Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบูชาผีหลวงพระบางตามความเชื่อของชุมชนหลวงพระบาง

การบูชาผีหลวงพระบางตามความเชื่อของชุมชนหลวงพระบาง

Published by kanikl, 2020-08-19 22:23:13

Description: การบูชาผีหลวงพระบางตามความเชื่อของชุมชนหลวงพระบาง

Keywords: การบูชาผี,ผี,หลวงพระบาง

Search

Read the Text Version

1 การบูชาผีหลวงพระบางตามความเช่ือของชุมชนหลวงพระบาง นายกิติศกั ด์ิ จนั ทร์ขามป้อม รหสั 6172200198 สาขาวฒั นธรรมศิลปกรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น การบูชาผอี นั หลากหลายรูปแบบของชาวหลวงพระบางโดยใชต้ วั บายศรีหรือเคร่ืองบูชาขนั หมาก เบง มกั พบอยใู่ นชุมชน อาคารบา้ นเรือน ที่อยอู่ าศยั ตามความเชื่อในเร่ืองของการบูชาผี อนั เก่ียวเนื่องกบั ความตายหรือหลงั ความตาย โดยมีนยั ยะท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ผีบรรพบุรุษ ความเจริญทางวตั ถุแบบตะวนั ตกก็ ยงั มีส่ิงท่ีเป็ นด้งั เดิมอยู่ คือ ความเชื่อ แลว้ นับวนั มนั จะเพิ่มพูนข้ึนมา ในชนบทมีผีอยู่สามระดบั ดว้ ยกนั ผที ี่เป็นหลกั คอื ผีเรือน ในเรือนจะตอ้ งมีผีดูแล เพราะฉะน้นั หนุ่มๆ ตา่ งถ่ิน พอเขา้ ไปบา้ นเขา เขาตีหัวเอา นะ ถา้ หากว่าเขา้ ไปอย่างผลีผลาม คือ ผิดผี แต่ผีเรือนน้ีจะไม่ปรากฏรูปร่าง เขาจะอยู่ที่เสาบา้ งอะไรบา้ ง มนั เป็ นสัญลกั ษณ์มากกว่า ถดั จากผีเรือนก็ คือ ผีบา้ น คือผีชุมชน มีผีป่ ูตา ตามชุมชนหมู่บา้ น ถา้ เป็ น ชุมชนเมืองก็มีผีเมือง ผีเมือง คือ มเหศกั ด์ิหลกั เมือง เป็ นผีประจาเมือง แลว้ เขาเชื่อว่าผีประจาเมืองคือ วิญญาณเจา้ นายสูงศกั ด์ิที่สิ้นชีวิตไปแลว้ แต่ผีบา้ นคือวิญญาณของป่ ูยา่ ตายาย แต่ไม่ไดเ้ จาะจงว่าเป็ นใคร เพราะฉะน้ันระดบั ผีบา้ นคือป่ ูยา่ ตายาย บรรพบุรุษท่ีไม่ปรากฏตวั แต่ว่าถา้ หากว่าเป็ นผีเมืองคือผีเจา้ นาย ลาวมีผีมเหศกั ด์ิ มเหศกั ด์ิหลกั เมือง จะมีศาลตรงน้นั น่ีคอื สังคมในชนบทที่มีอยู่ (ศรีศกั ร วลั ลิโภดม,2560) ภาพท่ี 1 พ้นื ท่ีการบชู าผีหลวงพระบาง

2 ความเชื่อเกย่ี วกบั ผีในหลวงพระบาง ความเช่ือเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนไดก้ บั มนุษยท์ ุกผูท้ ุกนามสิ่งใดท่ีผคู้ น ไดพ้ บไดจ้ ากการสัมผสั ผ่านอายตนะท้งั 6ทางใดทางหน่ึงน้ัน เป็ นเหตุแห่งความเชื่ออนั เป็ นสัญเจตนาจุด เบ้ืองตน้ ส่วนนามธรรม เมื่อไดร้ ับมากข้ึนต่อมาเกิดการเสริมเติมแต่ง โดยอาศยั ส่ิงแวดลอ้ มที่คนเราได้ สัมผสั ทุกวนั เป็ นเคร่ืองช่วยให้เจริญเติบโตและเมื่อใจคิดอย่างใดอย่างหน่ึงความเช่ือ คือ การยอมรับอนั เกิดอยู่ ในจิตสานึกของมนุษยต์ ่อพลงั อานาจเหนือธรรมชาติ ท่ีเป็ นผลดีหรือผลร้ายต่อมนุษยน์ ้นั ๆ หรือ สังคมมนุษยน์ ้ันๆ แมว้ ่าพลงั อานาจเหนือธรรมชาติเหล่าน้ันไม่สามารถที่พิสูจน์ไดว้ ่าเป็ นความจริงแต่ มนุษยใ์ นสังคมหน่ึงก็ใหก้ ารยอมรับและให้ความเคารพเกรงกลวั ต่อส่ิงเร้นลบั เหล่าน้ี ซ่ึงเราเรียกว่าความ เช่ือ ความเช่ือเป็นพ้ืนฐานท่ีให้เกิดการกระทาสิ่งต่างๆท้งั ดา้ นดีดา้ นร้าย คนโบราณจึงสร้างศรัทธาให้ เกิดแก่ลกู หลานของตนโดยใหส้ ักการะและนบั ถือส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิหรือส่ิงที่มีอานาจเหนือมนุษย์ หรือบางคร้ัง เราจะเรียกว่าศาสนา ความเชื่อทางศาสนายงั เป็ นส่วนประกอบที่สาคญั ของวฒั นธรรมของแต่ละสังคม เพราะเป็นตวั กาหนดขนบธรรมเนียมประเพณีบางอย่าง รวมท้งั เป็นตวั กาหนดพฤติกรรมของสมาชิกของ สังคมดว้ ย ท้งั น้ีเพราะความเชื่อทางศาสนามกั จะระบุถึงความดีและความชว่ั ซ่ึงทาใหศ้ าสนามีลกั ษณะที่ เป็นศีลธรรม และมีบทบาทตอ่ การกาหนดพฤติกรรมของสมาชิกในสงั คมได้ ภาพท่ี 2 สังคมในชุมชนมีความเช่ือท่ีเก่ียวกบั ส่ิงที่นอกเหนือธรรมชาติ ความเช่ือจึงมีอิทธิพลต่อชีวิตมนุษย์ ท้งั ในระดบั ปัจเจกบุคคลและระดบั สังคมในชุมชนมีความ เช่ือท่ีเกี่ยวกบั ส่ิงท่ีนอกเหนือธรรมชาติ โดยเฉพาะความเช่ือเก่ียวกบั ผี ซ่ึงคือกฎเกณฑ์และระเบียบแบบ แผนของความสัมพนั ธ์ ระหว่างคนกับคน คนกบั ชุมชน คนกับธรรมชาติ มีอานาจมากกว่าหรือเป็ นผู้ ควบคุมและจดั การ ต่อเม่ือชุมชนพฒั นาใหญ่โตเป็นเมือง เป็นรัฐหรืออาณาจกั รข้ึนมา โดยมีโครงสร้างท่ี ซบั ซ้อน มีผูป้ กครอง มีชนช้นั ปกครอง ชนช้นั ถูกปกครอง ระบบความเชื่อก็ซับซ้อนเป็ นเงาตามตวั เป็ น

3 แหลง่ ท่ีมาของอานาจท่ีผนู้ า ผปู้ กครองจะใชใ้ นการรักษาระเบียบแบบแผน จดั การเรื่องความขดั แยง้ ท่ีมีใน สังคมเพ่ือใหก้ ารอยู่ร่วมกนั เป็นไปอยา่ งราบร่ืน ทาใหม้ ีความสงบสุขและสมดุลในการดารงชีวิตของมวล มนุษย์ ท้ังปัจจุบนั และอนาคต ชาวลาวในหลวงพระบางเองก็เช่นกนั พวกเขามีความเชื่อที่ถ่ายทอดมา ต้งั แตย่ ุคดึกดาบรรพส์ ่งผ่านมารุ่นต่อรุ่น ยงั ผลให้ความเช่ือน้นั กลายเป็นวฒั นธรรมท่ีสืบทอดมาจนกระทง่ั ถึงปัจจุบนั (ลดั ดาวลั ย์ สีพาชยั .2561) ภาพที่ 3 การบูชาผีหลวงพระบางผบี า้ นผีเรือนเป็นผีบรรพชน หรือผีญาติพน่ี อ้ งท่ีตาย การบูชาผีหลวงพระบาง ชาวหลวงพระบางเชื่อว่า ผีบา้ นผีเรือนเป็ นผีบรรพชน หรือผีญาติพี่น้องที่ตายไปแลว้ ผูท้ ี่ยงั มี ชีวิตอยู่ตอ้ งทาพิธีอญั เชิญให้มาอยู่บนเรือนเป็นผีเฝ้าเรือนเรียนวา่ “ผีเฮือน” “ผีเรือน” หรือ “ด้า”โดยชาว ลาวต่างเช่ือว่า เม่ือป่ ูย่าตายายพ่อแม่ญาติพ่ีน้อง ในตระกูลเดียวกนั หรือญาติพ่ีนอ้ งที่สืบเช้ือสายเดียวกัน ตายไป วิญญาณของบุคคลเหล่าน้นั จะกลบั มาปกป้องคุม้ ครองดูแลรักษาคนในครอบครัว ท่ีอาศยั อยูบ่ า้ น หลงั เดิมที่ตนเคยอยู่ ผีด้า ผีพ่อแม่ป่ ูย่าตายาย คือผีบรรพบุรุษของชาวหลวงพระบางเอง เช่ือกนั ว่าผีน้ีจะ คอยปกปักรักษาคนในครอบครัวอยตู่ ลอด แต่มีขอ้ แมว้ า่ คนในครอบครัวน้นั ตอ้ งเป็นคนดีปฏิบตั ิตนอยใู่ น ศีลธรรมอนั ดี ไม่ลกั ขโมย ผิดประเวณีผอู้ ื่น รวมถึงไม่สร้างความเดือดร้อนใหแ้ ก่ผอู้ ่ืนดว้ ย หากประพฤติ ตนในทางตรงกนั ขา้ มกบั ความดีท้งั หลาย ไม่ยดึ ถือตามขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีคนส่วนใหญ่ยดึ ถือวา่ ดี ผีด้า ผีพ่อแม่ป่ ูย่าตายายจะเพิกเฉยไม่คุม้ ครอง และย่ิงไปกว่าน้ันจะลงโทษถึงข้นั รุนแรงคือการเสียชีวิต ดว้ ย เป็ นท่ีสังเกตไดว้ า่ หอผีจะมีของเซ่นไหวบ้ ูชาหลงเหลือตกคา้ งอยู่ ไดแ้ ก่ ขนั ดอกไมซ้ ่ึงประกอบข้ึน ดว้ ยใบตองและดอกดาวเรืองสีเหลืองสด ธูปเทียนและกอ้ นขา้ วเหนียวท่ีวางอยู่บนหอ เพื่อเป็ นการเซ่น ไหวบ้ ูชาแก่ผีบา้ นผีเรือน โดยจะทาการไหวผ้ ีเรือนก่อนวนั ศีลน้อยและวนั ศีลใหญ่(วนั ศีลน้อย คือวนั ข้ึน 8 ค่าและแรม 8 ค่า ของทุกเดือน ส่วนวนั ศีลใหญ่คือ ข้ึน 14หรือ 15 ค่าและแรม14หรือ 15ค่า ตามปฏิทิน

4 จนั ทรคติ) ดว้ ยการเซ่นไหวแ้ ละกราบสามคร้ังแบบกราบพระเพื่อให้คุม้ ครองคนในครอบครัวให้ร่มเยน็ เป็นสุข (ศภุ ชยั สิงห์ยะบศุ ย,์ 2551) สรุป การบูชาผีหลวงพระบางตามความเช่ือของชุมชนหลวงพระบาง สังคมวัฒนธรรมในหลวงพระบาง ทมี่ ีมาแต่เดิมน้ันเป็ นสังคมเรียบง่าย มวี ดั วาอาราม จานวนมาก ช่ึงมองให้เหน็ ว่าสังคมเป็ นญาติเป็ นหมู่ คณะ เม่ือมีคนล้มหายตายจาก กจ็ ะทาบญุ กศุ ลหรือราลกึ ทาใหม้ ีความสงบสุขและสมดุลในการดารงชีวิต ต่อจิตผทู้ ่ีมีชีวิตอยู่ ชาวลาวในหลวงพระบางเองก็เช่นกนั พวกเขามีความเชื่อที่ถา่ ยทอดมา ชาวหลวงพระ บางเช่ือวา่ ผบี า้ นผีเรือนเป็นผีบรรพชน หรือผีญาติพ่ีนอ้ งท่ีตายไปแลว้ ผทู้ ี่ยงั มีชีวิตอยตู่ ้องทาพิธีอญั เชิญ ใหม้ าอยบู่ นเรือนเป็นผีเฝ้าเรือนเรียน จากสภาพปัจจุบนั ท่ีพบเห็นก็ยงั มี ศาลไหวบ้ ชู า ตามมุมทางเขา้ ของ บา้ นแต่ละหลงั กจ็ ะมีรูปแบบต่างกนั ไป มีเคร่ืองไหวห้ ลากหลาย ที่พบ กลว้ ย น้าอดั ลม ผลไมต้ ่าง ตามแต่ เจา้ ของบา้ นที่จะไหว้ การดารงอยู่ การบูชาผีของชุมชมยงั อยตู่ อ่ ไป ตราบท่ีคนในสังคมชุมชนยงั มีความ เชื่อในสิ่งผกู พนั กนั แมต้ ายจากกนั ไปแลว้ วญิ ญาณของบคุ คลเหลา่ น้นั จะกลบั มาปกป้องคมุ้ ครองดูแล รักษาคนในครอบครัวคอื ผบี รรพบุรุษของชาวหลวงพระบางเอง เชื่อกนั วา่ ผีน้ีจะคอยปกปักรักษาคนใน ครอบครัวอยตู่ ลอดไป

5 เอกสารอ้างองิ ลดั ดาวลั ย์ สีพาชยั . (2561). ผหี ลวงพระบาง: ความเชื่อ พธิ กี รรมและบทบาททางสังคมในเมืองมรดกโลก. มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. ศรีศกั ร วลั ลิโภดม. (2560). พุทธศาสนาและความเชื่อในสังคมไทย. กรุงเทพ : เล็ก ประไพ วิริยะพนั ธุ์, มูลนิธิ ศุภชยั สิงห์ยะบศุ ย.์ (2551). หลวงพระบางเมืองมรดกโลก: พื้นทีพ่ ธิ กี รรมและการต่อรอง เชิงอตั ลกั ษณ์บนกระแสโลกาภิวัตน์. วิทยานิพนธป์ ริญญาปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชา ไทศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook