุปัชชาฌย์ พระลาดบั ญาติ โยม หรอื พ่อแม่ กจ็ ะอย่ดู ้านนอก จะเหน็ ไดว้ ่าเรมิ่ จะมคี วามสมั พนั ธ์เกดิ ขน้ึ มากค็ อื หลงั คาปีกนกของสมิ ทย่ี ่นื ออกมา กว้างกเ็ พ่อื สนองประโยชน์ชุมชนอย่างเหน็ ได้ชดั คอื ญาติหรอื สตรที ่ไี ม่สามารถเข้าในสมิ ไดน้ นั้ กจ็ ะมกี ารรอคอยจนกจิ ของสงฆเ์ สรจ็ มองไปถงึ พน้ื ท่ี ทเ่ี หมาะสม คอื ทร่ี อ ไดย้ นิ เสยี ง บางสมิ สามารถมองเหน็ พระเจา้ ใหญ่ในดา้ นในได้ หรอื ท่ี สาคญั คอื มองเหน็ ฮปู แตม้ รอเวลา จงึ ทาให้เวลาไม่นาน และเป็นประโยชน์ เปรยี บเสมอื นส่อื สงิ่ พมิ พ์ ทค่ี นรอเวลา อ่าน รอเพ่อื ใหถ้ ึงเวลา ดงั นนั้ ฮูปแต้มอีสาน จะปรากฏเน้ือหาหลากหลาย ดงั น้ี คอื 1,เร่อื งราวทางพุทธศาสนา เช่น พุทธ ประวตั ิ ทศชาติ ชาดก ประเพณี คติธรรม 2.วรรณกรรมทอ้ งถิ่นเช่น สนิ ไซ พะลกั พะลาม เร่อื งตลกขบขนั หรอื แนว กามศลิ ป์ ไพโรจน์ สโมสร (2532) หากจะมองฮปู แต้มให้เข้าใจ คงต้องเข้าใจตวั บท หรอื เร่อื งราวของวรรณกรรมซ่งึ เป็นท่มี าของภาพท่ีถูกนาเสนอก่อน ไม่เช่นนัน้ แม้จะมองฮูปแต้มนานแค่ไหนก็ไม่อาจจะเข้าใจได้ว่า เป็นเร่อื งราว เกย่ี วกบั อะไร ในสมิ หลงั เกา่ ดา้ นในได้ปรากฏภาพเร่อื งราวการแสดง ระบาราฟ้อน ซง่ึ เป็นภาพทส่ี ามารถเล่าเรอ่ื งราวให้ เราได้ทราบว่าในสมยั ก่อนการแสดงพ้นื บ้านกบั วถิ ชี วี ติ ของชาวบ้านเป็นส่งิ ค่กู นั จากภาพการแสดงสามารถบอกเล่า เหตุการณ์ในอดตี ไดอ้ ย่างน่าสนใจ จากการศกึ ษาฮปู แตม้ เพ่อื ทราบถงึ ประวตั คิ วามเป็นมาแล้ว ปัจจุบนั ชาวบา้ นไดม้ กี าร สบื ทอดการแสดงท่เี ป็นการแสดงมาตงั้ แต่สมยั โบราณตามคาบอกเล่า คือการแสดงลากลอน ซง่ึ ได้รบั อิทธพิ ลมาจาก เวยี งจนั ทร์ เป็นการแสดงเป่าแคนและรอ้ งโต้ตอบกนั ระหว่างผชู้ ายกบั ผหู้ ญงิ ลกั ษณะการแสดงจะเดนิ เป็นวงกลมทวน เขม็ นาฬกิ า ลกั ษณะการแต่งกายยงั คงรกั ษาเคร่อื งแต่งกายส่วนใหญ่จะยงั คงรกั ษารปู แบบดงั้ เดมิ ของชาวบ้านมรี ว่ มสมยั เฉพาะแต่เคร่อื งประดบั เป็นตน้ ในสมยั กรุงธนบุรี พ.ศ. 2331 พระเจา้ กรงุ ธนบุรไี ดย้ กกองทพั ไปปราบเจา้ นครเวยี งจนั ทร์ มชี ยั ชนะและไดก้ วาด ตอ้ นครอบครวั ชาวเวยี งจนั ทร์มา และใหต้ งั้ รกรากทบ่ี ้านกะโปะ เมอ่ื เป็นหลกั ฐานมนั่ คง จงึ กราบบงั คมทูลขอพระบรม ราชานุญาตตงั้ บ้านกะโปะเป็นเมอื งปักธงชยั ซง่ึ ไดโ้ ปรดเกล้า ฯ ใหเ้ พย้ี อุปราชาเป็นพระยาวงศาอคั ราช ดารงตาแหน่ง เจา้ เมอื งปักธงชยั เป็นคนแรก ดงั ขอ้ ความในจดหมายเหตุนครราชสมี า กลา่ วถงึ วา่ ...เม่อื ก่อนเพ้ียอุปราชาตัง้ อยู่ท่ดี ่านกะโปะ เป็นปึกแผ่นแน่นหนารวดเรว็ สมควรจดั ตัง้ เป็นเมอื งหน่ึงได้ เจ้าพระยานครราชสมี า (ปิ่น) จงึ กราบบังคมทูลขอพระบรมราชานุญาตตงั้ ด่านกะโปะ เป็นเมืองปักธงไชยข้นึ แก่ นครราชสมี า และกราบทลู ขอใหเ้ พย้ี อุปราชาเป็นพระยาวงศาอคั ราช เจา้ เมอื งคนแรกของปักธงไชยดว้ ย... จดหมายเหตุนครราชสมี า. 2497 : 56

4 ในสมยั รชั กาลท่ี 3 เจา้ อนุเวยี งจนั ทรไ์ ดย้ กกองทพั มาท่เี มอื งนครราชสมี า ตเี มอื งแตกแลว้ ต้อนครอบครวั ชาว เวยี งจนั ทรท์ ่ปี ักธงชยั กลบั ไปอย่ทู ่เี วยี งจนั ทร์ แต่เม่อื กองทพั จากกรุงเทพฯ โดยมกี รมพระราชวงั บวรมหาศกั ดพิ ลเสพ ยกมา เจา้ อนุเวยี งจนั ทรจ์ งึ ไดถ้ อยหนีกลบั และกรมพระราชวงั บวรฯไดต้ ดิ ตามไปยดึ เมอื งเวยี งจนั ทรไ์ ด้ และมรี บั สงั่ ให้ เจ้าพระยานครราชสีมาพาครอบครวั ชาวปักธงชยั ท่ถี ูกกวาดต้อนคืนมา ดงั รายละเอยี ดในจดหมายเหตุนครราชสมี า กลา่ วว่า ...เจ้าพระยานครราชสมี าเดนิ ทัพไปทางเมอื งสกลนครถึงเขาพนั นาแดนเมืองไทยบุรพี บกองหลวงเพชน สงครามและครวั ชาวเมอื งปักธงไชยบางส่วน ซ่งึ แตกทพั หลวงหลบมาจงึ ใหก้ องทพั กวาดจบั ไวท้ งั้ หมดแบ่งกาลงั ควบคุม ส่งกลบั มาก่อนหน่วยหน่ึง ครนั้ เดนิ ทพั ต่อไปก็พบพระยาวงศาอคั ราชเจ้าเมอื งปักธงไชยผู้ทรยศซง่ึ แตกทพั หลวง ณ ตาบลหว้ ยหลวง กใ็ หก้ องทพั กวาดจบั ไดอ้ กี แลว้ รบี เดนิ ทพั ไปถงึ เวยี งจนั ทรเ์ ขา้ เฝ้าพระบรมราชวงั บวรฯมพี ระราชบณั ฑรู โปรดใหเ้ จา้ พระยานครราชสมี ารบั ครวั ราชเมอื งปักธงไชยคนื มาไวเ้ มอื งปักธงไชยตามเดมิ ... จดหมายเหตุนครราชสมี า. 2497 :65 ต่อมาในปี 2508 กรมการปกครอง กระทรวงหมาดไทย ได้แก้ช่อื จาก “ปักธงไชย” เป็น “ปักธงชยั ” เพ่อื ให้ ถูกต้องตามอักขรานุกรมภูมิศาสตร์ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ซ่ึงใช้ช่ือน้ีมาจนถึงปัจจุบัน ศูนย์วฒั นธรรมจงั หวัด นครราชสีมา (2523) ความสาคัญทางศาสนาของเมืองปักธงชยั มีหลายแห่งด้วยกนั ซ่ึงท่ีเก่าแก่แห่งห น่ึงและมี ความสาคญั มากคอื บรเิ วณวดั หน้าพระธาตุ ทส่ี นั นิษฐานว่าเป็นแหลง่ ศาสนามากอ่ น จงึ สรา้ งวดั ขน้ึ โดยใช้ชอ่ื ว่า “วดั ตะ คุ” วรรณภา ณ สงขลา (2528) คาว่า “ตะคุ” เป็นภาษาเขมร แปลว่า ตน้ ไวช้ นิดหน่ึง ชาวบ้านเรยี กว่าต้นแซง ต้นแวง เป็นไมค้ ลา้ ยกกผอื ใช้ทาฝาเรอื น แต่ตามคณะสงฆใ์ ชน้ ามวา่ วดั หน้าพระธาตุ เพราะคงถอื เอานมิ ติ รหมายจากพระธาตุ เจดยี ห์ น้าโบสถ์เป็นการกาหนดช่อื วดั วดั หน้าพระธาตุ (วดั ตะคุ) ก่อตงั้ เม่อื พ.ศ. 2330 สนั นิษฐานว่าเป็นวดั เก่าแก่ท่ี สรา้ งขน้ึ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก (รชั กาลท่ี 1) สรา้ งโดยชุมชนทอ่ี พยพมาจากนครเวยี งจนั ทน์ แต่ก็คงได้รบั การบูรณปฏิสังขรณ์ในใหญ่ในช่วงรชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หัว (รชั กาลท่ี 3) เน่ืองมาจากศลิ ปะของพระอุโบสถ (สมิ ) และหอไตร ล้วนแต่เป็นศิลปะแบบพระราชนิยมในรชั กาลท่ี 3 ทงั้ ส้นิ จาก หลกั ฐานทช่ี ดั เจนทส่ี ดุ ทส่ี ามารถอธบิ ายประวตั ขิ องวดั ได้คอื วดั หน้าพระธาตุ (วดั ตะคุ) มเี จ้าอาวาสรปู แรกคอื พระครู อนิ ทรยี ส์ งั วร (ทา้ ว) อดตี เจ้าคณะใหญเ่ มอื งปักธงชยั ซง่ึ ไม่ทราบประวตั คิ วามเป็นมา ทราบแต่เพยี งมรณภาพในปี พ.ศ. 2442 ดงั นนั้ จงึ กาหนดอายุของวดั หน้าพระธาตุ (วดั ตะคุ) ว่าเกา่ กว่าปี พ.ศ. 2442 ข้นึ ไป วดั หน้าพระธาตุ (วดั ตะคุ) มี สง่ิ ก่อสร้างสาคญั ประกอบดว้ ย เจดยี ์ อุโบสถ และหอไตรกลางน้า ท่มี ศี ลิ ปะแบบท้องถิ่นปะปนอยู่ อุโบสถหลงั เก่ามี จิตรกรรมฝาผนังสมัยต้นรัตนโกสินทร์ เร่อื งราวเก่ียวกบั ทศชาติชาดก และเป็นภาพการสกั การะพระพุทธบาท นอกจากนัน้ ยงั แทรกภาพชีวติ ประจาวนั ของชาวบ้านในสมยั นัน้ ด้วย ส่วนของด้านหน้าอุโบสถหลงั เก่า มสี ระน้ารูป ส่เี หล่ยี มผนื ผ้า กลางสระมีหอไตร 1 หลงั ทรงเต้ียแบบหอไตรพ้นื เมืองอีสาน ซ่งึ มีภาพลายรดน้าท่บี านประตูเป็น ลวดลาย วจิ ติ รสวยงามมาก ระหวา่ งหอไตรและอุโบสถหลงั เกา่ ยงั มเี จดยี ศ์ ลิ ปะแบบลาวทรงบวั เหลย่ี ม

5 ภาพท่ี 1 โบสถห์ ลงั เก่า ทม่ี า : ยวุ ดี พลศริ ิ ภาพท่ี 2 ใบเสมา ทม่ี า : ยวุ ดี พลศริ ิ ปัจจุบนั วดั หน้าพระธาตุ (วดั ตะคุ) สงั กดั คณะสงฆ์มหานิกาย ไดร้ บั พระราชทานวสิ ุงคามสมี า เม่อื วนั ท่ี 10 มนี าคม 2515 ภาพจติ รกรรมทป่ี รากฏภายในทงั้ สด่ี า้ นและบนผนงั ดา้ นหน้าเหนือประตู มผี เู้ ช่ยี วชาญไดส้ นั นิษฐานว่า เขยี นขน้ึ พรอ้ มกบั การสรา้ งวดั คอื ประมาณปลายรชั กาลท่ี 3 หรอื ต้นรชั กาลท4่ี แห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์ เรอ่ื งราวทป่ี รากฏ นนั้ เป็นเรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ทศชาตชิ าดก และชาดกอ่นื ๆ สนั นิษฐานวา่ เป็นช่างชาวบ้าน เพราะลกั ษณะการวาดหรอื สดั สว่ น ไมส่ มดลุ กนั อาจจะเป็นช่างลกู มอื จากกรงุ เทพฯ หรอื การจดจาลวดลายจากช่างหลวงแลว้ นามาวาดตามฝีมอื ของตนเอง ชอบ ดีสวนโคก (2561) กล่าวว่า สาเหตุท่ที าไมแต่ละสมิ หรือ แต่ละวดั เลอื กเร่อื งราวท่เี อามาวาดบนผนังสมิ ไม่ เหมือนกนั อาจจะเป็นรสนิยมของคนในท้องถ่ิน และความประสงค์ของเจ้าอาวาส บวกกบั ความถนัดของช่างแต้ม ฮปู หรอื คนวาดรปู การจะวาดเร่อื งอะไร สอนคนในเร่อื งอะไรบ้าง \"คนตดั สนิ ใจหลกั ๆ คอื เจา้ อาวาสวดั แต่หากพน้ื ทไ่ี หน เป็นประชาธปิ ไตยหน่อยกอ็ าจจะมกี ารฟังเสยี งของชาวบ้านดว้ ย แต่หลกั ใหญ่อย่ทู เ่ี จ้าอาวาสเพราะเป็นคนทก่ี าหนดให้ สรา้ งสมิ หรอื โบสถ์ รวมถงึ เป็นคนกาหนดรปู แบบ อตั ลกั ษณ์ และเร่อื งราวทงั้ หมด\" ส่วนคนวาดและชาวบ้านทจ่ี ะร่วม แสดงความคดิ เหน็ นัน้ แมจ้ ะมสี ่วนในการตดั สนิ ใจแต่กน็ ้อย เพราะชาวบ้านส่วนใหญ่วุ่นวายกบั การทามาหากนิ ไม่ได้ สนใจเร่อื งราวของสงั คมมากนัก เวน้ เสยี แต่เจ้าอาวาสวดั นนั้ ๆ ขอคาปรกึ ษา หรอื เรยี กประชุมเพ่อื หารอื ส่วนช่างวาด ภาพกจ็ ะมสี ่วนในการกาหนดรปู แบบ เพราะเป็นความถนดั ของช่างแต่ละคน \"เร่อื งทน่ี าเสนอสว่ นใหญ่ เน้นกรอบความ

6 เชอ่ื ของพระพทุ ธศาสนา ทต่ี อ้ งการสอนใจประชาชน โดยภาพทว่ี าดอย่ฝู าผนงั สมิ หรอื โบสถส์ ว่ นใหญ่วาดขน้ึ เพ่อื ใหค้ นท่ี ไม่ได้มโี อกาสเข้าไปในโบสถ์ได้อ่านได้ดู เพราะโบสถ์ส่วนใหญ่จะมขี นาดเลก็ มาก เอาไว้ใชป้ ระกอบพิธกี รรมทางสงฆ์ เอาไวบ้ วชพระ คนทข่ี น้ึ ไปไดไ้ ม่มาก และส่วนใหญห่ ้ามผหู้ ญงิ ขน้ึ คนทเ่ี หลอื ทงั้ ญาตโิ ยม ญาตพิ น่ี ้องกต็ อ้ งนงั่ รอ เวลาท่ี นงั่ รอน่ีแหละหากมภี าพเขยี นใหไ้ ดด้ ู ให้ศกึ ษา หรอื มคี นบอกเล่าเร่อื งราวดว้ ย พวกคนทร่ี อจะไดค้ วามรู้ เพลดิ เพลนิ ได้ คตธิ รรมสอนใจ\" ภายในอุโบสถหลงั เก่ามจี ติ รกรรมฝาผนังซ่งึ เป็นภาพการเล่าเร่อื งราวสกั การะพระพุทธบาท นอกจากนนั้ ยงั แทรกภาพชวี ติ ประจาวนั ของชาวบา้ นในสมยั นนั้ ดว้ ย เชน่ การฟ้อนราผชู้ ายเป่าแคนผหู้ ญงิ แสดงทา่ ทางการเดนิ เป็นแถว เรยี งหน้ากระดานในลกั ษณะทา่ ทางเดยี วกนั มอื ซา้ ยถอื รม่ สแี ดงมอื ขวาแสดงลกั ษณะการกรดี กรายของมอื สนั นษิ ฐานว่า เป็นการแสดงถงึ การเคล่อื นไหวรา่ ยรา ภาพท่ี 3 ฮปู แตม้ การแต่งกายบนผนงั โบสถเ์ กา่ วดั ตะคุ ทม่ี า : ยุวดี พลศริ ิ ลกั ษณะการแต่งกายที่ปรากฏในฮปู แต้ม : ผู้หญงิ จะนุ่งผา้ ซน่ิ ยาว สวมเสอ้ื แขนยาว และใส่สไบ ทรงผม เกลา้ มวย ผชู้ ายจะนุ่งโจงกระเบนหรอื โสร่ง ตัดผมสนั้ หรอื มจี กุ ตรงกลาง เสมอ อนุรตั น์วชิ ยั กลุ (2536) กล่าววา่ การ แต่งกายของคนไทยนนั้ แต่งกายงา่ ยๆเดนิ เทา้ เปล่า ศรษี ะเปล่า เคร่อื งนุ่งห่มเป็นผา้ ลายอนิ เดยี ใชเ้ ขม็ ขดั คาดทบั ทบ ชายผา้ สองขา้ ง แลว้ โจงไปเหนบ็ ไวเ้ บ้อื งหลงั ซ่งึ เรยี กว่านุ่งผา้ โจงกระเบน หญงิ สาวและหญงิ ทวั่ ไปใชผ้ ้าผนื แพรคลอ้ ง คอมาขา้ งหน้า ตลบชายใหต้ กไหลไ่ ปเบ้อื งหลงั ส่วนผชู้ ายมผี า้ ชาวม้าเพยี งผนื เดยี วใชเ้ ป็นผา้ คาดพุงเชด็ น้ามูกน้าลาย ซบั เหงอ่ื และบางทใี ชโ้ พกหวั กนั แดด คนไทยนิยมใชเ้ คร่อื งประดบั ทท่ี าด้วยทองและเงนิ มาก เดก็ ๆใส่กาไลแขนและขอ้ เทา้ ส่วนผมของผหู้ ญงิ นนั้ ดาราวกบั นิล คงไวส้ ่วนหน่งึ ของศรษี ะ เรอื นผมส่วนหน่ึงโกนเสยี เกลย้ี งผหู้ ญงิ นิยมไว้ผมจุก หน่ึงบนศรษี ะเหมอื นกนั แต่ไม่ถงึ เท่าผชู้ าย เดก็ เม่อื อายุน้อยๆจะโกนหวั เสยี เป็นสว่ นใหญ่ พออายุ 3-4 ขวบ มกั ไวผ้ ม จุดไปจนกระทงั่ 12-13 ชวบ แล้วจงึ ทาพิธีตดั จุก การแต่งกายและการไวท้ รงผมของสตรไิ ทย เวลามเี ทศกาลหรือ กจิ กรรมจะนุ่งผา้ โจงกระเบน สวมเสอ้ื รดั รปู ผ่าอก แขนกระบอก สาหรบั การไว้ทรงผมคอื ไว้ทรงปีกหรอื หลกั แจวแบบ เมอื งหลวง จากภาพจงึ สนั นษิ ฐานได้ว่าเป็นการแต่งกายท่มี งี านเทศกาลเพราะสวมใสเ่ สอ้ื แขนกระบอกและห่มสไบ สว่ น ผชู้ ายสวมโจงกระเบนมผี า้ คลอ้ งคอชายตลบไปดา้ นหลงั ลกั ษณะมเี ครอ่ื งดนตรที ่เี รยี กว่า “แคน” กาลงั เป่าบรรเลงเพลง เกย้ี วสาวทถ่ี อื ร่มกาลงั เดนิ ทางมาเจอกนั และมกี ารแสดงความสมั พนั ธก์ นั โดยสงเกตุการสหี น้าท่าทางของฮปู แตม้

7 การถ่ายโยงทางวฒั นธรรมการแต่งกายในฮูปแต้มเพื่อการแสดงต้อนรบั ในโครงการนิ วัตวิถี ราชบัณฑิตยสถาน (2548) ได้ให้ความหมายคาท่ีเก่ียวข้องไว้ว่า Acculturation หมายถึง การปรับตัวให้เข้ากับ วฒั นธรรม การสงั สรรค์ระหว่างวฒั นธรรม กระบวนการเปล่ยี นแปลงทางวฒั นธรรมท่เี น่ืองจากกลุ่มบุคคลท่ตี ่าง วฒั นธรรมกนั มกี ารตดิ ต่อกนั โดนตรงต่อเน่ืองกนั ยงั ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในแบบอย่างวฒั นธรรมดงั้ เดมิ ของ กลุ่มใดกลุ่มหน่งึ หรอื ทงั้ สองกลุ่ม อยา่ งไรกด็ แี ต่ละกล่มุ กค็ งดารงชวี ติ ตามแบบอยา่ งวฒั นธรรมส่วนใหญ่ของตนอยู่ ไม่ได้ ถูกทาให้สมานกลมกลนื เข้าไปในอีกกลุ่มหน่ึงทเี ดยี ว การสงั สรรคว์ ฒั นธรรม มีกระบวนการ 2 ทาง คอื ในทศั นะท่ี วฒั นธรรมจากกลุ่มหน่ึงถ่ายทอดกระจายไปสู่กลุ่มอ่นื ๆมศี พั ท์ว่า การแพร่กระจายทางวฒั นธรรม (culture diffusion) สว่ นในทศั นะทเ่ี ป็นฝ่ายรบั เอา กม็ ศี พั ท์ การยมื วฒั นธรรม (culture borrowing) Social change หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม การท่รี ะบบสังคม กระบวนการแบบอย่างหรอื รปู แบบ ทางสงั คม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบครอบครวั ระบบการปกครองได้เปลย่ี นแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นวฒั นธรรม ใดกต็ าม การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมน้ี อาจจะเป็นไปเองและทเ่ี ป็นประโยชน์หรอื ใหโ้ ทษกไ็ ดท้ งั้ สน้ิ วเิ ชยี ร รกั การ (2529) กลา่ วว่า การแพร่กระจายทางวฒั นธรรม วฒั นธรรมเดน่ กจ็ ะแผ่กระจายออกไปเมอ่ื คน สว่ นใหญ่เหน็ ว่าดกี จ็ ะรบั เอามาปฏบิ ตั โิ ดยเฉพาะวฒั นธรรมทางด้านวตั ถุนนั้ ง่ายกว่าวฒั นธรรมทไ่ี ม่ใช่วตั ถุ นอกจากน้ี การส่อื สาร การคมนาคมทส่ี ะดวกรวดเรว็ ในปัจจุบนั มสี ่วนช่วยทาใหก้ ารแพร่กระจายเป็นไปอยา่ งรวดเรว็ ยงิ่ ขน้ึ สรุปไดว้ ่า อทิ ธพิ ลการปกครองของไทยในปัจจุบนั จากแนวนโยบายการพฒั นาของรฐั บาลทม่ี ุ่งหวงั ตงั้ ใจจะ ขบั เคลอ่ื นทุกโครงการไปพรอ้ มกนั นนั้ มสี ว่ นสาคญั ทท่ี าใหช้ าวบ้านหนั มาใหค้ วามสาคญั กบั วฒั นธรรม ประเพณี วถิ ชี วี ติ ของตนเองทม่ี อี ยแู่ ลว้ มาร่วมอนุรกั ษ์ สบื ทอด ใหเ้ ป็นทร่ี จู้ กั แก่คนทวั่ ไปโดยกระบวนการเชอ่ื มโยงของวฒั นธรรมเดมิ คอื ลกั ษณะการแต่งกายแบบดงั้ เดมิ และวฒั นธรรมใหม่ในปัจจบุ นั เคร่อื งประดบั ทม่ี คี วามทนั สมยั ใหม้ คี วามสมั พนั ธก์ นั โดย การจดั โครงการ“ชมุ ชนท่องเทย่ี ว OTOP นวตั วถิ ”ี ตามแนวนโยบายการพฒั นาของรฐั บาลทม่ี ่งุ หวงั ตงั้ ใจจะขบั เคลอ่ื นทุก โครงการไปพรอ้ มกนั เพ่อื ใหต้ ่างเป็นกาลงั หนุนซง่ึ กนั และกนั ขบั เคล่อื นโดยกรมการพฒั นาชุมชน แต่จะสาเรจ็ สมดงั ตงั้ หวงั เอาไว้ได้นนั้ จาเป็นต้องอาศยั ความร่วมมอื ร่วมแรงร่วมใจกนั ทุกฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การลุกข้นึ มาสไู้ ปดว้ ยกนั ของ “ชาวบ้าน” ตามชุมชนหม่บู ้านทวั่ ประเทศ รวมทงั้ บุคลากรส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคดาเนินการในพ้นื ท่เี ป้าหมาย ครอบคลุม 76 จงั หวดั 875 อาเภอ 2,644 ตาบล รวม 3,273 ชุมชน หวั ใจสาคญั มี “ประชาชน” เป็นศูนยก์ ลาง เป็น เป้าหมายของการพฒั นาท่รี ฐั บาลภายใต้การนาของ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี เน้นย้าอย่เู สมอว่า จะต้องลดความเหล่อื มล้าของสงั คม สร้างโอกาสเข้าถึงบรกิ ารของรฐั และเพิม่ ศกั ยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ภายใต้วสิ ยั ทศั น์ “ประเทศมคี วามมนั่ คง มงั่ คงั่ ยงั่ ยืน เป็นประเทศพฒั นาแลว้ ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ชาวบ้านตะคเุ ป็นอกี หม่บู ้านหน่งึ ทใ่ี ห้ความสาคญั กบั โครงการนวตั วถิ ี สงั เกตไดจ้ ากปัจจุบนั การแต่ง กายชาวบ้านไดน้ ามาถ่ายทอดในการแสดง ลากลอน ไว้ต้อนรบั แขกท่มี าท่องเทย่ี วในหม่บู ้าน ให้ชน่ื ชมโดยจดั เวทกี าร แสดงบรเิ วณระหว่างโบสถ์หลงั เก่ากบั หอไตรกลางน้าจะเป็นสถานท่จี ดั เวทกี ารแสดงสาหรบั ผูท้ ่เี ขา้ มาท่องเทย่ี วจากฮู ปแต้มท่ปี รากฏกบั ภาพการแสดงบนเวที สนั นิษฐานว่าเป็นการแสดงชุดเดยี วกนั สงั เกตได้จากการแต่งกาย และการ พดู คุยกบั ชาวบา้ น

8 ภาพท่ี 4 การแสดงลากลอนโต้ตอบกนั ระหวา่ ง ชาย หญงิ วดั ตะคุ ทม่ี า : ยวุ ดี พลศริ ิ ภาพท่ี 5 ลกั ษณะการแต่งกายเพอ่ื การแสดงในปัจจบุ นั ทม่ี า : ยวุ ดี พลศริ ิ บทสรปุ : จากวฒั นธรรมการแต่งกายท่ีปรากฏในฮูปแต้ม ท่ีมีมาแต่โบราณปัจจุบันชาวบ้านตะคุ อาเภอปักธงชัย จ.นครราชสมี า ไดม้ กี ารถ่ายโยงวฒั นธรรมการแต่งกายจากฮูปแตม้ ถอดแบบมาสว่ มใส่ใช้ในการแสดงเพ่อื ต้อนรบั แขก บ้าน แขกเมอื งท่เี ข้ามาท่องเทย่ี วในโครงการนวตั วถิ ี จากภาพประกอบท่ี (ภาพท่ี 4-5) เป็นการแต่งกายทไ่ี ด้รบั แรง บนั ดาลใจมาจากฮปู แต้มทงั้ สน้ิ แต่มกี ารประยุกต์ให้เข้ากบั ยุคสมยั ในปัจจุบนั โดยการเพิม่ ลวดลายบนเส้อื ผา้ และเพมิ่ เครอ่ื งประดบั ตกแต่งศริ าภรณ์ ใหม้ คี วามสวยงาม ซง่ึ เม่อื ตกแต่งรวมกนั แลว้ นบั วา่ มคี วามสวยงามทส่ี มบูรณ์แบบ อกี ทงั้ เพอ่ื เป็นการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมการแต่งกายแบบเดมิ ยงั คอื ยดึ รปู ทรงเสอ้ื ผ้า สี ในแบบโบราณ ลกั ษณะการแต่งกายเพ่อื การแสดงทก่ี ลา่ วมาทงั้ หมดสามารถวเิ คราะหไ์ ดต้ ามตางรางดงั ต่อไปน้ี

9 ตารางที 1 เปรยี บเทยี บการแต่งกายในฮปู แตม้ กบั การแสดงในปัจจบุ นั ดว้ ยอทิ ธพิ ลของโครงการนวตั วถิ ี รปู แบบการแต่ง การแต่งกายในฮปู แต้ม การแต่งกายในปัจจบุ นั เหมือนกนั ต่างกนั กาย เสอ้ื : แขนกระบอก (สขี าว สี เสอ้ื : แขนกระบอก สขี าว สกี รมท่า สี กรมทา่ ) เหลอื ง สฟี ้า  สไบ : สแี ดงแถบดา สแี ดง สไบ : สแี ดงมลี วดลาย  แถบขาว ผา้ ถุง : มลี วดลาย ยาวคลุม ผา้ ถุง : มลี วดลายและไม่มลี วดลาย  ผหู้ ญงิ เขา่ ยาวคลุมเข่า ทรงผม : เรอื นผมส่วนหน่งึ ทรงผม : เกลา้  โกนเสยี เกลย้ี งผหู้ ญงิ นยิ มไว้ ผมจกุ หน่งึ บนศรษี ะ เหมอื นกนั แต่ไมถ่ งึ เท่า ผชู้ าย เสอ้ื : ไมใ่ ส่เสอ้ื เสอ้ื : สวมเสอ้ื แขนสนั้ แขนยาว  ผา้ นุ่ง : โจงกระเบน ผา้ นุ่ง : โสรง่  ผชู้ าย ผา้ คลอ้ งคอ : คลอ้ งคอตลบ ผา้ คลอ้ งคอ :คลอ้ งคอตลบชายไป  ชายไปดา้ นหลงั ดา้ นหลงั และมเี พม่ิ ผา้ ผกู เอว ทรงผม : ตดั เกรยี นดา้ นขา้ ง ทรงผม : ตดั สนั้ ไมม่ จี กุ  และไวจ้ ุกตรงกลาง เครอ่ื งประดบั กาไลแขน ดอกไมต้ ดิ ผม สรอ้ ย ตุ้มหู เขม็ ขดั  (ผหู้ ญงิ ) กาไลแขน ¶ ทม่ี า : ยุวดี พลศริ ิ จากตารางสรุปไดว้ ่า ส่วนใหญ่การแต่งกายมลี กั ษณะเหมอื นกนั จะแตกต่างกนั คอื มเี พมิ่ สขี องผา้ แต่ยงั คงรูป แบบเดมิ เช่น เส้อื ยงั ใชร้ ปู แบบเสอ้ื แขนกระบอก สไบและผา้ ถุงเหมอื นกนั เพม่ิ เตมิ คอื ลวดลายบนผา้ สไบและผา้ ถุง ส่วน ทแ่ี ตกต่างกนั คอื ในอดตี มเี ครอ่ื งประดบั น้อยชน้ิ ปัจจบุ นั มเี คร่อื งประดบั ตกแต่งเพ่อื ความสวยงามและแต่งหน้าให้มสี สี นั สดใส ทงั้ น้ดี ว้ ยการแพร่กระจายทางวฒั นธรรมซง่ึ อาจจะมกี ารหยบิ ยมื ของวฒั นธรรมอ่นื ๆเขา้ มาผสมผสานใหม้ คี วามน่า สดใจและทนั สมยั ดงึ ดูดตาเวลาทาการแสดง ด้วยอิทธิพลด้านนโยบายของรฐั บาลส่งผลให้ชาวบ้านเกดิ ความต่นื ตวั เก่ยี วกบั วฒั นธรรมการแสดงของตนเองทาให้ทุกคนหนั มาให้ความสาคญั แต่ยงั ไม่เป็นทด่ี งึ ดดู ใจมากยง่ิ นกั เน่ืองจาก ปัจจุบนั โลกสงั คมออนไลน์มอี ทิ ธพิ ลเป็นอย่างมากในการดาเนินชวี ติ การเสพตดิ ความสวยงามทางดา้ นการแต่งกายหาก เม่อื ใดท่เี ราหลงอย่ใู นห้วงเวลาของความสวยงามจนบดบงั ความเป็นรากเหงา้ วฒั นธรรมของตนเอง เม่อื นนั้ เราจะไม่ เหลอื ซง่ึ วถิ วี ฒั นธรรมของตนเองให้ลกู หลายรุ่นต่อไปกเ็ ป็นได้ เพราะอทิ ธพิ ลทางการเมอื งก่อให้เกดิ การเปลย่ี นแปลง ทางสังคม การท่ีระบบสังคมเปล่ียนไปแต่ไม่ได้หมายถึงวฒั นธรรมท่ีดีของเราต้องเปล่ียนตาม เพียงแค่มองหา ความสาคญั และรากวฒั นธรรมเดมิ ของตนเองใหไ้ ด้

10 เอกสารอ้างอิง จดหลายเหตุนครราชสีมา. (2497). พมิ พส์ นองคุณเจา้ พระยานครราชสมี า (ป่ิน ณ ราชสมี า) และ เจา้ พระยา นครราชสมี า (ทองอนิ ทร์ ณ ราชสมี า) 11 กนั ยายน 2497. ชอบ ดสี วนโคก. (2561). ถอดรหสั ฮปู แต้ม พฒั นาชมุ ชน. สานกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสง่ เสรมิ สุขภาพ วนั ท่ี 11 พฤษภาคม 2561 สบื คน้ วนั ที 1 พฤศจกิ ายน 2561 อนิ เตอรเ์ นตออนไลน์ ไพโรจน์ สโมสร. (2532). จิตรกรรมฝาผนังอีสาน,ในการสมั มนาทางวชิ าการเรอ่ื งสง่ิ แฝงเรน้ ในจติ รกรรมอสี าน ขอนแก่น.มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2548). พจนานุกรมศพั ท์วรรณกรรมท้องถิ่นไทยภาคอีสาน เรอื่ งท้าวฮ่งุ หรือท้าวเจือง เล่ม 1. กรงุ เทพฯ : อรุณการพมิ พ,์ วรรณภา ณ สงขลา. (2528). การอนุรกั ษ์จติ รกรรมฝาผนงั . กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรก์ ารพมิ พ.์ ก. วเิ ชยี ร รกั การ. (2529). วฒั นธรรมและพฤติกรรมไทย. กรุงเทพฯ : โอ. เอส . พรน้ิ ตง้ิ เฮา้ ส,์ ศนู ยว์ ฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า. (2523) ของดีเมืองโคราชเล่ม 1. นครราชสมี า : ศนู ยว์ ฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสมี า. เสมอ อนุรตั น์วชิ ยั กลุ . (2536). การศกึ ษาเคร่อื งแต่งกายจากภาพจติ รกรรมฝาผนงั โบสถ์ วดั หน้าพระธาตุ อาเภอปัก ธงชยั จงั หวดั นครราชสมี า. ระดบั ปรญิ ญาโท วทิ ยานิพนธศ์ ลิ ปศาสตร์ (ไทยคดศี กึ ษา-เน้นมนุษยศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. ถ่ายเอกสาร.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook