Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความ : รสความรักในวรรณกรรมสินไซที่ปรากฎบนฮูปแต้มสิมอีสาน

บทความ : รสความรักในวรรณกรรมสินไซที่ปรากฎบนฮูปแต้มสิมอีสาน

Published by kanikl, 2020-12-22 03:07:40

Description: บทความ : รสความรักในวรรณกรรมสินไซที่ปรากฎบนฮูปแต้มสิมอีสาน

Keywords: ฮูปแต้ม,สิม,อีสาน

Search

Read the Text Version

รสความรกั ในวรรณกรรมสนิ ไซที่ปรากฏบนฮปู แตม้ สิมอสี าน ฉตั รชญา ปรอื ทอง นักศึกษาปรญิ ญาโท สาขาวฒั นธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ บนนำ วรรณกรรมสินไซ ได้รับการยกยอ่ งจากนักวรรณคดวี ่าเปน็ สดุ ยอดของวรรณกรรมประเภทมหากาพย์ กลอน ท่ีมีความไพเราะ งดงาม รวมถงึ เชิงชั้นในการประพนั ธท์ ่ีเปน็ เลศิ (โสวิทย์ บำรงุ ภักดิ์, 2560) ซ่ึงก็ตรงกับที่ มนั่ จงเรียน ได้แสดงทรรศนะไว้วา่ สงั ข์สนิ สช์ ยั เปน็ กวเี อกของทา้ วปางคำ เปน็ วรรณคดีช้นั เลิศของอสี าน ท่ีผู้อา่ น จะไดท้ ้งั รสไพเราะ เนอื้ หาสาระในแงต่ า่ งๆมากมาย วรรณกรรมสนิ ไซมีการแพร่หลาย ในลักษณะจติ รกรรมฝาผนัง คอื เป็นอันดบั สองรองจากรามเกียรต์ิ แตจ่ ติ รกรรมฝาผนังเรอื่ งสงั ขส์ ินชัยปรากฏมากทสี่ ดุ ในอสี าน ซึง่ อดุ ม บัวศรี (2546) ก็ได้แสดงทรรศนะไวว้ ่า วรรณกรรมทม่ี ีคณุ คา่ จะถูกนำมาเขยี นบนสิมในสมัยก่อน ซง่ึ เมอื่ พดู ถงึ การ แพรห่ ลายของวรรณกรรมสนิ ไซแลว้ น้ัน ก็ปรากฏแพรห่ ลายในหลายรปู แบบด้วยกัน เชน่ การนำเร่อื งสินไซไปแสดง เป็น หมอลำ หนงั ประโมทยั ภาพจติ รกรรมฝาผนังทป่ี รากฏในจงั หวดั เลย ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด อบุ ลราชธานี และบรุ รี มั ย์ และแพรห่ ลายในรูปหุ่นตวั ละครมอี ยตู่ ามสำนกั ตา่ ง ๆ ในภาคอีสาน จากข้อมลู ดังกล่าวขา้ งต้นประกอบกบั การลงพนื้ ทศ่ี กึ ษาดูงานด้านศิลปะและวฒั นธรรมอสี าน ระหว่าง วันท่ี 3-6 กนั ยายน 2563 ผูเ้ ขยี นได้ปรากฏเห็นฮปู แต้มสมิ อสี านท่ีมเี ร่ืองราวของวรรณกรรมสินไซอยู่หลายวดั แตท่ ่ี สนใจคือ ภาพทป่ี รากฏตอนดา่ นเทพกนิ รี ซ่งึ ด่านนีถ้ ูกเขียนไวอ้ ยู่ 2 วัดดว้ ยกนั ไดแ้ กว่ ั ดสนวนวารีพัฒนาราม บ้าน หวั หนอง ตำบลหวั หนอง อำเภอบ้านไผ่ จงั หวัดขอนแก่น และสมิ อสี าน วัดประตชู ยั บ้านประตูชยั ตำบลนเิ วศน์ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดรอ้ ยเอ็ด ผู้เขียนจึงเกดิ แนวคิดที่จะวิเคราะห์ ตีความเนื้อหาจากวรรณกรรมสินไซตอนดา่ นเทพกินรีท่ตี รง กับภาพที่ปรากฏบนฮูปแต้ม โดยใช้ทฤษฎีภาวะและรส ของภรตมุนีในคัมภีร์นาฎยศาสตร์ ซึ่งเป็นทฤษฎีทาง ตะวนั ออกทเ่ี กย่ี วข้องกบั การแสดงมาใชใ้ นการตคี วามเพ่อื แสดงให้เห็นถึงปจั จัยตา่ งๆ ท่ีทำให้เกิดอารมณ์ ความรสู้ ึก และการแสดงออกทางพฤติกรรมความเปน็ มนุษย์ โดยจำแนกถงึ “ภาวะ” ไดแ้ ก่ สภาพการณท์ ่ีปรากฏ เหตุที่นำพา ให้เกิด และเหตสุ ่งเสรมิ จนทำใหเ้ กดิ “รส” อนั ประกอบไปด้วย “นวรส” หรอื รสทง้ั 9 ได้แก่ 1) ศฤงคาระรส (รส คอื เหตุใหเ้ กดิ ความรกั ) 2) หาสยะรส (รสคือเหตใุ หเ้ กดิ การหัวเราะ) 3) กรณุ ารส (รสคือความกรุณา) 4) เราทระรส (รสคือความดุร้าย) 5) วรี ะรส (รสคือความกลา้ ) 6) ภยานะกะรส (รสคอื ความกลัว) 7) พีภตั สะรส (รสคือความเบอ่ื )

8) อัทภุตะรส (รสคือความอัศจรรย์ใจ) และ 9) ศานติรส (รสแหง่ ความสงบ) เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้ ผูอ้ า่ นเกดิ อารมณ์ ความรสู้ ึก โดยจะหยิบยกแค่เน้อื หาท่ตี รงกับฮปู แต้มทปี่ รากฏ ความเปน็ มาของวรรณกรรมสินไซ วรรณกรรมเรือ่ ง สนิ ไซ มีอยหู่ ลายฉบับ หลายสำนวน ส่วนใหญม่ กี ารศกึ ษาจาก 2 ฉบับ คอื ฉบบั ลาว โดย มหาสลิ า วรี ะวงส์ เป็นผปู้ ริวรรต และฉบบั ภาคอสี านของไทย โดยมหาปรชี า พิณทอง เป็นผู้ปริวรรต ซง่ึ นัทธ์หทัย วนาเฉลิม ได้อธบิ ายที่มาของวรรณกรรม เรอื่ ง สินไซ ไวว้ า่ “เรอื่ ง สนิ ไซ ฉบบั ล้านช้าง นักวชิ าการส่วนใหญเ่ ชอื่ วา่ ถูกแตง่ ขน้ึ ในสมยั พระเจา้ สรุ ิ-ยวงศาธรรมกิ ราช (ครองราชย์ พ.ศ.2181-2235) ซ่ึงเปน็ ยุคทีอ่ าณาจกั รลา้ นชา้ ง รงุ่ เรืองสงู สุดในดา้ นการปกครอง โดยมหาสลิ า วรี ะวงส์ ไดส้ นั นิษฐานว่าแตง่ ขึน้ ในปี พ.ศ.2193 ท้าวปางคำ เจา้ เมอื งหนองบัวลำภเู ปน็ ผรู้ จนาประพนั ธข์ ึน้ บางฉบบั กลา่ ววา่ ปราชญท์ เี่ ป็นพระสงฆเ์ ชอื้ สายลือ้ ในสมัยสมเด็จพระ เชษฐาธิราชเจ้าเป็นผเู้ รมิ่ ต้นนำมาประพนั ธ์ขนึ้ ใหม่ แตก่ เ็ ปน็ ขอ้ สันนิษฐานทห่ี ลากหลายซ่ึงยังไม่สามารถระบลุ งไป ได้อย่างแน่ชัด (นัทธ์หทยั วนาเฉลมิ , 2558)” จากขอ้ มลู วรรณกรรมสินไซข้างต้น นัทธห์ ทัย วนาเฉลิม ไดอ้ ธบิ ายที่มาของผูป้ ระพนั ธส์ ินไซฉบบั ลา้ นช้าง แต่ไมส่ ามารถระบุไดอ้ ยา่ งชัดเจน ในขณะที่ ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ์ ได้แสดงทรรศนะความหมายท่มี ีความ สอดคล้องกัน ไวว้ ่า “วรรณกรรมเรือ่ ง สินไซ เขยี นขน้ึ ในรชั สมัยของพระเจา้ สรุ ิยวงศาธรรมกิ ราช (2176-2241) ซ่ึง เปน็ สมยั ท่ีอาณาจกั รล้านชา้ งมีความสงบรม่ เย็น เดมิ เชื่อกนั ว่าผปู้ ระพันธ์คือ ท้าวปางคำ ซ่ึงคำวา่ สินไซ เป็นคำที่ เขยี นมาจากอักษรไทน้อยในใบลาน เป็นภาษาลาวลา้ นชา้ งมาจาก 2 คำ คือ สนิ ซ่งึ หมายถงึ ทรัพยส์ นิ สงิ่ ของทอง มคี ่า อย่างหนึ่งหมายถงึ ตัด หรอื ตัดสิน ตดั ให้ขาด ทำใหเ้ กดิ ความสวยงามเหมาะสม อาจหมายถงึ ความเขม้ แขง็ ความแขง็ แกรง่ ความเยือกเย็น ความปกติ เปน็ เสียงทพ่ี อ้ งกนั กับคำว่า ศลี ส่วนคำวา่ ไซ มคี วามหมายว่า ชยั ชนะ ถึงทางตนั สุดทา้ ยสู้ หรืออาจหมายถงึ เคร่อื งดกั ปลา รวมความไดว้ า่ สนิ ไซ จึงหมายถึง ชยั ชนะอยา่ งมคี ่า หรือชยั ชนะอย่างมศี ลิ ป์ ซึ่งเขยี นเปน็ ภาษาไทยวา่ ศลิ ป์ชยั (ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ์, 2557) ท้ังนี้เน้ือหาในวรรณกรรมสนิ ไซน้นั ยังเปน็ ทนี่ ยิ มและถูกนำมาเขยี นบนผนังสมิ (โบสถ)์ ซงึ่ จะพบไดม้ ากทส่ี ดุ ในแถบภาคอีสาน เนื้อหาส่วนใหญ่ที่ปรากฏเหน็ จะเป็นตอนที่สินไซผจญภัย 9 ด่านมหาภัย ซึ่งหนึง่ ในนั้นกม็ ีดา่ น เทพกินรีทีผ่ ู้เขียนเกิดความสนใจ ด่านเทพกินรีจะแตกต่างจากทั้ง 8 ด่านที่ว่า ไม่ได้เกิดการสู้รบแต่อย่างใดแตจ่ ะ เปน็ ดา่ นทส่ี ินไซนน้ั เกิดหลงรักเขา้ กบั เหล่านางเทพกินรี ผ้เู ขียนจงึ เลง็ เห็นประเดน็ ความรักในวรรณกรรมสินไซโดย จะวิเคราะหโ์ ดยใช้ทฤษฏภี าวะและรสเพอ่ื ให้ทราบถึงปัจจยั ต่างๆ ท่ีทำใหผ้ ู้อ่านเกิดอารมณ์ ความรูส้ ึก โดยจะหยิบ ยกแค่เน้อื หาท่ีตรงกับฮปู แตม้ ทปี่ รากฏ

พวู ะนาถทา้ ว สวยสอดคำเคย ฮปู แต้มวดั ประตูชยั นางทั้งหลาย แกวง่ แพนเฟอื นฟ้อน สภาพการณท์ ป่ี รากฏ คอื สนิ ไซเอ่ยวาจาเก้ยี วเหล่านางเทพ กินรี นางทงั้ หลายก็ตอบรับพากับขบั ระบำรำฟอ้ น หมายถึง บาฮามฮู้ แสวงไซซมซื่น รติภาวะ (ภาวะรัก) สง่ ผลใหเ้ กิดรส คือ ศฤงคาระรส (รสคอื รสแหง่ ความรกั ) พระกห็ ลงิ ฮบู นอ้ ง เพงิ แท้ถกื ทวง ฮปู แต้มวัดสนวนวารีพฒั นาราม สองสวาทกนั้ ฮักเฮง่ มมี าย สภาพการณท์ ปี่ รากฏ คอื สินไซโอโ้ ลมนางกินรเี กียงคำ นางกป็ ระสงคย์ ินดีเสพสมภิรมยห์ มาย หมายถึง รติ มีซอนซงิ ลูบนมในผา้ ภาวะ (ภาวะรัก) สง่ ผลให้เกิดรส คอื ศฤงคาระรส (รสคอื รสแห่งความรัก) ยนยนพอ้ ม นางกะสงิ ปะสงคเ์ สพ เส่ยี งปแี่ ก้ว กมกอ้ งลอ่ งไพ

ฮปู แต้มวดั ประตชู ยั เนอื ดเนือดเน้ือ นางเทพกนิ ะรี สภาพการณท์ ปี่ รากฏ คือ สนิ ไซเหน็ นางกนิ รนี างหนงึ่ นามว่า เซ็งว่านางเกียงคำ ลูกจอมใจกวา้ ง เกียงคำ นางน้ันรปู โฉมโนมพันงดงามราวกับนางกษัตรยิ ์ ท้าว เป็นกะสัตวเ์ ซือ้ เขาขวางขามราช สินไซน้นั ชืน่ ชมและหลงรกั นาง จากสภาพการณห์ มายถงึ รติ อวนอ่อนเจ้า คำลา้ นลกู อินท์ ภาวะ (ภาวะรกั ) ยังยงิ นางกะสตั ร์ สง่ ผลให้เกดิ รส คือ ศฤงคาระรส (รสคือรสแห่งความรกั ) ดดู ่ังสมี าดแมง้ ซื่นซมสงวนนอ้ ง พูมีไซ ทฤษฎีภาวะและรส ของภรตมนุ ี ในคัมภีรน์ าฎยศาสตร์ เป็นทฤษฎที างตะวนั ออกทเี่ ก่ียวข้องกบั การแสดง ผู้เขียนนำมาใชใ้ นการตคี วามเพอ่ื แสดงใหเ้ ห็นถงึ ปจั จยั ตา่ งๆ ทที่ ำให้เกิดอารมณ์ ความรสู้ กึ โดยจำแนกเป็นภาวะท้งั 9 เหตอุ ันทำใหเ้ กิด รส ซึง่ เน้อื หาจากวรรณกรรมท่มี ีเนอ้ื หาตรงกบั ฮูปแต้มที่ปรากฏอยูท่ ่ีวัดสนวนวารพี ฒั นาราม บา้ นหัวหนอง ตำบลหัวหนอง อำเภอบา้ นไผ่ จงั หวัดขอนแก่น และวดั ประตูชัย บ้านประตูชัย ตำบลนเิ วศน์ อำเภอ ธวัชบรุ ี จังหวัดร้อยเอด็ ปรากฏภาพเขียนตอนดา่ นกินรอี ยู่ 3 ภาพ เมือ่ นำมาถอดรสแล้วปรากฏว่าเปน็ ศฤงคาระ รส (รสแห่งความรกั ) ทัง้ หมด กลา่ วโดยสรุป ภาพเขยี นฮปู แตม้ ตอนด่านเทพกินรใี นวรรณกรรมสินไซ เมอ่ื นำมาวเิ คราะหป์ ระกอบกับ เน้ือหาในวรรณกรรมโดยใชท้ ฤษฏภี าวะและรสแล้ว ปรากฏวา่ เป็น ศฤงคาระรส (รสแหง่ ความรัก)

อ้างองิ นทั ธ์หทัย วนาเฉลิม.สะกดรอยสินไซ.กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทร์พร้นิ ติ้งแอนด์พบั ลชิ ช่งิ , 2558 ทรงวิทย์ พมิ พะกรรณ์.สานสัมพนั ธ์วรรณกรรมไทย-ลาว ฟน้ื ฟูภูมิปัญญาผญาพามว่ น.ขอนแก่นการพมิ พ์, 255 โสวิทย์ บำรงุ ภักด์ิ. การศึกษาวเิ คราะห์พุทธจริยศาสตร์.มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขต ขอนแก่น, 2560 อุดม บวั ศรี.วฒั นธรรมอสี าน Esan culture.ขอนแกน่ :โรงพมิ พ์คลงั นานาวทิ ยา,2546