Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ถนนแห่งแฟชั่นผ้าซิ่่นผู้หญิงอีสานในฮูปแต้มบนสิมโบราณ

ถนนแห่งแฟชั่นผ้าซิ่่นผู้หญิงอีสานในฮูปแต้มบนสิมโบราณ

Published by kanikl, 2020-07-08 22:18:44

Description: บทความ ถนนแห่งแฟชั่นผ้าซิ่่นผู้หญิงอีสานในฮูปแต้มบนสิมโบราณ

Keywords: สิม,อีสาน,ผ้าซิ่น,ฮูปแต้ม

Search

Read the Text Version

1 ถนนแห่งแฟชั่นผ้าซิ่นผู้หญิงอสี านในฮูปแต้มสิมโบราณ บทความโดย : นาย คมกฤช ฤทธ์ขิ จร สาขา วฒั นธรรมศิลปกรรมและการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในอดีตราว 1500 ปี แฟชน่ั การแต่งกายคนในเอเชียตะวนั อออกเฉียงใตไ้ ดร้ ับอิทธิผลและวฒั นธรรม ต่างๆ จากอินเดียเขา้ มาอย่างมากมาย เช่นการนุ่งผา้ นุ่งแบบชาวอินเดีย ชาวอินเดียจะนุ่งผา้ นุ่ง ท่ีเรียกว่า โธตี (Dhoti) ซ่ึงเป็นผา้ นุ่งยาวมีการนุ่งกนั หลายแบบ เช่น นุ่งปล่อยชายเป็นถุงแบบเดียวกบั การนุ่งสโหรง หรือพบั จีบชายผา้ ขา้ งซ้ายลอดหว่างขาเหน็บไวด้ า้ นหลงั และเอาชายผา้ ขา้ งขวามาพบั เหน็บไวด้ า้ นหนา้ เป็ นชายพก บางแห่งเรียกว่า “ปัญจะ” เพราะมาจากความยาวของผา้ ขนาดประมาณ 5 หลา นอกจากน้นั ยงั มีการนุ่งแบบ โจงกระเบน โดยเฉพาะในประเทศไทยและเขมร ซ่ึงคาวา่ โจง มาจากคาวา่ “โจง-จูง” ที่แปลวา่ โยง กบั คาวา่ กระเบน แปลว่า ผาง โดยการจีบหรือม่วนชายผา้ ดา้ นหนา้ รวมกนั อยา่ ที่เรียกวา่ หางกระเบน ขณะท่ีชาวเมียร มาท้งั ชายและหญิงก็จะนุ่งโสร่งที่เรียกว่า “โลนซี” ซ่ึงถือเป็นเอกลกั ษณ์ของชาวเมียรมา นอกจากน้ียงั พบใน ประเทศ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ก็นิยมนุ่งโสร่ง (สุจิตต์ วงษ์เทศ, 2558) การนุ่งผา้ นุ่งมีให้เห็นทว่ั ไปในชาว เอเชียตะวนั ออกเฉียงใตอ้ าจกลา่ วไดว้ า่ เป็นแฟชน่ั ท่ีไดร้ ับความนิยมแพร่หลายในวฒั นธรรมการนุ่งห่ม แฟชนั่ การนุ่งผา้ นุ่งท่ีไดร้ ับความนิยมในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ “ผา้ ผืนเดียว เต่ียวพนั กาย ใชน้ ุ่งได้ ห่มก็ดี” น้ันแท้จริงแลว้ ไม่ได้มีเพียงประเทศใดประเทศหน่ึงแต่เป็ นท่ีนิยมแพร่หลายในอุษาคเนย์ ซ่ึง เปรียบเสมือน ถนนหรือ เส้นทางของแฟชนั่ ถนนแห่งแฟชน่ั หมายถึง เส้นทางหรือทางเดิน การแต่งกายดว้ ย ผา้ นุ่งจึงเป็ นแฟชนั่ ที่มีเส้นทางที่แพร่หลาย กระจายกนั อยู่มากหมายในอุษาคเนย์ ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าผา้ นุ่ง เป็นเครื่องแตง่ กายในยคุ แรกๆที่เก่าแก่มากของมนุษยโ์ ลก ต้งั แต่เริ่มรู้จกั ถกั ทอผา้ ถึงแมว้ า่ ยงั ไม่มีหลกั ฐานที่ แน่ชดั บ่งบอกถึงตน้ กาเนิดของการทอผา้ แต่ก็สามารถเทียบเคียงกบั หลกั ฐานอ่ืนๆ ซ่ึงมีความคลา้ ยคลึงกนั โดย และมีเหตุผลหลายอย่างสนบั สนุนแนวคิดท่ีว่า การทอผา้ มีวิวฒั นาการมาจากการ ทาเชือก ทอเสื่อและ การจกั สาน โดยเฉพาะลายเชือกทาบท่ีพบบนภาชนะดินเผา ซ่ึงพบเป็นจานวนมากตามแหล่งโบราณคดี ยุค ก่อนประวตั ิศาสตร์สมยั หินใหม่ เรื่อยมาจนถึงแหล่งโบราณคดีสมยั ประวตั ิศาสตร์ ซ่ึงเป็นลายเดียวกนั กบั ลาย ในผา้ ทอที่พบเห็นในแหล่งโบราณคดี (สานกั พพิ ิธภณั ฑส์ ถานแห่งชาติ, 2558)

2 ผา้ ทอเป็นรากฐานสาคัญยิ่งในการดารงชีวิตข้นั พ้ืนฐานของมนุษย์ และปัจจยั สี่ที่ขาดไม่ไดห้ น่ึงใน น้นั คือเคร่ืองนุ่งห่ม ผา้ ซ่ินเป็ นเครื่องนุ่งห่มของสตรีมาชา้ นานโดยเฉพาะในภาคพ้ืนเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ แถบลุ่มแม่น้าโขง จากการศึกษาเร่ืองผา้ ซ่ินของ สุมาลย์ โทมสั (2536) กล่าวว่า ในอดีตการทอผา้ นุ่งหรือ ผา้ ซ่ินพบวา่ เป็นเคร่ืองแต่งกายที่สาคญั ของชาวลาวและต่างใหค้ วามสาคญั กบั ความสามารถในการทอผา้ ของ สตรีเป็นอยา่ มาก สตรีท่ีมีความชานาญในการทอผา้ จะไดร้ ับการยกยอ่ งในสงั คมและเป็นท่ีหมายปองของชาย หนุ่มในสังคมเหล่าน้นั จนกลายเป็ นแฟชน่ั ว่าถา้ บา้ นใดมีลูกสาวจะตอ้ งหัดให้ทอผา้ เพื่อที่จะเป็ นท่ีชื่นชอบ ของคนในสังคมน้นั ๆ และผา้ ที่ใชน้ ุ่งห่มจะแยกออกเป็นประเภท ประเภทแรกเพ่ือใชใ้ นชีวิตประจาวนั และ อีกประเภทสาหรับใช้ในงานบุญหรือพิธีกรรมต่างๆ จึงเป็ นเหตุผลท่ีทาให้สตรีชาวลาวตอ้ งพิถีพิถนั ในการ ทอผา้ ซิ่นเพ่ือนาไปสวมใส่ในงานบุญต่างๆ ดา้ นลวดลายของผา้ ซ่ินน้นั (อรไท ผลดี, 2537) ไดก้ ล่าววา่ ลายผา้ และแฟชน่ั การแต่งกายของสตรีในอดีตแสดงถึงเป็ นวฒั นธรรม เอกลกั ษณ์ที่สาคญั ของชาติพนั ธุ์และชนเผ่า ซ่ึงสามารถเช่ือมโยงถึงประวตั ิศาสตร์ของแต่ละยุคสมยั ได้ แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิต ค่านิยม ความเชื่อต่างๆ ของแต่ละทอ้ งถ่ิน ร่วมถึงบอกเล่าถึงความเป็ นมาในอดีตไดว้ า่ ในช่วยดงั กล่าวเกิดการเป็ นแปลงดา้ นต่างๆ อยา่ ไรบา้ งในอดีตการ การเล่าเร่ืองราวนอกจาก การจดบนั ทึกแลว้ การเขียนรูปหรือจิตกรรมฝาผนงั ก็เป็นอีก สิ่งหน่ึงที่เล่าถึงเรื่องราวในอดีตได้อย่าชัดเจน และส่วนมากนิยมเขียนไว้ตามผนังวดั วาอาราม เพราะ สมยั ก่อนวดั ถือเป็นศูนยร์ ่วมของชุมชน ในภาคอีสานมีงานจิตกรรมฝาผนงั อยู่ตามวดั มากมาย ซ่ึงคนอีสานจะ เรียกวา่ “ฮูปแตม้ ” “ฮูปแตม้ ” ทางดา้ นความหมายน้นั “ฮูป” หมายถึง รูปภาพ “แตม้ ” หมายถึงการเขียนหรือการระบาย สี ตรงกบั ความหมาย คือ จิตกรรม (สนั ติ เลก็ สุขมุ ,2535) ในภาคอีสานจะนิยมเรียก อุโบสถ วา่ “สิม” ฮูปแตม้ ในสิมอีสาน ไดเ้ ขียนเร่ืองราวต่างๆไวอ้ ย่างมากมาย เช่นชาดกที่เกี่ยวกบั พระพุทธศาสนา วรรณกรรม และ เรื่องราวเก่ียวกบั วิถีชีวติ ของคนในถ่ินน้นั ๆ หรือเหตกุ ารณ์สาคญั อะไรเกิดข้นึ ในช่วงเวลาน้นั (เทพพร มงั ธานี ,2554) รวมถึงการแต่งกายดว้ ยเส้ือผา้ อาภรณ์ ฮูปแตม้ ยงั สะทอ้ นให้เห็นถึงแฟชนั่ ความนิยมในเรื่องแต่งกาย ของคนในยคุ น้นั

3 วิถีชีวติ แฟช่ันการแต่งกายของชาวบ้านภาคอสี านในอดีต : ฮูปแต้มในสิมวดั สนวนวารีพฒั นาราม บ้านหวั หนอง อาเภอบ้านไผ่ จังหวดั ขอนแก่น แฟชนั่ การแต่งกายของคนอีสานในอดีตโดยเฉพาะสุภาพสตรีน้นั จากหลกั ฐานในฮูปแตม้ ที่ปรากฏ ในสิมอีสานส่วนใหญ่จะนิยมนุ่งซ่ิน ห่มผา้ เบี่ยง องค์ประกอบของผา้ ซิ่นประกอบด้วย 1. หัวซ่ิน คือผา้ ที่ นามาตอ่ ส่วนบนหรือส่วนเอวของผา้ ซ่ิน มีความกวา่ งประมาณ 1 คืบ นิยมนาผา้ ขิดมาตอ่ เป็นหวั ซ่ิน 2. ตวั ซิ่น หรือซ่ินกลาง คือ ผ้าท่ีมีการทอเป็ นลวดลายมัดหมี่หรือลายหมี่คั่น หม่ีทิว มีความกว่างประมาณ 50 เซนติเมตร 3. ตีนซ่ิน คอื ส่วนล่างสุดของผา้ ซ่ินหรือส่วนเชิง จะนิยมต่อดว้ ยตีนจก (สุมาลย์ โทมสั , 2529) การ แต่กายน้ันสามารถบงบอกถึงชาติพนั ธุ์ ชนเผ่าของคนกลุ่มน้ันๆ (อรไท ผลดี,2537)ซ่ึงสะทอ้ นให้เห็นถึง ววิ ฒั นาการของการแต่งกายของแตล่ ะชนเผา่ ซ่ึงจะมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั โดยมีความเช่ือท่ีแตกต่างกนั ไป ดงั ปรากฏในฮูปแตม้ วดั สระบวั แกว้ บา้ นวงั คูณ ตาบลหนองเม็ก จงั หวดั ขอนแก่น จะเห็นไดว้ า่ สตรีในยคุ น้นั จะ นุ่งซ่ินคนั ต่อหัวต่อตีน ที่เป็ นเอกลกั ษณ์ของชาวลาวอีสานดงั เดิม ดงั ปรากฏเป็ นแฟชนั่ การแต่งกายดงั เดิม ของสตรีในยคุ น้นั บนฮูปแตม้ ในสิมอีสานโบราณ แฟช่ันการแต่งกายของสตรีอีสาน : ฮูปแต้มวดั สระบวั แก้ว อาเภอหนองสองห้อง จงั หวัดขอนแก่น

4 จากฮูปแตม้ ในสิมอีสานก็ปรากฏให้เห็นถึงลวดลายของผา้ ซ่ึงเป็ นลกั ษณะของลายผา้ ขิด และผา้ มดั หมี่ จึงสอดคลอ้ งกบั บทความ (วิถี พานิชพนั ธ์, 2536) กล่าวว่า ชาวอีสานส่วนใหญ่มีเชื่อสายลาว นิยมทอผา้ ขิดและผา้ มดั หม่ีเพ่ือนามาใช้เป็ นเครื่องนุ่งห่มและนามาทาเป็ นผา้ ซ่ิน การแต่งกายของคนลาว อีสานจะมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั โดยมีความเช่ือเรื่องของการใชผ้ า้ กบั แฟชนั่ การแต่งกาย โดย(เผา่ ทอง ทองเจือ ,2555) กล่าววา่ ชาวอีสานเชื่อวา่ ผา้ ลายขิดเป็ นของสูงเป็ นผา้ ห่อพระคาภีร์ สามารถป้องกนั ภูตผี ปี ศาตสิ่งชวั่ ร้ายได้ จึงไม่นามาใชท้ าเป็นเครื่องนุ่งห่มดา้ นล่าง จะใชเ้ ฉพาะส่วนบนของร้างกายเท่าน้นั เช่นผา้ ห่ม ผา้ พาด หรือผา้ เบี่ยง จะไม่นามาทาเป็นตีนซ่ิน สวนล่างของผา้ ซิ่นจะใชผ้ า้ ตีนจกมาทาเป็นตีนซิ่น ซ่ึงในฮูปแตม้ อีสาน จะสังเกตุเห็นไดช้ ดั ว่ามีการเขียนลายตีนซิ่นเป็นผา้ ตีนจกอย่าชดั เจน แฟชน่ั และการแต่งกายของสตรีอีสาน น้นั ไดร้ ับอิทธิพลจากหลายดา้ น ตนี ซ่ินลาวท่เี ป็ นรูปแบบลายตนี จก : ฮูปแต้มวดั สระบัวแก้ว อาเภอหนองสองห้อง จงั หวัดขอนแก่น อิทธิพลการใชผ้ า้ ท่ีมีผลต่อรันเวย์ (Runway) หรือเส้นทางแฟชน่ั การแต่งกายของสตรีอีสานในอดีต น้นั มีปัจจยั หลายดา้ น ผา้ บางประเภทไม่สามารถนาใชผ้ ิดประเภทไดเ้ ช่น ผา้ ขิดไม่สามารถนามาทาเป็ นตีน ซิ่นไดเ้ พราะถือวา่ ลายขิดเป็นลายสูงหากนาไปใชไ้ ม่ถูกตอ้ งคนโบราณเชื่อวา่ จะเป็นอปั มงคลต่อผใู้ ช้ หรือผา้ ตีนจกซ่ึงถือว่าเป็ นผา้ ท่ีใชท้ าตีนซิ่น จะไม่นามาใช้เป็ นผา้ สไบหรือผา้ พาดบ่า เพราะถือว่าเป็ นอปั มงคล ผา้ ปรกหรือ ผา้ คลุมหัวนาค จะนามาใช้ เฉพาะเวลาบวชนาคเท่าน้นั (เผ่าทอง ทองเจือ, 2555) นอกจากน้นั การ เขา้ มาของวฒั นธรรมใหม่ก็ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงดา้ นแฟชนั่ การแต่งกายของสตรีอีสานในอดีต เช่น จาก ฮูปแตม้ ท่ีปรากฏในสิมวดั โพธารามบา้ นดงบงั และวดั ป่ าเรไรย์ บา้ นหนองพอก ตาบลดงบงั อาเภอนาดูน จงั หวดั มหาสารคาม ซ่ึงสิมท้งั สองหลงั เป็นช่างคนเดียวกนั ในการเขียนฮูปแตม้ ซ่ึงเป็นช่างทอ้ งถิ่น ช่ือช่างจนั สาหร่าย และช่างสิงห์ เป็นชาวบา้ นดงบงั และสิมท้งั สองหลงั สร้างในสมยั พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้

5 เจา้ อยหู่ ัว รัชการที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ฮูปแตม้ การแตง่ กายของสตรีอีสานเร่ิมมีการเปล่ียนแปลงไปจาก รูปแบบตามความเช่ือและวฒั นธรรมดงั เดิมเร่ิมมีการผสมผสานวฒั นธรรมใหม่เขา้ ไปมีการนุ่งซิ่นทิ้งชายพก แบบไทยภาคกลาง ในดา้ นการขยายอานาจการทางการเมืองการปกครอง การครอบงาคนในพ้ืนถ่ินให้มี ความจงรักภกั ดีและการรวมแผ่นดินใหเ้ ป็ นเอกหรือเป็ นชาติเดียวกนั น้นั การสื่อสานในอดีต ฮูปแตม้ ท่ีสื่อท่ี สามารถเขา้ ถึงคนพ้ืนถิ่นไดเ้ ร็วและง่ายดว้ ยในอดีต วดั เป็นศูนยก์ ลางของชุมชนคนที่อาศยั ในชุมชนจะไปทา กิจกรรมหรือพิธีกรรมส่วนใหญ่ท่ีวดั การส่ือความเป็ นสยามโดยผ่านการแต่งกายของผูห้ ญิงในฮูปแตม้ ถือ เป็ นการแสดงให้เห็นถึงการแพร่กระจายทางการเมืองและอานาจอีกในมุมหน่ึง ซ่ึงส่งผลถึงรูปแบบการนุ่ง ซิ่นที่มีการเปล่ียนแปลงไปของผูห้ ญิงในยคุ น้ัน โดยมีการเมืองการปกครองแฝงอยู่ในแฟชนั่ การนุ่งห่มของ ผหู้ ญิง การนุ่งซิ่นทิง้ ชายพกอทิ ธพิ ลจากวฒั นธรรมใหม่เข้ามา : ฮูปแต้มวดั โพธาราม บ้านดงบงั อาเภอนาดนู จังหวัดมหาสารคาม การนุ่งซิ่นของชาวอีสานเร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงมากข้ึนเม่ือมีวฒั นธรรมอ่ืนเขา้ มา จากแต่เดิมสตรี อีสานจะไม่นุ่งโจง แต่เมื่อมีวฒั นธรรมใหม่แพร่กระจายเขา้ มา มีการติดต่อคา้ ขายกบั ชาวต่างชาติ สินคา้ ชนิด หน่ึงที่ชาวต่างชาตินาเขา้ มาแลกเปล่ียนคา้ ขายกบั คนลาวอีสานคือ ผา้ แพรพรรณต่าง ๆ รวมถึงวฒั นธรรม แฟชั่นการแต่งกายของชาวต่างชาติต่างถ่ินท่ีนาเขามา (เผ่าทอง ทองเจือ, 2558) การติดต่อสัมพนั ธ์ของ ชาวต่างชาติ ต่างถิ่นกับชาวลาวอีสาน จึงเป็ นปัจจยั หน่ึงที่ทาให้แฟชั่นการแต่งการก็เร่ิมเปล่ียนแปลงไป เพราะไดร้ ับอิทธิผลจากวฒั นธรรมใหม่ที่เขา้ มา ค่านิยมและแนวความคิดต่างๆก็เร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงไป เช่นกนั ดงั ท่ีเห็นไดจ้ ากหลกั ฐาน ฮูปแตม้ ในสิมวดั โพธาราม บา้ นดงบงั อาเภอนาดูน จงั หวดั มหาสารคาม เป็ นภาพที่มีการค้าขายกับชาวต่างชาติและมีแฟชั่นการนุ่งโจงเขามา ซ่ึงในภาพแสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงทางแฟชน่ั การแต่งกายของสตรีชาวลาวอีสาน

6 การตดิ ต่อค้าขายกบั ชาวต่างชาติและแฟชั่นการนุ่งโจงของสตรีอสี าน : ฮูปแต้มวดั โพธาราม บ้านดงบงั อาเภอนาดูน จงั หวดั มหาสารคาม ฮูปแตม้ ในสิมอีสานน้นั สามารถสื่อใหเ้ ห็นไดห้ ลากหลายมิติ ไม่วา่ จะเป็ นในดา้ นสถาปัตยกรรม การ เป็นอยู่ การดารงชีพและแมแ้ ต่แฟชน่ั การแต่งกายของสตรีอีสาน ซ่ึงส่วนหน่ึงมาจากสาเหตุการไหลลื่นทาง วฒั นธรรมจากถิ่นอื่นท่ีเขา้ มาในดินแดนอีสานและการที่มีชาวต่างชาติเขา้ มาอาศยั ในถ่ินอีสานเป็ นจานวน มากจึงเป็ นปัจจยั สาคญั ที่ทาให้หลายส่ิงอยา่ ในดินแดนอีสานแห่งน้ีเปลี่ยนไป ร่วมถึงการแต่งกายของสตรี อีสานดว้ ย (วิทย์ บณั ฑิตกุล, 2555) การแต่งกายแบบสมยั นิยมของสตรีอีสานจึงอุบตั ิข้นึ ดว้ ยแพร่กระจายเขา้ มาในสังคมและวฒั นธรรมใหม่ทาใหช้ าวอีสานตอ้ งมีการปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สิ่งแวดลอ้ มและสังคมในขณะน้นั ซ่ึงตรงกับทฤษฎีหน้าที่นิยม ของนักสังคมวิทยา ทลั คอตต์ พาร์สันส์ (Talcott Parsons) ซ่ึงได้กล่าวไวว้ ่า มนุษยท์ ่ีอาศยั อยใู่ นสังคมจะตอ้ งมีการปรับตวั เพื่อใหส้ ามารถอย่รู อดไดใ้ นสังคมน้นั และตอ้ งมีการบูรณาการ ให้สามารถอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ย่าปกติสุขได้ หากมนุษยท์ ี่อาศยั อยู่ในสังคมน้นั ไม่มีการปรับตวั ไดก้ ็อาจจะทาให้ อยู่ในสังคมน้นั ไม่ได้ มนุษยจ์ ึงมีความจาเป็นที่จะตอ้ งปรับเปล่ียนตวั เองให้เขา้ กบั สังคมน้นั ๆ ท่ีตนเองอาศยั อยู่ สอดคลอ้ งกบั ทฤษฎีการแพร่กระจ่าย ของสานกั อเมริกนั ที่ต้งั สมมุติฐานไวว้ า่ ที่ใดไม่มีอุปสรรคในการ เดินทางของมนุษย์ วฒั นธรรมจากท่ีหน่ึงยอ่ มแพร่กระจายจากที่หน่ึงไปยงั ท่ีหน่ึงไดไ้ มม่ ากกน็ อ้ ยและอาจจะ มีวฒั นธรรมบางส่วนที่เหมือนวฒั นธรรมตน้ ทาง เช่นการละเล่นหรือกแมแ้ ต่การแต่งกายก็เป็นอีกส่วนหน่ึง ท่ีมีผลกระทบกบั วฒั นธรรมประเพณีเดิม จะเห็นไดจ้ าก ฮูปแตม้ ที่ปรากฏในสิม วดั บา้ นประตูชยั อาเภอธวชั บุรี จงั หวดั ร้อยเอ็ด มีการแต่งกายที่แปลกไปจากลาวอีสานทว่ั ไป ผูห้ ญิงจะนุ่งซ่ินทิ้งชายพกแบบภาคกลาง ซ่ึงเป็นอิทธิพลของการแตง่ กายของกรุงรัตนโกสินทร์

7 ฮูปแต้ม การบูรณาการด้านแฟช่ันการแต่งกายและวิถีชีวิตของชาวร้อยเอด็ ทไี่ ด้รับอิทธพิ ลจากกรุงรัตนโก สินทร : สิมวัดบ้านประตูชัย ตาบลนเิ วศ อาเภอธวชั บุรี จังหวดั ร้อยเอด็ จากการศึกษาแฟชน่ั การแต่งกายของสตรีที่ปรากฏในฮูปแตม้ สิมอีสาน สะทอ้ นให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม วฒั นธรรม การเป็ นอย่วู ิถีชีวิตของชุมชนที่เปลี่ยนไป จากขนบประเพณีแบบเดิม โดยที่เห็นได้ ชดั เจน คือ สตรีอีสานท่ีสืบเช้ือสายมากลาว การแต่งกายจะมีเร่ืองความเชื่อและขนบประเพณีท่ีชดั เจนดงั ท่ี กล่าวมาแลว้ เช่น การนุ่งซ่ิน จะตอ้ งมีหัวซ่ินท่ีต่อดว้ ยผา้ ขิด ตีนซิ่นต่อดว้ ยผา้ ตีนจก ผา้ เบ่ียงหรือผา้ กราบจะ ไมนาเอาตีนจกมาทาเป็นผา้ เบี่ยงหรือผา้ กราบเพราะเชื่อวา่ เป็นอปั มงคล และการนุ่งซ่ินจะไม่ทิง้ ชายพก จะนุ่ง ซิ่นมดั หม่ี เป็ นตน้ เมื่อมีการเปล่ียนแปลงทางสังคมและมีผูค้ นจากถ่ินอ่ืนเขา้ มาอาศยั อยู่ในชุมชนอีสาน จึง เป็นไปไดท้ ่ีจะรับอิทธิพลจากผทู้ ี่เขา้ มาอาศยั ใหม่ในดินแดนอีสานและไดน้ ามาเผยแพร่จนเกิดการเรียนแบบ และการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ยึดติดกบั แบบแผนเดิม การติดต่อคา้ ขายกบั คนภายนอกชุมชนก็เป็ นอีกปัจจยั หน่ึงที่ทาใหแ้ ฟชนั่ กายแต่งกายของสตรีอีสานเปล่ียนไป จากรูปแบบเดิม ท้งั หมดที่กล่าวมา พบว่าอิทธิพลของการแพร่กระจ่ายทางวฒั นธรรมและการปรับตวั ของมนุษย์ เพื่อให้ตนเองอยู่รอในสังคมน้ัน เป็ นส่ิงจาเป็ นท่ีซ่ึงท้ังหมดเกิดจากการประปนและเปล่ียนแปลงใน หลากหลายมิติของมนุษยเ์ พ่ือความอยู่รอด ดังน้ันมนุษยท์ ี่อาศยั อยู่ในสังคมจะตอ้ งมีการปรับตัวเพื่อให้ สามารถอยู่รอดไดใ้ นสังคมน้นั และตอ้ งมีการบูรณาการให้สามารถอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ ปกติสุขได้ หากมนุษยท์ ี่ อาศยั อยู่ในสังคมน้ันไม่มีการปรับตวั อาจจะทาให้อยู่ในสังคมน้ันไม่ได้ มนุษยจ์ ึงมีความจาเป็ นท่ีจะตอ้ ง ปรับเปล่ียนตวั เองให้เขา้ กบั สังคมน้ันๆ ท่ีตนเองอาศยั อยู่ สอดคลอ้ งกบั ทฤษฎีการแพร่กระจ่าย ของสานัก อเมริกัน ท่ีต้ังสมมุติฐานไวว้ ่า ที่ใดไม่มีอุปสรรคในการเดินทางของมนุษย์ วฒั นธรรมจากท่ีหน่ึงย่อม แพร่กระจายจากที่หน่ึงไปยงั ที่หน่ึงไดไ้ ม่มากก็นอ้ ยและอาจจะมีวฒั นธรรมบางส่วนที่เหมือนวฒั นธรรมตน้ ทาง

8 ถนนแห่งแฟชนั่ ผา้ ซิ่นผหู้ ญิงอีสานในฮูปแตม้ สิมโบราณ เป็นภาพท่ีสะทอ้ นใหค้ นในปัจจุบนั ไดเ้ ห็น และทราบถึงประวตั ิศาสตร์ความเป็ นมาของอดีต โดยเฉพาะการนุ่งซิ่นของผูห้ ญิงอีสานในฮูปแต้มท่ี เปรียบเสมือน “ถนนของนกั ออกแบบแฟชนั่ เคร่ืองแต่งกายในปัจจุบนั ที่นกั ออกแบบเส้ือผา้ ไดอ้ อกแบบตาม ยคุ สมยั และตามอิทธิพลของศิลปวฒั นธรรมท่ีมีการแพร่กระจ่ายเขา้ มาในสังคมที่นกั ออกแบบอาศยั อยซู่ ่ึงได้ มีการถ่ายทอดผ่านผา้ เส้ือผา้ อาภร ซ่ึงไม่ต่างกบั ช่างเขยี นที่เขียนฮูปแตม้ ตามจินตนาการ ตามศิลปวฒั นธรรมท่ี มีการแพร่กระจายเขา้ มา ดงั ปรากฏใหเ้ ห็นในในสิมอีสานโบราณ”

9 เอกสารอ้างองิ สันติ เลก็ สุขมุ . จิตรกรรมไทยแบบประเพณี สุโขทยั ธรรมมาธิราช : 2535 สุมาลย์ โทมสั . รายงานการวิจยั เร่ืองผ้าและประเพณีการใช้ผ้าไทย สถาบนั คดีศึกษา,2529 แพทรีเชีย ชีสแมน แน่นหนา.ผ้าเอเชีย : มรกดร่วมทางวฒั นธรรม : อมั รินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พบั ลิซ ซิ่ง จากดั (มหาชน),2536 เผา่ ทอง ทองเจือ. ภูมิปัญญาผา้ ไทย : สารานุกรมภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย : htt://app.1.bedo.or.th/generallnfo. เทพพร มงั ธานี. 2554 ฮูปแต้มในสิมอสี าน : ภาพสะทอ้ นความหลากหลายของลทั ธิความเชื่อ. วารสารศิลปะกรรมศาสาตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. ป่ี ที่3 ฉบบั ที่ 1. ขอนแก่น : คลงั นานา วถิ ี พานิชพนั ธ.์ ผ้าเอเชีย : มรกดร่วมทางวฒั นธรรม : อมั รินทร์พริ้นติง้ แอนด์ พบั ลิซซ่ิง จากดั (มหาชน),2536 พพิ ธิ ภณั ฑส์ ถานแห่งชาติ : มรดวัฒนธรรมบ้านเชียง : พิพิธภณั ฑส์ ถานแห่งชาติ ขอนแก่น ,2558 อรไท ผลดี. ผ้าไทย : 2537 ปี รณรงคว์ ฒั นธรรมไทย คณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ : โรงพิมพค์ ุรุ สภาลาดพร้าว เผา่ ทอง ทองเจือ. ภูษาแพรพรรณ สายสัมพนั ธ์อาเซียน : กรุงเทพฯ บริษทั ที.เค.เอส สยามเพรส แมเนจเมนท์ จากดั ,2558 วทิ ย์ บณั ฑิตกลุ . ราชอาณาจกั รไทย : กรุงเทพฯ สถานพรบุ๊คส์ ,2555