Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความ ธุง

บทความ ธุง

Published by kanikl, 2020-12-21 02:52:57

Description: บทความธุง ธุง

Keywords: ธุง,ตุง

Search

Read the Text Version

ธุง , ตุง สัญลักษณแ์ ห่งศรัทธาทเ่ี หมอื นหรือตา่ งของอสี านและล้านนา Tung, Tung, a symbol of faith that is the same or different of Isan and Lanna. ณฏั ฐฑ์ กฤษณ์ ไชยจินดา* ธง เป็นสญั ลกั ษณค์ วามเช่ือของคนไทยและคนในดนิ แดนอษุ าคเนยม์ าแตค่ รงั อดีต ซ่งึ มีพืน้ ฐานมา จากวฒั นธรรมของผี พราหมณแ์ ละพทุ ธหลอมรวมกนั ซ่งึ ธงดงั กลา่ วมีช่ือเรียกเฉพาะตามพืน้ ท่ีตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ภาคกลางของไทยเรียก ธง ภาคอีสาน เรียกว่า ธุง ภาคเหนือ เรียก ตุง ชาวไทยใหญ่ เรียก ตาข่อน ประเทศพมา่ เรยี ก ตะขนุ่ ประเทศลาว เรยี กวา่ ทง หรอื ทงุ (อจั ฉราพร เกษทอง , 2548) ธุงอีสาน เป็นเคร่ืองหมายท่ีแสดงถึงสญั ลกั ษณข์ องการจดั งานบญุ มีมาตงั้ แตส่ มยั ครงั้ พทุ ธกาล ปรากฏในกัณฑ์ 13 คือ นครกัณฑ์ ตอนแห่พระเวสสนั ดรเขา้ เมือง จะปรากฎประชาชนชาวเมืองท่ีมา ตอ้ นรบั ใชผ้ า้ ผืนยาวแขวนบนปลายไมไ้ ผ่ปลอ่ ยชายพลิว้ ไหวตามเสน้ ทางเสด็จของพระเวสสนั ดร ซ่งึ ปราฎ ในชาดกและจิตรกรรมฝาผนงั พระอโุ บสถในภาคอีสาน ซ่งึ ไดป้ ฏิบตั ิสืบตอ่ กนั มาจนถึงปัจจบุ นั ในบญุ เดือน ส่ี และบญุ อ่ืนๆ ตามฮีต 12 ของชาวอีสาน (ประทบั ใจ สกิ ขา , 2555) ส่วน ตงุ ลา้ นนา วรีวรรณ เจริญรูป. (2562) ไดอ้ ธิบายว่า “ตงุ ” ตรงกับภาษาบาลีว่า “ปฏากะ” หรือ ธงปฏาก มีลกั ษณะเป็นแผ่นวตั ถทุ าจากผา้ หรือไมก้ ็ได้ ส่วนปลายจะแขวนหอ้ ยเป็นแผ่นยาวลงมา ตงุ มีบทบาทและความเป็นมาท่ียาวนาน ดงั ท่ีพบในศลิ าจารกึ ท่ีวดั พระยืน จงั หวดั ลาพนู ตอนหน่งึ วา่ “วนั นนั้ ตนทา่ นพญาธรรมิกราชบริพารดว้ ยฝงู ราชโยธามหาชน ลกู เจา้ ลกู ขนุ มนตรี ทงั้ หลายยายกนั ใหถ้ ือชอ่ ธง ขา้ วตอกดอกไมไ้ ตเ้ ทียน ตีพาดดงั พณิ ฆอ้ งกลอง ป่ีสรไนพิสเนญชยั ทะเทียด กาหล แตรสงั ข์ มานกงั สดาร” โดยมีหมายความวา่ ในปี พ.ศ.1913 “เจา้ ทา้ วสองแสนมา” หรอื พญากือนาแหง่ เมืองเชียงใหมพ่ รอ้ มดว้ ย *นายณฏั ฐ์ฑกฤษณ์ ไชยจินดา นกั ศกึ ษาหลกั สตู รดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวฒั นธรรม ศิลปกรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีการศกึ ษา 1/2563.

2 ขา้ ราชบริพารทงั้ หลายไปรอตอ้ นรบั พระสุมนเถระซ่ึงมาจากสุโขทัย ซ่ึงทุกคนต่างยืนเรียงรายถือเคร่ือง สกั การะตา่ ง ๆ เช่น ถือชอ่ คือธงสามเหล่ียมขนาดเล็ก และถือธง หรือ ตงุ พรอ้ มกบั การการบรรเลงดนตรี ในขบวน ลักษณะตุงในพืน้ ท่ีภาคเหนือมีหลายชนิด หลายแบบ ขึน้ อยู่กับวัตถุท่ีใช้ เช่น ผา้ ไม้ โลหะ ดา้ ย (ฝ้าย หรือไหม) หรือกระดาษ แตต่ งุ ท่ีเป็นท่ีนิยมอย่างมากและพบเห็นไดอ้ ย่เู สมอเป็นตงุ ท่ี สรา้ งขึน้ จากเสน้ ฝา้ ย ผา้ กระดาษ ใบลาน เป็นตน้ ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย 1. ตงุ ชอ่ ทาดว้ ยกระดาษสี ใชป้ ักตกแตง่ 2. ตงุ รอ้ ยแปด ทาดว้ ยกระดาษสี ใชใ้ นพธิ ีสะเดาะเคราะห์ 3. ตงุ คา่ คงิ ทาดว้ ยกระดาษวา่ วสีขาว ใชใ้ นพธิ ีสะเดาะเคราะหแ์ ละงานสงกรานต์ 4. ตงุ ไสห้ มู ทาดว้ ยกระดาษสี ใชใ้ นงานสงกรานต์ และพิธีทางศาสนา 5. ตงุ ใย ทาดว้ ยเสน้ ดา้ ยหรือไหม ใชแ้ ขวนหนา้ พระพทุ ธรูป 6. ตงุ ไชย ทาดว้ ยผา้ สี ยกเวน้ สีดา มีลกั ษณะยาว ใชใ้ นการฉลองวดั 7. ตงุ สามหาง ทาดว้ ยผา้ ขาวหรอื แพรใชเ้ ป็นเคร่ืองบชู าพระรตั นตรยั 8. ตงุ กระดา้ ง ทาดว้ ยไมห้ รือโลหะ ใชเ้ ป็นเคร่อื งประกอบพธิ ีกรรม หลายทา่ นอาจเขา้ ใจวา่ ,ตงุ ,เป็นธง แตอ่ นั ท่ีจรงิ แลว้ ตงุ ไม่ใชธ่ ง ตงุ เป็นสญั ลกั ษณแ์ สดงถึงความเช่ือ ตา่ งๆ เชน่ ตงุ ท่ีมีการแบง่ เป็น 7 ชอ่ งซ่งึ หมายถึง สวรรคท์ งั้ 7 ชนั้ เป็นตน้ (เบญจพล สทิ ธิประณีต ,2549) ตงุ ประเภทท่ีพบเห็นมากท่ีสดุ ในแถบภาคเหนือ คือ ตงุ ไชย ซ่ึงเป็นตงุ ท่ีส่ือความหมายถึงความ เป็นสิรมิ งคล ใชใ้ นการถวายเป็นพทุ ธบชู ารวมทงั้ ใชถ้ วายเป็นกศุ ลทานแก่ผทู้ ่ีลว่ งลบั ไปแลว้ โดยขนาดกวา้ ง และความยาวขนึ้ อยกู่ บั ตามกาลงั ศรทั ธาของผสู้ รา้ ง โดยจะนิยมทอดว้ ยฝา้ ยหลากสีเป็นผืนยาว เชน่ สีขาว สีแดง สีเหลือง สีเขียว เป็นตน้ มีไมไ้ ผ่สอดค่นั เป็นช่วงๆ อาจมีเคร่ือง ตกแตง่ ดว้ ยการหอ้ ยประดบั ดว้ ยพู่ หลากสี ตงุ ชนิดนีน้ ิยมใชป้ ักไวใ้ นบรเิ วณวดั หรือเสน้ ทางเขา้ สวู่ ดั ในงานพิธี และงานเทศกาลตา่ งๆ เช่น งาน ปอย งานกฐิน เป็นตน้ ลวดลายท่ีปรากฏอยบู่ นตงุ ก็นยิ มใชล้ วดลายท่ีมี ความหมายไปในทางมงคล เชน่ ลายนาค ลายหงส์ ลายนก ลายชา้ งแกว้ ลายมา้ ลายแกว้ ลายสิงห์ ลายสิบ สองนกั ษัตร และลาย ปราสาท (อรุ คนิ ทร์ วิรยิ ะบรู ณะ , 2506)

3 ภาพที่ 1 ตงุ ไชย วดั หนองบวั ภาพที่ 2 ตงุ ไชย วดั รอ้ งแง ต.ป่ าคา อ.ทา่ วงั ผา จ.นา่ น ต.วรนคร อ.ปัว จ.นา่ น สว่ นธุงอีสาน นิยมทอเป็นผืนยาวๆ มีรูปสตั วห์ รือรูปภาพเช่นเดียวกบั ตงุ เหนือ ตามความเช่ือในแต่ ละพืน้ ท่ี ซ่งึ จะมีการดดั แปลงโดยนาวสั ดอุ ่ืนๆมาประกอบในการทอธุง เช่น ไมไ้ ผ่ เสน้ พลาสตกิ ริบบนิ้ และ กก ทอผสมกบั ฝา้ ย เม่ือทอเสรจ็ จะนามาตกแตง่ เพ่มิ เตมิ ใหส้ วยงามดว้ ยลกู ปัด ดอกไมพ้ ลาสตกิ และอ่ืนๆ ตามท่ีหาได้ โดยธุงอีสานจะประกอบดว้ ยธุงชยั และธงุ กฐิน ซ่งึ ขนาดไม่จากดั ตายตวั มีทงั้ ขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ ตามกาลงั ศรทั ธาของผสู้ รา้ ง (พวงเพชร ชุปวา , 2542) ทงั้ นีล้ วดลายบนผืนธุงส่วนมากจะเป็น เคร่อื งสกั การะ สตั วพ์ าหนะ วตั ถสุ ่งิ ของมงคล เชน่ ลายชา้ ง มา้ ลายปราสาท เป็นตน้ (ประทบั ใจ สิกขา , 2555) ภาพที่ 3 ตงุ ชยั บา้ นบวั เจริญ ภาพที่ 4 ตงุ ชยั บา้ นหนองผอื ต.เดชอดุ ม อ.เดชอดุ ม จ.อบุ ลราชธานี ต.จตรุ พตั รพ์ มิ าน อ.จตรุ พกั ตร์พมิ าน จ.รอ้ ยเอด็

4 จะเหน็ ไดว้ า่ ธุง และตงุ มีความคลา้ ยคลงึ กนั ในดา้ นของลกั ษณะและลวดลายและมีความใกลเ้ คียง กนั ในเร่ืองของขนาด ซ่งึ ในลวดลายดงั กล่าวลว้ นแลว้ แตม่ ีนยั แฝงในเร่ืองของภพภมู ิท่ีคาดหวงั ในภายภาค หนา้ โดยปรากฏออกมาในรูปแบบของปราสาท คน สตั วม์ งคล รวมไปถึงเคร่ืองสกั การะต่างๆท่ีม่งุ หวงั ถวายตอ่ องคพ์ ระศรอี ารยิ เมตไตยในภายภาคหนา้ ภาพที่ 5 ตงุ ชยั ถวายพระธาตแุ ชแ่ หง้ ตามความเชือ่ ว่าตงุ เป็นขนั้ บนั ไดทนี่ าวญิ ญาณจากนรกขึน้ สสู่ วรรค์ นอกจากนี้ ตงุ ยงั มีบทบาทหนา้ ท่ีทางสงั คม คือ การสรา้ งขนึ้ เพ่ือใชใ้ นพิธีกรรมการสืบชะตาของ ผูป้ ่ วยหรือผูเ้ คราะหร์ า้ ยทางภาคเหนือ โดยนิยมทอใหม้ ีความยาวเท่ากับความสูงของผู้ป่ วยหรือผู้ท่ี ตอ้ งการสะเดาะเคราะห์ เม่ือเสร็จพิธีแลว้ จะนาไปมดั หรือพนั รวม กบั ไมง้ ่ามสามขาท่ีทาเป็นซุม้ สืบชะตา เพ่ือนาไปวางพิงไวก้ บั ตน้ โพธิ์ใหญ่ของวดั และยงั มีความเช่ือว่าการถวายตงุ ว่า เป็นการอุทิศกศุ ลผลบญุ ใหก้ บั ญาตผิ ลู้ ว่ งลบั แลว้ โดยส่ือผา่ นสญั ลกั ษณต์ า่ งๆท่ีปรากฏบนผืนธุงและตงุ รวมไปถงึ ความเช่ือเก่ียวกบั ขนั้ ท่ีสอดไมไ้ ผ่หรือลวดลายท่ีทอเป็นขนั้ บนตงุ นนั้ เปรียบเสมือนกบั บนั ไดท่ีจะนาพาดวงวิญญาณของผู้ ลว่ งลบั ขนึ้ จากนรกไปยงั สวรรค์ ดงั ท่ีปรากฏการถวายตงุ ท่ีวดั พระธาตแุ ชแ่ หง้ ในจงั หวดั นา่ น (ชไมพร พร เพ็ญพพิ ฒั น์ , 2546) เช่นเดียวกบั คนอีสานนิยมทอสรา้ งธุงถวายเป็นเคร่ืองบชู าดว้ ยความเช่ือท่ีว่า การถวายธุงนนั้ เป็น การสรา้ งกศุ ลใหแ้ ก่ตนเอง และ ยงั ไดอ้ ทุ ศิ กศุ ลผลบญุ ใหก้ บั ผลู้ ่วงลบั ไปแลว้ ดงั นนั้ อาจกลา่ วไดว้ า่ คนอีสาน มีความเช่ือเก่ียวกับ ธุงใน 2 ลักษณะ คือ เพ่ือเป็นสิริมงคลกับชีวิต และเพ่ืออุทิศใหก้ ับดวงวิญญาณผู้ ล่วงลบั ไดข้ นึ้ จากนรกไปสสู่ วรรค์ นอกจากนีย้ งั มีความเช่ือเก่ียวกบั ธงุ อีกวา่ เป็นสญั ลกั ษณบ์ อกกลา่ วการ

5 ทาบุญต่อเทพยาดา เป็นธงเคร่ืองหมายชนะมาร รวมไปถึงความเจริญรุง่ เรืองในภายภาคหนา้ (พรพิสิฐ ทกั ษิณ , 2540) จากความเช่ือดังกล่าวได้สอดคล้องกับทฤษฎีมายาคติของ Roland Barthes ท่ีไดอ้ ธิบายเชิง วิชาการเก่ียวกบั กระบวนการดงั กลา่ วไวว้ า่ “มายาคตเิ ป็นระบบส่ือความหมายซ่งึ มีลกั ษณะพิเศษตรงท่ีมนั ก่อตวั ขึน้ บนกระแสการส่ือความหมายท่ีมีอย่กู ่อนแลว้ จึงถือไดว้ ่า มายาคติเป็นระบบสญั ญะในระดับท่ี สอง ส่ิงท่ีเป็นหน่วยสญั ญะ ระบบท่ีสอง และไม่วา่ ในเบือ้ งตน้ นนั้ จะมีความแตกตา่ งหลากหลายเพียงใดก็ ตาม แตค่ รนั้ เม่ือถกู จบั ยดึ โดยมายาคตแิ ลว้ ก็จะถกู ทอนใหเ้ หลือเป็นเพียงรูปสญั ญะเพ่ือส่ือถึงส่ิงอ่ืนเสมอ (วรรณพิมล องั คศริ สิ รรพ, 2544) และสอดคลอ้ งกบั ทฤษฎีโครงสรา้ งหนา้ ท่ีของ Malinowski ตามหลกั การ วเิ คราะหส์ งั คมวา่ องคป์ ระกอบตา่ งๆของวฒั นธรรมทกุ สว่ นทาหนา้ ท่ีสนองความตอ้ งการจาเป็นของมนุษย์ และวฒั นธรรม “ทศั นะของหนา้ ท่ีนิยมท่ีมีตอ่ วฒั นธรรมเนน้ หลกั สาคญั ท่ีวา่ ประเพณีทกุ อย่าง วฒั นธรรมทกุ อย่าง ความคดิ ทกุ ความคิด ความเช่ือทกุ ความเช่ือของวฒั นธรรม สนองตอบความตอ้ งการจาเป็นหรือทา หนา้ ท่ีอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ มีหนา้ ท่ีจะตอ้ งทาหรอื เป็นตวั แทนของสว่ นท่ีจะขาดเสียไมไ่ ดใ้ นวฒั นธรรมนนั้ ” จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ จะเห็นไดว้ ่า ธุง ,ตงุ ไดม้ ีความสอดคลอ้ งกนั ในดา้ นของความเช่ือ รูปลกั ษณ์ ส่ือสญั ญะท่ีปรากฏบนแผน่ ธุงและตงุ รวมไปถึงความเช่ือ จดุ มง่ หมายในการถวาย หากแตจ่ ะแตกตา่ งกนั ท่ีความเป็นมา การใชใ้ นพิธีกรรม ซ่ึงเป็นผลมาจากบริบทพืน้ ท่ี วฒั นธรรมประเพณี รูปแบบทางสงั คม แต่เม่ือนามาวิเคราะหผ์ ่านทฤษฎีมายาคติและโครงสรา้ งหนา้ ท่ีแลว้ ธุง และ ตุง คือ สญั ลกั ษณแ์ ห่ง ศรทั ธาของชาวอีสานและลา้ นนาท่ีถ่ายทอดผา่ นพิธีกรรมทางพระพทุ ธศาสนา โดยมงุ่ หวงั เพ่ือความเป็นสิริ มงคล ความเจริญรุ่งเรือง ความคาดหวงั ทรพั ยศ์ ฤงคารในภายภพหนา้ รวมถึงเป็นบนั ไดนาพาไปสู่โลก ของพระศรอี ารยิ ห์ ลดุ พน้ จากสงั สารวฏั ตามท่ีปรากฏบนผืนแผน่ ธงุ และตงุ ของชาวอีสานและลา้ นนา

6 บรรณานุกรม ชไมพร พระเพญ็ พิพฒั น.์ (2546). ตงุ มรดกแผ่นดนิ ล้านนา. กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พด์ า่ นสทุ ธาการพิมพ.์ ประทบั ใจ สิกขา. (2555). ธุงอีสาน. อบุ ลราชธานี : สานกั พมิ พศ์ ริ ธิ รรมออฟเซท็ . วรวี รรณ เจรญิ รูป. (2562). งานวจิ ัย เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑภ์ ูมิปัญญาท้องถนิ่ ดว้ ยการสร้าง คุณค่าและมูลค่าเพมิ่ : กรณีศกึ ษาตงุ ล้านนา. งานวิจยั กลมุ่ สง่ เสรมิ วฒั นธรรม. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา เชียงราย. อจั ฉราพร เกษทอง. (2548). งานวิจัย เรือ่ ง การพัฒนาหลักสูตรท้องถนิ่ เร่อื ง การประดษิ ฐต์ งุ ล้านนา เพอ่ื ถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถน่ิ . มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา เชียงราย. อรุ คนิ ทร์ วิรยิ ะบรู ณะ. (2506). ประเพณีไทย ฉบับพระมหาราชครู. สานกั พิมพป์ ระจกั ษ.์ เบญจพล สทิ ธิประณีต. (2549). ตุง. เชียงใหม:่ บรษิ ัท นพบรุ กี ารพมิ พ์ จากดั . พรพสิ ฐิ ทกั ษิณ. (2540). วิทยานิพนธ์ เรื่อง ผ้าผะเหวดในเขตอาเภอเมอื ง จังหวัดขอนแก่น. ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ . สาขาวชิ าไทยคดีศกึ ษา (กลมุ่ มนษุ ยศาสตร)์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. พวงเพชร ชปุ วา. (2542). รายงานการค้นคว้าอสิ ระ เรื่องธุงผะเหวดกับวถิ ชี วี ติ ของชาวบ้าน หนองดู่ ตาบลธงธานี อาเภอธวัชบรุ ี จังหวัดร้อยเอ็ด. ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาไทยคดศี กึ ษา (กลมุ่ มนษุ ยศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. วรรณพิมล องั คศริ สิ รรพ. (2544). มายาคติ : Mythologies. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพค์ บไฟ.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook