Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความ ความเชื่อเกี่ยวกับอาณิสงฆ์การสร้างพระไม้

บทความ ความเชื่อเกี่ยวกับอาณิสงฆ์การสร้างพระไม้

Published by kanikl, 2020-12-24 03:05:10

Description: บทความ ความเชื่อเกี่ยวกับอาณิสงฆ์การสร้างพระไม้

Keywords: พระไม้,ความเชื่อ

Search

Read the Text Version

ความเชื่อเกยี่ วกบั อาณสิ งฆ์ของการสร้างพระไม้ล้านนา สุพิชญา วุฒิเสน นกั ศึกษาปริญญาโท หลกั สูตรวฒั นธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น บทนา พระพุทธรูปไมใ้ นภาษาพ้ืนเมืองลา้ นนาโดยทวั่ ไปเรียกกนั วา่ “พระเจา้ ไม”้ ซ่ึงหมายถึงรูป องค์พระปฎิมากรท่ีสลกั จากไมใ้ ห้เป็ นพระพุทธรูป ซ่ึงพระพุทธรูปประเภทน้ีมีหลากหลายพุทธ ลกั ษณ์และหลายขนาด ต้งั แต่ขนาดเลก็ ประมาณ 1 นิ้ว ถึงขนาดใหญ่หลาย ๆ ศอกก็มี แต่ส่วนมากมี ขนาดหนา้ ตกั กวา้ งประมาณ 2-5 นิ้ว บา้ งก็แกะสลกั จากไมท้ ่อนเดียวและบา้ งก็ประกอบข้ึนดว้ ยไม้ หลายชิ้น นิยมสร้างให้มีฐานสูงเพื่อใหม้ ีเน้ือท่ีจารึกขอ้ ความได้ บางองคฐ์ านกบั องคพ์ ระเป็นไมค้ น ละชิ้นกัน และบางองค์เจาะรูท่ีฐาน ซ่ึงบางท่านว่าใช้บรรจุพระธาตุบา้ ง บางท่านเขา้ ใจว่าบรรจุ กระดูกผูเ้ สียชีวิต และบา้ งก็วา่ เจาะเพ่ือใชเ้ หล็กเสียบ เพื่อใหส้ ะดวกในตอนแกะสลกั นอกจากน้ียงั พบวา่ บางองคม์ ีการปิ ดทองลอ่ งชาดดว้ ย (วิลกั ษณ์ ศรีป่ าซาง, 2540) ส่วนมากจะสลกั จากไมช้ ิ้นเดียว และสองชิ้น เมื่อมีการสลกั เสร็จเรียบร้อยแลว้ จะมีการประดบั ตกแต่งดว้ ย การลงรักปิ ดทองทาชาด เพื่อให้องค์พระพุทธรูปน้ันมีความสวยงามตามที่ช่างผูส้ ร้างน้ันปรารถนา (สงวน โชติสุขรัตน์, 2551) พทุ ธศาสนิกชนชาวลา้ นนา มีศรัทธาและเลื่อมใสในพระพทุ ธศาสนา จึงไดส้ ร้างพระพุทธรูป ไว้เป็ นท่ีสักการะแทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จานวนมาก ชาวล้านนานิยมเรียก พระพทุ ธรูปวา่ “พระเจา้ ” (อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว, 2549) ก่อนพุทธปริ นิพพาน พระพุทธเจ้าได้ตรัสกับพระอานนท์ถึงส่ิ งสาคัญสาหรับ พุทธศาสนิกชนรุ่นหลงั ที่ตอ้ งยึดถือเป็ นสิ่งแทนและราลึกถึงพระองค์ 2 ประการ คือ ให้ยึดถือพระ ธรรมวนิ ยั เป็นพระศาสดาแทนพระองคแ์ ละใหส้ งั เวชนียสถาน 4 แห่งเป็นส่ิงราลึกถึงพระองค์ ไดแ้ ก่ สถานที่ประสูติ ตรัสรู้ แสดงพระปฐมเทศนา และ สถานท่ีปรินิพพาน หลงั พทุ ธปรินิพพาน ไดม้ ีการ สร้างส่ิงท่ีเคารพบูชาแทนพระพุทธเจา้ อยา่ งเป็นรูปธรรม เรียกวา่ เจดีย์ แบ่งออกเป็น 4 อยา่ ง ไดแ้ ก่ 1. ธาตุเจดีย์ สถานท่ีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ 2. บริโภคเจดีย์ สถานท่ีหรือส่ิงที่พระพุทธเจา้ เคยใช้

สอย 3. ธรรมเจดีย์ สถานท่ีบรรจุพระธรรมหรือพระพทุ ธพจน์ และ 4. อุเทสิกเจดีย์ ส่ิงท่ีสร้างข้นึ เพ่ือ ถวายและเคารพบูชาพรุพุทธเจา้ (Prince Damrong Rajanubhab, 1970) พระพุทธรูป จดั เป็ นอุเทสิก เจดียท์ ี่จดั ทาข้นึ เพ่ือเป็นส่ิงแทนพระพุทธเจา้ ตามหลกั ฐานทางโบราณคดีและประวตั ิศาสตร์บ่งบอก วา่ เร่ิมสร้างคร้ังแรกราวพทุ ธศตวรรษท่ี 6 ในสมยั ท่ีกษตั ริยเ์ ช้ือสายกรีก ครอบครองดินแดนนแควน้ คนั ธารราษฎร์ ต่อมารัชสมยั ของพระเจ้ากนิษกะแห่งราชวงศ์กุษาณะ (ประมาณ พ.ศ.663-701) มี อานาจเหนือแควน้ คนั ธารราษฎร์ จึงให้ข่างชาวกรีกซ่ึงมีวิธีคิดที่ไม่ถือขอ้ ห้ามการทารูปเคารพได้ สร้างพระพุทธรูปข้ึนเป็ นคร้ังแรก โดยมีลกั ษณะเหมือนกับเทพเจ้าขอกกรีกโบราณ (Dissakul, 1991) โดยจากหนงั สือ ช่ือเร่ือง ชินกาลมาลีปกรณ์ หนงั สือที่แต่งโดยพระรัตนปัญญา พระภิกษุชาว ลา้ นนาเมื่อ พ.ศ. 2060 ไดป้ รากฏเน้ือความวา่ “ พระเมืองแกว้ กษตั ริยล์ า้ นนาซ่ึงครองราชยอ์ ยใู่ นช่วง พ.ศ.2039 2069 ไดท้ รงสร้างพระพุทธรูปดว้ ยไมแ้ ก่นจนั ทน์ ” นอกจากน้นั ในหนงั สือ ชินกาลมาลี ปกรณ์ ยงั ได้ปรากฏเน้ือความเล่าประวตั ิพระพุทธรูปแก่นจนั ทน์ โดยในตานานกล่าวว่า “ สมยั พุทธกาล พระเจ้าปเสนทิโกศลกษตั ริยแ์ ควน้ สาวตั ถี ทรงปรารถนาที่จะสร้างบุญกุศลให้ผูค้ นได้ กราบไหว้ ด่งั เช่นกราบไหวพ้ ุทธเจดีย์ จึงโปรดให้สร้างพระพุทธรูปแก่นจนั ทน์ข้ึน ” (พระรัตน ปัญญา, 2518) จากเน้ือความใน ชินกาลมาลีปกรณ์ ขา้ งตน้ สามารถ สันนิษฐานได้ว่าการสร้าง พระพทุ ธรูปดว้ ยไมป้ รากฏมาต้งั แต่สมยั ลา้ นนา และไดร้ ับความนิยม เพราะเกิดผลานิสงส์ผลบุญแก่ ผสู้ ร้าง จนมีการบนั ทึกเป็นเร่ืองราวตามเน้ือความในหนงั สือ อานิสงส์หมายถึงผล แห่งกุศลกรรมหรือประโยชน์อนั จะไดร้ ับจากการไดท้ าบุญ หรือได้ สร้างประโยชน์ไวช้ าวลา้ นนา มีความเชื่อวา่ การทาบุญทากุศลอนั มีเจตนาบริสุทธ์ิ ยอ่ มจะไดร้ ับผล แห่งบุญน้นั ตอบแทน แมส้ ่ิงท่ีทาจะมีมูลค่าเล็กนอ้ ยก็ตาม เก่ียวกบั ความเชื่อในเรื่องอานิสงส์ต่าง ๆ น้นั จะเห็นว่าสิ่งใดกต็ าม ถา้ ถวายเป็นพุทธบูชาหรือถวายไวแ้ ก่พระศาสนาแลว้ ย่อมไดร้ ับอานิสงส์ ต่าง ๆ เป็นอนั มาก (สายนั ต์ ไพรชาญจิตร์,2545) ดงั น้นั จึงมี คมั ภีร์เกี่ยวกบั อานิสงส์ต่าง ๆ มากมาย เช่น อานิสงส์การทานตุง อานิสงส์ทานประทีป เป็ นตน้ อานิสงส์การสร้างพระพุทธรูปไมม้ ิได้ แยกแยะตามชนิดของไมอ้ ยา่ งละเอียด วา่ สร้างดว้ ยไม้ ชนิดใดแลว้ จะไดอ้ านิสงส์มากนอ้ ยแตกต่าง กนั เพยี งใด การสร้างพระพทุ ธรูปน้นั แมจ้ ะดว้ ยวตั ถุธาตใุ ดก็ตาม จดั วา่ ไดส้ ะสมมหากศุ ล มหาบารมี ใหเ้ กิดข้ึน อนั จะเป็นอุปนิสัยปัจจยั แก่มนุษยส์ มบตั ิสวรรค์ สมบตั ิและนิพพานสมบตั ิในกาลต่อไป

เบ้ืองหนา้ รายละเอียดของอานิสงส์การสร้างพระพุทธรูปใน ลา้ นนาน้นั พระโบราณาจารยไ์ ด้ กลา่ ว เอาไวด้ งั น้ี 1) ผสู้ ร้างพระพทุ ธรูปดว้ ยดีบกุ จะไดเ้ กิดเป็นเทวดาผมู้ ีศกั ด์ิดามาก 2) ผูส้ ร้างพระพุทธรูปด้วยเงินจะได้เกิดเป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ ประกอบด้วยรัตนะ 7 ประการ 3) ผูส้ ร้างพระพุทธรูปดว้ ยทองเหลืองและทองสัมฤทธ์ิจะไดเ้ กิดเป็ นบรมกษตั ริยม์ ีสมบตั ิ มาก 4) ผสู้ ร้างพระพทุ ธรูปดว้ ยศิลาจะไดเ้ กิดเป็นทา้ วอมั รินทราธิราช 5) ผูส้ ร้างพระพุทธรูปด้วยไม้โพธ์ิและแก่นจันทน์จะได้เกิดเป็ นใหญ่ในประเทศราช บริบรู ณ์ดว้ ยจิตรงคเ์ สนา 6) ผูส้ ร้างพระพุทธรูปดว้ ยการวาดใส่แผ่นผา้ หรือแกะสลกั ลงบนแผ่นโลหะต่าง ๆ จะได้ เป็นทา้ วมหาพรหม 7) ผสู้ ร้างพระพุทธรูปดว้ ยทองคา ยอ่ มมีอานิสงส์ไพศาล จะปรารถนาเป็น พระพุทธเจา้ ใน กาลอนาคตเบ้ืองหนากจ็ ะสาเร็จดงั ความต้งั ใจ ภาพประกอบที่ 1 พระพุทธรูปไม้ พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติน่าน

ภาพประกอบที่ 2 พระพุทธรูปไม้ วดั พญาวดั อาเภอเมือง จงั หวดั น่าน จากการลงพ้นื ที่ศึกษาความเช่ือเกี่ยวกบั อาณิสงฆข์ องการสร้างพระไมล้ า้ นนาในเมืองน่าน ไดแ้ ก่ พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติน่าน วดั หวั ข่วง วดั พระธาตแุ ช่แหง้ วดั พญาวดั วดั สถารส พบวา่ ยงั มีการนาพระพทุ ธรูปไมถ้ วายเพอื่ ทาบญุ และเสริมดวงชะตา แสดงถึงความมีศรัทธาต่อพระพทุ ธรูป จึงมีปฎิสัมพนั ธ์เชิงปฏิบตั ิตอ่ พระพุทธรูปในลกั ษณะตา่ ง ๆ ศิรพงศ์ ศกั ด์ิสิทธ์ิ, 2545 กล่าวว่า พระเจา้ ไมห้ รือองคพ์ ระปฏิมาที่สร้างดว้ ยไม้ ไดถ้ ูกนามา เชื่อมโยง เกี่ยวกบั เรื่องของ “อานิสงส์” ซ่ึงหมายถึงผลแห่งกุศลกรรมหรือประโยชน์ อนั จะไดร้ ับ จากการไดท้ าบุญหรือไดส้ ร้างประโยชน์ไว้ ชาวลา้ นนามีความเช่ือว่าการทาบุญทากศุลอนั มีเจตนา บริสุทธ์ิ ยอ่ มจะไดร้ ับผลแห่งบญุ น้นั ตอบแทน แมส้ ิ่งที่ทาจะมีมูลคา่ เลก็ นอ้ ยกต็ าม เกี่ยวกบั ความเช่ือ ในเร่ืองอานิสงฆต์ ่าง ๆน้นั โดยมีการสร้างส่ิงท่ีเคารพบูชาแทนพระพุทธเจา้ อยา่ งเป็นรูปธรรม คอื อุ เทสิกเจดีย์ท่ีจัดทาข้ึนเพ่ือเป็ นสิ่งแทนพระพุทธเจ้า ซ่ึงวัฒนธรรมล้านนาให้ความสาคัญกับ พระพุทธรูปไมเ้ ป็ นอย่างมาก จะเห็นได้ว่ามายาคติน้ันจะแฝงอยู่กับความคิด ความเช่ือ ของชาว ล้านนาด้วย ตามหลักแนวคิดมายาคติ ของ โรล็องค์ บาร์ตส์ (Roland Barth) กล่าวว่า การสื่อ ความหมายดว้ ยคติความเช่ือทางวฒั นธรรม ซ่ึงถูกกลบเกลื่อนใหเ้ ป็นที่รับรู้เสมือนว่าเป็นธรรมชาติ แลว้ มีการถ่ายทอดสืบต่อกนั มาจนทาใหเ้ กิดเป็นความเชื่อท่ีคนส่วนมากยอมรับและสอดคลอ้ งกบั สภาพของสังคมน้นั ๆ การกระทาหรือ กระบวนการทาให้เกิดการ เปล่ียนแปลง ลดทอน ปกปิ ด อา พรางฐานะของการเป็นสรรพสิ่งในสังคมให้กลายเป็นเรื่องปกติธรรมดาหรือเป็น ธรรมชาติ นน่ั คือ กระบวนการสร้างมายาคติ โดยเป็นความคิดท่ีผคู้ นส่วนมากยอมรับและสอดคลอ้ งกบั ระบบอานาจ

ท่ีดารงคงอยู่ในสังคมขณะน้นั โดยความเช่ือเหล่าน้ีเกิดข้ึนมาต้งั แต่สมยั การสร้างพระพุทธรูปด้วย ไมแ้ ก่นจนั ทร์ของพญาเมืองแก้ว สัญญะในตวั ของพระพุทธรูปไม้ ซ่ึงเป็ นความหมายโดยตรง (Denotative Meaning) คือ สร้างเพื่อสักการะแทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และมี ความหมายโดยนยั (Connotative Meaning) คือ ไดร้ ับผลอานิสงฆแ์ ห่งกุศลกรรมหรือประโยชน์อนั จะไดร้ ับจากการไดท้ าบุญ หรือไดส้ ร้างประโยชน์ไว้ ผ่านคติความเช่ือทางสังคมและวฒั นธรรม (Socio-Cultural Context) โดยเป็นความเชื่อท่ีเกิดข้ึนของคนลา้ นนา สร้างข้ึนเพื่อถวายไวเ้ พื่อสืบตอ่ พระศาสนา แลว้ ต้งั ความปรารถนารับอานิสงส์ไปตลอด ตราบจนเขา้ พระนิพพานเป็นท่ีสุดอีกอยา่ ง หน่ึง สร้างเป็นพระพุทธรูปประจาตวั หรือประจาชาตาปี เกิด เพ่ือต้งั ไวส้ ักการบูชา โดยมุ่งหวงั ความ เป็นสิริมงคลแก่ชีวิต นอกจากน้นั แลว้ พระพุทธรูปไมย้ งั บ่งบอกถึงการกระทาบุญที่ “ทุกฐานะยอ่ ม กระทาได”้ เนื่องจากไมเ้ ป็ นวสั ดุธรรมชาติ สามารถหาไดง้ ่ายในทอ้ งถ่ิน ชาวบา้ นทวั่ ไปสามารถ สร้างพระพุทธรูปไมไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง หรืออาศยั ช่างฝี มือพ้ืนบา้ น ไม่จาเป็นตอ้ งสร้างโดยใชว้ สั ดุมี ค่า เกินฐานะ เช่น ทองคา เงิน หรือผลึกหิน จากการศึกษาความเชื่ออาณิสงฆพ์ ระไมล้ า้ นนาในเมืองน่าน ตามหลกั แนวคิดมายาคติ ของ โรลอ็ งค์ บาร์ตส์ พบวา่ มีความหมายโดยตรงคือ สร้างเพอื่ สกั การะแทนองคส์ มั มาสัมพทุ ธเจา้ และมี ความหมายโดยนยั คือ เพ่ือรับอานิสงส์สร้างเป็นพระพุทธรูปประจาตวั ซ่ึงในชาวลา้ นนามีการแกะ พระไม้เป็ นปกติยงั มีการดารงอยู่ มีการถ่ายทอดสืบต่อกันมาจนทาให้เกิดเป็ นความเชื่อที่คน ส่วนมากยอมรับ และง่ายต่อการหาวสั ดุในการทาในทอ้ งถ่ิน แต่การสร้างพระพุทธรูปไมถ้ วายวดั นอ้ ยลง ปัจจุบนั คนเร่ิมมีความตะหนกั ในคุณค่าของพระพุทธรูปไมท้ ี่เป็นมรดกทางวฒั นธรรมและ เป็ นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นอย่างหน่ึงของจงั หวดั น่าน เริ่มมีคนหวงแหน ทาให้บางสถานที่มีการ อนุรักษพ์ ระพทุ ธรูปไมต้ ามวดั ต่าง ๆ ถึงอยา่ งไรกต็ ามชาวลา้ นนากย็ งั คงมีความเชื่อเกี่ยวกบั การสร้าง พระพทุ ธรูปไมแ้ ลว้ จะไดร้ ับอานิสงฆต์ ามรายละเอียดของอานิสงส์การสร้างพระพุทธรูป เอกสารอ้างองิ วเิ ชียรสุรินตะ๊ และอไุ ร ไชยวงค.์ (2432) อานิสงส์สร้างพุทธรูป. เชียงใหม่ :สถาบนั วจิ ยั สงั คม. วลิ กั ษณ์ ศรีป่ าซาง. (2540). พระเจ้าไม้. ในสารานุกรมวฒั นธรรมภาคเหนือ. [ม.ป.ป]. ศิรพงศ์ ศกั ด์ิสิทธ์ิ. (2545). คตกิ ารสร้างพระพุทธรูปไม้ในล้านนา. มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

สงวน โชติสุขรัตน์. (2551). ตานานพระแกนจนั ทร์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตว์ สายนั ต์ ไพรชาญจิตร์. (2545) การศึกษาเพื่อการอนุรักษ์และฟื้ นฟูประเพณีการทาบญุ ด้วยการสร้าง พระพุทธรูปไม้ในจงั หวดั น่าน. ภาควิชาการพฒั นาชุมชน มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์: กรุงเทพฯ. อรุณรัตน์ วเิ ชียรเขยี ว. (2549). โบราณวัตถุ – โบราณสถานในวัดล้านนา. เชียงใหม่ : สถาบนั ภาษา ศิลปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่. Dissakul, Subhadaradit. (1991). Indain Arts. Bangkok : Kurusapa Business Organization. Prince Damrong Rajanubhab. (1970). The Legend Of Buddha Cetiya. Bangkok : Rung Wattana Printing House.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook