5bJo5ko[kh olk;t5u ถิน่ ฐานบ้านสาวะถี หนงั สือทีร่ ะลกึ ในงานกฐินมหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาำ ปี ๒๕๖๓ วันเสาร์ ที่ ๓ ตลุ าคม พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ณ วดั ไชยศรี บา้ นสาวะถี อำาเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น ถน่ิ ฐาน หมายถึง การตง้ั บ้านเรือน ชมุ ชนหม่บู ้าน ทอ่ี ยู่อาศัย และการทำามาหากิน ถ่นิ ฐานบ้านสาวะถี คอื เร่ืองราวของการตั้งบา้ นสาวะถี ตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ของผคู้ นบา้ นสาวะถี
ข สสาารรจจาากกนนาายยกกสสภภาามมหหาาววทิ ทิ ยยาาลลยั ัยขขออนนแแกก่น่น ดดรร.ณ.ณรรงงคค์ชช์ ัยยั ออคั คั รรเเศศรรณณี ี ดด้ว้วยยททาางงมมหหาาววิทิทยยาาลลัยัยขขออนนแแกก่น่นไไดด้จ้จัดัดงงาานนปปรระะเเพพณณีทีทออดดกกฐฐินินเเปป็น็นปปรระะจจำาำา ตต่อ่อเเนน่ือื่องงใในนททุกุกๆๆปปี ี แแลละะใในนปปีพีพุทุทธธศศักักรราาชช ๒๒๕๕๖๖๓๓นนี้ ี้ มมหหาาววิทิทยยาาลลัยัยขขออนนแแกก่น่น จจะะไไดด้น้นำาำากกฐฐินินททออดดถถววาายยณณววัดัดไไชชยยศศรรี ี ตตำาำาบบลลสสาาววะะถถี ีซซ่ึงึ่งเเปป็น็นววัดัดทท่ีมี่มีคีคุณุณูปูปกกาารรกกับับ มมหหาาววิทิทยยาาลลัยัยขขออนนแแกก่น่นแแลละะเเปป็น็นบบุญุญปปรระะเเพพณณีทีท่ีช่ีชาาววมมหหาาววิทิทยยาาลลัยัยขขออนนแแกก่น่นแแลละะ พพทุ ุทธธศศาาสสนนิกกิ ชชนน ททงั้ ั้งผผ้บู บู้ รรหิ หิ าารรคคณณาาจจาารรยย์ ์ แแลละะนนกั ักศศึกึกษษาา นนบั บั ววา่ ่าเเปปน็ น็ หหนน้าา้ ทท่อี อี่ ันันสสาำ ำาคคญั ัญ ขขอองงชชาาววพพุทุทธธศศาาสสนนกิ กิ ชชนนทท่ดี ี่ดีทที ่ีจีจ่ ะะไไดดท้ ้ทาำ าำ นนุบบุ ำาาำ รรุงุงพพทุ ทุ ธธศศาาสสนนาา มมหหาาววทิ ิทยยาาลลยั ัยขขออนนแแกก่น่นไไดด้ ้ มมโี โีออกกาาสสททออดดถถววาายย ณณ ววดั ดั แแหหง่ ่งนน้ี ี้ ซซึง่ งึ่ เเปปน็ น็ ววดั ัดททเี่ เ่ีปป็น็นศศนู ูนยยก์ ก์ ลลาางงแแหหง่ ่งกกาารรเเรรียียนนรรู้ ู้ ททัง้ ง้ั ททาางง ศศิลิลปปววฒั ัฒนนธธรรรรมมแแลละะปปรระะววตั ตั ิศศิ าาสสตตรรท์ ท์ ีส่ ่ีสำาาำ คคัญญั ขขอองงจจงั ังหหววดั ดั ขขออนนแแกก่นน่ มมหหาาววิทิทยยาาลลัยัยขขออนนแแกก่น่นจจึงึงขขออมมีสีส่ว่วนนรร่ว่วมมสสืบืบสสาานนศศิลิลปปววัฒัฒนนธธรรรรมมใในนโโออกกาาสส กกาารรถถววาายยกกฐฐินินแแกกว่ ่วดั ัดไไชชยยศศรรีแแี หห่งง่ นน้ี ี้ ททส่ี ี่สาำ ำาคคญั ัญกกุศุศลลผผลลบบญุ ญุ ออนั ันเเกกดิ ดิ จจาากกเเจจตตนนาาททเี่ ีเ่ปปีย่ ี่ยมมดด้วว้ ยย ททาานนบบาารรมมีอีอันันบบรริสิสุทุทธธิ์ใ์ิในนคครร้ัง้ังนน้ี ี้จจะะสส่ง่งผผลลใใหห้ท้ท่า่านนแแลละะผผู้ใู้ใกกลล้ช้ชิดิดใในนกกาาลลปปัจัจจจุบุบันันแแลละะ ออนนาาคคตตสสืบืบไไปปเเปป็นน็ แแนนแ่ ่แทท้ท้ทกุ ุกปปรระะกกาารร
ค สารจากอธิการบดมี หาวิทยาลยั ขอนแกน่ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ชาญชัย พานทองวริ ิยะกุล ศิลปวัฒนธรรมอีสานเป็นมรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินอันทรงคุณค่าท่ี บรรพชนควรเป็นผู้ร่วมสืบสาน และส่งต่อ โดยเฉพาะการดาำ เนินวิถีชวี ติ เปน็ แก่น แกนที่ทำาใหส้ ังคมมีความสุข ตามฮตี คองของสังคมที่ถอื ปฏบิ ตั ิกนั มา โดยถอื เอาวัด เป็นศูนย์กลางในการเป็นศูนย์รวมเอาความศรัทธาความน่าเช่ือถือของชุมชนเข้า ไวด้ ้วยกัน และวดั ยงั มีบทบาทหน้าที่อนื่ ๆ เช่นเปน็ ทัง้ โรงเรยี น เผยแพรภ่ ูมปิ ัญญา และเทคโนโลยชี มุ ชน เพ่ือใหเ้ กดิ ความสำานกึ รกั ชุมชนและเกิดความภาคภมู ิใจในส่ิง ทมี่ ขี องชุมชน เน่อื งด้วย ชุมชนสาวะถี ตำาบลสาวะถี อาำ เภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น เปน็ หน่ึงในพ้ืนที่ที่มีแหล่งเรียนรู้สำาคัญหลายส่ิง โดยเฉพาะอย่างย่ิงจิตรกรรมฝาผนัง อสี าน หรอื ฮูปแต้มอีสานทม่ี อี ายุเก่าแกแ่ ละทรงคณุ ค่า และยงั เป็นพน้ื ทีเ่ รียนรู้ และศึกษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นต้ังแต่อดีตเป็นต้นมาจนปัจจุบัน จึง นบั ว่าความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งชมุ ชน วดั และชาวมหาวิทยาลยั ขอนแก่นดังกล่าว โดย แนวคิดการมีส่วนร่วมท่ีมีความหมายถึงความสัมพันธ์อันดี เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไมส่ ามารถแยกออกจากกนั ได้ เพ่อื แสดงถึงความกตญั ญกู ตเวทติ าต่อชมุ ชนและวดั ไชยศรี อกี ท้งั เป็นการทำานุบาำ รงุ พระพทุ ธศาสนา จงึ ไดอ้ ัญเชญิ ผา้ กฐิน มหาวิทยาลยั ขอนแก่น มาทอดถวาย ณ วดั ไชยศรี ในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ น้ี ข้าพระพุทธเจ้า ในนามของมหาวิทยาลัยขอนแก่นและผู้มีจิตศรัทธาทุก ภาคสว่ นจงึ ได้ร่วมกันอญั เชิญผา้ กฐินมาทอดถวายในครงั้ น้ี
ง สารจากรองอธกิ ารบดฝี า่ ยศลิ ปวฒั นธรรมและเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ รองศาสตราจารย์ ดร.นยิ ม วงศ์พงษค์ ำา ประธานดำาเนนิ งาน ชุมชนสาวะถี เปน็ ชมุ ชนดงั้ เดิม เป็นเมืองอนั เก่าแกท่ ่มี ีความสำาคญั ท้งั ทาง ประวตั ิศาสตร์ และแหล่งเรยี นรู้ศลิ ปวัฒนธรรมอสี าน เปน็ ชมุ ชนโบราณ ซึง่ ปรากฏ หลักฐานทางโบราณคดี ท้งั คูเมอื งเก่า เสมาหนิ ทราย และ กู่ นั่นแสดงใหเ้ หน็ ว่ามี อารยธรรมเกา่ แก่มาตงั้ แตส่ มัยทวารวดี วัฒนธรรมขอมก็อยู่ในพ้ืนที่ดังกล่าว บ้านสาวะถีไม่เพียงมีแค่ร่องรอยอารยธรรมในปัจจุบันน้ีบ้านสาวะถียังมี ความเป็นต้นแบบของความรแู้ ละภมู ิปญั ญาแห่งอสี าน เชน่ หมอลำาพ้ืน หมอลำา เรอ่ื งต่อกลอน หมอลาำ พนั ปี และตอ่ ยอดเปน็ หมอลาำ นอ้ ยบ้านสาวะถี ก็ประดุจ เป็นดินแดนถิ่นกำาเนิดศิลปะการแสดงหมอลำ า และชุมชนสาวะถีเป็นท่ีรู้จักกันท่ัว โลก เมือ่ เราทราบว่าบ้านสาวะถีมโี บสถ์ หรือสมิ วัดไชยศรีทีม่ ีจิตรกรรมฝาผนังอัน ทรงคณุ ค่า โดยเฉพาะนิทานสองฝัง่ โขง เร่ือง สนิ ไซ เป็นชาดกนอกนบิ าตทเี่ ปยี่ มล้น คณุ คา่ อยา่ งสูง มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมต่าง ๆ กับทางชุมชนและ วัดด้วยดตี ลอดมา ดังน้ันในปีพุทธศกั ราช ๒๕๖๓ นี้ มหาวทิ ยาลัยจึงได้มกี ารจัด ทอดกฐินถวาย ณ วดั ไชยศรี ตาำ บลสาวะถี อำาเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่ ในการน้ีคณะกรรมการดำาเนินงานกฐินมหาวิทยาลัยขอนแก่นประจำาปี ๒๕๖๓ ขอขอบพระคุณผู้ท่ีมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนที่ได้รับความร่วมมือร่วมใจกัน ทำาให้งานคร้ังน้ีสำาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ขอกุศลอันเกิดจากการบำาเพ็ญบุญบารมีท่ีมี ร่วมกันในครั้งนี้ได้ส่งผลให้ท่านและครอบครัวได้ประสบแต่ความสุขสวัสดิ์พิพัฒน มงคลตลอดไป
จ สารจากผอู้ าำ นวยการศนู ยศ์ ลิ ปวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ดร.ลดั ดาวัลย์ สีพาชยั ดนิ แดนอีสานเป็นดินแดนทมี่ คี วามมั่งคง่ั ทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญา ศลิ ปะ และธรรมชาตอิ ยา่ งมาก แมว้ ่าอารยธรรมในอีสานจะมีหลากหลาย แต่ดว้ ยลกั ษณะ ภูมิประเทศวิถีชีวิตของผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์จึงสามารถสร้างเอกลักษณ์ทาง ศลิ ปะและวฒั นธรรมของตนขน้ึ มาได้ ศิลปวัฒนธรรมนับว่าเป็นเอกลกั ษณท์ ่ีสาำ คญั ของชาติ ซึง่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเจริญงอกงามในการดาำ รงชีวิต ศิลปะ และวัฒนธรรม วดั ไชยศรี ตาำ บลสาวะถี อาำ เภอเมอื ง จังหวัดขอนแกน่ ถอื ได้วา่ เป็นแหลง่ ศลิ ปะและวัฒนธรรม เป็นแหล่ง อารยธรรมมาตัง้ แตส่ มัยโบราณ ทรพั ยากรทางด้านศิลปะและวฒั นธรรมนัน้ ถือได้ ว่าเป็นสมบัติอันมีค่าท่ีได้รับการสะสมและถ่ายทอดสืบต่อกันมา อันเป็นภารกิจ หลักทีส่ ำาคัญประการหนึง่ ของศูนยศ์ ิลปวัฒนธรรม ในปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ น้ี มหาวิทยาลัยขอนแก่นจะได้นำากฐิน มหาวิทยาลัยขอนแก่นไปทอดถวายแก่วัดไชยศรีน้ัน ถือได้ว่าเป็นการส่งเสริม สำานึกอันดีงามทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมของชาวมหาวิทยาลัยขอนแก่นและ ประชาชนทัว่ ไป ใหม้ สี ว่ นรว่ มในงานประเพณี อนั เป็นความหมายถงึ การทำาทาน อนั เปน็ มหากศุ ลเพอื่ ท่ีจะรว่ มกันสร้างกศุ ลอนั ยงิ่ ใหญ่ นอกจากนัน้ ยังเป็นการช่วย กันในการส่งเสริมสำานึกอันดีงามทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมของชาติให้ย่ังยืนสืบ ต่อไป
ฉ คำานิยม “วดั ไชยศรี วัดดีศรีพุทธศาสน์ ธรรมชาติรื่นรมย์ ชนื่ ชมสมิ เก่า จติ รกรรมเลา่ ฝาผนัง” วัดไชยศรี ตั้งมาเกือบสองร้อยปี เป็นท้ังแหล่งศึกษาปฏิบัติหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนแล้ว ยังเป็นศูนย์กลางการปฏิบัติสืบทอดศิลปวัฒนธรรมจารีต ประเพณีอันดีงาม ท้ังในระดับท้องถ่ินจนถึงระดับชาติ ปัจจุบันสิมและฮูปแต้ม เรื่องสินไซ วรรณกรรมพ้ืนบ้านสองฝ่ังโขง กำาลังเป็นท่ีสนใจจนเกิดการค้นคว้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างกว้างขวาง อีกทั้งยังมีการนำาไปปรับประยุกต์ใช้ในบริบท ตา่ ง ๆ อย่างมากมาย ในขณะเดียวกัน การท่ีวัดไชยศรีตั้งอยู่ในท่ามกลางชุมชนสาวะถี ทำาให้ ความสนใจใคร่รไู้ ด้ขยายถึงประวัติความเป็นมาของชมุ ชนสาวะถีแหง่ นี้ด้วย ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป่ียมไปด้วยศรัทธามหากุศล นำาองค์กฐนิ มาทอดถวาย ณ วัดไชยศรใี นปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ น้ี พรอ้ มทงั้ ยงั ได้ จดั พิมพห์ นังสือ “ถ่นิ ฐานบ้านสาวะถี” เปน็ ท่รี ะลึกดว้ ย นบั เป็นคณุ ปู การตอ่ ชุมชน สาวะถแี ละเปน็ บุญกุศลเพม่ิ ผลทวีคณู แก่องคม์ หากฐนิ ในครั้งน้ี จึงน่าอนโุ มทนาเปน็ อย่างยง่ิ พระครูบุญชยากร เจ้าอาวาสวดั ไชยศรี และเจา้ คณะตำาบลสาวะถี เขต ๑
ถิ่่�นฐานบ้้านสาวะถีี 1 สสาารรบบญั ญั หหนนา้ า้ หน้า้ สสาารรจจาากกนนาายยกกสสภภาามมหหาาววิทิทยยาาลลัยยั ขขออนนแแกกน่ ่น ข สสาารรจจาากกออธธกิ กิ าารรบบดดีมีมหหาาววิททิ ยยาาลลยั ยั ขขออนนแแกกน่ น่ ค สสาารรจจาากกรรอองงออธธิกิกาารรบบดดีฝฝี ่า่ายยศศลิ ลิ ปปววัฒฒั นนธธรรรรมมแแลละะเเศศรรษษฐฐกกิจจิ สสรรา้ ้างงสสรรรรคค์ ์ ง สสาารรจจาากกผผ้อู ู้อาำ ำานนววยยกกาารรศศนู นู ยยศ์ ์ศลิ ิลปปววัฒฒั นนธธรรรรมมมมหหาาววทิ ทิ ยยาาลลัยัยขขออนนแแกก่นน่ จ คคาำ ำานนยิ ิยมมจจาากกพพรระะคครรบู ูบญุ ุญชชยยาากกรร ฉ ออรรมั ัมภภกกถถาา((เเกกรรน่ิ นิ่ นนำาาำ )) ๒ บบ้ัน้นั ทท่ี ่ี๑๑ววัฒัฒนนธธรรรรมมกกบั บั กกาารรพพฒั ัฒนนาา ๕ บบั้นน้ั ทท่ี ่ี๒๒ถถน่ิ ิ่นฐฐาานนบบา้ ้านนสสาาววะะถถี ี ๑๕ บบ้ันน้ั ทท่ี ี่๓๓ฮฮปู ูปแแตต้มม้ สสนิ นิ ไไซซววัดัดไไชชยยศศรรี ี ๖๙ ภภาาคคผผนนววกก ๑๐๙
2 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ vt]y,rtdt5k “มกี กต้องมีเหงา้ มใี บตอ้ งมงี า่ แตกสาขาก่งิ กา้ น โบราณเวา้ ว่าดี” โบราณคำาสอนของผู้เฒ่าผู้แก่บ้านสาวะถีในอดีต เปรียบเหมือนการเตือนใจให้ ข้อคดิ แกล่ ูกหลาน อนชุ นคนรุน่ หลัง ให้ระลกึ ถึงความเปน็ ตวั ตน รากเหง้าและทมี่ า ที่ไปของตนเอง ซ่งึ ส่งิ เหลา่ น้ีคือความภาคภูมใิ จในประวัติศาสตรค์ วามเปน็ มาของ บ้านของชมุ ชนทีต่ นเกดิ และดำารงชวี ิตมาแตเ่ ล็กแต่นอ้ ย การรู้และเข้าใจถึงประวัติความเป็นมา ย่อมเหมือนต้นไม้ท่ีมีรากเหง้า ยอ่ มแขง็ แรง ซึ่งจะทำาให้ตน้ ไม้แตกกิง่ ก้านสาขาออกไปได้ดแี ละมน่ั คง คาำ สอนของ คนโบราณข้อน้ีได้สะท้อนขึ้นมาในจิตใจ เม่ือได้ร่วมมือกับชาวบ้านสาวะถีใช้วิถี วัฒนธรรมของชุมชนตนเองในการสร้างกระบวนการขับเคลื่อนการพัฒนาวัดและ ชมุ ชนมากวา่ ๒๐ ปี จารตี ฮตี คอง ประเพณี และวิถวี ฒั นธรรมของชุมชนไดร้ ับการ ฟน้ื ฟู เชดิ ชู และรกั ษาไว้ไดค้ ่อนขา้ งดมี คี วามมัน่ คง แตก่ เ็ หมือนคนกินขา้ วไมอ่ ่ิมเตม็ ท่ี เพราะรสู้ กึ วา่ ยงั ขาดอะไรสกั อย่างทีย่ งั ไมเ่ ตม็ ที่ดี ในงานการพัฒนาชุมชนสาวะถีก็เช่นเดียวกัน ถึงแม้งานการพัฒนาโดยใช้
ถิ่�น่ ฐานบ้า้ นสาวะถีี 3 กระบวนการพัฒนาวัฒนธรรมของชุมชนเป็นหลักจะค่อนข้างได้ผลเป็นท่ีน่าพอใจ แต่กเ็ หมือนยังขาดอะไรสกั อย่างที่ยังไม่สมบรู ณพ์ อและสิ่งท่ขี าดไปนนั้ กค็ อื ประวตั ิ ชมุ ชน หรอื ประวตั คิ วามเป็นมาของบา้ นสาวะถนี ัน่ เอง จรงิ อยูเ่ รามปี ระวตั อิ ย่บู ้าง แตก่ ม็ ีอยู่แบบกระจัดกระจายและเปน็ ลักษณะ ของใครของมนั อีกทั้งยงั หาหลกั ฐาน บุคคลตวั ตนยนื ยันท่ีชัดเจนไมไ่ ด้ ถา้ จะพูด ให้ชัดเจนก็เหมือนการเล่านิทานก็ไม่ผิดนัก ซ่ึงอาจจะเหมาะกับยุคสมัยในอดีต ท่ียังไม่มีความต้องการรายละเอียดหลักฐานต่าง ๆ มากนัก แต่ในปัจจุบันโดย เฉพาะเมอ่ื เราตอ้ งการท่จี ะใชต้ น้ ทุนดา้ นตา่ ง ๆ อันเป็นเหมือนมรดกของชุมชน เป็น ฐานในการส่งเสริมสนับสนุนขับเคลื่อนการพัฒนา ประวัติชุมชนกลับเป็นเร่ืองที่ จาำ เป็นอย่างมาก เพราะนั่นคอื รากเหงา้ และเปน็ เหมือนแหลง่ เก็บข้อมูลความเป็น มาทั้งการพัฒนาท่ปี ระสบความสาำ เร็จและล้มเหลว ดงั นัน้ จงึ เหน็ วา่ การทจ่ี ะพัฒนา ชุมชนให้ประสบความสำาเร็จและย่ังยืน จำาเป็นต้องเร่ิมที่การศึกษาประวัติศาสตร์ ชมุ ชนให้ชดั เจนถูกตอ้ งเสียก่อน ไมเ่ ชน่ น้ันการพฒั นาไปแบบไม่เขา้ ใจพ้ืนฐานราก เหงา้ กจ็ ะเหมือนคนตาบอดเดินทาง และคำาเตอื นของบรรพชนคนอีสานในอดีตที่ กล่าวเป็นผญาถึงเรื่องนี้ไว้อย่างน่าคิดว่า“คันสิไปทางหน้าให้เหลียวหลังเบิ่งก่อน คันมะลูดทูดเท้าเซาถ้อนอย่าไป”ท่านหมายถึงว่า ถ้าจะไปข้างหน้าก็ควรหันไป มองอดีตที่ผ่านมาก่อนว่าเป็นอย่างไร เพราะอดีตย่อมเป็นบทเรียนได้เป็นอย่างดีจะ ดีหรือบกพร่องอย่างไรย่อมศึกษาเรียนรู้ได้จากอดีตที่ผ่านมาถ้ายังมีความไม่ชัดเจน ก็หยดุ ทบทวนเสยี ก่อน อย่าเพิ่งทาำ ต่อเพราะจะไม่เกดิ ผลดี ดงั นน้ั ในโอกาสที่โครงการสินไซโมเดล ซึง่ เป็นโครงการเกย่ี วกบั การพัฒนา ส่งเสริมกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมของชุมชนสาวะถี ซ่ึงได้รับการสนับสนุน จากเครือข่ายสื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน แผนงานส่ือศิลปวัฒนธรรมสร้าง เสริมสุขภาพ สำานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ สรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยไดน้ ำาเอา วรรณกรรมสนิ ไซในฮูปแตม้ ทีส่ มิ วดั ไชยศรี มาปลกุ พลงั ชุมชนในชอื่ โครงการสินไซ โมเดล จะเขา้ สูป่ ที ี่ ๔ จงึ ไดม้ ีการเสนอขอให้มกี ารชาำ ระปรบั ปรงุ แกไ้ ขหรือเพมิ่ เติม ประวัติชุมชนบ้านสาวะถี ให้มีความชัดเจนถูกต้องและสมบูรณ์มากที่สุดเท่าที่จะ
4 งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ เป็นไปได้ เพ่อื ใหเ้ ป็นฐานข้อมูลในการใชข้ ับเคลื่อนพัฒนาชมุ ชนอยา่ งมรี ากเหงา้ ต่อ ไปในอนาคต ซ่งึ เม่ือเสร็จสมบรู ณแ์ ล้ว จะไมใ่ ชแ่ ค่เกดิ ประโยชนเ์ ป็นคณุ เฉพาะต่อ โครงการสนิ ไซโมเดล แต่จะเป็นประโยชนท์ ้งั แก่หน่วยงานองค์กรต่าง ๆ ทงั้ ในและ นอกชุมชน ในการนำาไปใช้ประโยชนท์ งั้ ในดา้ นการศกึ ษาและพฒั นาทีถ่ ูกต้องย่งั ยนื ตอ่ ไป อย่างไรกต็ าม หนังสอื “ถนิ่ ฐานบ้านสาวะถี” เล่มนี้ แม้จะใช้เวลารวบรวม ข้อมูลจากคนในชุมชนสาวะถีและมีการกล่ันกรองขัดเกลาข้อมูลโดยคณะทำางาน ฝ่ายวิชาการมาเกือบหน่ึงปีเต็มแล้วก็ตาม แต่จะถือเป็นความสมบูรณ์ท่ีสุดก็ยัง ไม่ได้ เพียงแต่คณะทำางานทุกฝ่ายหวังจะให้หนังสือเล่มน้ีเป็นฐานข้อมูลที่มีความ ชดั เจนถูกต้องเปน็ เบ้อื งต้น เท่าที่จะเก็บเก่ียวรวบรวมข้อมูลทป่ี รากฏอย่ไู ด้ เพอ่ื การ ปรบั ปรุงแกไ้ ขเมือ่ มขี ้อมูลใหม่เพิม่ เตมิ ท่ีชดั เจนถกู ต้องกว่าในโอกาสตอ่ ไป ขออนุโมทนาในความเสียสละของคณะทำางานรวบรวมข้อมูลและผู้ให้ ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ทุกท่าน บรรพบุรุษบรรพชนของคนบ้านสาวะถี ท่ีได้ทิ้ง ร่องรอยไว้เป็นแนวทางในการสืบค้น ตลอดจนผู้เห็นถึงความสำาคัญและให้การ สนับสนนุ คือ เครอื ขา่ ยสือ่ ศลิ ปวัฒนธรรมชุมชนอสี าน แผนงานสอื่ ศิลปวฒั นธรรม สร้างเสรมิ สุขภาพ สำานกั งานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.) โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ทีไ่ ดน้ ำาตน้ ฉบบั ดงั กล่าวมาจัดพมิ พ์ในโอกาสพิเศษในคร้ังนี้ หวังวา่ หนังสอื “ถ่นิ ฐานบา้ นสาวะถี”น้ี จะกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนท์ ง้ั ตอ่ ชมุ ชน สาวะถีเองและผู้สนใจทงั้ หลายต่อไป พระครบู ุญชยากร วันที่ ๗ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๓
ถิ่น�่ ฐานบ้้านสาวะถีี 5 [hoy muj @ ;fy mtotme dy[dkoryfmtok นนำาำามมาาเเลา่ ส่เู จา้ ฟงั ถงึ แนวคดิ การพัฒนาโดยมติ ทิ างวัฒนธรรมขขอองงชชมุ มุ ชชนน หหมมูท่ ี่ ๘ บา้ นสาวะถี ตาำ บลสาวะถี อำาเภอเมือง จงั หวดั ขอนนแแกกน่ ่น โดย พระครูบญุ ชยากร เจ้าอาวาสวัดไชยศรี -------------------------- ชชมุ มุ ชชนนสสาาววะะถถใีใี นนปปจััจจจุบุบันนั ททม่ีีม่ ีสีสถถาานนทท่ีสส่ี าำาำ คคญัญั ททาางงศศาาสสนนาาคคือือววดััดไไชชยยศศรรี ี ซซง่ึ ่งึ เเปป็นน็ ววดั ดั ปปรระะจจำาาำ หหมมู่บบู่ า้้านนเเปปน็็นศศนููนยยก์์กลลาางงกกาารรพพัฒัฒนนาาชชุมุมชชนนแแหหง่ง่ นนี้ี้ ทท้งัง้ั ดด้า้านนศศาาสสนนาา ศศิลลิ ปปะะแแลละะ ววัฒฒั นนธธรรรรมม นนออกกจจาากกจจะะเเปปน็น็ สสถถาานนททีป่่ีปฏฏบิิบัตตั ธิิธรรรรมมแแลละะปปรระะกกออบบพพิธิธีกกี รรรรมมททาางงศศาาสสนนาา แแลลว้ ว้ ยยังังเเปปน็น็ สสถถาานนททีส่่ีสำาำาคคญััญททาางงศศิลลิ ปปววฒััฒนนธธรรรรมม แแหหลลง่ง่ โโบบรราาณณสสถถาานน แแหหลลง่ ง่ เเรรยี ยี นนรรู้ ู้
6 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ มีอุโบสถ (สิมในภาษาถิน่ ) และภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ทรงคุณคา่ อกี ดว้ ย นอกจากนั้นชุมชนแห่งน้ียังมีวิถีทางวัฒนธรรมโดยเฉพาะฮีตสิบสอง ครรลองของคนอีสานท่ีรักษาสืบทอดปฏิบัติมาอย่างยาวนานและรักษาไว้ได้เป็น อย่างดี ความจริงส่งิ ที่ปรากฏเป็นอยู่ ณ ปัจจุบันน้ี ส่วนหนง่ึ เป็นเพราะการท่ี หมู่บ้านมีประวตั ิศาสตรต์ ัง้ บา้ นเรอื นร่วมสองรอ้ ยกวา่ ปี เปน็ ชมุ ชนท่มี ีความศรัทธา ในพระพุทธศาสนา และความเชือ่ ในจารตี ประเพณอี นั ดีงาม ท่ีบรรพบรุ ษุ สรรสรา้ ง ข้ึนมาเปน็ ระบบและระเบยี บขับเคลอ่ื นสงั คมหมบู่ า้ นมาด้วยดีโดยตลอด แตถ่ ึงอย่างไรกต็ าม คาำ ว่าชุมชนหม่บู ้าน คนและสงั คม ไมว่ า่ จะขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ ลว้ นแต่ตอ้ งประสบปญั หาเปน็ บางช่วงบางเวลาเปน็ ธรรมดา หมบู่ ้าน แหง่ นกี้ ็เช่นกัน ย่อมมคี วามเจริญและความเส่อื มถอยบา้ งเปน็ บางคราว อย่ทู ่วี า่ จะ มรี ะยะเวลายาวหรือสัน้ เท่าน้นั และดว้ ยทีช่ มุ ชนเคยประสบปญั หาความเสือ่ มถอย ในกระบวนการพัฒนาขับเคลื่อนชุมชนมาในระยะหนึ่ง ทาำ ใหเ้ กิดกระบวนการหนงึ่ ทถ่ี กู นำามาฟ้นื ฟสู ่กู ารพัฒนาชมุ ชน ซึ่งเรียกวา่ “การพัฒนาชุมชนสาวะถีด้วยมติ ิ ทางวฒั นธรรม” จนประสบผลสำาเร็จปรากฏอย่ใู นปจั จุบนั แต่กว่าจะมีได้ในแบบทีเ่ ปน็ อยใู่ นปัจจุบันน้ี คนหรอื องค์กรในชมุ ชนมีหลัก คิด แนวทางอยา่ งไร จึงได้เกดิ การนำากระบวนการด้านวัฒนธรรม มาเพื่อการขบั เคลื่อนพัฒนา ซึ่งเหตุผลนี้จะได้นำาประสบการณ์ที่ได้มีส่วนร่วมในการริเริ่มจาก แนวคิด การหลอมรวมความคดิ ของคนในชมุ ชนมาสกู่ ารปฏิบตั ิจนบรรลเุ ป้าหมาย ได้อย่างน่าพอใจและเป็นที่ยอมรับในระดับหน่ึง โดยจะเป็นการสังเคราะห์จาก องคค์ วามรูจ้ ริงทชี่ ุมชนสาวะถี ได้ถูกนาำ มาปฏบิ ตั ทิ ั้งในสว่ นของความสำาเรจ็ และลม้ เหลว การแก้ไขให้สามารถกา้ วหนา้ ไปต่อ โดยจะใช้ฐานจากวดั ไชยศรีและชุมชน สาวะถี หม่ทู ่ี ๘ เป็นหลกั ในแบบฉบบั “นาำ มาเล่าสเู่ จา้ ฟัง” ผูเ้ ลา่ คอื พระครู บญุ ชยากร เกดิ ทห่ี มู่ท่ี ๘ บา้ นสาวะถี ตำาบลสาวะถี อำาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น อปุ สมบทเม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ทอี่ ำาเภอนาทม จังหวดั นครพนม ถงึ ปลายปี พ.ศ. ๒๕๓๒ กไ็ ด้ย้ายกลับมาจำาพรรษาทว่ี ดั ไชยศรีวัดประจำาบา้ นเกดิ เนื่องจากตอ้ งการ ศกึ ษาดา้ นพระปริยตั ธิ รรม และท่ีสาำ คัญพอดีกบั ท่ีวัดไชยศรไี ม่มีพระจำาพรรษาอยู่
ถิ่่น� ฐานบ้้านสาวะถีี 7 ด้วยในขณะนน้ั การทวี่ ัดใดวัดหนึง่ ไมม่ ีพระจำาพรรษากม็ เี หตผุ ลหลักอยู่ไมก่ ี่ขอ้ ขอ้ ทสี่ าำ คญั คือวดั ไมเ่ ป็นที่น่าพกั พาอาศัยดว้ ยมาจากสาเหตุตา่ ง ๆ วดั ไชยศรใี นปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ก็เช่นกนั สภาพวัดมีสภาพไมถ่ ูกพัฒนามากนัก ท้ังในส่วนถาวรวัตถุหรือ กิจกรรมวิถีชุมชนท่ีเกี่ยวข้องกับวัด โดยสรุปคือวัดไชยศรีไม่สามารถสร้างบทบาท การเปน็ ท่ีพง่ึ ทางใจและเปน็ ศนู ยก์ ลางการพฒั นาของชุมชนได้ จากจุดนี้เองที่ผู้เล่าเม่ือได้เป็นเจ้าอาวาสและในฐานะลูกหลานชาวบ้าน สาวะถี เกดิ แนวคดิ ท่ีอยากจะสรา้ งสรรคพ์ ัฒนาวดั ไชยศรี ใหม้ สี ภาพทด่ี ีข้นึ พอที่ จะประกอบศาสนกิจของพระภิกษุสามเณรและเป็นที่บำาเพ็ญกุศลสร้างบุญของ ชาวบ้าน จากหนึ่งแนวคดิ สูก่ ารระดมความคิดสรา้ งเครอื ข่ายทัง้ ชุมชน เมื่อเกิดแนวคดิ ใคร่อยากจะพฒั นาวัด ตามบริบททัว่ ไปของวดั ตามชนบท หมบู่ ้านตา่ งล้วนแต่อยู่ภายใตก้ ารดแู ลอปุ ถัมภข์ องชมุ ชนรอบวดั หรอื หมบู่ ้านทตี่ ้งั วัดน้ันท้งั ส้นิ โดยเฉพาะในท้องถิ่นอีสาน เหตเุ พราะอดตี ชาวบา้ นเปน็ ผู้สร้างผูก้ อ่ ตั้ง วดั เมือ่ การตง้ั หมบู่ ้านมนั่ คงถาวรแลว้ ชาวบ้านก็จะหาท่พี ่ึงทางใจตามความศรัทธา
8 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ ด้วยการสร้างวัดประจำาแตล่ ะหมบู่ า้ น ดังจะเห็นจากไดว้ ่าส่วนใหญแ่ ทบจะเรยี ก ได้วา่ หน่ึงหมู่บ้านหนง่ึ วดั เลยก็วา่ ได้ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งบ้านและวัดตลอดถงึ โรงเรียน หมายถึงการศกึ ษาในอดีตก็ยังอยูใ่ นวัด จึงสนิทแนบแนน่ เป็นเหมอื นทอง แผน่ เดยี วกัน ช่วยเหลอื เกื้อกลู กนั เป็นอยา่ งดี วดั ไชยศรีก็เฉกเชน่ เดยี วกัน ดงั นัน้ เม่อื เกิดแนวคิดทีอ่ ยากจะพฒั นาวัด จึงตอ้ งนาำ ไปสูก่ ารปรกึ ษาหารอื กับชาวบา้ นผู้ ให้การสนบั สนุนกอ่ น อกี ท้ังยงั เป็นการกระจายแนวคดิ สชู่ มุ ชนเพอื่ หาแนวร่วมอกี ด้วย จากการทม่ี ่งุ จะพฒั นาวดั กลบั พบมติ ิการพัฒนาชุมชนโดยใชว้ ฒั นธรรมนาำ ขบวน เมื่อกระบวนการระดมความคิดเพื่อพัฒนาวัดไชยศรีเริ่มข้ึนได้มีการ ประชุมปรึกษาหารือกันหลายครั้งระหว่างวัดโดยเจ้าอาวาสและคณะกรรมการวัด ร่วมกบั คณะกรรมการหมู่บ้าน ซง่ึ ในเวลาน้ันโดยสว่ นใหญ่ ทกุ หมบู่ า้ นกจ็ ะมคี ณะ กรรมการหมู่บ้านท่ีมีผู้นำาคือผู้ใหญ่บ้านเป็นประธาน น่ีก็เช่นเดียวกันมีผู้นำาหมู่ท่ี ๘ บ้านสาวะถเี ปน็ ผ้นู ำาฝ่ายชุมชน เนอ่ื งจากการทว่ี ดั ไชยศรซี ่ึงเคยเปน็ วดั ท่สี ำาคญั เจริญร่งุ เรอื งมากอ่ น ตอ่ มาไดเ้ ปลีย่ นเปน็ วัดทไ่ี มค่ อ่ ยจะพฒั นามานานกวา่ สิบปี ซึง่ ไม่ใช่คนในชมุ ชนไม่ร้ไู ม่ทราบปญั หา ทุกคนรู้และเขา้ ใจ เพยี งแตย่ ังไมม่ ีคนจะเป็น ผนู้ าำ ใหเ้ กิดการสรา้ งแนวคดิ ในระดบั ชมุ ชน เม่ือวดั เรมิ่ ต้นจดุ ประกายก่อนทาำ ให้ ทุกฝ่ายหันหน้าเข้ามาหารือกันอย่างจริงจังและในการระดมความคิดก็ได้ข้อสรุปถึง แนวทางการพัฒนา ๕ ขอ้ ดังนี้ ๑. เราควรค้นหาต้นทุนของตนเองก่อนว่ามีอะไรท่ีจะเป็นฐานการเริ่ม ต้นพัฒนาแล้วค่อยหาปัจจัยภายนอกอ่ืนมาหนุนเสริมเพื่อให้เกิดความพร้อมและ สมบรู ณ์แบบท่ีสุด ๒. จากการวิเคราะหร์ ่วมกนั เหน็ ว่า วดั ไชยศรใี นอดตี ยุคที่เคยรุ่งเรอื งมาก ยคุ หนง่ึ คอื สมยั หลวงป่อู ่อนสา เจา้ อาวาสวัดไชยศรีรปู แรก (เท่าท่ีปรากฏหลักฐาน) ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๖๐ – ๒๔๙๑ โดยจะเหน็ ไดจ้ ากการกลา่ วถึงของคนเฒา่ คนแก่ ในชมุ ชนดว้ ยความภาคภมู ใิ นในสมยั นัน้ วา่ ทุกอย่างล้วนดงี าม ตลอดทง้ั หลกั ฐานที่
ถิ่�่นฐานบ้า้ นสาวะถีี 9 สาำ คญั ทีแ่ สดงถงึ ความเจรญิ พฒั นาคอื อุโบสถ หรอื สมิ ที่งดงามตามแบบทอ้ งถน่ิ และมีฮูปแต้มหรือภาพจติ รกรรมฝาผนงั อันทรงคณุ ค่า ซง่ึ ถา้ วดั และชุมชนไม่มกี าร พฒั นาแลว้ คงสร้างถาวรวัตถุขนาดน้ีไม่ได้ ๓. กระบวนการทีห่ ลวงปอู่ อ่ นสา เจ้าอาวาสสมยั นน้ั ใชเ้ ปน็ สิ่งทีส่ ร้างสรรค์ ทำาให้เกิดการพัฒนาสู่ความเจริญคือวัฒนธรรมท้องถ่ินโดยเฉพาะการนำาฮีตสิบสอง หรือบญุ สิบสองเดือนของชาวอสี าน มาใชผ้ สานการพัฒนาวดั และชาวบ้านอย่าง เหมาะสมมพี ลงั และลงตวั สรา้ งจารีตฮตี คองหลายอยา่ งเปน็ ระเบยี บแก่ชีวติ และ เป็นระบบตอ่ ชุมชนสาวะถี ๔. การท่ีหลวงปู่ออ่ นสาทำาเช่นนั้นได้ เน่ืองเพราะท่านสามารถสรา้ งวดั ไชย ศรีให้มบี ทบาทสำาคัญเปน็ ศูนยก์ ลางของชุมชน ผูค้ นเชื่อถอื และศรทั ธา จนทาำ ให้ เกิดความรว่ มมอื ระหวา่ งวัดและชาวบา้ น ๕. สุดท้ายจึงมีความเห็นร่วมกันท่ีจะใช้แนวทางเดิมสมัยหลวงปู่อ่อน สา แตป่ รบั ประยกุ ตใ์ ห้เหมาะแกย่ คุ สมยั คอื การนาำ เอาวฒั นธรรมประเพณี มา ขับเคล่ือนการพัฒนาและไม่เฉพาะจะพัฒนาวัดเท่าน้ัน การพัฒนาชุมชนหมู่บ้าน จะต้องไดร้ ับการนาำ มาสู่กระบวนการน้ไี ปพร้อมกนั เพราะวดั คือสว่ นหน่งึ ของ ชุมชน ทต่ี อ้ งได้รับการอปุ ถมั ภจ์ ากชาวบา้ นจึงจะพัฒนาได้ สว่ นชมุ ชนจะตอ้ งพงึ่ พา อาศัยวัดในการปฏิบัติตามจารีตประเพณี และเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม จึง จะเป็นชุมชนท่ีดีได้ จึงมีการตกลงเลือกคณะทำางานบริหารวัดและชุมชนร่วมกัน เพ่ือลดขั้นตอนการทาำ งานและทาำ ให้เกิดเอกภาพ ลดโอกาสทีจ่ ะเกดิ ความขัดแย้ง ในการขับเคลอ่ื นระหวา่ งวัดและชาวบา้ น โดยสรรหาจากผูท้ ่ีมีความเสยี สละ เข้าใจ แนวทางและมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริงและท่ีสำาคัญคนในชุมชนให้การ ยอมรับในช่ือว่า “คณะกรรมการพฒั นาวัดและชุมชนสาวะถี หม่ทู ี่ ๘ ด้วยแนวทาง หรือมติ ิทางวัฒนธรรม” ชดุ แรกจาำ นวน ๔๐ คน จากเดิมที่มแี นวคดิ จะพัฒนาแค่วัด ไชยศรี เม่อื ผ่านกระบวนการประชมุ ปรึกษาหารอื การมีส่วนรว่ มของชุมชนทกุ ภาค สว่ น กลบั พบแนวทางใหมท่ ีด่ ีกวา่ เดิม คอื การใชว้ ฒั นธรรมพฒั นาทั้งวัดและชมุ ชน ไปพรอ้ ม ๆ กัน สมดังคาำ ท่ีนยิ มนำามาเปรียบเทยี บเป็นคติไวว้ ่า
10 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ วัดจะดีมหี ลกั ฐานเพราะบา้ นช่วย บ้านจะสวยเพราะมีวัดดัดนสิ ยั บ้านกับวัดผลัดกันช่วยก็อวยชัย ถ้าขัดกันก็บรรลัยทั้งสองทาง จากการตกผลกึ แนวคดิ สกู่ ารปฏิบตั ใิ นวิถชี มุ ชน กระบวนการต่อจากท่ีความคิดแนวทางได้รับการยอมรับ มีเครือข่ายผู้ ร่วมกระบวนการอย่างมากในชุมชน กถ็ ึงการปฏิบตั ิขบั เคลอ่ื นแนวคดิ น้นั ให้บรรลุ เปา้ หมาย ซึ่งคณะกรรมการท่ีชมุ ชนให้การยอมรับให้ความไว้วางใจ ก็ไดเ้ ริม่ ประชมุ กนั เดอื นหนงึ่ ไมน่ ้อยกวา่ ๔ คร้ัง โดยมีเจ้าอาวาสเป็นประธานการประชุม เนอื่ งจาก ทุกคนไว้วางใจว่าเป็นผู้จุดประกายเรื่องการนำาวัฒนธรรมขับเคล่ือนกระบวนการ พฒั นา ด้วยคณะกรรมการชุดนี้ ทกุ คนลว้ นมีเปา้ หมายทีจ่ ะนำาวัดและชมุ ชนทตี่ ิด หล่มการพัฒนา ให้ขึ้นจากหลม่ แหง่ อปุ สรรคปัญหาไปส่กู ารพฒั นา ท่ีสดุ ทา้ ยก็จะ ย้อนกลับมาเป็นประโยชน์ต่อชุมชนตนเองเป็นปัจจุบันท่ีดีและอนาคตที่มีความ หวงั จากการท่ีคณะกรรมการชุดพัฒนาวัดและชุมชนด้วยมิติทางวัฒนธรรม ได้รับโจทย์มาคือการนำาต้นทุนคุณค่าชองชุมชนและวัดไชยศรี มาเป็นฐานการ ขับเคลื่อน โดยอาศัยรปู แบบในสมยั หลวงปอู่ ่อนสา เพียงแต่ต้องมาปรบั ใชใ้ ห้เกดิ ความสอดคล้องกับยุคสมัย ดังนั้นส่ิงท่ีคณะกรรมการได้พิจารณาเห็นร่วมกันคือ ต้องทาำ ให้วัฒนธรรมประเพณขี องชมุ ชนกลบั มามพี ลงั มคี วามเข้มแข็งจนสามารถ ขบั เคล่ือนตามแนวทางท่ีวางไว้ได้ โดยเฉพาะฮตี สิบสองหรอื ประเพณบี ญุ ทงั้ สบิ สอง เดอื นของวัดและชมุ ชน ซ่งึ เปน็ เหมือนแกนหลักของประเพณีวฒั นธรรม ตอ้ งถูก ปลกุ ให้กลับมามีบทบาทสร้างเปน็ พลงั ขบั เคล่อื นให้ได้ จึงมขี น้ั ตอนดังนี้ ๑. บญุ ประเพณใี ดท่ดี มี ีการนำาปฏิบตั ิอยา่ งจรงิ จงั สมำา่ เสมออยูแ่ ลว้ ยังไม่ ควรจะไปปรบั แก้หรอื ถา้ จะทำากเ็ ปน็ กรณที ่เี ห็นว่าจะเกิดผลดกี ว่าเดิม เชน่ บุญผะ เหวด หรือบญุ มหาชาติ (บญุ เดอื น ๔) บญุ ซำาฮะ (เดือน ๗) บญุ เขา้ พรรษา (เดอื น ๘) บุญออกพรรษา (เดือน ๑๑) บุญกฐนิ (เดอื น ๑๒) ๒. บุญประเพณที ีย่ ังมีอทิ ธพิ ลต่อชมุ ชนแตข่ าดการพฒั นาปรบั ปรงุ อยูใ่ น
ถิ่�น่ ฐานบ้า้ นสาวะถีี 11 ลกั ษณะสกั แต่ว่าทำาไป ไม่เขา้ ถงึ วถิ ขี องชาวบา้ น บญุ ประเภทนีต้ อ้ งไดร้ ับการแกไ้ ข ส่งเสรมิ ใหก้ ลับมามคี ณุ คา่ สามารถสรา้ งความสขุ สามัคคดี ีงามใหก้ บั คนในชมุ ชน อีกครั้ง เชน่ บญุ ขา้ วจี่ (เดอื น ๓) บุญตรษุ สงกรานต์ (เดือน ๕) บุญข้าวประดบั ดนิ (เดือน ๙) ในการพฒั นาสง่ เสรมิ บญุ ประเพณสี บิ สองเดือนหรอื ฮตี สิบสองของวดั ไชยศรี แม้สว่ นหน่ึงจะเพอ่ื เปน็ การสรา้ งกระบวนการพฒั นาชุมชนในเชงิ สรา้ งสรรค์ ความสขุ ความสามัคคีความเป็นวิถชี ุมชน แต่ดว้ ยความท่ีประเพณเี หล่านีล้ ว้ นมีฐาน จากการที่วัดและพระสงฆเ์ ปน็ ฝา่ ยนาำ พาชาวบ้าน เป็นทงั้ ผ้นู าำ ทางความคิดแล้วยงั ใช้วดั เปน็ สถานทจ่ี ัดกจิ กรรมเกอื บท้งั หมด จงึ เป็นโอกาสทีพ่ ระสงฆจ์ ะไดน้ ำาพระ ธรรมคาำ สอนสอดแทรกเขา้ สวู่ ิถีผูค้ นในชมุ ชน โดยผ่านกจิ กรรมเหลา่ นั้น นับวา่ เป็น แนวทางท่เี ข้าลักษณะโลกกไ็ ม่ให้ชาำ้ ธรรมกไ็ มใ่ ห้เสีย สมประสงคล์ งตวั ไดอ้ ยา่ งดี จากการใช้แนวทางการนำาวัฒนธรรมหรือต้นทุน ท่ีเป็นภูมิปัญญาของ ชาวบ้านมาส่งเสริมพฒั นา ทำาใหห้ ลายประเพณไี ด้เกดิ กระบวนการสร้างสรรค์จน เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของชุมชน เน่ืองจากบางประเพณีนน้ั มีเฉพาะในชุมชนสาวะถี และวัดไชยศรีเท่าน้นั ซงึ่ จะยกตัวอย่างความสำาเรจ็ ๒ ประเพณี คอื ประเพณที ่ี ๑ บุญขา้ วจี่ หรอื บุญเดือนสาม จากเดมิ เม่ือสบิ ปกี อ่ น บุญขา้ วจีใ่ นท้องถน่ิ หรอื เกือบ ทกุ วัดในตาำ บลสาวะถีซงึ่ ก็รวมถึงวดั ไชยศรดี ว้ ย เป็นบญุ หน่ึงทกี่ าำ ลงั ถกู ลืมเลือน เสื่อมถอยในการปฏิบตั ิไม่ให้ความสาำ คญั เหมือนกอ่ น สาเหตหุ นง่ึ กน็ า่ จะมาจาก พฤติกรรมทค่ี นเริ่มจะไมน่ ิยมทานขา้ วจีแ่ ลว้ เพราะมอี าหารการกนิ อน่ื เข้ามาเปน็ ทางเลอื กในวิถชี วี ติ เพิ่มมากข้นึ เรื่อย ๆ แตแ่ ท้จรงิ แล้วบญุ ข้าวจ่หี รือทกุ บญุ ในฮตี สบิ สอง คอื กจิ กรรมเชงิ สรา้ งสรรค์ความสามคั คี ความเป็นหม่บู ้านชมุ ชนที่ต้องมคี วาม เช่อื และกิจกรรมตามความเชอื่ น้นั รว่ มกัน ไมใ่ ช่แคเ่ ร่อื งเป็นอาหาร ดงั น้นั วัดไชยศรี และชุมชนจึงได้พร้อมกันฟื้นฟูการทำาบุญโดยการปรับประยุกต์ให้เป็นกิจกรรม การถา่ ยทอดเรยี นร้คู วบคู่ไปกบั การทำาบญุ ซึง่ นับเป็นการผสมผสานภูมปิ ญั ญา แบบด้ังเดิมเพิ่มเติมกบั วถิ ปี จั จุบนั โดยให้มีลานวัฒนธรรมจข่ี า้ วทีว่ ดั ไชยศรขี ึน้ มา เปดิ พ้นื ทใ่ี หช้ าวบา้ นซึ่งเปน็ เหมอื นครภู มู ปิ ัญญาขา้ วจไี่ ดถ้ า่ ยทอดสู่นักเรียน นสิ ติ นกั ศึกษา ตลอดจนผคู้ นทสี่ นใจ ไดร้ ว่ มแลกเปลย่ี นเรียนรู้ จนเกดิ การตอ่ ยอดจากคน
12 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ รุ่นใหม่ เชน่ กจิ กรรมข้าวจว่ี าเลนไทน์ทจ่ี ัดโดยมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น เป็นตน้ ประเพณีท่ี ๒ บุญตรษุ สงกรานต์ หรือบญุ เดอื นหา้ ที่วัดไชยศรมี ีกิจกรรม หนง่ึ ในบญุ น้ีทแี่ ตกตา่ งจากทอ่ี ืน่ อันมเี หตุมาจากท่ชี มุ ชนท่นี เ่ี ชือ่ สบื ต่อกันมาว่า เป็นปีใหม่ หรือเขา้ สศู่ ักราชใหมแ่ บบดั้งเดิม ดังนน้ั จงึ ต้องมีกจิ กรรมเสียเคราะห์ เสริมสิริมงคล โดยการทำาพธิ เี สยี เคราะห์หรอื สะเดาะเคราะห์กนั ท้งั หมู่บา้ น โดย จะทำาทงเก้าห้องส่ีแจ(มุม)พร้อมเครื่องบูชาสังเวยมาทำาพิธีรอบโบสถ์หรือสิมมี การอา่ นคาำ สงั เวยแก้เคราะห์ แล้วจะนำาไปปล่อยทง้ิ ยงั นอกหม่บู ้าน จริงแลว้ ก็จะ เหมือนความเช่อื เรอ่ื งการปลอ่ ยนกปลอ่ ยปลาของคนไทยโดยทว่ั ไป เพียงแต่วา่ มี การเปล่ียนอุปกรณ์ประกอบความเช่อื และวิธีการตามภูมปิ ัญญาของตนเอง โดย วจัดะตลง้อสงรทงำานกา้ำ อ่ อนบเขน้าาำ้ สหปู่ อีใมหปมรค่ ะอื จทำาปาำ ใีตนาวมันปทรี่ ะ๑เพ๓ณเี มษาปยัจนจบุ กันอ่ ปนรเะอเาพพณรีเะสพยี ทุ เคธรราูปะปหร์ตะรจษุ าำ สงกรานต์วดั ไชยศรี เปน็ หนง่ึ ในกิจกรรมทอ่ งเที่ยวเชิงวฒั นธรรมในชื่อสงกรานต์ อสี านขอนแกน่ ดง้ั เดมิ และได้รบั การสนบั สนนุ ส่งเสรมิ ให้เป็นประเพณีทีค่ วรค่าแก่ การรักษาสืบทอดต่อไป ภาพจากโครงการสนิ ไซโมเดล ช่างภาพ : ทวศี ักดิ์ กุสมุ าลย์
ถิ่�น่ ฐานบ้้านสาวะถีี 13 บทสรุปแห่งการขับเคลอ่ื นพัฒนาด้วยมติ ทิ างวัฒนธรรม ชมุ ชนสาวะถแี ละวดั ไชยศรีในปัจจุบนั จงึ เป็นวดั และชมุ ชนท่ีมีผู้คน องคก์ ร หรอื หน่วยงานตา่ ง ๆ ให้ความสนใจเข้ามาสมั ผสั ศึกษาทอ่ งเที่ยวเรียนรูอ้ ยเู่ สมอ โดย สิง่ เหลา่ นลี้ ว้ นมาจากความมเี สน่ห์เฉพาะตน อันเป็นผลจากการนาำ แนวคิดเรื่องการ พฒั นาชุมชนด้วยมิตทิ างวฒั นธรรม ตน้ ทนุ อนั มคี ุณค่าของชุมชน ผสมผสานกับวิถี วัฒนธรรมท่ีเหมาะสมจากภายนอกบางอย่างที่สามารถนำามาปรับพัฒนาส่งเสริมให้ เหมาะสม คอ่ ย ๆ ถกั ทอปลูกฝังแนวคดิ ผลิตกิจกรรม ในรูปแบบตา่ ง ๆ อย่างตอ่ เน่ืองยาวนาน จนปรากฏผลเป็นทปี่ ระจกั ษใ์ นปัจจุบนั นี้ ซงึ่ พอจะสรุปถงึ เหตผุ ลว่า ทำาไมแนวคิดเร่ืองการนำาต้นทุนทางวัฒนธรรมท้องถ่ินมาขับเคลื่อนเป็นส่วนหน่ึงใน การพัฒนา จึงสามารถประสบผลสาำ เรจ็ ๔ ข้อ ดงั นี้ ๑. เป็นกระบวนการท่ีมีส่วนร่วมของคนในชุมชนมากที่สุดกระบวนการ หนง่ึ เพราะทุกคนในชมุ ชนลว้ นเกดิ และดำารงชวี ติ อยู่ดว้ ยวิถีวฒั นธรรมอันเดียวกนั อยแู่ ลว้ การมสี ่วนรว่ มจงึ เปน็ เรือ่ งงา่ ยและเข้าใจไดไ้ มย่ าก ๒. ตรงตามความต้องการท่ีแท้จริง จากการมีส่วนร่วมด้วยความเข้าใจ สมคั รใจ เห็นปัญหาและมีเป้าหมายเดียวกนั การแลกเปล่ียนปรกึ ษาหารือก็ทำาได้ ง่าย แม้จะมผี นู้ ำาทง้ั ในวดั และหมบู่ ้าน แตน่ ั่นก็ไม่ใช่ผทู้ ีจ่ ะคอยกาำ กบั ตง้ั กรอบครอบ ความคิดได้ เน่ืองจากทุกคนมีพื้นฐานการเข้าใจถึงรากเหง้าทางวัฒนธรรมอยู่ใน ระดับใกล้เคียงกัน จึงสามารถหลอมรวมความต้องการเข้าสู่กระบวนการพัฒนา แนวน้ีไดอ้ ย่างแทจ้ ริง ๓. สรา้ งความขดั แย้งแตกแยกนอ้ ยลง กระบวนการพัฒนาบางอยา่ งอาจ จะสร้างความขัดแยง้ ของคนในชมุ ชนได้ เนอ่ื งจากการหลอมรวมความตอ้ งการไม่ ได้สอดคล้องกับความประสงค์ที่แท้จริงและทั่วถึง แต่การใช้แนวทางวัฒนธรรม เป็นกระบวนการที่ถูกสร้างจากภายในของคนในชุมชนมาอย่างมีส่วนร่วมและ เขา้ ใจตลอดตงั้ แต่ต้น เพราะวฒั นธรรมคือสงิ่ ท่ีทกุ คนในชมุ ชนสัมผัสได้ปฏบิ ัติรับรู้ และได้เหน็ มาตลอดชีวิต ดังนน้ั ความขดั แยง้ จึงมนี ้อยจนถงึ ไมม่ เี ลย
14 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ ๔. มีความย่ังยืน การประสบความสาำ เรจ็ ว่ายากแลว้ การทาำ ใหเ้ กิดความ ย่ังยืนยิ่งยากกว่า เน่ืองจากถ้าเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่เกิดจากแนวความคิด ภายนอกชมุ ชน ก็อาจจะมีทำาไมท่ ำา ทำามากทาำ นอ้ ยไปตามเหตุปัจจยั ภายนอกไม่ แนน่ อนและชุมชนก็กาำ หนดเองไม่ได้ แต่การพฒั นาโดยใชแ้ นวทางวฒั นธรรม เปน็ ส่ิงท่ีถูกสรา้ ง ปฏบิ ัตกิ าำ กับดแู ลจากชุมชนเอง ดงั น้นั ตราบทวี่ ถิ ีชมุ ชนยังมีส่ิงเหลา่ นี้และตอ้ งการส่งิ นี้อยู่ การถ่ายทอดเรียนรู้ภายใตว้ ถิ ชี ุมชนจะยงั คงดำาเนินไปและ ดำารงอย่อู ย่างยัง่ ยืนยาวนาน จะเห็นได้ว่า การสร้างแนวคิดกระบวนการพัฒนาชุมชนสาวะถี โดยมีวัดไชยศรีเป็นศูนย์กลางขับเคลื่อนด้วยแนวทางวัฒนธรรมต้นทุนของชุมชน นั้น สามารถเกิดขึ้นได้และประสบผลสำาเร็จได้ทุกหมู่บ้านชุมชน เพียงแต่ต้อง เข้าใจท่ีจะค้นหาคุณค่าต้นทุนทางวัฒนธรรมของตนเองให้ได้ แล้วกล้าที่จะนำา มาขับเคล่ือนด้วยแนวทางท่ีเหมาะสม ส่วนรูปแบบและวิธีการนั้นย่อมข้ึนอยู่กับ บริบทของแต่ละชุมชนเป็นสำาคัญและส่ิงหน่ึงท่ีสำาคัญต่อกระบวนการขับเคลื่อน ชมุ ชนคอื ประวตั ศิ าสตรข์ องชุมชนเอง ซึ่งได้บนั ทกึ เรื่องราวพฒั นาการของชุมชน มาเป็นลำาดับ สามารถนาำ มาศึกษาวเิ คราะหห์ าเหตผุ ลความเด่นหรือด้อย ข้อดขี ้อ เสีย สิง่ ทช่ี ุมชนประสบความสาำ เร็จหรือลม้ เหลว สบื ค้นต้นทนุ คณุ คา่ ทเ่ี ปน็ รากฐาน การสร้างสรรค์พัฒนาชุมชน โดยเฉพาะชุมชนสาวะถีที่สามารถนำาแนวคิดเร่ือง วัฒนธรรมมาขับเคลอื่ นเป็นประโยชนป์ ระสบผลตามเปา้ หมายได้ สว่ นหนึ่งท่ีสาำ คัญ คือการมีประวัติศาสตร์ชุมชนตนเอง ทำาให้เป็นหลักฐานการรับรองความถูกต้อง สรา้ งขอ้ มลู ท่เี ปน็ จรงิ และอ้างองิ อยา่ งมรี ะบบแบบแผนซึ่งจะขาดเสยี มไิ ด้เลย หมายเหตุ : คาำ ว่า เจ้า ในภาษาอสี าน หมายถงึ คณุ หรือเธอ
[hyomuj # ถิ่น่� ฐานบ้้านสาวะถีี 15 5bJo5ko[hkolt;t5u ททม่ี มี่ าา::GGoooogglleeeeaarrtthh ถนิ่ ฐานบา้ นสาวะถี ขขอ้ อ้ มมลู ูลทท่วั ัว่ ไไปของบา้ นสาวะถี บบ้านสาวะถี เดิมเรยี ก “สาวัตถ”ี ทางราชการเปลี่ยนมาใช้ สสาาววะะถถี ี เเมมอื่ ือ่ ปปี ี พพ..ศศ.. ๒๒๔๔๘๘๐ แตใ่ นระยะนนั้ ชาวบา้ น และคณะสงฆย์ ังคงใชค้ ำาวา่ สาววัตตั ถถอี ีอยยู่ ู่ จจนนถถงึ งึ พพ..ศศ..๒๒๔๔๙๙๐ จงึ ไดเ้ ปลี่ยนมาเป็นสาวะถีใหเ้ หมอื นราชการต้งั แต่นัน้ มาาสสว่ ว่ นนโโรรงงเเรรียียนน บบ้าา้ นนสสาาววะะถถียังมชี อ่ื เดมิ พว่ งเอาไว้ คือ โรงเรียนบ้านสาวะถี (สาวตั ถรี าษษฎฎรรร์ ร์ งั ังสสฤฤษษฏฏ์ิ))ิ์ จจนนถถงึ ึงททุกุกววนั น้ี บบา้ นสาวะถเี ป็นบา้ นใหญ่ ระยะแรกบ้านสาวะถีมี ๓ คมุ้ คคืออื คคุ้มมุ้ เเหหนนอื ือ ((บบาางงททีกกี ็เเ็รรยี ยี ก“คมุ้ ปา่ มอ่ ”ดว้ ยมีต้นม่อเป็นจาำ นวนมาก) คมุ้ กลาง และคคมุ้ ้มุ ใใตต้ ้ ปปจั จั จจบุ ุบันนั
16 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ คุ้มเหนอื คือ หม่ทู ่ี ๖ และ หมทู่ ่ี ๒๑ คุ้มกลาง คือ หมู่ที่ ๗ สว่ นค้มุ ใต้ คือ หมทู่ ี่ ๘ มีวดั ประจำาหมบู่ า้ น ๒ วดั คอื วดั เหนือ (วดั โพธ์ิชยั ) กับ วดั ใต้ (วัดไชยศร)ี บา้ นสาวะถี ในราว พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๑๑ มีจำานวนครวั เรอื นมากถึง ๕๐๐ หลงั คาเรือน ปจั จุบันท้ัง ๔ หมูบ่ ้าน มีจำานวน ๙๘๘ ครวั เรือน ประชากรกวา่ ๓,๒๘๖ คน ในราว พ.ศ. ๒๔๗๕ สาวะถไี ดถ้ ูกยกข้ึนเป็นช่ือตำาบล ตาำ บลสาวะถีมี อาณาเขตกวา้ งขวางครอบคลมุ พนื้ ท่ีจนถึงเขื่อนอบุ ลรัตน์ จนถึง พ.ศ. ๒๕๕๐ มี ประกาศกระทรวงมหาดไทย ยกฐานะตำาบลสาวะถขี น้ึ เป็นเทศบาลตาำ บลสาวะถี มี ๒๔ หมู่บ้าน ๕,๑๓๘ หลงั คาเรือน ประชากร ๑๘,๐๗๖ คน บา้ นสาวะถีทงั้ ๔ หมูบ่ า้ นกเ็ ปน็ ส่วนหนึ่งของเทศบาลตำาบลสาวะถี ลำาดบั พฒั นาการ ถ่นิ ฐานบ้านสาวะถี ช่วงเวลา เหตุการณส์ ำาคัญ ยคุ พุทธศกั ราช /หลกั ฐานสาำ คญั ช่วงอารยธรรมบ้านเชยี ง พบหลักฐานประเภทภาชนะ และเศษภาชนะในพ้ืนที่โนน เมือง รว่ มสมัยกับบ้านเชียง ซ่ึงเปน็ ยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์ กอ่ นบา้ นสาวะถี ชว่ งปลาย (ประวตั ศิ าสตรโ์ บราณคดี) พทุ ธศตวรรษที่ ๑๑ – ๑๓ -พบใบเสมาในพนื้ ทีโ่ นนเมอื ง สมยั อาณาจกั รทวารวดี -พบลักษณะคูน้าำ ล้อมรอบเมือง เหมือนอาณาจักรทวารวดี ใน พนื้ ที่โนนเมือง พุทธศตวรรษที่ ๒๒ พบภาชนะทมี่ ีอายุใกลเ้ คยี งกับ สมยั อาณาจกั รล้านช้าง ภาชนะในสมยั ลา้ นชา้ ง ในพนื้ ท่ี โนนเมอื ง
ถิ่น�่ ฐานบ้า้ นสาวะถีี 17 กำาเนดิ บ้านสาวะถี ราว พ.ศ. ๒๓๖๐ (ร. ๒) กำาเนดิ ชุมชน (ตำานานเรอ่ื งเล่า) ตามเรื่องเลา่ มขุ ปาฐะ สาวะถยี ุคพฒั นา ราว พ.ศ. ๒๔๐๔ (ร. ๔) สร้างวดั โพธช์ิ ยั (ปีที่ทางการระบ)ุ ราว พ.ศ. ๒๔๐๘ สรา้ งวดั ไชยศรี (ตน้ ร. ๕) พ.ศ. ๒๔๒๕ ปเี กิดหมอลำาโสภา พลตรี กบฎฏผผูู้้ม�มีีบบุญุ พ.ศ. ๒๔๔๙ วัดไชยศรีไดร้ ับพระราชทาน วิสงุ คามสมี า พ.ศ. ๒๔๖๔ เร่ิมสรา้ งโรงเรยี นบ้านสาวะถี (ปลาย ร. ๖) (เรียนในวดั ) พ.ศ. ๒๔๖๗ สรา้ งโรงเรียนบา้ นสาวะถี อย่างเปน็ ทางการ พ.ศ. ๒๔๘๑ (ร.๘) สรา้ งอาคารเรยี น โรงเรียนสาวะถีหลงั แรก พ.ศ. ๒๔๘๒ (ร. ๘) รัฐบาลออกกฎหมายหา้ มตัดไม้ กอ่ นไดร้ ับอนุญาต พ.ศ. ๒๔๘๓ (ร. ๘) มีการเก็บภาษีอากรบำารุงทอ้ งท่ี พ.ศ. ๒๔๘๖ หมอลำาโสภาเสียชีวติ พ.ศ. ๒๔๙๑ หลวงปอู่ ่อนสามรณภาพ
18 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ พ.ศ. ๒๕๓๒ ตงั้ โรงเรียนสาวะถีพิทยาสรรพ์ พ.ศ. ๒๕๓๒ พระครูบุญชยากรจาำ พรรษาที่ วัดไชยศรี บา้ นสาวะถี พ.ศ. ๒๕๓๗ พระครบู ญุ ชยากร ยุคฟืน้ ฟู พ.ศ. ๒๕๕๘ เปน็ เจา้ อาวาสวัดไชยศรี พ.ศ.๒๕๔๖ ตำาบลสาวะถียกฐานะเปน็ เทศบาลตำาบลสาวะถี พ.ศ. ๒๕๕๙ สร้างพพิ ธิ ภณั ฑ์ภูมปิ ัญญาสา วะถที วี่ ัดไชยศรี ยา้ ยพิพิธภัณฑภ์ มู ปิ ญั ญาสาวะถี จากวัดไชยศรีไปยังโรงเรียนบา้ น สาวะถี กอ่ นบา้ นสาวะถี (ประวัติศาสตรโ์ บราณคดี) ขอ้ มลู โดยกรมศิลปากร สถานทีต่ ั้งของบา้ นสาวะถีในปัจจบุ ันเดมิ เปน็ ชุมชนโบราณมากอ่ น มอี ายุ นับพันปีจากหลักฐานทางโบราณคดีของกรมศิลปากรที่ได้ทำาการสำารวจเบ้ืองต้น ในเขตพน้ื ทช่ี ุมชนสาวะถี บริเวณโนนเมอื ง ซง่ึ อยทู่ างด้านทิศตะวันออกเฉยี งเหนือ ของหมูบ่ า้ น ห่างจากวดั ไชยศรไี ปประมาณ ๔๐๐ เมตร ซงึ่ กรมศลิ ปากรเรยี ก พ้ืนที่บริเวณนวี้ า่ แหล่งโบราณคดีบา้ นสาวะถี จากการสาำ รวจพบหลกั ฐานสาำ คญั ประกอบดว้ ย ๑. ภาชนะและเศษภาชนะดินเผาเนอื้ หยาบ เผาด้วยอุณหภูมิตาำ่ ได้แก่ แบบผวิ เรียบ แบบลาย เขียนสี แบบเคลือบนำ้าโคลน แบบลายเชือกทาบ และแบบลายกดประทับ
ถิ่น่� ฐานบ้้านสาวะถีี 19 ๒. ภาชนะและเศษภาชนะดนิ เผาเน้อื แกรง่ เผาดว้ ยอณุ หภูมสิ งู ๓. ใบเสมา ๔. ประติมากรรมหินทราย สันนิษฐานวา่ อาจเป็นฐานศวิ ลงึ ค์ ๕. เศษอิฐซง่ึ เป็นช้นิ ส่วนโบราณสถาน จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบแสดงให้เห็นว่า ชมุ ชนโบราณแหง่ น้เี ปน็ ชมุ ชนท่ีรบั พทุ ธศาสนา และมกี ารแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกบั ชมุ ชนใกลเ้ คยี ง และ การท่ีพบแหลง่ ภาชนะดนิ เผาลายเขยี นสี ซ่งึ มีลกั ษณะคลา้ ยกับภาชนะดนิ เผาลาย เขยี นสีท่พี บทบ่ี า้ นเชยี งในชน้ั วฒั นธรรมที่ ๕ (๑,๐๐๐ – ๕๐๐ ปกี อ่ นคริสตกาล) แต่ลักษณะหยาบกว่า ดังนั้นแหล่งโบราณคดีนี้น่าจะมีความสัมพันธ์กับชุมชนที่ บา้ นเชียง จงึ สนั นิษฐานไดว้ า่ ชมุ ชนทีน่ ่คี งมอี ายุราวกอ่ นประวัตศิ าสตร์ตอ่ เนือ่ งมา จนถงึ ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ – ๑๓ จากการสาำ รวจของกรมศิลปากรในครงั้ นนั้ พบหลกั ฐานดว้ ยกนั อยู่ ๓ จดุ ดงั น้ี ๑. หนองโงง้ (ปัจจุบนั เปน็ ท่ีดินของนายทวีป สอนสุภี) พบหลักฐานทาง โบราณคดีบริเวณด้านนอกคูน้ำาทางด้านทิศตะวันออกของเนินดิน ปัจจุบันเป็น พน้ื ที่เกษตรกรรม เดมิ บริเวณนเ้ี คยพบซากฐานอาคารศิลาแลงแต่ถกู ไถทงิ้ ไปเมื่อ ประมาณ ๓๐ ปที แี่ ล้ว และได้เคลอ่ื นย้ายแผ่นเสมาหินทรายออกจากพนื้ ทจี่ ดุ นี้ จาำ นวน ๔ แผ่น โดยอยู่ทีว่ ดั ไชยศรีจำานวน ๒ แผน่ ส่วนอีก ๒ แผ่นชำารุดเหลอื เฉพาะ สว่ นฐานได้เคลือ่ นย้ายไปไวท้ ีโ่ รงเรียนสาวะถีพทิ ยาสรรพ์ จากการสาำ รวจบนพนื้ ผิวดนิ พบแผ่นหนิ ทรายรปู แผน่ ทรงส่เี หล่ียมจาำ นวน หลายแผน่ ซงึ่ นายทวปี สอนสุภี ให้ขอ้ มลู วา่ ในสระน้ำากพ็ บแผ่นหินทรายลกั ษณะ ดังกล่าวจำานวนหลายแผ่นเชน่ กัน สว่ นหลกั ฐานอ่ืน ๆ ที่พบ ไดแ้ ก่ กอ้ นดนิ เผาไฟ เศษก้อนอฐิ เผาไฟสีแดงสม้ เศษภาชนะดินเผาทง้ั แบบเน้ือดนิ ธรรมดา (Earthen- ware) และเศษภาชนะดินเผาประเภทเนอ้ื แกรง่ (Stoneware) สมยั วัฒนธรรม
20 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ ลา้ นชา้ ง (แหล่งเตา ลุ่มนำา้ สงคราม) นอกจากนั้นยังได้ทำาการสำารวจพ้ืนที่ใกล้กันซ่ึงอยู่ภายในคูน้ำาพบเศษ ภาชนะดินเผา (Earthenware) ท้งั ทีป่ ะปนขนึ้ มากับดินทีข่ ดุ ลอกคนำา้ และปรากฏ ตามชัน้ ดนิ บนพ้ืนทแ่ี หล่งโบราณคดี ในพ้ืนทีด่ า้ นในคูนำา้ ส่วนคนู าำ้ ทางด้านทิศเหนือ ส่วนที่ยงั ไม่มกี ารขดุ ลอก ยงั คงปรากฏร่องรอยขอบเขตคูนาำ้ อยา่ งชดั เจน ๒. อมุ่ บกั ป้อม พบหลักฐานทางโบราณคดีบริเวณด้านนอกคนู ้าำ ทางด้าน ทิศตะวันตกค่อนไปทางเหนอื ของเนนิ ดิน ปจั จุบนั มกี ารสร้างศาลเพยี งตาและลาด ซีเมนต์ทบั บรเิ วณขอบเขตทมี่ ีการปกั เสมาแต่เดิม จากข้อมูลการสมั ภาษณ์ บริเวณ นพี้ บแผน่ เสมาหนิ ทรายท้งั สนิ้ จำานวน ๖ ใบ เคลือ่ นยา้ ยไปไวท้ วี่ ัดไชยศรี จาำ นวน ๔ ใบ หายไป ๑ ใบ ส่วนอีก ๑ ใบ ปักไวใ้ กลศ้ าลเพยี งตา ไมพ่ บหลักฐานอน่ื เพม่ิ เติม ๓. ท่ีนานางเข็มทอง พบหลักฐานทางโบราณคดีบรเิ วณดา้ นนอกคูนำา้ ทาง ทศิ เหนือค่อนไปทางฝ่งั ตะวันตกของเนนิ ดนิ ข้อมลู จากการสัมภาษณเ์ ดิมมแี ผ่น เสมาโผลข่ ึ้นลอ้ มรอบพน้ื ท่ี ๘ จดุ จุดละ ๑ ใบ ยกเวน้ ทางทิศเหนือพบปกี เรียงกนั จำานวน ๓ ใบ ตอ่ มาได้มีการเคลื่อนยา้ ยไปไว้ทว่ี ัดไชยศรี จาำ นวน ๑ ใบ (ใบทีม่ ีขนาด ใหญท่ สี่ ดุ ) ส่วนใบที่เหลอื ไมพ่ บร่องรอยหลักฐานในวนั ทส่ี าำ รวจ และไม่พบหลกั ฐาน ทางโบราณคดอี ื่นเพิ่มเตมิ ขอ้ สนั นษิ ฐานและการกำาหนดอายุเบอื้ งต้น เมืองโบราณสาวะถี หรือ“โนนเมือง”เป็นแหล่งโบราณคดีที่มีคูนำ้าล้อมรอบ ปจั จุบนั พน้ื ทีภ่ ายในคูน้ำามสี ภาพเปน็ ป่ารกทึบ สำารวจไดเ้ พียงบรเิ วณชายเนนิ ทาง ด้านทิศตะวันออกเพียงเล็กน้อยเท่าน้ัน พบหลักฐานประเภทเศษภาชนะดินเผา เน้ือดินธรรมดา (Earthenware) พื้นที่ด้านนอกของเมืองโบราณพบหลักฐานท้ังเศษภาชนะดินเผาเนื้อดิน ธรรมดา (Earthenware) และเศษภาชนะดินเผาประเภทเน้ือแกรง่ (Stoneware) สมัยวฒั นธรรมลา้ นช้าง (แหลง่ เตาล่มุ น้ำาสงคราม) ก้อนดินเผาไฟและเศษอิฐดินเผา เป็นตน้
ถิ่น�่ ฐานบ้า้ นสาวะถีี 21 สนั นิษฐานวา่ พ้นื ที่เมอื งโบราณสาวะถแี ละพน้ื ทโี่ ดยรอบ ปรากฏรอ่ งรอย การอยู่อาศัยอย่างนอ้ ย ๓ ยคุ สมัยด้วยกัน ประกอบดว้ ย สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ ตอนปลาย ต่อเน่อื งถึงสมยั วัฒนธรรมทวารวดี ราวพุทธศตวรรษ ๑๑ - ๑๕ และ สมัยวฒั นธรรมล้านชา้ งราวพุทธศตวรรษที่ ๒๒ - ๒๔ สรุปได้ว่าประวัติศาสตร์ยุคก่อนบ้านสาวะถีนั้นมีความสำาคัญต่อการ ศึกษาประวัติศาสตร์โบราณคดีเก่ียวกับอารยธรรมของมนุษยชาติอีกแหล่งหน่ึง ในภาคอสี าน ท่ียงั คงหลงเหลอื รอ่ งรอยใหไ้ ดศ้ กึ ษา แมว้ ่าหลกั ฐานหลายอย่างจะ กระจดั กระจาย แต่ชุมชนกไ็ ดร้ ว่ มกนั เกบ็ รกั ษาเอาไว้เปน็ สมบตั สิ ว่ นรวม เพ่อื เปน็ สง่ิ ยาำ้ เตอื นว่าพ้นื ที่ของชุมชนสาวะถเี ดิมมชี มุ ชน มผี คู้ นอาศยั และมีอารยธรรมสบื ต่อกันมาหลายรนุ่ นับแตย่ คุ กอ่ นประวัติศาสตร์ จนถึงยคุ ประวตั ิศาสตร์ โดยเฉพาะ หลกั ฐานอารยธรรมทวารวดที ป่ี รากฏให้เห็นอยา่ งชัดเจน คือ ใบเสมา ที่ปัจจบุ ัน ชาวสาวะถีได้ชว่ ยกนั นาำ มาเก็บรกั ษา และจัดแสดงให้ชมในแบบนิทรรศการกลาง แจง้ ในพื้นทีข่ องวัดไชยศรี ใหเ้ กิดการศึกษาเรียนรูต้ ่อไป
22 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ กำาเนดิ บา้ นสาวะถี (ตาำ นานเรือ่ งเล่า) เร่ืองราวความเปน็ มาของการกำาเนดิ บา้ นสาวะถีนัน้ ไม่มีหลักฐานจารึก เอาไวอ้ ยา่ งชัดเจนวา่ ตั้งขึน้ เม่อื ไหร่ ใครเป็นผู้ก่อตัง้ มเี พยี งตาำ นานท่ีเลา่ ขานสืบตอ่ กนั มาเทา่ น้นั วา่ ... เม่ือประมาณ ๒๐๐ ปี (ราว พ.ศ. ๒๓๖๐ ) พน้ื ทส่ี าวะถแี หง่ นย้ี ัง คงเปน็ ป่ารกชัฏ ไม่มผี ู้คนอาศัยอยู่ หมบู่ ้านรอบ ๆ อยหู่ า่ งไกลกันมาก เช่น บ้านท่มุ บ้านแท่น ชนบท ขอนแกน่ ซง่ึ ใกลส้ าวะถีทส่ี ุดนัน้ ก็คอื บ้านทุม่ วนั หนึง่ มีชาวบา้ นทุ่ม จาำ นวน ๓ คน นามว่า ปู่มกุ ดาหาร ป่คู ำาจ้าำ โง่ง และ ปคู่ นงิ ไดไ้ ปเล้ยี งช้างทโี่ คกปา่ เหลา่ พระเจ้า ในเหลา่ พระเจ้าน้ีมพี ระพทุ ธรปู เกา่ องค์ หนึง่ ประดิษฐานอยู่ ขณะที่ ๓ ปู่กาำ ลังเลย้ี งชา้ งอยนู่ นั้ ช้างเชอื กหนงึ่ เกิดตกมนั และ เอาไวไ้ มไ่ หว จงึ หนีเข้าป่าดงไป ปู่ท้งั สามจึงว่ิงติดตามหา ไปพบช้างยืนอยูก่ ลางป่า ทางทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือ ตอ่ มาชาวบา้ นเรียกบรเิ วณนวี้ ่า “โนนเมอื ง” ปรากฏ วา่ ช้างหายจากอาการตกมนั และให้จบั อยา่ งงา่ ยดาย คล้ายนิมติ มหัศจรรยเ์ สมอื น หนึ่งมสี ่งิ บนั ดาลนมิ ิตใหเ้ ป็นไป ซ่งึ น่นั ทำาใหท้ ัง้ ๓ ปู่ ไดเ้ ห็นว่ามพี ืน้ ที่เหมาะในการ เข้ามาอยู่อาศัย เพราะมคี วามอุดมสมบูรณ์ มีแหลง่ นาำ้ และไม่ไกลจากถิน่ ทอี่ ยูเ่ ดิม มากนัก เมอ่ื ป่ไู ด้เล็งเหน็ เชน่ นนั้ จงึ ชกั ชวนเพ่อื นบา้ นใหย้ ้ายมาอยู่ จนเกิดเป็นชุมชน ในระยะตอ่ มา... มุขปาฐะดงั กล่าวแมจ้ ะเป็นเพียงเร่ืองเล่าปากตอ่ ปาก แตเ่ รอ่ื งเล่านีก้ ไ็ ด้ ทำาให้เห็นถึงภูมิปัญญาในการเลือกแหล่งอาศัยของคนในอดีตในการเลือกทำาเลที่ เหมาะสมในการตั้งบา้ นเรอื นที่อยอู่ าศัย เพราะในบริเวณโนนเมืองมคี นู า้ำ ล้อมรอบ ตรงกลางเปน็ เนนิ น้ำาท่วมไม่ถึง ซง่ึ บริเวณท่เี รยี กว่าโนนเมอื งน้ี ชาวบา้ นมีความ เชอ่ื วา่ เปน็ วดั รา้ งมากอ่ น ด้วยพบมใี บเสมาอยหู่ ลายแห่ง กระจายอยโู่ ดยรอบ และ นอกจากความเชอื่ ว่าเปน็ พ้นื ท่ขี องวดั เก่าแล้ว ชาวบา้ นยังเชอื่ ว่าพ้ืนท่แี ห่งนม้ี สี งิ่ ศกั ดสิ์ ิทธ์ิ มเี จ้าทป่ี กปกั ดแู ลรักษาอยู่ ถ้าใครทาำ อะไรไม่ถกู ต้อง ไมเ่ หมาะสมใน สถานท่ีแห่งน้ีมกั จะมอี นั เปน็ ไป เชน่ ในกรณที ีม่ ีคนเข้าไปขุดหาของเก่าเพอ่ื หวงั ได้ ของมคี า่ เมอื่ เอาไปแลว้ ก็มเี หตุตอ้ งเจ็บไข้ไดป้ ว่ ย จนต้องเอากลับมาคืน บา้ งก็ว่ามี
ถิ่่น� ฐานบ้้านสาวะถีี 23 นมิ ติ เห็นพญานาคบ้าง เจา้ ที่บา้ ง ตา่ ง ๆ นา นา แต่ที่พูดถึงกนั มากคอื เหตุการณ์ ไฟไหม้ที่มกั จะเกิดในชว่ งฤดูแลง้ แต่ไม่เคยมคี รัง้ ใดท่ีจะไหม้เขา้ มาในเขตโนนเมือง ได้เลย ซง่ึ เป็นเหตุการณ์ในลักษณะเดยี วกบั ของเหล่าพระเจา้ สถานที่ศักดส์ิ ิทธิ์ อกี แห่งหนง่ึ ของชมุ ชน และยังมอี กี หลายตอ่ หลายเหตกุ ารณ์ทช่ี าวบา้ นได้เล่าลือ สบื ต่อกนั มา ด้วยความเชือ่ ดงั กลา่ วจงึ มใิ ครม่ ผี ู้เขา้ ไปอาศัยอยใู่ นบริเวณโนนเมอื ง โดยเฉพาะพื้นทีส่ ว่ นใน จะมีบา้ งก็ในพื้นท่ีโดยรอบโนนเมืองเท่านัน้ ส่งผลให้พ้นื ทีโ่ นนเมือง นอกจากท่ีมีความสำาคัญในฐานะแหลง่ โบราณคดี เกา่ แกท่ ่สี ามารถสืบยอ้ นหลังไปถึงยุคกอ่ นประวตั ศิ าสตร์ตอนปลายแลว้ ยังมีความ สำาคัญในฐานะเป็นพ้ืนที่ศักด์ิสิทธิ์ที่ชาวบ้านให้ความยำาเกรงในลักษณะเดียวกับ ดอนปูต่ า แต่ขณะเดยี วกนั พ้นื ท่โี นนเมืองยงั เปน็ หวั ใจของชมุ ชน คอื เปน็ แหลง่ นำา้ แหลง่ อาหาร ที่ทาำ การเกษตรทอี่ ดุ มสมบรู ณ์ สามารถเล้ยี งดผู ้คู นบ้านสาวะถีให้อย่ดู ี มสี ขุ ตลอดมา จากตาำ นานเรื่องเล่ากาำ เนิดบา้ นสาวะถี ทผ่ี ู้เฒ่าผู้แกเ่ ลา่ สบื ต่อกันมาหลาย ช่วั อายคุ น กท็ ำาให้ทราบวา่ บรรพบุรุษของชาวบ้านสาวะถใี นยคุ แรกน้ันอพยพกนั มา จากแถบบ้านทมุ่ ซ่ึงนา่ จะเป็นชว่ งทบ่ี ้านทมุ่ เป็นเมืองขอนแกน่ แล้ว เมือ่ มผี ้คู นเข้า มาอยอู่ าศัยมาก ผ้คู นสว่ นหน่ึงจึงหาทำาเลขยายพน้ื ที่ทาำ มาหากนิ ไปโดยรอบ (บ้าน สาวะถีอย่หู า่ งจากบา้ นทุ่มประมาณ ๑๐ กโิ ลเมตร) เช่นเดียวกับประวตั ศิ าสตรก์ าร ขยายเมืองโดยทว่ั ไป ตามเอกสารการต้งั เมืองขอนแก่นได้กลา่ ววา่ เมืองขอนแกน่ ย้ายท่ีว่าการ เมืองถงึ ๗ ครงั้ และคร้ังที่ ๕ ไดย้ ้ายมาอยู่ทบี่ ้านทุม่ ตรงกบั ปี พ.ศ. ๒๔๒๔ ตรง กบั ช่วงปลายรัชกาลท่ี ๕ คอื เม่ือ ๑๓๘ ปีทีผ่ า่ นมา แต่จากหลกั ฐานของการต้ังวัด ในพื้นท่บี า้ นสาวะถีเอง ไดร้ ะบุเอาไวว้ า่ วัดโพธิช์ ยั ต้ังขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๔๐๔ (หนงั สือ ประวตั วิ ัดทั่วราชอาณาจกั ร เลม่ ๑๒) ส่วนวดั ไชยศรตี ง้ั ข้นึ หลงั จากนนั้ ๔ ปี คอื ใน พ.ศ. ๒๔๐๘ ซงึ่ ถา้ เปน็ เช่นน้ันชมุ ชนสาวะถกี ็ต้องต้งั มาก่อนท่ีบ้านทมุ่ จะถูกยก ฐานะขน้ึ เป็นเมืองขอนแก่น ซึง่ แนน่ อนว่าการตง้ั ชุมชนต้องมีมากอ่ นการตั้งวัดอยา่ ง แน่นอน ทั้งนีอ้ าจจะมกี ารทยอยเขา้ มาเปน็ หลายระลอกไม่ไดม้ าในคราวเดยี วกัน
24 งานกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ ซง่ึ กว่าจะเป็นชมุ ชนทีม่ นั่ คงน้นั คงใชเ้ วลานานพอสมควร ดงั น้นั จึงพอจะสนั นษิ ฐาน ไดว้ า่ บ้านสาวะถีนา่ จะมีอายุไม่น้อยกวา่ ๑๕๐ - ๒๐๐ ปีอยา่ งแน่นอน กลมุ่ คนในระยะแรกตั้ง สาำ หรับกลมุ่ คนกลุม่ แรกที่เข้ามาตั้งบา้ นสาวะถีนัน้ ตามตำานานได้กลา่ วถึง ๓ ปู่จากบ้านทุม่ ทมี่ าเลยี้ งชา้ ง และบังเอญิ ไดไ้ ปพบพื้นทบ่ี ริเวณโนนเมอื ง และเหน็ วา่ มีความอดุ มสมบูรณ์ดจี งึ ชกั ชวนเพ่ือนบ้านเข้ามาอยู่ทำามาหากิน ต้ังรกราก จนมี การต้งั รกรากอาศัยแบบถาวร ดงั นน้ั จงึ อาจกล่าวได้วา่ กลมุ่ คนกลุ่มแรกของบา้ น สาวะถีคอื คนที่มาจากบ้านทุ่มน้ันเอง (ปัจจุบนั บ้านทุม่ ขน้ึ กบั ตาำ บลบา้ นทุม่ อำาเภอ เมือง จังหวัดขอนแกน่ ) แต่ก็มีบางข้อมูลที่กล่าวว่าเป็นคนจากบ้านทุ่มเช่นเดียวกัน แต่คนกลุ่มน้ีไม่ ได้มาเลี้ยงช้างดังในตำานานแต่คนเหล่านี้มาเล้ียงควาย ระยะแรกมาที่บ้านงิ้วก่อน และเห็นว่าเป็นพื้นท่ีดีเพราะมีหนองนำ้าขนาดใหญ่ (คูใหญ่) มีความอุดมสมบูรณ์ จึงมาต้ังบ้านง้ิวก่อน จากน้ันจึงแยกย้ายกันไปตั้งอยู่ท่ีบ้านสาวะถีอีกบางส่วน ซึ่ง เป็นเขตท่ีตดิ ต่อกัน โดยมคี ใู หญอ่ ยูร่ ะหวา่ งกลาง นอกจากนน้ั ยงั มขี อ้ มูลทีแ่ ตกตา่ งจากทีก่ ล่าวมาแล้ว คือ เป็นกลมุ่ คนท่ี มาจาก “บา้ นหวา้ ” (ปจั จุบันคือ ตาำ บลบ้านหว้า อำาเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น) ชึง่ อยู่ถัดจากบา้ นท่มุ ไปทางอาำ เภอมัญจาคีรี แต่กลุม่ ทีว่ า่ นี้ไม่ได้มขี ้อมลู บอกเล่าวา่ มาทำาอะไร แต่เป็นไปได้ว่าคนบ้านหว้ากับบ้านทุ่มหมายถึงคนกลุ่มเดียวกันเพราะ ทั้งสองพื้นที่นั้นก็ดูไม่ห่างกันมากนัก และในยุคสมัยน้ันบ้านทุ่มคงเป็นบ้านใหญ่ จึงอาจจะกล่าวโดยรวมว่าคนบ้านทุ่ม แมว้ า่ จะมาจากบา้ นหวา้ ก็เรียกรวม ๆ ว่า คน บา้ นทุ่ม ก็เปน็ ได ้ และก็มีความเป็นไปได้เช่นกันท่ีเหตุการณ์เล้ียงช้างนั้นอาจจะมีมาก่อน เพราะการเล้ียงช้างคงต้องหาพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์และอยู่ห่างไกลจากชุมชน พอประมาณ ในระยะหลงั เมอ่ื มีการอพยพกนั เข้ามาแล้วจงึ มกี ารนาำ สัตว์เล้ียงอย่าง อนื่ เข้ามาเลยี้ ง รวมถงึ ควายท่ใี ชไ้ ถนา และคงจะมกี ารตง้ั บา้ นเรอื นอยู่โดยรอบ
ถิ่�่นฐานบ้้านสาวะถีี 25 แหล่งนาำ้ ในพืน้ ทท่ี มี่ ีความสงู เหนอื น้าำ ขน้ึ ไป ซ่ึงบา้ นงิว้ กค็ งเปน็ พ้นื ทหี่ นึ่งรวมทั้งบา้ น สาวะถีทมี่ ลี ักษณะเหมาะสม นำา้ ทว่ มไม่ถงึ แต่ในยุคเรมิ่ ต้นน้นั คงยงั ไมไ่ ด้มีการแยก ชุมชนออกเป็นหมูบ่ ้านชดั เจนอย่างในยคุ ตอ่ มา ช่ือบ้านนามเมอื ง “สาวะถ.ี ..สาวตั ถ่ี...สาวตั ถี” นอกจากมขุ ปาฐะจะทำาให้เหน็ บริบทบา้ นเมอื งในอดีตแลว้ ยงั บง่ บอกถึงท่ี มาของช่ือบา้ นนามเมือง ซ่งึ เปน็ สิง่ ท่นี ่าสนใจไมน่ ้อยไปกวา่ การกำาเนิดเกิดขึ้นของ ชุมชน เพราะช่อื บ้านนามเมืองสามารถบ่งบอกถึงภมู ิลักษณะของชุมชน ตลอดถงึ ความเจรญิ ของชุมชนแห่งนนั้ ๆ ได้เชน่ กนั ช่อื ของหม่บู ้านในอสี านสว่ นใหญ่ นิยม เรียกกนั อยา่ งง่าย ๆ ตามลกั ษณะภูมปิ ระเทศตามท่ีสังเกตเห็น เชน่ ต้นไม ้ หว้ ย หนอง คลอง บงึ เนิน (โนน) ฯลฯ บางหมู่บ้านจะตง้ั เพ่อื แสดงฐานะหรือความเจริญ หรอื อิงกับเรือ่ งราวในทางศาสนาและความเชือ่ สาำ หรบั ชอ่ื บา้ นนามเมือง “บา้ นสาวะถี” น้นั มกี ารให้ความหมาย หรอื ทม่ี าออกเปน็ ๓ แนวทาง ดังน้ี แนวทางที่ ๑ สาวะถีนน้ั นา่ จะเพยี้ นมาจากคำาว่า “สาวตั ถ”่ี เพราะชาว บา้ นจะเรียกสระนำา้ ว่า “สา” ซึ่งแตล่ ะ “สา” หรือ “สระ” ก็จะอยู่ถ่ี ๆ กัน (คาำ ว่า ถ่ี หมายถงึ ใกลก้ นั ) เพราะเห็นว่าในบรเิ วณรอบ ๆ บ้านสาวะถีนน้ั มสี ระนำ้ากระจาย อยู่จาำ นวนถึง ๘ สระ ไดแ้ ก่ สา (สระ) หนองสา สา (สระ) หนองยงู สา (สระ) หนองไขผ่ าำ สา (สระ) หนองแกนอ้ ย สา (สระ) หนองแกใหญ่ สา (สระ) หนอง สม้ ยงั สา (สระ) หนองเผอื ก และสา (สระ) หนองยาง สระสุดทา้ ยนกี้ ่อด้วยก้อน อิฐ และเทพนื้ ด้วย จงึ เช่อื วา่ เดิมนา่ จะชอื่ สาวัตถี่ เพราะมี สา (สระ)นำา้ อยถู่ ี่ ๆ กนั นัน้ เอง ปจั จุบนั สระนำ้าเหลา่ นัน้ ยังคงปรากฏใหเ้ หน็ บางสระชาวบา้ นไดข้ ุดลอกให้ ลึก เพ่ือใช้ประโยชน์ในทางการบริโภคและอุปโภค
26 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ แนวทางท่ี ๒ เชื่อว่าบริเวณโนนเมืองในอดีตเป็นที่อยู่ของพวกเศรษฐี เพราะสามารถขดุ คลองใหญล่ อ้ มรอบเมอื งจนได้จงึ เรียกวา่ “บ้านเศรษฐ”ี ชาวบ้าน ส่วนหน่งึ จงึ สนั นษิ ฐานเอาวา่ สาวัตถอี าจหมายถึงบา้ นเศรษฐี แนวทางที่ ๓ ใหค้ วามเห็นว่าบา้ นสาวะถี เดิม ช่อื บา้ นสาวตั ถี อยกู่ ่อน แลว้ แตท่ างราชการมาเปลย่ี นเปน็ สาวะถี ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๘๐ นี้เอง ยังมหี ลัก ฐานเอกสารของกรมศาสนาระบเุ อาไว้อยา่ งชดั เจนว่า วดั ไชยศรี และวดั โพธช์ิ ยั นัน้ ตง้ั อยูท่ บ่ี ้านสาวตั ถี แมแ้ ต่ช่ือโรงเรียนบา้ นสาวะถี เดิมยังเรียกว่า โรงเรยี นสาวตั ถี ราษฎรร์ ังสฤษฏ์ิ ในระยะแรกนนั้ พระและชาวบ้านไมย่ อมเปลี่ยนตาม จนถึงปี พ.ศ. ๒๔๙๐ จงึ ได้เปลี่ยนมาใช้ สาวะถี ตามราชการ เป็นไปได้ว่าช่ือสาวัตถีน้ันอาจจะมาจากชื่อของเมืองโบราณในสมัย พทุ ธกาล คือ เมอื งสาวตั ถี ซงึ่ เป็นเมืองท่มี ีความสาำ คัญในฐานะเปน็ เมอื งหลวงของ แควน้ โกศล เปน็ เมืองท่มี คี วามรุง่ เรอื งจากการท่เี ป็นชมุ ชนการคา้ ความสำาคัญ ในทางพุทธศาสนา คือเป็นเมืองสำาคัญท่ีพระพุทธเจ้าใช้เป็นฐานในการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนา ดว้ ยพระองคป์ ระทบั อยู่ทนี่ น่ี านท่สี ดุ ถึง ๒๕ พรรษา เปน็ ทีต่ รัส “ใบเสมาหิน” หลักฐานทางโบราณคดีที่บง่ บอกวา่ พืน้ ที่บา้ นสาวะถี อดตี เคยเป็นที่ต้ังชุมชน โบราณยุคทวารวดมี าก่อน ปจั จบุ นั ไดน้ าำ มาจดั แสดงเอาไว้ ณ วดั ไชยศรี ข้างศาลอุปราช
ถิ่น�่ ฐานบ้้านสาวะถีี 27 พระสตู รมากมาย และเป็นเมอื งที่พระพุทธศาสนาม่นั คงทสี่ ุด เพราะมผี อู้ ุปถมั ภ์ สำาคญั เชน่ พระเจา้ ปเสนทโิ กศล อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี และนางวสิ าขา เปน็ ต้น ซึ่งเหตุผลดังกล่าวมีความสอดคล้องกับลักษณะของชุมชนแห่งนี้ในอดีต คอื เปน็ เมอื งชุมทางมีผ้คู นสญั จรไปมามาก ทำาให้ชมุ ชนขยายใหญ่ขึน้ ทางด้าน เศรษฐกิจเตบิ โต ทางด้านพทุ ธศาสนาก็รงุ่ เรืองตามไปด้วย จากคาำ บอกเล่าของผเู้ ฒา่ ผแู้ ก่ วา่ วัดไชยศรี บ้านสาวะถี เคยเปน็ สาำ นัก เรยี นพระปรยิ ัตธิ รรมในครง้ั อดตี ทส่ี ำาคญั ของชมุ ชนในละแวกน้ี มีพระเณรจาำ นวน มากเคยมาศึกษา ด้วยในสมัยก่อนยงั ไมม่ ีโรงเรียน การทีจ่ ะศกึ ษาเล่าเรยี นจึงตอ้ ง เรียนกนั ท่วี ัด วัดจงึ เปน็ แหล่งศกึ ษาทสี่ ำาคญั โดยเฉพาะในทางธรรม ผ้คู นในยคุ สมยั นัน้ จงึ มีความผกู พัน และศรทั ธากบั พระพุทธศาสนา ตลอดถึงเรอ่ื งราวเก่ียวกับพุทธ ศาสนาจึงถือเอาชื่อของเมืองในครั้งพุทธกาลดังกล่าวมาต้ังเป็นชื่อของบ้านก็เป็นได้ อีกทางหนึง่ ถ้าเป็นเช่นนั้นช่ือสาวัตถีก็คงจะเป็นช่ือท่ีถูกต้ังข้ึนเม่ือชุมชนมีความรุ่งเรือง ในทางพุทธศาสนาแล้ว คือ เมื่อมกี ารตั้งวดั ข้ึนแลว้ นนั้ เอง ซ่งึ ลกั ษณะของการเรยี ก ช่ือตามเมอื งในชมพูทวปี ในภาคอสี านกม็ อี ยู่หลายเมือง สว่ นใหญ่จะเป็นเมือง ชุมทางท้ังส้นิ เช่น โกสัมพี ทเ่ี พยี้ นมาเปน็ โกสุมพสิ ยั อยา่ งในปจั จบุ นั เปน็ ต้น ดังน้ันชื่อบ้านนามเมือง บ้านสาวะถี จึงมีข้อสันนิษฐานที่มาต่างกัน ๓ แนวทาง ตามเหตุผล ตามความเชอ่ื ทีม่ ีฐานคิด ฐานรแู้ ตกต่างกนั ซ่งึ กม็ ีความเปน็ ไปไดท้ ั้งน้นั อนึ่งในการศึกษาความเป็นมาของช่ือบ้านนามเมืองนี้น่าจะเกิดข้ึนใน ช่วงระยะหลังนเี้ องคอื ประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๐ โดยนายหนู ชาญวริ ัตน์ ครใู หญ่ โรงเรียนบ้านสาวะถี ได้เรียบเรียงเกย่ี วกบั ประวตั ิศาสตรช์ ุมชนบน้ สาวะถขี นึ้ จึงได้ มีการตีความเกี่ยวกับความเป็นมาของชื่อบ้านนามเมืองออกไปเป็นหลายแนวทาง ดังกล่าว
28 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ สาวะถยี ุคพัฒนา หลังจากที่มีผู้คนเข้ามาอยู่อาศัยในพื้นท่ีโดยรอบโนนเมืองมากเข้าก็ กลายเป็นชุมชน จากชุมชนเลก็ ก็ขยายใหญ่ขน้ึ เปน็ บา้ นขนาดใหญ่ มีรูปแบบการ ปกครองท่เี ปน็ ทางการ ในยุคของการพัฒนาของชุมชนสาวะถี นับยอ้ นหลังไปราว ๑๐๐ - ๑๕๐ ปี เป็นชว่ งเวลาทีส่ ะทอ้ นภาพของความเจริญรุง่ เรอื งของบา้ นสา วะถี ชงึ่ เปน็ เมอื งชุมทางท่ีสาำ คญั เมืองหนึง่ ในละแวกน้ี ทรี่ ่วมสมัยกบั บ้านท่มุ ท่ีอย่ใู น ละแวกใกลเ้ คียงกนั ซ่ึงไดย้ กฐานะขน้ึ เปน็ เมืองขอนแกน่ ในช่วงระยะเวลาหนงึ่ คอื ราว พ.ศ. ๒๔๒๔ ตามคาำ ส่ังของพระเจา้ น้องยาเธอ กรมหลวงประจักษศ์ ิลปาคม ข้าหลวงต่างพระองค์ ฯ รชั กาลท่ี ๕ ท่ีทรงเหน็ วา่ เส้นทางบา้ นทุ่มสะดวกต่อการ ติดต่อกบั หนองคาย หรือนครราชสีมา เพราะบ้านท่มุ อยใู่ นเสน้ ทางการคมนาคม และเส้นทางสายโทรเลข ซึง่ เปน็ เสน้ ทางเชือ่ มต่อกบั บ้านสาวะถ ี อันเป็นหลักฐานยืนยันได้ว่าเม่ือมีผู้คนเข้ามาอยู่อาศัยเพ่ิมจำานวนมากยิ่ง ขึ้น การดำาเนนิ กิจการต่าง ๆ กไ็ ด้ดาำ เนินไป โดยเริ่มมกี ารพัฒนาในด้านต่าง ๆ นบั แต่ด้านการศาสนา การศกึ ษา ศิลปะ วฒั นธรรม การคมนาคม การคา้ การปกครอง จากท่เี คยเปน็ ชุมชนเลก็ ๆ กพ็ ฒั นากลายมาเปน็ ชุมชนขนาดใหญ่ มีการติดตอ่ กับ ชุมชนอ่นื มากขึ้น ดว้ ยมีการสัญจรท่ีสะดวกสบายกวา่ แตก่ ่อน ดงั นนั้ ความเจริญ จากภายนอกจึงหล่ังไหลเข้ามาในบ้านสาวะถี ผู้คนจากต่างถ่ินก็เร่ิมทยอยเข้ามา เชน่ กลมุ่ คนโคราช กลุ่มคนศรสี ะเกษ กลมุ่ คนจากรอ้ ยเอด็ และกลุ่มคนจนี ท่ีเขา้ มา เปิดกิจการค้าขายรวมถึงกลุ่มอื่น ๆ อีกประปราย สนั นษิ ฐานว่าชว่ งเวลาน้เี มอ่ื ชมุ ชนมีความมัน่ คง มีความเหมาะสมในทาำ เล ที่ต้ัง การไปมาหาสู่กับสังคมภายนอกก็มีมากขึ้น รวมท้ังผู้คนจากภายนอกก็เร่ิม ทยอยเขา้ มา ส่วนหนึง่ ก็คงเห็นว่าเปน็ ทำาเลทด่ี ีจึงได้เขา้ มาอาศัย ซง่ึ เป็นคนกล่มุ ใหม่ ดงั ทไี่ ดก้ ล่าวไปแลว้ คือ กลุม่ คนโคราช กลุ่มคนศรสี ะเกษ กลุ่มคนร้อยเอด็ และรวม ถงึ กลมุ่ พ่อค้าคนจีน สำาหรับกลุ่มคนโคราชนั้น ไม่รู้แน่ชัดว่าเข้ามาในช่วงเวลาใด รู้แต่เพียง ว่าได้มาตั้งบ้านเรือนอยู่เหนือวัดไชยศรีข้ึนไป บางกลุ่มย้ายเข้าไปอาศัยอยู่ละแวก
ถิ่น�่ ฐานบ้า้ นสาวะถีี 29 โนนเมือง แตอ่ ยไู่ ดไ้ ม่นานกม็ อี นั ตอ้ งย้ายออกไป ไม่แนช่ ัดว่าด้วยเหตุผลประการ ใด ปัจจุบันก็ยังมีลูกหลานของกลุ่มคนโคราชอาศัยอยู่ในบ้านสาวะถี เช่นท่ีถือ นามสกุล “เสอื สาวะถี” เป็นตน้ นอกจากน้ันยังไดท้ ง้ิ มรดกทางศิลปวฒั นธรรมเอาไวอ้ ยา่ งหน่ึงคือ ลิเก ซึ่ง คนกลุ่มโคราชได้นาำ มาเผยแพร่ในชว่ งเวลานั้นด้วย แม้ในปจั จบุ นั จะไมม่ คี ณะลเิ ก หรือคนทส่ี ามารถแสดงลิเกไดแ้ ล้ว แต่กม็ หี ลักฐานสำาคัญอย่างหน่งึ คือ รางระนาด ท่ีถูกเกบ็ รกั ษา และจัดแสดงเอาไวท้ ี่พิพิธภณั ฑภ์ มู ิปญั ญาสาวะถี ท่ีโรงเรยี นบา้ นสา- วะถี(สาวัตถรี าษฎร์รงั สฤษฏ)ิ์ จนถงึ ปัจจุบัน สว่ นกลุ่มคนศรสี ะเกษ ไดอ้ พยพหนคี วามแหง้ แลง้ หาทที่ ำากนิ ใหม่ โดยได้ เข้ามาอาศัยอยแู่ ถวคมุ้ ป่าหมอ้ ปัจจบุ นั คือ บ้านสาวะถี หมูท่ ่ี ๖ แตก่ ลมุ่ ใหญจ่ ะอยู่ รวมกนั ทบ่ี ้านโคกล่าม จากคาำ บอกเล่าของอาจารย์นงุ นุช ศริ ภิ มู ิ ซงึ่ เป็นลูกหลาน ของคนกลุ่มน้ีได้เล่าว่า“ก่อนท่ีชาวบ้านสาวะถีจะให้คนนอกเข้ามาในเขตบ้านได้ ต้องมีความไวเ้ นือ้ เชอ่ื ใจเสียกอ่ น ว่าคนทจ่ี ะเข้ามานน้ั ไมไ่ ดเ้ ปน็ โจรขโมย โดยการ แสดงทรพั ย์สนิ ” ซึ่งคนกลมุ่ นีเ้ หน็ ว่าบา้ นสาวะถเี ปน็ ทาำ เลท่ีดี จงึ ได้จับจองทที่ างทำา มาหากิน ดว้ ยว่าสมยั กอ่ นท่ีทางทาำ มาหากนิ มีมาก ไม่มใี ครเป็นเจา้ ของ ใครมีความ สามารถในการทำามาหากนิ ก็จบั จองเอาไปได้ ซ่งึ กจ็ ะมีในส่วนท่เี ป็นบ้านและเปน็ ที่ นา สำาหรบั กลุ่มคนศรีสะเกษทอ่ี าศยั อยใู่ นเขตบา้ นสาวะถถี ือวา่ ยงั มจี ำานวนไมม่ าก เม่ือเปรยี บเทียบกับกล่มุ ท่อี ย่บู ้านโคกลา่ ม นามสกุลของคนกลุม่ น้ี เชน่ นามสกุล “หินกล้า” นามสกลุ “ทุมมี” เปน็ ตน้ เช่นเดยี วกับกลมุ่ คนทม่ี าจากจงั หวดั ร้อยเอด็ ก็เดินทางมาเพอ่ื แสวงหา ทท่ี างทำากินท่เี หมาะสมกวา่ ทีเ่ ดิม ดังคำาบอกเลา่ ของคุณตาสุรินทร์ โยทองยศ วา่ “บรรพบุรุษสายแมเ่ ป็นคนร้อยเอด็ มาจากบา้ นอมุ่ เมา้ อำาเภอธวัชบรุ ี จงั หวดั ร้อยเอ็ด พอ่ แม่พาอพยพโยกโยกยา้ ยมาเร่ือยจนถึงบา้ นสาวะถี และเลือกบ้าน สาวะถีเป็นที่ปักหลักเพราะเห็นว่ามีความอุดมสมบูรณ์จนมีครอบครัวอยู่ท่ีนี่” นามสกลุ ของกลุ่มคนร้อยเอ็ด เชน่ โยทองยศ และโคตรภักดี เป็นต้น
30 งานกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ (ขวา) คุณตาสุรินทร์ โยทองยศ ลกู หลานคนร้อยเอ็ด (ซา้ ย) คณุ ยายลา บญุ มี ในอดีตเคยแสดงลเิ ก สำาหรบั กลุ่มคนจนี ทอ่ี ยบู่ ้านสาวะถี มีทงั้ คนจีนแตจ้ ิว๋ และคนจีนไหหลำา เป็นคนจีนโพ้นทะเลท่ีมาอาศัยอยู่ท่ีบ้านทุ่มก่อนที่จะอพยพเข้ามาทำามาหากินท่ี บ้านสาวะถี อาทิ เจ็กทราย เจ็กพก เจก็ ฮง และเจก็ ซง้ ฮี้ คนกล่มุ น้ีทำาอาชีพค้าขาย เปน็ หลกั เจ็กซง้ ฮี้ลงทุนทาำ ธรุ กิจโรงฝนิ่ เพราะเปน็ ท่ีนิยมในยุคนั้น โรงฝิ่นบ้าน สาวะถี ต้งั อยทู่ ่ีหมู่ ๘ บริเวณสีแ่ ยกทางท่ีจะไปบา้ นมว่ ง ต่อมาได้ยา้ ยไปทบี่ ้าน หนองตาไก้ สว่ นเจ็กทราย เจก็ พก และเจ็กฮงทำากิจการรา้ นชำา ขายของเบด็ เตลด็ คณุ แม่เมรี แซต่ ้ัง (ขวา) ลกู สาวเจก็ ทราย (ซ้าย) ผใู้ หข้ อ้ มลู เกยี่ วกับกลมุ่ คนจนี บา้ นสาวะถี ดา้ นเศรษฐกจิ ด้วยกิจการของคนจีนเหล่าน้ีน่ีเองได้มีส่วนไม่น้อยต่อการพัฒนาในทาง เศรษฐกิจของชุมชนสาวะถีให้มีความเจริญก้าวหน้าในยุคสมัยนั้น ต้องยอมรับว่า คนจีนได้สร้างวัฒนธรรมการค้าขายแบบใหม่เข้ามาในชุมชนต่าง ๆ รวมถึงบ้าน สาวะถี แตด่ ว้ ยสภาพของการสญั จรในยุคสมยั นั้นยงั ไม่เอื้อตอ่ การขยายกจิ การการ
ถิ่น่� ฐานบ้า้ นสาวะถีี 31 คา้ อีกทงั้ ชาวบ้านสาวะถกี ย็ งั มีวิถวี ัฒนธรรมแบบพ่งึ พาธรรมชาติ ทาำ การเกษตร เป็นเศรษฐกจิ แบบพ่ึงพาตนเอง กจิ การของคนจีน หรือการค้าแบบใหมจ่ งึ ไม่ไดม้ ี การขยายตวั ออกไปมากนกั ด้านการคมนาคม ในชว่ งแรกของยคุ พฒั นา การคมนาคมเพ่ือติดตอ่ กับชุมชนภายนอกนับว่า เปน็ เรือ่ งยากลาำ บากไมน่ อ้ ย เพราะชาวบ้านสาวะถีทจี่ ะเดนิ ทางไปยงั หมู่บ้านใกล้ เคียง หรอื ศนู ย์กลางความเจรญิ ในสมัยนัน้ อยา่ งบา้ นทุ่ม หรอื ในตัวเมืองขอนแกน่ ตอ้ งใชเ้ ส้นทางธรรมชาติลัดเลาะตามปา่ ตามทุ่งนา ถึงแม้จะมีการพฒั นาการ มากกว่าแต่ก่อน แตก่ ารคมนาคมสญั จรระหวา่ งหมบู่ า้ นก็ยงั ถอื วา่ ยากลำาบากอยู่ ไม่เปน็ การสะดวกโดยเฉพาะผู้ใช้รถโดยสารระหวา่ งหมบู่ า้ น แม้แต่หมู่บา้ นที่หา่ ง กันเพียงลำาคลองก้ันอย่างบ้านม่วงกับบ้านสาวะถียังต้องน่ังรถอ้อมไปอีกร่วมหลาย กิโลเมตร จนเมือ่ นายทองเลอื่ น พรหมมา มาเปน็ ผู้ใหญ่บา้ นรอบสอง จึงไดม้ กี าร ตดั ถนนหนทางสรา้ งสะพานขา้ มห้วย ทาำ ฝายกนั้ นำา้ การทาำ สะพานข้ามห้วย เพื่อเชอ่ื มเส้นทางจากบา้ นทุ่มเข้ามาในหมบู่ า้ น สาวะถนี บั เปน็ ความทา้ ทาย เพราะยงั ไม่มตี น้ แบบของการสรา้ งสะพานในแถบ น้ี แต่เมอ่ื พอ่ ใหญท่ องเลอื่ น ไดก้ ลบั มาเปน็ ผูใ้ หญ่บา้ นรอบสอง จึงไดน้ ำาเทคนคิ วิธี การสรา้ งสะพานตามท่เี ห็นในเมืองลาวมาเป็นต้นแบบ โดยชาวบ้านไดม้ าร่วมแรง ร่วมใจกนั สรา้ งขน้ึ ผู้เฒา่ ผู้แก่เล่าวา่ “ในครงั้ นนั้ ชาวบ้านได้ไปนำาไม้มาจากแถว เขอ่ื นอบุ ลรตั น์ ประเภทไม้เตง็ (ไม้จกิ )มาประกอบสรา้ งขน้ึ อยา่ งแข็งแรง” ส่งผล ให้การคมนาคมระหว่างบ้านสาวะถีกับบ้านม่วงสะดวกอย่างมากเพราะชาวบ้านไม่ ตอ้ งเดินทางอ้อมไปไกลอย่างแต่ก่อน “สะพานไม”้ ข้ามหว้ ยของบ้านสาวะถี คือสิ่งท่บี ง่ บอกถงึ การพัฒนา ดา้ นการคมนาคมของบา้ นสาวะถี อนั เกดิ จากการรว่ มแรงร่วมใจของผนู้ ำาชมุ ชน และชาวบ้าน ร่วมกันสร้างสาธารณปู โภค โครงสร้างพ้ืนฐานโดยอาศัยภมู ปิ ัญญา ของคนในชุมชนผนวกกับองค์ความรสู้ มัยใหมจ่ ากภายนอก จงึ เปน็ ความทรงจำา อยา่ งหนงึ่ ท่ีสำาคญั แต่เป็นทน่ี า่ เสยี ดายวา่ ภาพสะพานไม้นไ้ี มม่ ีการบันทกึ เอาไว้เลย
32 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ เพราะปัจจุบันสะพานไม้นี้ได้ถูกรื้อถอนไปเพราะได้มีการสร้างสะพานคอนกรีตขึ้น มาทดแทน ประกอบกบั ทโ่ี ครงสร้างไม้เรมิ่ ชาำ รดุ เกรงว่าจะไมส่ ามารถรับนาำ้ หนักรถ ขนาดใหญท่ สี่ ญั จรมากขึ้นได้ เรื่องของสะพานไมจ้ ึงเป็นเพียงความทรงจำาของคนใน ชุมชนเทา่ นั้น ดา้ นการเมือง การปกครอง รปู แบบการปกครองในระยะแรก ยงั ยึดโยงกับแนวความเชอื่ แบบเจา้ โคตร ท่ีชุมชนเลอื กผูน้ ำาโดยยดึ คุณธรรม และการเสียสละ พอตอ่ มาเมอื่ ชุมชนขยายใหญ่ ขนึ้ จึงเรม่ิ มกี ารรับรปู แบบการปกครองแบบทางการ คอื อย่ภู ายใตก้ ารปกครอง แบบอาญาส่ี หรอื อญั ญาส่ี หลกั ฐานทีพ่ อจะอา้ งได้คือ ศาลอุปราช หรือ อปุ ฮาตที่ ตงั้ อยูท่ ่วี ดั ไชยศรี เป็นส่ิงแสดงใหเ้ หน็ วา่ แถบนเ้ี คยมอี ุปฮาตปกครองมาก่อน ในสมัยรชั กาลท่ี ๕ รฐั บาลกลางไดป้ ฏริ ปู การปกรองคร้งั ใหญท่ ่ีสดุ ใน ประวตั ิศาสตร์ไทย โดยรวมอาำ นาจหัวเมืองต่าง ๆ เอามาไว้ท่ีสว่ นกลางโดยการ สง่ ข้าหลวงใหญ่ หรอื สมุหเทศาภิบาลจากสว่ นกลางไปปกครองมณฑลต่าง ๆ ทวั่ ประเทศ สาำ หรบั บ้านสาวะถไี ม่มฐี านะเป็นเมืองอยา่ งบา้ นทุ่ม จึงจดั เป็นรปู แบบ การปกครองในระดบั เลก็ กวา่ เมือง หรอื อยนู่ อกเมือง จะมผี ปู้ กครองประกอบดว้ ย ทา้ วฝ่าย ตาแสง (เทียบได้กับกาำ นันปจั จบุ ัน) และกำานัน (เทยี บไดก้ ับผใู้ หญ่บา้ นใน ปจั จบุ ัน) จ่าบา้ น หรอื สารวัตรบา้ น เปน็ ผู้ช่วยกำานนั ในช่วงทศวรรษท่ี ๒๔๖๐ - ๒๔๘๐ รัฐพยายามครอบงาำ หวั เมือง เพิม่ อกี ระดับหนงึ่ ซ่งึ สาำ คญั มากนัน้ คือการครอบงาำ ทางวฒั นธรรม โดยการตราพระราช บัญญตั ิประถมศกึ ษา พ.ศ. ๒๔๖๔ บงั คบั ให้ราษฎรทกุ คนทีม่ อี ายุถึงเกณฑต์ ้อง เรียนหนังสอื ไทย ฝา่ ยรฐั มองว่าการศึกษาจะทำาใหค้ นไทยเป็นอนั หนึง่ อันเดยี วกัน แต่คนไทยบางส่วนในหัวเมืองเห็นวา่ เปน็ การครอบงำาทางวัฒนธรรม นายโสภา พลตรี เป็นคนสาวะถีทต่ี อ่ ตา้ นระบบการศกึ ษาของรัฐบาลกลาง และยงั รวมไป ถงึ ระบบรัฐทมี่ ีความไม่เปน็ ธรรมอีกหลายเร่อื ง ซึง่ เปน็ ประวตั ศิ าสตร์อีกหนา้ หนึง่ ในยคุ สมัยพฒั นาของบ้านสาวะถี คือเร่อื งราวของนายโสภา พลตรี หรอื หมอลาำ โสภา ที่ภาครัฐกลา่ วหาวา่ เปน็ กบฏ ซ่งึ ในยคุ นัน้ มกี บฏผ้มู ีบุญเกดิ ขนึ้ ต้านอำานาจรัฐ
ถิ่น�่ ฐานบ้้านสาวะถีี 33 อยูท่ ่วั ภาคอสี าน แต่ในกรณีนายโสภา มีลกั ษณะแตกต่างจากผูม้ บี ญุ กลมุ่ อน่ื ๆ น่ัน คอื นายโสภาเป็นคนฉลาด มคี วามคดิ ทางการเมอื ง เปน็ นักปลกุ ระดมมวลชน ไม่ ยอมรับอำานาจรัฐและส่ิงแปลกปลอมใหม่ ๆ ท่ีเข้ามาสร้างความเดือดร้อนให้สังคม เขาทำางานเพ่อื มวลชนอย่างมอี ุดมการณ์ แมว้ า่ จะถูกจับติดคุกหลายครงั้ กต็ าม (สวุ ิทย์ ธรี ศาศวัต, ๒๕๔๘) ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม เมอื่ บ้านเมืองเปน็ ปกึ แผน่ ศาสนามคี วามมัน่ คง ศลิ ปวฒั นธรรมกย็ ่อมที่จะ เจริญตามไปด้วย ส่งิ ที่เปน็ ประจักษ์พยานในความเจรญิ รุง่ เรืองทางศิลปวัฒนธรรม ของบา้ นสาวะถใี นยคุ พัฒนาน้ัน คอื มีวัดวาอารามถงึ ๒ วดั คือ วัดโพธิ์ชยั ชาว บา้ นเรยี กวา่ “วัดเหนือ” และ วัดไชยศรี ชาวบ้านเรียก “วดั ใต”้ ในยุคน้ีวัดวาอารามได้รับการพัฒนามากทั้งด้านการสร้างศาสนสถาน ดา้ นการศกึ ษาปริยัตธิ รรมดา้ น ฮตี คองประเพณี หลวงปอู่ อ่ นสา ถือเปน็ บุคคล สาำ คัญท่านหนึ่งที่มีส่วนอยา่ งยง่ิ ต่อการพฒั นาวดั โดยเฉพาะในดา้ นศาสนสถานที่ ท่านไดเ้ ปน็ ผู้ออกแบบ และนาำ พาชาวบา้ นรว่ มกันสรา้ งสมิ (โบสถ)์ วดั โพธชิ์ ัย และ วัดไชยศรี สรา้ งหอแจก วัดโพธ์ิชัย รวมถงึ สร้างสรรค์งานประดบั ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะ งานแกะสลักไมท้ ที่ า่ นเชยี่ วชาญเปน็ พเิ ศษ ในด้านปรยิ ัติธรรมทั้งสองวัดมสี าำ นกั เรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม มพี ระเณร มาบวชเรยี นศกึ ษาพระธรรม คัมภรี ์อย่ไู ม่น้อย ชาวบ้านก็ให้ความเอาใจใสใ่ นการ ทาำ นุบำารงุ พุทธศาสนา เข้าวัด ฟงั ธรรม รักษาฮตี คองมไิ ดข้ าด เมือ่ ถึงชว่ งงานบุญ ประเพณชี าวบ้านสาวะถี ท้งั เดก็ ผใู้ หญ่ และผูอ้ าวุโสกจ็ ะมารว่ มกันทำาบุญทีว่ ัด อย่างอนุ่ หนาฝาค่งั วัดโพธ์ิชัยและวัดไชยศรีจึงเป็นศูนย์กลางทางศาสนา ศิลปะ และ วัฒนธรรมของชมุ ชนบา้ นสาวะถี ส่งผลใหเ้ กิดความเข้มแขง็ ในรากฐานทางสงั คม วัฒนธรรมอยา่ งตอ่ เนื่องจวบถงึ ปจั จุบัน
34 งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ สถานทสี่ าำ คัญบ้านสาวะถี ภาพจากโครงการสินไซโมเดล ชา่ งภาพ : ทวีศักดิ์ กสุ มุ าลย์ เหลา่ พระเจ้า ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ด้านทิศใต้ของบ้านสาวะถี ห่างจากวัดไชยศรีไปราว ๑ กิโลเมตร ความหมาย : เหล่าพระเจา้ คอื สถานทศี่ กั ด์สิ ทิ ธิแหง่ หน่ึงที่ชาวสาวะถี ให้ความเชือ่ ศรัทธา คาำ วา่ “เหลา่ ” หมายถงึ พน้ื ทส่ี าธารณะเปน็ พืน้ ทส่ี งู เปน็ เนิน หรอื ดอน ตามทชี่ าวบ้านเรียก มปี ่าไม้แตไ่ ม่กวา้ งใหญม่ ากนกั อยกู่ ลางพนื้ ที่ทุ่งนา ของชาวบา้ น ส่วนคาำ ว่า “พระเจา้ ” มาจาก คำาว่า พระพทุ ธเจ้า น่นั เอง เพราะใน พืน้ ทด่ี ังกลา่ วมีพระพทุ ธรูปประดิษฐานปรากฏมาตัง้ แต่ครั้งโบราณกาล ดงั น้ันเหล่า พระเจา้ กค็ อื สถานทีท่ ีม่ ีพระพทุ ธรูปอนั เปน็ ตัวแทนพระพุทธเจา้ ประดิษฐานอยู่ คน ลาว คนอสี านสมยั ก่อนนิยมเรียกพระพุทธเจา้ หรอื พระพุทธรปู วา่ “พระเจ้า” จึง เรียกสถานทีร่ วมกันว่า “เหล่าพระเจ้า” ความสำาคัญ : นอกจากเป็นสถานที่ศักด์ิสิทธ์ิสำาคัญท่ีชาวบ้านต้องไป ประกอบพิธีทำาบุญสักการะประจำาทุกปีแล้ว ในประวัติความเป็นมาของการตั้ง หมบู่ า้ นสาวะถี ยงั ไดก้ ลา่ วถึงการมาพบพน้ื ทีเ่ พ่อื ตั้งหมู่บา้ นว่าเกดิ จากการมาเล้ียง
ถิ่น�่ ฐานบ้า้ นสาวะถีี 35 ชช้าา้ งงขขอองงคคนนสสาามมคคนน ((ปปู่มู่มุกกุ ดดาาหหาารร ปปู่ค่คู าำ ำาจจา้ำ า้ำ โโงง่งง่ แแลละะปปคู่ คู่ นนงิ งิ )) ทที่บบ่ี รริเเิววณณเเหหลล่า่าพพรระะเเจจ้าา้ หหรรืออื รรออบบ ๆๆ บบรริเิเววณณนน้ี ี้ แแลล้ว้วชช้าา้ งงเเกกิดิดตต่นื ่ืนตตกกใใจจหหรรอื อื ตตกกมมันนั ววิง่ ่ิงเเตตลลดิ ดิ จจนนพพาาคคนนเเลลีย้ ยี้ งงชช้าา้ งง กกลลุ่มุ่มนนั้น้ันมมาาพพบบสสถถาานนทท่ีตี่ตั้งั้งบบ้า้านนสสาาววะะถถีแีแลละะเเหห็น็นเเปป็น็นททำาำาเเลลเเหหมมาาะะสสมมจจึงึงตต้ังั้งบบ้า้านนเเรรือือนน เเปปน็ ็นบบ้าา้ นนสสาาววะะถถีมมี าาจจนนถถงึ งึ ปปจั จั จจุบบุ ันนั นนออกกจจาากกนนนั้ ัน้ ยยงั ังมมีเเีรรือ่ อ่ื งงเเลล่า่าวว่าา่ ออีกีกววา่ ่า ใในนสสมมยั ัยกก่อ่อนนชชาาววบบ้าา้ นนจจะะมมคี ีคววาามมยยาำ าำ เเกกรรงง ไไมมก่ ่กลลา้ า้ รรุกุกลลา้ำ าำ้ ผผืนืนปป่า่าใในนบบรรเิ เิววณณนนี้ ้ีแแมม้แแ้ ตตเ่ ขเ่ ข้า้ามมาาเเกก็บ็บขขอองงปปา่ า่ หหรรอื ือเเดดนิ ินททาางงผผ่า่านนมมาาบบรริเิเววณณ นนี้ ี้ เเพพรราาะะเชเช่อื ่ือววา่ า่ มมสี สี ง่ิ ิ่งศศักกั ดด์ิสิ์สทิ ิทธธค์ิ ค์ิ ออยยปปกกปปกั กั ดดแู แู ลล ถถ้า้ามมใี ีใคครรกกรระะททำาาำ สสิ่ง่งิ ใใดดโโดดยยไไมมบ่ บ่ ออกก กกลล่า่าวว หหรรืออื ขขออออนนญุ ญุ าาตตกกม็ ็มกั ักจจะะมมอี ีอนั ันเเปปน็ น็ ไไปป สสง่ิ ง่ิ ทที่ทที่ ำาาำ ใใหห้ช้ชาาววบบ้าา้ นนปปรระะหหลลาาดดใใจจแแลละะเเลล่า่า ขขาานนกกนั ันมมาาถถงึ งึ ปปัจัจจจบุ ุบันัน คคืออื เเหหตตกุ ุกาารรณณไ์ ์ไฟฟไไหหมมท้ ท้ ีเ่ ่ีเกกิดิดขขึน้ ึน้ เเปป็นน็ ปปรระะจจาำ าำ ใในนชชว่ ว่ งงหหนน้าา้ แแลลง้ ้ง แแตต่ ่ ชชาาววบบา้ า้ นนททเี่ ่ีเหห็น็นเเหหตตกุ กุ าารรณณ์กก์ ็เเ็ลล่าา่ ตตรรงงกกนั ันวว่าา่ ไไมม่มม่ ีคคี รร้ัง้ังใใดดททไี่ ี่ไฟฟจจะะไไหหมม้เขเ้ ข้าา้ ไไปปใในนพพื้น้ืนททข่ี ่ีขอองง เเหหลล่า่าพพรระะเเจจ้า้าไไดด้ ้ จจงึ งึ เชเชื่ออ่ื วว่า่าสสถถาานนทท่แี ี่แหห่งง่ นนี้ย้ียงั ังมมีสีสง่ิ ่งิ ศศกั กั ดด์ิส์สิ ทิ ทิ ธธคิ์ ์ิคออยยปปกกปปักกั รรักักษษาาออยย่จู ู่จนนถถึงึง ปปัจัจจจุบุบันัน ดด้ว้วยยคคววาามมเเชช่ือื่อดดังังกกลล่า่าววททำาำาใใหห้ไ้ไมม่ม่มีชีชาาววบบ้า้านนคคนนใใดดกกลล้า้าเเขข้า้ามมาาบบุกุกรรุกุกผผืนืนปป่า่า บบรริเิเววณณนนี้ ้ีจจึงงึ สสง่ ่งผผลลใใหห้เ้เหหลลา่ า่ พพรระะเเจจา้ ้ายยังังคคงงคคววาามมออดุ ุดมมสสมมบบรู รู ณณ์ ์ สสรรุปุป :: เเหหลล่า่าพพรระะเเจจ้า้าจจึงึงมมีคีคววาามมสสำาำาคคัญัญใในนฐฐาานนะะทที่เี่เปป็น็นททั้ง้ังพพื้นื้นทที่แี่แหห่ง่งคคววาามม ศศักกั ดดิ์สสิ์ ิทิทธธท์ิ ิ์ท่ีช่ชี าาววบบ้า้านนใใหหค้ ้คววาามมเเคคาารรพพ ศศรรัทัทธธาา ออีกกี ททงั้ ง้ั ยยงั งั มมีคคี ววาามมสสำาำาคคัญญั ใในนฐฐาานนะะทท่ีเ่เีปป็นน็ แแหหลลง่ ง่ ศศึกกึ ษษาาธธรรรรมมชชาาตติ ิ พพชื ืชพพรรรรณณตตน้ น้ ไไมม้ด้ดง้ั ้งั เเดดมิ มิ ขขอองงพพ้ืน้นื ทที่แแี่ ถถบบนนท้ี ้ที ค่ี คี่ งงคคววาามมสสมมบบรู ูรณณอ์ อ์ กี ีก แแหห่งง่ หหนนง่ึ ่ึง
36 งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ โโนนนนเเมมือืองง หไไหชชมมยยาาศศยยรรถถออีี ึงงึ ออคททคกกเเวว่ีี่ตตมมไไาาปปง้ัง้ัืออื มมรรงง::หหททาาววมมตีต่่ีโโนนาา้ังง้ั๕๕ออยยนน๐๐ยยเเ๐๐มม::่บู่บู อืือโโนนเเนนงงมมเเตตนนนนตตงัั้ง้ินินรรออหหยยมมหหท่ทูู่ าารราายยือืองงถถททดดงึึงีส่ี่สา้้านนงงูู เเนนททดดนินิ ิศิศัังงตตเเหหชชะะรร่่นนววออืื ลลนันั ักักออททษษออสสี่่ี กกณณงงูู ขขะะออเเคคมมงงบบาำาำือือวว้า้างง่่าานนโโบบสสโโรราานนาาววนนณณะะเเถถโโมมนนีีออืื นนหหงงเเา่่ามมจจงงอือืจจงึงึ นนงงาาบบกก่า่า้าา้ววจจนนดััดะะ ภสสภาาาาววชชะะนนถถะะีแแี แแหหคคลล่งง่ววะะนนเเาาศศ้้ีีมมษษสสภภำำาาาาคคชชัญญั นนะะ::ดดกกนินิ รรเเผผมมาาศศลลิิ ใใปปบบาาเเสสกกมมรราาไไดดปปเ้เ้ ขขรร้าา้ ะะมมตตาาิิมมสสาาาาำำ กกรรรรววรรจจมมหหแแลลินนิ ะะททคครรน้น้าายยพพบบสสโโนนัับบนนรราาษิษิ ณณฐฐาาววนนตััตววถถ่า่าุุ ออเเชชาาน่น่จจ เเปป็น็นฐฐาานนศศววิิ ลลึึงงคค ์์ เเศศษษออิฐฐิ ซซงง่ึึ่ เเปปน็น็ ชช้นิ้นิ สสว่ว่ นนโโบบรราาณณสสถถาานน จจึงงึ ไไดดใใ้้ หหข้ข้ ออ้้ สสรรุปุปววา่่าเเปป็น็นชชุมุมชชนน เเกก่าา่ โโบบรราาณณรร่่ววมมสสมมัยยั กกับบั บบา้า้ นนเเชชียียงง แแตตช่ช่ าาววบบา้า้ นนสสาาววะะถถเเีี ชช่ออื่ื กกนัันวว่า่าพพ้ื้นนื ททแ่่แีี หหง่่งนนเ้ีเ้ี ปปนน็็ ววัดดั เเกก่าา่ ดดว้ว้ ยยพพบบมมใีีใบบเเสสมมาาออยยูู่่
ถิ่่�นฐานบ้้านสาวะถีี 37 หลายแหง่ กระจายอยูโ่ ดยรอบ และนอกจากความเช่อื วา่ เปน็ พืน้ ทีข่ องวัดเกา่ แล้ว ชาวบ้านยังเชื่อว่าพืน้ ทแ่ี หง่ นมี้ สี ิง่ ศักดิ์สทิ ธ์ิ มีเจ้าทีป่ กปกั ดูแลรักษาอยู่ ถ้าใครทาำ อะไรไม่ถูกตอ้ ง ไม่เหมาะสมในสถานทแี่ หง่ นีม้ ักจะมีอนั เปน็ ไป เช่นในกรณีท่ีมีคน เขา้ ไปขดุ หาของเก่าเพ่ือหวงั ไดข้ องมคี า่ เม่อื เอาไปแลว้ กม็ ีเหตตุ ้องเจ็บไข้ไดป้ ่วย จน ต้องเอากลับมาคนื บ้างก็วา่ มนี มิ ติ เหน็ พญานาคบ้าง เจา้ ที่บา้ ง ตา่ ง ๆ นานา แต่ ทพ่ี ดู ถงึ กนั มากคือเหตุการณ์ไฟไหมท้ ่ีมกั จะเกดิ ในช่วงฤดแู ลง้ แตไ่ ม่เคยมีครัง้ ใดท่ี จะไหม้เขา้ มาในเขตโนนเมอื งไดเ้ ลย ซ่ึงเปน็ เหตกุ ารณใ์ นลักษณะเดยี วกับของเหลา่ พระเจา้ สถานทศ่ี กั ดิ์สิทธิอ์ ีกแหง่ หนึ่งของชมุ ชน และยงั มอี ีกหลายต่อเหตุการณท์ ี่ ชาวบ้านได้เล่าลือสบื ต่อกนั มา สรปุ : โนนเมอื ง นอกจากทมี่ คี วามสำาคัญในฐานะแหล่งโบราณคดีเก่าแก่ ท่ีสามารถสืบยอ้ นหลังไปถงึ ยคุ ร่วมสมยั กับบา้ นเชยี ง ทวารวดี ขอมโบราณ ลา้ น ช้าง แล้วยงั มคี วามสำาคญั ในฐานะเปน็ พ้ืนท่ศี ักดส์ิ ิทธิ์ที่ชาวบา้ นใหค้ วามยำาเกรงใน ลักษณะเดียวกับดอนปู่ตา แต่ขณะเดียวกันพื้นที่โนนเมืองยังเป็นหัวใจของชุมชน คือ เปน็ แหลง่ น้ำา แหลง่ อาหาร ทท่ี าำ การเกษตรทอี่ ดุ มสมบรู ณ์ เล้ยี งดผู ูค้ นบ้าน สาวะถีใหอ้ ยดู่ ีมีสุขตลอดมา ศาลปตู่ า ท่ีตัง้ : ศาลป่ตู า ตง้ั อยู่หมู่ท่ี ๘ อย่ทู าง ทิศเหนือของบ้านสาวะถี ปจั จบุ ันพ้นื ที่ บรเิ วณศาลปู่ตาสว่ นหนึง่ ไดแ้ บง่ แยกให้ เป็นสถานที่ต้ังของสำานักงานเทศบาล ตาำ บลสาวะถี ความสสำำา�คคัญั : เปป็็นศาลทที่เ่�ี ชชื่่อ�ื วว่่าเปป็็น ทที่่�สีสิิงสถถิิตดวงววิิญญาณบรรพบบุุรรุุษชาวสา วะถถีีผีผู้�้สูสร้ร้า้ งบบ้้า้ นแปงเมมืืองมาชาววบ้บ้า้ นจะ
38 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ ประกอบกจิ กรรมอนั ใดในชีวติ ในครอบครวั หม่บู ้าน หรือเจ็บไขไ้ ด้ปว่ ย จะต้องมพี ิธี ไปบา๋ บน หรือบอกกลา่ ว คลา้ ย ๆ ใหค้ วามนบั ถือเสมือนญาตผิ ูใ้ หญ่ของคนใน ชมุ ชน เมื่อบา๋ หรอื บนสำาเรจ็ กจ็ ะต้องมีการมาปลงคอื ทาำ ตามสัญญาท่ใี หไ้ ว้ หลาย ครัง้ บางคนทหี่ ลงลมื การปลงตามสัญญา กเ็ กดิ เหตุการณ์แปลก ๆ เหมอื นเตอื น สญั ญากม็ ี จึงไม่มใี ครลบหลูห่ รือละเลยปตู่ าประจาำ หม่บู า้ น ส่วนคนท่จี ะสามารถ ตดิ ตอ่ หรือประกอบพิธตี า่ ง ๆ ได้นั้น จะถูกกำาหนดไวช้ ดั เจน โดยความเห็นชอบ เห็นดีเห็นงามของคนในชุมชนหรือแม้แต่พระผู้ใหญ่ในวัดประจำาหมู่บ้านต้องเห็น ควรดว้ ย ชาวบ้านเรียกคนทต่ี ดิ ต่อกบั ปู่ตาหรือประกอบพธิ กี รรมนวี้ ่า “จำา้ ” หรอื เฒ่าจ้าำ และพอ่ ใหญจำ้า ปจั จุบันศาลป่ตู ายงั คงความสำาคญั ต่อชุมชนชาวสาวะถไี มเ่ สอื่ มคลาย เปน็ ประจำาทุกปีก่อนทำาบุญเบิกบ้านชาวบ้านจะต้องไปทำาพิธีบอกกล่าวคารวะ และ ในวันสงกรานต์ชาวบ้าวบ้านก็จะแห่ดอกไม้ไปสักการะบูชาเพ่ือเป็นสิริมงคลกับ ตนเองและชุมชน หนองคูใหญ่ ทม่ี า : Google Earth ท่ีตั้ง : หนองแห่งน้ีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของ ชุมชนบา้ นสาวะถี ติดกับเขตบ้านงิ้ว ห่างจากวัด ไชยศรีออกไปราว ๓๐๐ เมตร ความหมาย : คำาวา่ หนองคใู หญ่ น่าจะหมายถงึ หนองน้ำาขนาดใหญ่ที่มีคันดินโดยรอบ คงมีความ หมายในลกั ษณะเดียวกบั ฝายหรอื เขื่อนท่มี กี าร ยกขนึ้ เปน็ คันดนิ ความสำาคัญ : เป็นแหล่งนำ้าสาธารณะของชุมชนบ้านสาวะถีมาต้ังแต่ครั้ง โบราณซ่ึงเดมิ เปน็ หนองนาำ้ ตามธรรมชาตไิ มม่ เี จา้ ของ ชาวบ้านในพ้ืนที่บา้ นสาวะถี
ถิ่่น� ฐานบ้้านสาวะถีี 39 ไดอ้ าศยั แหลง่ น้าำ แห่งนร้ี ่วมกนั โดยเฉพาะใชใ้ นการเกษตร ในระยะต่อมาเมื่อมี ชาวบ้านรกุ เขา้ ไปจับจองและใชป้ ระโยชนใ์ นพนื้ ท่แี หง่ นมี้ ากข้ึนหลวงปู่อ่อนสา และ ชาวบ้านสว่ นหนงึ่ เกรงว่าในอนาคตอาจจะมีการรุกลาำ้ พนื้ ที่แห่งนี้มากย่งิ ขึน้ จึงรวม กันไปขอใหท้ างการออกโฉนด เพอ่ื ให้เปน็ แหล่งน้ำาสาธารณะและช่วยกันขุดลอก และทำาเปน็ คนั คเู พอื่ การรับนาำ้ ได้ตลอดทั้งปี ปจั จุบนั หนองคใู หญ่เป็นพ้นื ทีส่ าธารณะประโยชน์ โดยมีองค์การบรหิ าร สว่ นเทศบาลตำาบลสาวะถีเปน็ หน่วยงานดแู ล วดั โพธ์ชิ ยั (ขอ้ มูลโดยกรมศลิ ปากร) ท่ีตงั้ : วดั โพธ์ชิ ยั ตงั้ อยูจ่ ดุ กงึ่ กลางบ้านป่าม่อและบา้ นสาวะถี วัดตงั้ อย่อู ยู่ บริเวณชายเนินทางด้านทิศเหนือ ทัง้ ๒ หมูบ่ า้ นเปน็ หมบู่ ้านขนาดใหญ่ตงั้ อยู่บน เนินดินเดยี วกนั ขนาดกว้างยาวประมาณ ๕๐๐ x ๑,๓๐๐ เมตร (บ้านป่ามอ่ อยทู่ าง ทิศตะวนั ตก บ้านสาวะถีอยทู่ างทศิ ตะวนั ออก) วางตัวในแนวตะวนั ตกเฉียงเหนอื - ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ขนานไปกบั ลาำ หว้ ยที่อยูท่ างด้านทศิ ใต้ของหมูบ่ ้าน ความสาำ คัญ : ภายในวดั มอี าคารสิง่ ปลกู สรา้ งถาวรหลายหลัง มีอโุ บสถ หลงั ใหม่สำาหรบั ประกอบสังฆกรรม อยู่ทางด้านทศิ ตะวันออก นอกกาำ แพงแก้วดา้ น
40 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ หลังอโุ บสถหลังใหม่ มีสิม (อโุ บสถ) กอ่ อฐิ ฉาบปูนหลงั เกา่ ต้งั อยู่ สภาพทรุดโทรม ปนู ฉาบหลดุ ร่อนเห็นอฐิ ก่อดา้ นใน โครงสร้างอาคารผกุ ร่อน หลักฐานทางโบราณคด ี ข้อมลู จากหนงั สือประวตั วิ ดั ทัว่ ราชอาณาจกั ร เล่ม ๑๒ กลา่ ววา่ วัดโพธชิ์ ยั บ้านสาวะถี ตัง้ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๐๔ โดยพระสิมมา ปภากโร เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ นายบุญจนั ทร์ เช้ือสาวะถี ผู้ใหญ่บ้าน พร้อมชาวบา้ นได้รว่ มกันสรา้ งวัด ตั้งช่อื ว่า “โพธชิ์ ัย” เน่ืองจากมีต้นโพธใิ์ หญอ่ ยู่ ๒ - ๓ ตน้ ได้รบั พระราชทานวสิ งุ คามสีมาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ ทง้ั นีเ้ รอ่ื งปที ีต่ ้ังวัดไม่ตรงกับขอ้ มูลท่ปี รากฏบนปา้ ยประวตั ิวดั โพธิช์ ัยท่ี ติดต้ังภายในวัด ระบุว่า วดั โพธิ์ชัย หรอื วดั เหนือ ตง้ั วดั เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๖๖ สมิ (อโุ บสถ) วดั โพธชิ์ ยั ไมท่ ราบปที ีก่ ่อสรา้ ง แต่ทางวดั สันนิษฐานว่า น่าจะสร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๓๖๗ หลงั จากตั้งวัด ๑ ปี โดยจัดทำาป้ายบรรยายตดิ ตัง้ ไว้ หลงั สมิ หลงั นี้ เป็นอาคารกอ่ อฐิ สอดินฉาบปูน แผนผงั ส่ีเหลย่ี มผนื ผ้า หันหนา้ ไป ทางทศิ ตะวนั ออก ขนาด ๓ ห้อง ปัจจบุ นั ทางวัดไดถ้ มดนิ ปรับพ้นื ทับสว่ นฐานเอว ขันไปแลว้ จงึ ได้ทำาการวดั ขนาดบริเวณส่วนฐานบัวควำา่ ท่โี ผล่พ้นดินข้ึนมา กว้าง ประมาณ ๕.๓๐ เมตร ยาวประมาณ ๗.๓๐ เมตร ก้อนอิฐท่ีใช้ก่อสรา้ งขนาด ๓๖ x ๘ x ๑๖ เซนตเิ มตร นบั ว่ามขี นาดใหญก่ วา่ อิฐทพ่ี บใน การก่อสรา้ งโบราณสถาน
ถิ่น่� ฐานบ้า้ นสาวะถีี 41 ทั่วไปทม่ี อี ายกุ ารก่อสร้างรว่ มสมัยกัน มีบันไดทางข้ึนดา้ นหนา้ ประตูทางเข้าทำา จากไมช้ นิด ๒ บานมีอกเลาตรงกลาง ขนาดกรอบประตู ๒.๒๐ x ๑.๑๖ เมตร ผนงั ด้านขา้ งบริเวณหอ้ งท่ี ๑ และห้องท่ี ๒ เจาะชอ่ งหนา้ ต่างส่เี หลย่ี มผืนผา้ โดยห้องท่ี ๑ เจาะเป็นชอ่ งส่เี หลี่ยมผนื ผ้าในแนวนอนขนาด ๘๐ x ๕๐ เซนติเมตร ห้องท่ี ๒ เปน็ ช่องส่เี หลีย่ มผนื ผ้าในแนวตง้ั ขนาด ๕๐ x ๑๐๕ เซนติเมตร (กรอบใน) ห้องที่ ๓ และผนังดา้ นหลังกอ่ ทึบ โครงสร้างหลังคาทำาจากไม้ มุงด้วยแป้นเกล็ด (ไม้) ต่อมาเปล่ียนเป็น กระเบือ้ งดนิ ขอ โดยซอ้ื กระเบือ้ งเกา่ มาจากบา้ นหนองปลิง (อยู่ทางด้านทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของวดั โพธช์ิ ัย หา่ งประมาณ ๓ กโิ ลเมตร) แลว้ จึงเปล่ียนมามุง สังกะสีจนถงึ ปัจจบุ ัน แตเ่ ดมิ ด้านขา้ งทงั้ ๒ ด้านและดา้ นหลงั มปี กี นกแคบ ๆ ยื่น ออกมา คลมุ แนวเสมาจำานวน ๘ จดุ (ด้านข้างละ ๓ จุด ด้านหน้าและดา้ นหลงั ดา้ น ละ ๑ จดุ ปัจจบุ ันถมดินทับไปแลว้ ) ภายหลังจึงรื้อปีกนกดา้ นขา้ งออก แล้วตอ่ ใหม่ กวา้ งกวา่ เดิมพน้ื กนั ฝนสาด ส่วนด้านหลังยงั คงเดิม (ขอ้ มลู โดย นายหนคู าน ดาสาวะ อายุ ๖๖ ปี) ด้านในติดกับผนังด้านหลังการยกพ้ืนแนวตลอดผนังสูงจากพื้น ๑ เมตรท่ี จุดกึ่งกลางมกี ารปน้ั ปนู เป็นฐานชกุ ชี(บวั คว่ำา-บวั หงาย)ยื่นออกมาเพ่อื ประดิษฐาน พระประธานใหม่ และพระไมจ้ าำ นวนหนึง่ มีต้พู ระธรรมลงรกั ปิดทอง ๑ ตู้ สภาพปัจจุบนั ตวั อาคารทรุดโทรมเปน็ อยา่ งมาก โดยเฉพาะส่วนฐานอิฐ กรอ่ นจากลมและฝน ผนงั มีรอยปรแิ ยก โครงสร้างหลังคาได้รบั ความเสียหายจาก แมลงจำาพวกมอดและปลวก ขอ้ สนั นิษฐานและการกำาหนดอายุเบือ้ งตน้ จากข้อมลู การสำารวจเบอ้ื งต้น สันนิษฐานว่า สิมวัดโพธ์ิชยั น่าจะสร้างในชว่ งประมาณ ๑๕๐ - ๑๐๐ ปมี าแลว้ หอแจกหลังเดมิ หอแจกวดั โพธิ์ชยั (เดิม) ปัจจบุ นั รอื้ ไปแล้ว เปน็ ฝมี อื ของหลวงปู่อ่อนสา ลกั ษณะเป็นอาคารหลังไม้ทงั้ หลัง อาคารทรงปราสาทหนา้ จัว่ แบบอีสาน มลี กั ษณะ โครงสรา้ งหลังคาท่ถี ูกออกแบบให้เปน็ เรือนชั้นซ้อน ตามคติการสร้างปราสาท และ
42 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ เรอื นของผมู้ ีฐานนันดรสงู ในศาสนาพุทธและพราหมณ์ ชั้นหลังคาลาด ช้ันแรก คลมุ ตัวอาคารไว้ทั้ง ๔ ด้าน ดา้ นบนหลงั คาลาดแตล่ ะด้านยกซุม้ จั่ว ดา้ นละ ๓ ตวั ตรงมุมอาคารแต่ละดา้ น อีกด้านละ ๑ ตวั ชดุ หลังคาลาดยกซุ้มจ่ัวน้ี เรียงซอ้ นกัน ขึน้ ไป ๔ ช้นั โดยไลข่ นาดกนั ตามความสูง โดยแต่ละช้ันมีองคป์ ระกอบเหมอื นกนั เกอื บทกุ ช้ัน ชัน้ บนสุดเป็นจ่ัวหลังคาคุมซอ้ นกนั ๒ ช้นั ประดับสนั หลังคาดว้ ยชอ่ ฟา้ เป็นส่วนยอดสดุ ของตัวอาคาร (ธีระวฒั น์ แสนคาำ , ๒๕๖๐) “หอแจกวดั โพธชิ์ ัย” ภาพวาดลายเสน้ วาดโดยพระ(ไมท่ ราบนาม)ท่ีเคยมาบวชอยทู่ ี่วดั โพธชิ์ ัย ว่ากันว่าหอแจกหลังน้ีหลวงปู่อ่อนสาได้แบบมาจากพม่า ในคร้ังท่ีท่านเดิน ทางไปธดุ งคท์ ปี่ ระเทศพม่า แลว้ ไดแ้ บบกลบั มาสรา้ ง ทา่ นออกแบบและควบคุม การก่อสร้างด้วยตนเอง สอดคล้องกับข้อสันนิษฐานของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ วีระทวีมาศ (๒๕๖๐) สนั นิษฐานว่า “น่าจะเป็นรปู แบบที่ได้รับอิทธิพล มาจากกลมุ่ ไทยใหญ่ (คล้ายกบั หอแจกวดั ศรีมณฑา ท่ีจังหวัดมุกดาหาร) เพราะมี ลักษณะอทิ ธิพลของสถาปัตยกรรมพม่าผสมผสานกับแบบล้านช้าง” นอกจากน้นั อาจารย ดร.ต๊ิก แสนบุญ (๒๕๖๐) ยงั ให้ความเหน็ เพิม่ เติม อีกว่า “หลังคาดูเป็นเอกลักษณ์สกุลช่างขอนแก่นพบมากในส่วนงานหลังคาหอ ธรรมาสน์ เชน่ อย่างหอธรรมมาสนว์ ดั บ้านหนองกงุ ก็มีลกั ษณะแบบน้ี แต่ดูซับซ้อน มากกว่า จงึ เป็นไปได้ทเ่ี ปน็ รูปแบบไทใหญ่ อยา่ งแถบรอ้ ยเอด็ หรอื มุกดาหาร”
ถิ่�่นฐานบ้้านสาวะถีี 43 ววัดดั ไไชชยยศศรรีี ภภาาพพจจาากกโโคครรงงกกาารรสสินินไไซซโโมมเเดดลล ชชา่่างงภภาาพพ :: ททววีศีศกัักดดิ์ิ์ กกุสุสุมุมาาลลยย์์ เอชชอเแมททกขแมกขรรลลออาากกีีัับบะะีี่่ททยียี ววลลวว้้นนววทที่ี่ตตกกบบเเัดดัิวิวแแาาั้ง้งัววลลาา้้ลััลชชขขงงกกา่า่้ีย้ยีนนแแยย่อื่ือววออ่นน่ วว์์ยยดัดัสทคททสทคววงง ขข ขขดดััววกกรรใใววตต่ีี่ีต่ต่ีหหววคคออตตัดัด้า้าโโททาา้ังงั้้ังงั้าา่า่านนพพนนงง้้ไไมมแแ่ีีจ่จงงเเชชววใใ::แแธธพพจจเเะะยยนนัดดัยยปปิ์ช์ชิกกตตรราาไไกกททเเศศยัยัปปน่น่นน็็กกาา้ััง้งมมจจรร้้ออออะะออตตมมอ่ืื่อาา ีีเเงง––ตตยยำาาำดดววัักกปปาาถถูู่่เเ้ง้ัังจจิมมิบบีีชชภภิ่ินน่หหอองงััพพเเาาุ้้มุมออสสรรยยมมหหนน..แแยยีีพพมมูชชู่่ศศู่ทู่ทววมมพพกกััยยมุมุรรัดัด..ี่่๘ี๘วว่่ววะะกกชชปป๒๒ งงปปดดััยยอ่อ่นนรร๔๔เเรรออนนืืบบนนะะคคหหะะ๐๐กกีีา้้ามมนนุ้ม้มุนนมมนนเเ๘๘าาิยิยใใ๕๕ขขืออืาาตตณณสสมม้าา้ณณมมาา้้กกมมเเเเรรววพพพีพีิโโิาา๒๒๑๑ยยีีลละะรรออน้ืนื้ ๒๒ถถกกเเ๔๔าากกีีมมททีีววะะปปตตตตี่่ีาา่่ออกกกก๑๑รรรราำำายยิิโโโิโิ““ะะบบลลลล๐๐ชชูู่่กกววมมเเลลเเุมุมจ็็จมมดดััมมาาไไสสะะชชตตรรตตใใณณาาถถตตนน่่รรรรวว๒๒ึงงึ”้้” คคะะ๓๓หห เเุุ้้มมถถแแดดมมงงเเเเีียยพพาานิินกกหหูู่ท่ท กกนนโิโิรรททนน่่ีี ลลขขออ๘๘าาาาอือื โโเเววะะาาำำงงมมดดบบาาเเบบโโสสภภตตยยตตดดาา้้าา้้วว่่ ออคครรรรนนยยนนนนกกงงเเววใใสสสสมมววชชสสจ็็จาาาาาาัดัดืืออเ้้เมมีแ่ี่แะะววสสววไไงงถถยยศศะะชชะะ้นน้ ึงึงกกรรถถ ถถยยททบบััททตตีีมีมีศศออาาจจา้า้ธธรรรรีีงงัันนนนังงังงาา๒๒ีีถถหหขขขขเเมมเเปปนนดดววววาา้้ออวว่่ นนนน็็ิมิมมมัดัดัดดังงงง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146