รายงานสหกิจศึกษา ธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสาน โดย นายโชคชยั คาจนั ทา รหัสนักศกึ ษา 603080874-7 วจิ ยั นี้เป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ า 416 495 สหกจิ ศึกษาทางภาษาและวรรณกรรมไทย หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ วันที่ 9 เมษายน พุทธศักราช 2564
สหกจิ ศกึ ษาทางภาษาและวรรณกรรมไทย ประจาปีการศึกษา 2563 ชือ่ รายงาน ธงุ ทปี่ รากฏในวรรณกรรมอสี าน ชอ่ื ผจู้ ัดทารายงาน นายโชคชยั คาจันทา ชื่อสถานประกอบการ ศูนยศ์ ลิ ปวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ท่อี ยู่สถานประกอบการ 123 ถนนมติ รภาพ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002 ช่ือพเ่ี ล้ยี ง นางคณิตา อกั ษร ตาแหนง่ นกั จดั การงานท่วั ไป ศนู ย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ อาจารย์ท่ปี รกึ ษา ดร. แกว้ ตา จนั ทรานสุ รณ์ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา ................................................................ (ดร. แกว้ ตา จนั ทรานสุ รณ์) วันท.่ี ........เดือน.............................พ.ศ................... ประธานสหกจิ ศึกษาประจาสาขาวชิ า ................................................................ (อาจารย์ ดร.อมุ ารนิ ทร์ ตลุ ารกั ษ)์ ................................................................... ……….................................................... (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริ ชั วงศ์ภินันท์วัฒนา) (ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. มารศรี สอทพิ ย์) รองคณบดฝี ่ายวิชาการและการต่างประเทศ ประธานกรรมการบริหารหลกั สตู ร สาขาวิชาภาษาไทย
บทคัดย่อ การวิจัยเรื่อง ธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสาน มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาธุงที่ปรากฏในวรรณกรรม อีสานจานวน 3 เร่ือง ได้แก่ 1) ท้าวคัชชนาม 2) พระยาคันคาก และ 3) ตานานอุรังคธาตุ ซ่ีงผู้วิจัยใช้ระเบยี บ วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ วรรณกรรมอีสานจานวน 3 เร่ือง ได้แก่ ท้าวคชั ชนาม พระยาคนั คาก และตานานอุรังคธาตุ ผลการศกึ ษาพบว่า 1. ความหมายของ ธง ธุง ทง ธุง และ ปะคือ มีความหมายเดียวกันคือ ธง ท่ีใช้เป็นเคร่ืองแ สดง สญั ลักษณอ์ ย่างหนึง่ ตามการใช้งาน หากมองในทางภาษาศาสตร์แล้วนัน้ คาว่าธุง มีการเปลีย่ นแปลงในเรอ่ื งของ พยัญชนะตัวสะกดที่มีการเปล่ียนให้มีความใกล้เคียงกัน ออกเสียงเหมือนกัน แต่รูปต่างกัน และความหมาย ยังคงเดิมดังเช่น ธุง เป็น ทุง และอีกกรณีหนึ่งคือ ภาษาลาว ไม่มีพยัญชนะตัวสะกด ธ จึงได้ใช้พยัญชนะ ท แทน ส่วนคาว่า ตุง ภาคเหนือมักใช้พยัญชนะ ต แทน ท เนื่องด้วยมีเสียงที่คล้ายกัน ในทางภาษาศาสตร์ กล่าวว่า เป็นเสียงธนิต [Tch] ของอักษรต่ามักตรงกับเสียงสิถิล [T] ทั้งน้ียังพบว่า ปะคือ เป็นศัพท์สูญ โดยส้ินเชิง ซึ่งมีความหมายว่า “ร่ม หรือ ฉัตร” ซ่ึงในทางเชิงอรรถอธิบายคาศัพท์โบราณ ในหนังสือปริวรรต ไวว้ ่าคือ ธง 2. ธง หรือ ธงุ มีความเกี่ยวข้องกับวิถีชาวพุทธมาตั้งแต่บรรพกาล เป็นเหมือนตัวแทนในการขับไล่มาร ทาให้มนุษย์ได้ประดิษฐ์ “ธุง” เพื่อเป็นส่ือกลางในการติดต่อระหว่างมนุษย์กับส่ิงศักดิ์สิทธิ์ และเพ่ือถวาย พระสงฆ์เป็นพุทธบูชา ท้ังน้ีก็ยังเป็นการทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ท่ีล่วงลับไปแล้ว หรือเป็นการถวายเพื่อส่ง กศุ ลผลบุญให้แกต่ นในชาติหนา้ 3. การศึกษาธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานทั้ง 3 เร่ืองพบว่า มีคาเรียกธุงท่ีปรากฏว่า ธงุ ทุง และปะ คือ มีความหมายเหมอื นกันคือ ธง ซึ่งคาว่าปะคือน้ัน เป็นคาศัพท์โบราณทส่ี ูญศพั ท์ไปแล้ว และปรากฏว่าธุงอยู่ ในเหตกุ ารณ์การเตรียมออกศกึ การสู้รบ เป็นส่วนใหญ่ เพ่ือแสดงถึงเคร่อื งสงั เกตแก่ไพร่พล ส่วนธงุ ท่ีปรากฏใน การจัดงานเฉลิมฉลอง เพ่ือแสดงถึงเคร่ืองหมายว่ามีการจัดงาน ส่วนธุงท่ีปรากฏในพิธีกรรมทางศาสนา เพื่อแสดงถึงการเคารพนับถือ และสุดท้ายธุงที่ปรากฏอยู่ในลักษณะของนิมิต เป็นการส่ือความหมายในการ บอกเหตุทีจ่ ะเกิดขนึ้ ล่วงหนา้ 4. วรรณกรรมอีสานท้ัง 3 เร่ือง เป็นเร่ืองเล่าชาวบ้าน โดยมักเก่ียวข้องกับเรื่องของพระราชาที่ต้องมี ความเที่ยงธรรม และมีธรรมธิบาลชกั จูงให้ผู้คนทาความดี พง่ึ เป็นลักษณะของผู้ปกครองท่ีดี ซ่ึงตรงกับแนวคิด จักรวาลวิทยาในเรื่องกษัตริย์ผู้ปกครอง ส่วนธุงท่ีมีความตรงตามโครงสร้างจักรวาลวิทยาน้ัน คือ ลักษณะของธุงที่ประกอบด้วย หัวธุง ผืนธุง ละชายธุง เปรียบเหมือน อรูปภูมิ รูปภูมิ และกามภูมิ ทั้งน้ียัง เปรยี บได้วา่ ธงุ เหมือนกับแกนจกั รวาลทคี่ อยเปน็ เครอ่ื งหมาย เครื่องสังเกตใหแ้ ก่มนุษย์ คำสำคญั : ธุง, วรรณกรรมอสี าน
กติ ติกรรมประกำศ การท่ีข้าพเจ้าได้มาปฏิบัติสหกิจศึกษา ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ต้ังแต่วันท่ี 21 ธันวาคม พุทธศักราช 2563 – 9 เมษายน พุทธศักราช 2564 เป็นระยะเวลา 4 เดือน ส่งผลให้ข้าพเจ้าได้รับ ความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ที่จะนาไปต่อยอดและใช้ในอนาคต สาหรับรายงานวิจัยสหกิจศึกษาฉบับน้ี สาเร็จลุล่วงดว้ ยดี เกดิ จากการรว่ มมอื และสนบั สนนุ จากทุกฝา่ ย ดงั นี้ 1. ดร. แก้วตา จันทรานุสรณ์ อาจารย์ท่ีปรึกษารายวิชา 416 495 สหกิจศึกษาทางภาษาและ วรรณกรรมไทย และเป็นอาจารย์ประจาภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่อาจารย์ให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือ และให้คาปรึกษาอันเป็นประโยชน์อย่างย่ิงใน การทางานวิจัยน้ีจนทาให้ผู้วิจัยได้ข้อมูลที่ครบถ้วน สามารถนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ และสรุปผลได้อย่าง ราบร่ืนตามวัตถปุ ระสงค์ 2. คุณคณิตา อักษร ตาแหน่ง นักจัดการงานทั่วไป ที่ได้ให้คาแนะนาหัวข้อในการวิจัยเก่ียวกับการ ทางานท่ีมคี วามเชือ่ มโยงกับศนู ยศ์ ิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ทั้งน้ีรวมถึงบุคคลอื่น ๆ ที่ไม่ได้กล่าวนามทุกท่านที่ให้คาแนะนา ช่วยเหลือในการจัดทารายงานวิจัย มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล คอยเป็นที่ปรึกษาในการทารายงานวิจัยฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์ และประสบผลสาเร็จ ตลอดจนให้การดูแลให้ประสบการณ์เก่ียวกับชีวิตการทางาน ข้าพเจ้าขอขอบคุณไว้ ณ ท่ีน้ี ข้าพเจ้าหวังว่า รายงานวิจยั ฉบับนีจ้ ะเป็นประโยชนแ์ ละนาไปตอ่ ยอดในการเปน็ องค์ความรดู้ า้ นศลิ ปวฒั นธรรมต่อไป นายโชคชยั คาจันทา ผูจ้ ดั ทา เมษายน 2564
สำรบญั หนำ้ เรอ่ื ง 1 บทคดั ยอ่ 1 กิตติกรรมประกำศ 2 บทท่ี 1 บทนำ 2 2 1.1 ทีม่ าและความสาคญั และความสาคัญของปญั หา 3 1.2 คาถามหลกั ของงานวจิ ยั 3 1.3 วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 3 1.4 ขอบเขตการศกึ ษา 3 1.5 ข้อตกลงเบื้องต้น 3 1.6 ความหมายและนยิ ามศพั ท์เฉพาะ 5 1.7 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับจากการวจิ ัย 5 1.8 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั 5 1.9 การนาเสนอรายงานการวจิ ยั 5 บทที่ 2 วรรณกรรมและงำนวิจัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 6 2.1 แนวคิดและทฤษฎีในการศกึ ษาทางด้านคตชิ นวทิ ยา 7 8 2.1.1 แนวคิดวรี บรุ ุษทางวฒั นธรรม (Cultural Hero) 8 2.1.2 แนวคิดตานานและเร่อื งเลา่ (Myth and Legend) 16 2.1.3 แนวคดิ เรอื่ งจกั รวาลวทิ ยา (Cosmology) 20 2.1.4 ทฤษฎีบทบาทหนา้ ที่นยิ ม (Functionalism) 2.2 วรรณกรรมและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 2.2.1 เอกสารที่ศึกษางานวรรณกรรมอสี าน 2.2.2 เอกสารท่ีศกึ ษางานธงุ ในอีสาน 2.2.3 เอกสารหนงั สอื วรรณกรรมอีสานจานวน 3 เรอื่ ง
สำรบญั หนำ้ เรอ่ื ง 33 บทท่ี 3 วิธกี ำรดำเนินกำรวจิ ยั 33 3.1 ระเบยี บวธิ วี จิ ยั 34 3.2 ระยะเวลาในการศกึ ษาคน้ คว้า 36 36 บทท่ี 4 ผลกำรศึกษำและวเิ ครำะห์ข้อมูล 36 4.1 . ความหมายของธงุ 38 4.1.1 ความหมายของธุงตามหลักฐานทป่ี รากฏในเอกสาร 39 4.1.2 ความหมายของธุงในทางภาษาศาสตร์ 40 4.2 ความสาคญั ของธุงในทางพทุ ธศาสนา 40 4.3 การศึกษาธุงทปี่ รากฏในวรรณกรรมอสี าน 47 4.3.1 วรรณกรรมอสี าน เรือ่ ง ทา้ วคัชชนาม 50 4.3.2 วรรณกรรมอสี าน เรอ่ื ง พระยาคนั คาก 54 4.3.3 วรรณกรรมอสี าน เรื่อง ตานานอุรังคธาตุ 56 4.4 ธุงทป่ี รากฏในวรรณกรรมอีสานทีว่ ่าด้วยเร่ืองจกั รวาลวิทยา 56 60 บทท่ี 5 สรุปและอภิปรำยผล 61 5.1 สรปุ ผลการวจิ ัย 63 5.2 อภิปรายผลการวิจัย 66 5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณำนกุ รม ภำคผนวก
สำรบญั ตำรำง หนำ้ ตำรำง 8 ตารางท่ี 1 วรรณกรรมและงานวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ งการศึกษางานวรรณกรรมอสี าน 16 ตารางท่ี 2 วรรณกรรมและงานวิจยั ที่เก่ียวข้องการศกึ ษางานธุงในอีสาน 21 ตารางท่ี 3 วรรณกรรมท่เี ก่ียวขอ้ งการศกึ ษาหนังสือวรรณกรรมอสี าน 34 ตารางท่ี 4 ระยะเวลาการดาเนินงานวิจัยท้งั หมด 4 เดือน
1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปญั หำ วรรณกรรมนับว่าเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันมีค่ายิ่งของสังคมท่ีตกทอดมาจากบรรพบุรุษ เพ่ือให้ อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาหาความรู้ เพราะวรรณกรรมนั้นได้ผ่านกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์อย่างเป็น ระบบ กลั่นกรองออกมาจากภูมิปัญญาของนักปราชญ์ในอดีต วรรณกรรมจึงเปรียบเหมอื นกระจกเงาท่ีสะทอ้ น ให้เห็นสภาพความเป็นอยู่ของคนในยุคน้ัน ๆ ทาให้สามารถมองเห็นสภาพของสังคมในยุคที่นักปราชญ์ได้แต่ง วรรณกรรมเรื่องนั้น ๆ ท้ังในด้านการเมืองการปกครอง ปรัชญาการดาเนินชีวิต คติความเช่ือ ค่านิยม อุดมการณ์ทางสงั คม ตลอดจนวัฒนธรรมและจารีตประเพณี วรรณกรรมในแต่ละท้องถิ่นมที ้ังลักษณะที่เหมือน และแตกต่างกัน ลักษณะท่ีเหมือนกันน้ันอาจเป็นเพราะมีโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมหลักร่วมกัน กลา่ วคอื มวี ัฒนธรรมมอี ดุ มการณข์ องสังคมร่วมกันมาตง้ั แต่สมยั อดตี และยงั ดาเนนิ วถิ ชี ีวติ ตามแนวแหง่ สัญญา ประชาคมนั้นตลอดมา ส่วนลักษณะที่ต่างกันนั้นเป็นเพราะลักษณะย่อยของสังคมคติความเช่ือ ค่านิยม การดาเนินชีวิต ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งแตกตา่ งกันไปตามแต่ละท้องถ่ิน (ธวัช ปุณโณทก, 2522 : 16 อา้ งถงึ ในสมัย วรรณอุดร, 2545 : บทนา) วรรณกรรมอีสานและลาวนั้นมีลักษณะที่เหมือนกันหรือใกล้เคียงกันทั้งด้านคติความเช่ือ ค่านิยม สังคมวัฒนธรรม ตลอดถึงจารีตประเพณี มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่น่าสนใจเหมือนกันกล่าวคือ เป็นวรรณกรรม ของชาวบ้านอย่างแท้จริง เพราะชาวบ้านเป็นเจ้าของสิทธิเป็นผู้ใช้ผู้ศึกษาผู้อ่านและผู้สร้างโดยมีวัดเป็น ศูนย์กลางในการเก็บรักษา และเผยแพร่ ตลอดจนเป็นแหล่งอนุรักษ์ นอกจากนั้นก็ยังมีชาวบ้านอีกส่วนหน่ึง เป็นผู้เก็บรกั ษาไว้ที่บ้านของตน (ธวชั ปณุ โณทก, 2522 : 36 อ้างถึงในสมยั วรรณอดุ ร, 2545 : บทนา) วรรณกรรมยังเป็นประหน่ึงมหรสพของชาวอีสานและชาวลาว ท่ีชาวบ้านนิยมอ่านกันท่ัวไปตามงาน บญุ ตา่ ง ๆ เช่น งานศพ (งันเฮือนด)ี หรือฟังพระเทศน์ในงานบญุ พธิ ีตา่ ง ๆ เช่น บญุ ข้าวประดับดินบุญข้าวสาก (สลากภัตร) บุญออกพรรษา เป็นต้น ทาให้เป็นแรงจูงใจให้กวีสร้างสรรค์งานด้านวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ ออกมามากมายโดยเฉพาะวรรณกรรมนิทานซึ่งกวีท่ีแต่งวรรณกรรมนิทาน นอกจากจะมุ่งความสนุกสนาน บันเทิงใจ แล้วยังได้สอดแทรกจริยธรรม คติธรรม คาสอนทางพระพุทธศาสนาเข้าไว้ในวรรณกรรมด้วย เพื่อเป็นการสอนศีลธรรมจริยธรรมแก่ประชาชนไปในตัว อีกท้ังอุปนิสัยของตัวเอกในเรื่องมักจะเป็นแบบอย่าง ในการดาเนินชีวติ ของคนในสังคม ตามแนวทางการดาเนินชีวิตแบบชาวพุทธ เช่น เรื่องสังข์ศิลป์ชัย กาพะเกษ กาพร้าไก่แก้ว กาพร้าผีน้อย บุษบาหรือปลาแดกปลาสมอ เป็นต้น (ธวัช ปุณโณทก, 2537 : 58 อ้างถึงในสมัย วรรณอุดร, 2545 : บทนา) ธุง ทุง ตุง หรือธง เป็นชื่อเรียกที่มีความหมายเดียวกัน ในภาคอีสานมักนิยมใช้ตัวสะกด ธ ท เป็น ธุง หรือ ทุง บ้าง ซ่ึงธุงก็เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งที่แสดงถึงพื้นท่ีศักดิ์สิทธิ์หรือแสดงถึงความดีงาม โดยใช้เป็น เครื่องหมาย เคร่ืองแสดง และเครื่องสังเกตให้กับมนุษย์ ชาวอีสานมักนาธุงมาถวายเป็นพุทธบูชา โดยอุทิศ ถวายด้วยความศรัทธาที่มีต่อพุทธศาสนา รวมถึงธุงยังถูกนามาใช้ในการประดับตกแต่งสถานที่เน่ืองในพิธีหรือ เทศกาลต่าง ๆ ที่ไม่ใช่เป็นเพียงเคร่ืองถวายพุทธบูชาหรือเก่ียวข้องกับพิธีกรรมทางศาสนา แต่เพ่ือประดับ
2 ตกแต่งใหเ้ กิดความสวยงาม ซึ่งถอื ว่าเป็น เป็นสิง่ ที่ดงี าม เปน็ การสบื สานอนุรกั ษแ์ ละเผยแพร่งานศิลปะพ้นื บา้ น อันมีคุณค่า อีกท้ังยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับกลุ่มทอผ้าในท้องถิ่น หรือท่ีนิยม เรียกขานกันทัว่ ไปวา่ ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ซ่ึงกล่าวไดว้ ่า ธงุ ถูกนามาใชใ้ นรูปแบบของรูปธรรมที่สามารถจับตอ้ งได้ โดยเฉพาะทางศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้เปิดรับจิตอาสาประดิษฐ์ธุง เพ่ือใช้เป็นพุทธบูชา มรดกทางวัฒนธรรมท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะตามความเชื่อของแต่ละท้องถิ่น ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจาก บรรพบุรุษ จนกลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้าค่า และผู้วิจัยยังได้เข้าร่วมประดิษฐ์ธุงกับทางศูนย์ ศิลปวัฒนธรรม จึงเกิดมูลความคิดว่า ธุงที่ปรากฏในรูปแบบของรูปธรรมมีรากฐานมาจากวรรณกรรมหรือไม่ อย่างไร ทั้งนี้ทางศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่นจะได้นาแหล่งข้อมูลน้ีไปใช้เพื่อเผยแพร่เป็น วทิ ยาการในด้านศลิ ปวฒั นธรรมต่อไป จากหลักฐานและมูลความคิดดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจในการศึกษาธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสาน จานวน 3 เร่อื ง ไดแ้ ก่ 1) ทา้ วคัชชนาม 2) พระยาคนั คาก และ 3) ตานานอรุ ังคธาตุ เน่อื งจากวรรณกรรมอสี าน ท้ัง 3 เร่ืองที่ได้ระบุข้างต้น ผู้วิจัยได้ทบทวนวรรณกรรมและทราบว่าธุงในวรรณกรรมทั้ง 3 เร่ืองปรากฏ หลักฐานอยู่จริง โดยผู้วิจัยได้แบ่งการวิจัยออกเป็น 4 ส่วน คือ 1) ความหมายของธุง 2) ความสาคัญของธุง ในทางพุทธศาสนา และ 3) การศึกษาธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานจานวน 3 เรื่อง ได้แก่ 1) ท้าวคัชชนาม 2) พระยาคันคาก และ 3) ตานานอุรังคธาตุ โดยผู้วิจัยได้แบ่งประเด็นย่อยออกเป็น 4 ส่วน คือ 3.1) ธุงมีคา เรียกตามตัวบทในวรรณกรรมอีสานว่าอย่างไร 3.2) ความหมายของธุงท่ีปรากฏตามหลักฐานในเอกสารเป็น อย่างไร 3.3) ธุงในวรรณกรรมปรากฏอยู่ในเหตุการณ์ หรือพิธีกรรมอย่างไร และธุงใช้ประโยชน์ในลักษณะใด และส่วนที่ 4) ธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานที่ว่าด้วยเรื่องจักรวาลวิทยาสอดคล้องกันอย่างไร ดังนั้นความ สนใจท่ีกล่าวมานี้ล้วนแล้วแต่เป็นการสร้างองค์ความรู้เร่ือง ธุงในวรรณกรรมอีสานและเป็นแนวทางในการ ส่งเสริมวรรณกรรมของท้องถิ่นอีสานและเป็นแหล่งข้อมูลเพ่ือใช้เผยแพร่เป็นวิทยาการแก่ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ตอ่ ไป 1.2 คำถำมหลักของงำนวจิ ัย ธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานจานวน 3 เรื่อง ได้แก่ 1) ท้าวคัชชนาม 2) พระยาคันคาก และ 3) ตานานอรุ ังคธาตุ เปน็ อย่างไร 1.3 วตั ถปุ ระสงคก์ ำรวจิ ัย เพื่อศึกษาธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานจานวน 3 เร่ือง ได้แก่ 1) ท้าวคัชชนาม 2) พระยาคันคาก และ 3) ตานานอรุ งั คธาตุ 1.4 ขอบเขตกำรวิจัย ขอบเขตการวิจัย เร่ือง ธุงในวรรณกรรมอีสาน ผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตการศึกษา คือ วรรณกรรม อสี านจานวน 3 เรอ่ื ง ไดแ้ ก่ 1) ท้าวคชั ชนาม 2) พระยาคนั คาก และ 3) ตานานอรุ ังคธาตุ
3 1.5 ข้อตกลงเบือ้ งต้น งานวิจัยนี้มีข้อตกลงเบ้ืองต้น คือ ผู้วิจัยใช้คาว่า “ธุง” ตามคาเรียกขานของคนอีสานท่ีปรากฏใน วรรณกรรม 1.6 ควำมหมำยหรือนยิ ำมศพั ทเ์ ฉพำะ ธุงในวรรณกรรมอีสำน หมายถึง ธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมของกลุ่มวัฒนธรรมไทยในภาคอีสานและ ลาว ซึง่ ไดก้ าหนดวรรณกรรมอีสานออกจานวน 3 เร่อื ง คอื 1) ทา้ วคัชชนาม 2) พระยาคนั คาก และ 3) ตานาน อุรังคธาตุ 1.7 ประโยชน์ทค่ี ำดว่ำจะได้รบั จำกกำรวจิ ยั ทราบถึงธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสานจานวน 3 เรื่อง ได้แก่ 1) ท้าวคัชชนาม 2) พระยาคันคาก และ 3) ตานานอุรังคธาตุ 1.8 กรอบแนวคิดในกำรวิจยั ในการวจิ ยั ครั้งนี้ ผ้วู ิจัยไดใ้ ชแ้ นวคิดเร่ือง วีรบุรษุ ทางวัฒนธรรม (Cultural Hero) แนวคดิ เรอื่ ง ตานาน และเร่ืองเล่า (Myth and Legend) แนวคิดเร่ือง จักรวาลวทิ ยา (Cosmology) และทฤษฎีบทบาทหน้าที่นิยม (Functionalism) หรือทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าท่ี (Structural-Functionalism) มาเป็นกรอบแนวคิด เพ่ือ อธิบายบทบาท และความหมายทีป่ รากฏธงุ ในวรรณกรรมอสี านทั้ง 3 เรื่อง ว่าเปน็ อย่างไร 1.9 กำรนำเสนอรำยงำนกำรวิจยั งานวิจัยเรื่อง ธุงในวรรณกรรมอีสาน มีแนวทางในการศึกษา คือ ความหมาย ความสาคัญของธุง ในทางพุทธศาสนา ซ่ึงปรากฏในวรรณกรรมอีสานจานวน 3 เร่ือง ได้แก่ ท้าวคัชชนาม พระยาคันคาก และ ตานานอุรังคธาตุ โดยผ้วู จิ ัยลาดับการนาเสนอผลรายงานการวิจัย แบง่ เป็นเน้อื หาจานวน 5 บท ดงั นี้ บทท่ี 1 นาเสนอความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ที่เกิดจากบทบาทและความหมายสาคัญ ของธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสาน ท่ีมีความเกี่ยวเน่ืองกับเรื่องที่จะศึกษา ซึ่งนาไปสู่คาถามหลักของงานวจิ ัย วัตถุประสงค์การวิจัย ข้อตกลงเบื้องต้น และความหมายศัพท์เฉพาะ ตลอดจนขอบเขตของการวิจัย เพื่อใช้ อธิบายคาสาคัญในการศึกษาคร้ังนี้ ทั้งน้ีประโยชน์ท่ีจะได้รับจากงานวิจัยก็เป็นสิ่งสาคัญท่ีจะทาให้ทราบถึงธุง ที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานว่าเปน็ อย่างไร และในสว่ นสดุ ทา้ ยจะอธบิ ายถงึ การนาเสนอรายงานการวิจัยในแต่ ละบท บทท่ี 2 การทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นการวจิ ัย ซึ่งในส่วนนี้จะเปน็ แนวทางสาคัญของ การวิจยั ที่ใช้เป็นกรอบแนวคิดในการวจิ ัย ไดแ้ ก่ แนวคดิ ทฤษฏี เอกสารรายงานวิจัย บทความทางวชิ าการ และ หนงั สือวรรณกรรมอีสานที่เกี่ยวข้องกบั ประเดน็ ศึกษา
4 บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนินงาน อธบิ ายถึงระเบยี บวธิ วี จิ ยั ซ่งึ จะนาไปส่วู ธิ กี ารเกบ็ ข้อมลู ในส่วนของอปุ กรณ์ เครื่องมือ ที่ใชใ้ นการเก็บข้อมูล และสามารถนามาวิเคราะห์ข้อมูลได้ดี ท้ังน้ียังมีวธิ ีการดาเนินงาน ที่จะช่วยบ่ง บอกวา่ ในระหวา่ งการปฏิบัตสิ หกจิ ศกึ ษาได้ทาอะไรบา้ งในแต่ละบท บทที่ 4 ผลการศึกษาการวิจัย ในบทน้ีจะอธิบายถึง การศึกษาตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ คือ ธุงท่ี ปรากฏในวรรณกรรมอีสานจานวน 3 เรอ่ื ง ได้แก่ 1) ทา้ วคชั ชนาม 2) พระยาคนั คาก และ 3) ตานานอุรังคธาตุ รวมไปถึงความหมายของธุง และความสาคัญของธุงในทางพุทธศาสนา ตลอดจนธุงที่ปรากฏในวรรณกรรม อสี านที่ว่าด้วยเร่อื งจกั รวาลวิทยามคี วามสอดคลอ้ งกนั อย่างไร บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล รวมไปถึงข้อเสนอแนะในการวิจัย ซึ่งในบทท้ายน้ีจะอธิบายถึงสรุปผล การศึกษา แนวคิดทฤษฏที ่ีมาเก่ยี วขอ้ ง และเอกสารรายงานวจิ ัย หรือหนังสือที่มคี วามสอดคลอ้ งกับผลการวจิ ัย ขา้ งตน้ ตลอดจนแนวทางการเสนอแนะ และขอ้ จากนั ของการทาวิจัยครง้ั ตอ่ ไป
5 บทท่ี 2 วรรณกรรมและงำนวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ผู้วิจัยได้สืบค้นข้อมูลเอกสาร งานวิจัย และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) แนวคิดและทฤษฎีในการศกึ ษาทางดา้ นคติชนวทิ ยา และ 2) เอกสารวรรณกรรมและงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้อง โดยมี รายละเอยี ด ดังนี้ 2.1 แนวคดิ และทฤษฎใี นกำรศกึ ษำทำงด้ำนคตชิ นวทิ ยำ 2.1.1 แนวคิดวรี บุรษุ ทำงวฒั นธรรม (Cultural Hero) ศรีศักร วัลลิโภดม กล่าวว่า ความเป็นวีรบุรุษทางวัฒนธรรม (Culture Hero) คือ ผู้นาในระดับชาติ ระดบั ท้องถ่นิ ทงั้ ทม่ี ีตวั ตนจริงและไมม่ ตี วั ตนจรงิ จะอยู่ในตัวของประวัตศิ าสตร์หรือตานานก็ได้ ขนึ้ อยู่กับว่าจะ ถูกหยิบยกข้ึนมาเนื่องในโอกาสไหนและเวลาใด ในกรณีของชุมชนคอรุมได้นาเอาพระยาพิชัยหรือพ่อชัย เป็น ตัวแบบของการเป็นวีรบุรุษทางวัฒนธรรม โดยมีคุณลักษณะท่ีสาคัญ ได้แก่ ซื่อสัตย์ สุจริต รักและผูกพันกับ ชุมชน ละอายเกรงกลัวต่อความชั่ว กล้าและมีความเช่ือม่ันในตนเอง และศรัทธาแน่วแน่ในความเป็นคนดี ลักษณะสาคัญของวีรบุรุษทางวัฒนธรรม คือ จะต้องเป็นผู้ท่ีลักษณะพิเศษเหนือธรรมชาติและไม่ใช่คนกลุ่มใด กลุ่มหน่ึง ต้องเป็นคนที่มีความสามารถรวมกลุ่มคนทั้งที่เหมือนและแตกต่างเข้าไว้ด้วยกัน ทาให้คนอยู่ใน ศีลธรรมจรรยา และต้องบูรณาการสังคมได้ (ศรีศักร วัลลิโภดมอ้างถึงใน จันทนา สุทธิจารี และวรพงศ์ ตระการศริ นิ นท์, 2563 : 235) 2.1.2 แนวคดิ ตำนำนและเรอื่ งเลำ่ (Myth and Legend) ความหมายของ “ตานาน” ในเชิงคติชนวิทยา เก่ียวข้องกับเรื่องเล่าประเภทท่ีเรียกว่า Myth และ legend นกั คติชนไทยเรยี ก Myth แตกตา่ งกันออกไปหลายคา เชน่ เทพนิยาย เทวปกรณ์ ศาสนนิทาน ตานาน ปรัมปรา นิทานปรัมปรา นิยายปรัมปรา เร่ืองทวยเทพ ปุราณะ ความเชื่อปรัมปรา ตานาน ความเชื่อ เทพปกรณัม เทพปกีรณัม ปรัมปราคติ ปรัมปรานิยาย วรรณกรรมปรัมปรา ส่วน Legend ก็เรียกต่างกัน บ้างเรียกนิยายประจาถิ่น นิทานประจาถิ่น บ้างก็เรียกตานานประจาถ่ิน (Mythical Legend) Myth และ Legend น้ีนอกจากจะสัมพันธ์กันแล้ว myth ยังอาจสัมพันธ์กับนิทานรูปแบบอ่ืนๆ อีกด้วย เช่น นิทาน อธิบายเหตุ นทิ านวีรบรุ ุษ เทพนิยาย นทิ านคติ เป็นต้น (ปรมนิ ท์ จารุวร, 2557: 15) นอกจากนตี้ านานและเรอื่ งยงั ถือเป็นหน่ึงในองคป์ ระกอบท่ีสาคัญของการศึกษาคติชนวทิ ยา ดังที่ เรณู อรรฐาเมศร์ กล่าววา่ ตานานเป็นกระบวนการถา่ ยทอด นกั คติชนวทิ ยาสนใจเป็นพิเศษในกระบวนการถ่ายทอด ประเภทวิธีการถ่ายทอดด้วยปาก (มุขปาฐะ) หรือการแสดงออกเพ่ือให้เลียนแบบอันเป็นวิธีด้ั งเดิมตาม ธรรมชาติในชีวิตมนุษย์ แม้ปัจจุบันการส่ือสารด้วยการใช้วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เจริญมากขึ้น แต่การถ่ายทอดใน ลักษณะน้ีก็ยังมีความหมายสาคัญอยู่เป็นอันมากในวงการศึกษาทางคติชนวิทยา ทั้งนี้ศิราพร ณ ถลาง
6 กล่าวว่า ตานานในฐานะท่ีเป็นข้อมูลทางวัฒนธรรมซ่ึงมีหน้าที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในด้าน ปจั จัยพื้นฐาน ดา้ นความมั่นคงของสังคม และความมัน่ คงทางด้านจติ ใจ วัฒนธรรมในสว่ นท่เี ป็นคติชน ไมว่ า่ จะ เป็นเรื่องเล่าประเภทต่าง ๆ ล้วนมีหน้าที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ทางด้านจิตใจและช่วยสร้างความ เขม้ แขง็ และความมนั่ คงทางวฒั นธรรมให้แต่ละสังคม (ศิราพร ณ ถลางอ้างถึงใน เรณู อรรฐาเมศร์ 2549 : 12) จากความหมายและทรรศนะของนักวิชาการในข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ตานานและเร่ืองเล่าเป็น หนึ่งในกระบวนการถา่ ยทอดเรอ่ื งราวทชี่ ่วยใหผ้ คู้ นได้รับรู้เหตกุ ารณ์ท่ีเกดิ ขึ้นในแตช่ ่วงสมัย หรืออาจกลา่ วไดว้ ่า ตานานคือเครื่องมือที่ช่วยบันทึกเหตุการณ์ และมีการถ่ายทอดผ่านคาบอกเล่าจากรุ่นสู่รุ่น ซ่ึงตานานยังทา หน้าที่ในการสืบทอดและสร้างเสริมความมั่นคงให้แก่วัฒนธรรมนั้น ๆ ได้อีกด้วย ดังน้ันการศึกษาความเป็นมา ผา่ นตานานและเรือ่ งเลา่ จงึ ชว่ ยให้เกิดความเขา้ ใจในเหตุการณ์ต่างไดเ้ ป็นอย่างดี 2.1.3 แนวคิดเรื่องจกั รวำลวทิ ยำ (Cosmology) จักรวาลวทิ ยา (Cosmology) หรือโลกศาสตร์ คือ การอธิบายเก่ียวกับโลกและจักรวาล โดยใช้แนวคิด ทางศาสนาปรัชญา และเทววิทยา ซ่ึงในการอธิบายเรื่องจักรวาล และโลกในทางความเชื่อและศาสนาน้ันมี ความเกี่ยวพันอย่างมากกับการประพฤติปฏบิ ัตขิ องผู้คนภายในสังคมน้ัน ๆ มาอย่างยาวนาน ในประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติมีเน้ือหาที่กล่าวถึงการกาเนิดจักรวาลและโลกดินแดนหลังความตาย สวรรค์ นรกในรูปแบบ โครงสรา้ งทคี่ ลา้ ยคลงึ กัน ซ่ึงท่ีมาของแนวคิดเร่ืองจักรวาลวิทยาทางพทุ ธศาสนานั้นอาจกล่าวได้ว่า มีความเก่ียวพันกับความเชื่อ ทางศาสนาพราหมณ์ เนื่องดว้ ยเร่ืองของแหล่งกาเนิดศาสนาที่เกดิ บนดินแดนเดียวกนั และช่วงเวลาท่ีคาบเกีย่ ว และต่อเน่ืองกัน แต่คติเรื่องโลกของพุทธศาสนากับศาสนาพราหมณ์ฮินดูนั้นมีความแตกต่างกันอย่างมาก ประเด็นหนง่ึ คือในทางพทุ ธศาสนาจะปฏิเสธเรื่องพรหมสรา้ งโลกของทางศาสนาพราหมณ์ พระศรีสุธรรมเมธีกล่าวว่า “ไตรภูมิ” หมายถึง สามโลก ซึ่งเป็นคติเกี่ยวกับโลกสัณฐานตามความเช่ือ ในพุทธศาสนา ซึ่งไตรภูมิประกอบด้วย กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ และไตรภูมิได้กล่าวถึง โลกมนุษย์ นรก และสวรรค์ สาหรับคนไทยได้รับความรู้เรื่องไตรภูมิมาพร้อม ๆ กับการรับพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจา ชาติ ไตรภูมิได้กล่าวถึง จักรวาลที่มีโลกซึ่งมนุษย์อาศัยอยู่นี้เป็นหน่วยหนึ่งของอนันตจักรวาล อันหาขอบเขต จากัดไม่ได้ จักรวาลใด ๆ ย่อมมีสภาพเหมือนกันท้ังส้ิน ในจักรวาลหน่ึง ๆ นั้น มีเขาพระสุเมรุเป็นแกนกลาง และมีเขาสัตตบริภัณฑ์ล้อมอยู่โดยรอบเป็นวงแหวนเจ็ดวง ท้ังเขาพระสุเมรุและเขาสัตตบริภัณฑ์ถูกห้อมล้อม ด้วยสีทันดรสมุทรท่ีแผ่กว้างไปทุกทิศจนครอบจักรวาล รอบนอกของเขาสัตตบริภัณฑ์ในทิศใหญ่ทั้งส่ีทิศเป็น ท่ีตั้งของทวีปใหญ่ 4 ทวปี และทวปี น้อยอีก 4 ทวีป ซ่ึงทวีปใหญ่ทั้ง 4 ได้แก่ อุตตรกุรุทวีปท่ีตงั้ อยู่ทางทิศเหนือ ของเขาพระสุเมรุ บุรพวิเทหะทางทิศตะวันออก ชมพูทวีปทางทิศใต้ และอมรโคยาน ทางทิศตะวันตก ทวีป ใหญ่แต่ละทวปี เปน็ ทเี่ กดิ ของมนษุ ย์ มนุษย์แตล่ ะทวปี จะมีลกั ษณะเฉพาะของตน แต่เฉพาะใน ชมพทู วปี เทา่ นน้ั ท่ีเป็นดินแดนท่ีเกิดของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระเจ้าจักรพรรดิ (พระศรีสุธรรมเมธี, 2553 อา้ งถงึ ใน พิมพว์ ดี เออื้ มธุรพจน, 2556 : 288 )
7 โดยแนวคิดในการพระราชนิพนธ์เรื่องไตรภูมิของพญาลิไทยน้ันมีการสันนิษฐานว่า เก่ียวพันกับ ทางด้านการเมอื งการปกครองซ่ึงในงานสารนิพนธ์ของเปรมชยั ฉัตรกติ ตชิ ัย ที่สรุปเหตผุ ลในการพระราชนิพนธ์ ไว้ดังน้ี 1) ทาหน้าท่ีแทนกฎหมายโดยไตรภูมิพระร่วง มีข้อความท่ีเป็นบทลงโทษทางใจค่อนข้างรุนแรงแสดง ความน่ากลัวของภาพนรกภูมิ 2) ทาหน้าท่ีเสริมพระราชอานาจไตรภูมิพระร่วงมีส่วนอย่างย่ิงในการเสริม อานาจกษัตริย์ เนื่องจากการปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยก่อนอานาจการเมืองยังไม่รัดกุมเด็ดขาด ฉะน้ันแนวคิดทางพุทธศาสนาในเรื่อง“ ธรรมราชา” จึงเข้ามามีบทบาทเสมือนเครื่องควบคุมอานาจและเป็น แนวทางการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการผนวกความเช่ือทางพุทธศาสนาเรื่องบุญกรรมเข้าไปกับการปกครอง อย่างกลมกลืน 3) ส่งเสริมนโยบายขยายอาณาเขตในไตรภูมิพระร่วงกล่าวถึง พระบรมมหาจักรพรรดิราชเสดจ็ โดยจักรแกว้ ซ่ึงเป็นของคูบ่ ารมีเพือ่ สารวจขอบเขตพระราชอาณาจกั ร 4) บทบาทในการปลูกฝงั อดุ มการณ์ทาง การเมืองการปกครองไตรภูมิพระร่วงชักจูงให้บคุ ลทาความดีมศี ีลธรรมเปน็ พสกนิกรที่ดแี ละเปน็ นกั ปกครองทีด่ ี แม้รูปแบบของการปกครองเป็นลักษณะผู้ที่ปกครองมีอานาจสิทธิขาด แต่ปกครองจะใช้อานาจนั้นโดยธรรม หลักธรรมจงึ เปน็ ระเบียบของการปกครอง (เปรมชัย ฉตั รกิตติชัย, 2548 อา้ งถึงในธนพล จลุ กะเศียน, 2561) 2.1.4 ทฤษฎบี ทบำทหน้ำท่ีนิยม (Functionalism) หรือ ทฤษฎีโครงสร้ำง - หน้ำท่ี (Structural- Functionalism) ศิราพร ณ ถลาง (2548) กล่าว่า ทฤษฎีบทบาทหน้าที่นิยม (Functionalism) หรือทฤษฎโี ครงสร้าง - หน้าท่ี (Structural-Functionalism) เป็นวัฒนธรรมส่วนต่าง ๆ ในสังคมมีหน้าท่ีตอบสนองความต้องการของ มนุษย์ท้ังทางด้านปจั จัยพื้นฐาน ด้านความมั่นคงของสังคม และความมั่นคงทางด้านจิตใจ วัฒนธรรมในส่วนท่ี เป็นคติชน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล่าประเภทต่าง ๆ เพลง การละเล่น การแสดง ความเช่ือ พิธีกรรม ล้วนมีหน้าที่ ตอบสนองความตอ้ งการของมนุษยท์ างดา้ นจิตใจ และช่วยสร้างความเขม้ แข็งและความมนั่ คงทางวัฒนธรรมให้ แต่ละสังคม ดังน้ันการศึกษาวัฒนธรรมที่เป็นคติชนจึงควรศึกษาในบริบททางสังคมน้ัน ๆ เพื่อให้เห็น ความสาคญั ของขอ้ มลู ประเภทคติชนท่ชี ว่ ยให้สงั คมดารงอยู่อย่างมน่ั คง มาลินอฟสก้ี (Bronislaw Malinowski) ผู้กล่าวประโยคสาคัญท่ีสะท้อนแนวคิดในสานักน้ีคือ ตัวบท (ของเร่ืองเล่า) ก็เป็นส่ิงสาคัญอย่างมากแต่ถ้าปราศจากบริบท ตัวบทน้ันก็ดูจะเป็นสิ่งที่ไม่มี “ชีวิต” และอีก ประโยคหน่ึงท่ีว่า เรื่องเล่าทั้งหลาย “มีชวี ติ อย”ู่ ในสังคมของชาวบ้าน ไมไ่ ดม้ ชี ีวิตอยูบ่ น “กระดาษ” วิลเลียม บาสคอม (William Bascom) ผู้เขียนบทความเร่ือง “Four Functions of Folklore” ชี้ให้เห็นว่าเราควรใส่ใจบริบททางสังคมของคติชน (social context of folklore) และบาสคอมเห็นด้วยกับ มาลินอฟสก้ีท่ีบอกว่า เราควรสนใจว่าเร่ืองเล่าแต่ละประเภทในแต่ละสังคมใช้เล่าเมื่อไร ที่ใด และในโอกาสใด บาสคอมยังได้ช้ีแนะต่อไปว่าเราควรสนใจด้วยว่า ใครเป็นผู้เล่า, เวลาเล่ามีกลวิธีในการเล่าอย่างไร ใช้สีหน้า อย่างไร ใช้มือไม้ประกอบอย่างไร ผู้ฟังนิทานเป็นใครมีส่วนร่วมอย่างไรระหว่างที่ฟังนักเล่านิทาน ผู้ฟังหัวเราะ บ้างหรือไม่ หัวเราะตอนไหนของเร่ืองปรบมือตอนไหน ลุกข้ึนมาร้องเพลงหรือเต้นราประกอบการเล่าตานาน ของชนเผ่าหรือไม่อย่างไร ทัศนคติท่ีผู้ฟังมีต่อเรื่องเล่าแต่ละประเภทเป็นอย่างไร เหล่าน้ีล้วนเป็นคาถามที่
8 สะท้อนความสนใจเกี่ยวกับการศึกษาบริบททางสังคมของเรื่องเล่า หรือของการเล่านิทานในสังคมต่าง ๆ (วลิ เลยี ม บาสคอม 2508 : 281-298 อ้างถงึ ใน ศริ าพร ณ ถลาง, 2548) ด้วยเหตุนี้ คติชนแต่ละประเภทจึงมีบทบาทแตกต่างกัน ในบทความ “ Four Functions of Folklore” บาสคอมได้จาแนกบทบาทหนา้ ที่ของคตชิ นในภาพรวมไว้ 4 ประการ ดงั น้ี 1. ใช้อธิบายท่มี าและเหตผุ ลในการทาพธิ ีกรรม 2. ทาหนา้ ทใ่ี หก้ ารศึกษาในสงั คมทใ่ี ช้ประเพณีบอกเล่า 3. รกั ษามาตรฐานทางพฤติกรรมท่เี ป็นแบบแผนของสงั คม 4. ให้ความเพลิดเพลนิ และเปน็ ทางออกให้กบั ความคบั ขอ้ งใจของบคุ คล 2.2 วรรณกรรมและงำนวิจัยท่เี กยี่ วขอ้ ง งานวิจัยน้ีได้สืบค้นเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเด็น ได้แก่ 1) เอกสารที่ ศึกษางานวรรณกรรมอีสาน 2) เอกสารท่ีศึกษางานธุงในอีสาน และ 3) เอกสารหนังสือวรรณกรรมอีสาน จานวน 3 เร่ือง โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 2.2.1 เอกสำรทศี่ กึ ษำงำนวรรณกรรมอีสำน จากการทบทวนงานศึกษาที่เก่ียวข้องกับงานวรรณกรรมอีสาน ผู้วิจัยพบว่ามีงานศึกษาจานวน 15 เร่ือง ดงั นี้ ตำรำงท่ี 1 วรรณกรรมและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ งการศกึ ษางานวรรณกรรมอสี าน ลำดบั ชือ่ เร่อื ง ปีทีพ่ มิ พ์ ผเู้ ขียน ประเภท วิทยานพิ นธ์ 1. การศึกษาคุณค่าวรรณกรรมอีสาน เรื่อง 2529 นงลักษณ ขุนทวี วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ เสียวสวาสดิ์ วิทยานิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์ 2. การศกึ ษาวรรณกรรม เรอ่ื ง พญาคันคาก 2532 สุขฤดี เอี่ยมบตุ รลบ วทิ ยานิพนธ์ 3. อุดมคติเกี่ยวกับผู้นาในวรรณกรรมอีสาน 2533 ชัยณรงค์ โคตะนนท์ ประเภทวรรณกรรมคาสอน 4. การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมอีสาน 2545 สมัย วรรณอุดร และลาวเรื่อง ลาบษุ บา 5. พัฒนาการของความเชื่อเรื่องนาค แถบ 2546 สัตยิ ะพันธ์ คชมติ ร ลุ่มแม่น้าโขงตั้งแต่ ยุคอุรังคธาตุ สู่ ประวัตศิ าสตร์รว่ มสมัย 6. การวิเคราะห์แนวคิดเร่ืองอานาจใน 2547 ตลุ า คมกฤต มโนรตั น์ วรรณกรรม : ศึกษากรณีท้าวฮุ่ง ท้าว เจือง
9 7. นกกระเต็นด่อน : วิเคราะห์ความเช่ือ 2551 ศุภชัย ภักดีและสนม ครุฑ วารสาร และภาพสะท้อนสังคม เมือง 8. การศึกษาวิเคราะห์อิทธิพล จากนิทาน 2551 โสรัจ นามออ่ น และคณะ รายงานการ พ้ืนบ้านหนังสือผูกใบลานอักษรธรรม วจิ ัย อีสานในจงั หวัดอุบลราชธานี 9. ก าร ศึ ก ษ าวิเค ร าะห์ โล ก ทั ศ น์ ท า ง 2553 พระมหาสรุ ะเวช วชิโร วิทยานิพนธ์ พระพุทธศาสนาในวรรณกรรมพ้ืนบ้าน อสี าน เรอ่ื งพระยาคนั คาก 10. วิเคราะห์การเมืองการปกครองไทยใน 2557 เจริญ ช่วงชิต สารนิพนธ์ ปัจจบุ นั ผ่านหลกั ธรรมกิ ราชใน วรรณกรรมเรื่องท้าวฮงุ่ ทา้ วเจือง 11. การศึกษาวิเคราะห์พุทธศาสนาผ่าน 2560 พระคาพันธ์ ผิวกระจ่าง และ วารสาร ตานานพระธาตพุ นมและพระธาตเุ ชงิ ชุม ประยูร แสงใส 12. วรรณกรรมอีสานเรื่อง “ ท้าวย่ี ” : 2561 อนันตศักดิ์ พลแก้วเกษ วารสาร ศึกษาวิเคราะห์เชิงอุดมการณต์ ัวละคร และ เกียรติศักด์ิ พกิ ุลศรี 13. ตานานอุรังคธาตุ: นาคอยู่ในสุวรรณภูมิ 2563 ศริ ิศกั ด์ิ อภิศักดมิ์ นตรี วารสาร ไม่มนี าคทพี่ ระธาตุพนม 14. ช้างในวรรณกรรมนิทานอีสาน : การ 2563 คมกฤษณ์ วรเดชนัยนา และ วารสาร สร้างอัตลักษณ์สัตว์และความหมายทาง ปฐม หงษส์ ุวรรณ วัฒนธรรม 15. ความเป็นวีรบุรุษของท้าวฮุ่งหรือเจือง : ม.ป.ป ชูศักดิ์ ศุกรนนั ทน์ บทความ มุมมองจากมหากาพย์เรื่อง “ท้าวฮุ่งท้าว เจอื ง” วิทยานิพนธ์ของ นงลักษณ ขุนทวี (2529) เรื่อง กำรศึกษำคุณค่ำวรรณกรรมอีสำนเรื่อง เสียว สวำสด์ิ มีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาวรรณกรรมอีสานเร่ือง เสียวสวาสด์ิสานวนขุนพรหมประศาสน์ ซ่ึงแต่งเป็น อกั ษรไทยกลางด้วยภาษาไทยถิ่นอสี าน ผู้วิจัยมุ่งพิจารณาถึงด้านต่าง ๆ คือ บ่อเกิดและท่ีมาของเรื่อง ต้นฉบับ ผู้แต่ง เน้ือเรื่อง ลักษณะคาประพันธ์ศิลปะการประพันธ์ สารัตถะ และองค์ประกอบทางสังคมที่ปรากฏในเรื่อง และบทบาทของวรรณกรรมเร่ืองเสียวสวาสด์ิ ตอ่ สังคมอีสาน ผลการศึกษาพบว่า 1) บ่อเกิดและท่ีมาของเร่ือง ตลอดจนผู้แต่งไม่มีหลักฐานชัดเจน เพราะวรรณกรรมเรื่องเสียวสวาสดิ์เป็นวรรณกรรมคาสอนโดยนานิทาน ชาวบ้าน และชาดกมาเป็นตัวอย่างขยายกระทู้ คดีธรรม และคดีโลกที่สอน ต้นฉบับใบลานจารด้วยอักษรไทย น้อยและอักษรธรรม ซึ่งมีผู้ปริวรรตและนามาแต่งใหม่เป็นอักษรไทยกลางในเวลาต่อมา 2) เน้ือเรื่อง ประกอบด้วยส่วนสาคัญสองส่วนคือ โครงเร่ืองใหญ่ที่เป็นแกนกลางให้เร่ืองดาเนินไปตั้งแต่ต้นจนจบ และโครง
10 เรื่องย่อยได้แก่นิทานท่ีนามาประกอบคาสอน ซ่ึงเน้ือหาสาระได้สะท้อนให้เห็นแนวคิดในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ท้งั ในวถิ ีชวี ติ สว่ นตัวและวิถีราชการ 3) ลักษณะคาประพนั ธ์ แตง่ ด้วยโคลงสาร (กลอนอา่ นหรอื กลอนเญิ้น) 4) ศิลปะการประพันธ์ ผู้แต่งมีลักษณะเฉพาะตัวในการเลือกเฟ้นการใช้คาให้เหมาะกับบุคคล ตลอดจนการ ดดั แปลงคาภาษาอื่นเข้ามาใช้ในภาษาถ่ินอสี าน และการเลอื กใช้คาทมี่ คี วามหมายเฉพาะในภาษาไทยถ่ินอีสาน มาใช้ในวรรณกรรมได้อย่างเหมาะสมและสละสลวย มีการใช้สัญลักษณ์ท่ีสามารถตีความได้ท้ังคดีโลกคดีธรรม ตลอดจนการใช้โวหารท่ีสามารถจัดระบบได้อย่างเป็นสากล 5) สารัตถะหรือแนวคิดของเรื่อง ได้แก่ ปัญญา ประเสริฐกว่าทรัพย์การใชป้ ัญญาในการแก้ไขปัญหาเปน็ สิ่งท่ีนา่ เลื่อมใสศรัทธาและยอมรับของบคุ คลโดยทวั่ ไป และแนวคิดย่อมมีอยู่หลายแนวคิดตามนิทาน นอกจากน้ียังทาให้ทราบถึงโลกทัศน์ของชนชาวอีสานในด้าน คา่ นยิ ม ความเชอ่ื ขนบธรรมเนยี มประเพณี การละเลน่ และจรยิ ธรรมคาสอนต่าง ๆ โลกทัศน์เหลา่ นน้ั มีลักษณ์ ท่ีสอดคล้องกับหลักธรรมทางพุทธศาสนา 6) วรรณกรรมเรื่องเสียวสวาสด์ิมีบทบาทในการจัดระเบียบ สังคมอีสาน คือ กาหนดบรรทัดฐานอันเป็นแนวประพฤติปฏิบัติตนของชนชาวอีสานดังท่ีเรียก “ ฮีตคอง” นอกจากนั้นยังให้ความบันเทิงได้เป็นอยา่ งดี วิทยานิพนธ์ของ สุขฤดี เอี่ยมบุตรลบ (2532) เร่ือง กำรศึกษำวรรณกรรม เรื่อง พญำคันคำก มีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาวรรณกรรมท้องถ่ินอีสานเร่ือง พญาคันคาก ผ่านเอกสารใบลานวัดบ้านนาสะแบง ตาบลพนา อาเภอพนา จังหวดั อุบลราชธานี ผลการศกึ ษาพบว่า วรรณกรรมเรื่อง พญาคนั คากเป็นที่รู้จักเช่ือว่า เป็นวรรณกรรมพุทธศาสนา และได้รับการยกย่องว่าเป็นนิทานชาดก ตัวอักษรท่ีปรากฏในเรื่องเป็นตัวอักษร ธรรมอีสาน การบันทึกอักษรยังใช้วิธีไม่เป็นระเบียบ ส่วนเน้ือเรื่องจัดเป็นนิทานคดีธรรม กวีนาความเช่ือทาง พุทธศาสนาและความเช่ือเรื่องผีแถนของชนบทท้องถ่ินมาผูกเป็นเรื่องราว เพื่อมุ่งในการส่ังสอนแก่ผู้อ่าน เป็นสาคัญ และเนื้อเรื่องเน้นการบาเพ็ญบารมีของพระโพธ์ิสัตว์ การรบกับพญาแถนน้ันเพ่ือให้แถนบันดาล น้าฝนให้แก่มนุษย์ จะเห็นว่าวรรณกรรมเร่ืองพญาคันคากจึงเปน็ เพียงการยกนิทานชาวบ้านใหเ้ ป็นนิทานชาดก เพื่อเกิดความศักดส์ิ ิทธเ์ิ ท่านั้น ในเชิงวรรณกรรมกวมี ีความสามารถในการใช้ภาษาเป็นอย่างดี ส่วนในเชิงสังคม นน้ั เรอ่ื งพญาคันคากสะทอ้ นให้เห็นถึงความเชือ่ คตธิ รรม คาสอน ค่านยิ ม และสงั คม วิทยานิพนธ์ของ ชัยณรงค์ โคตะนนท์ (2533) เรื่อง อุดมคติเกี่ยวกับผู้นำในวรรณกรรมอีสำน ประเภทวรรณกรรมคำสอน มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอุดมคติเกี่ยวกับผู้นาในวรรณกรรมอีสานประเภท วรรณกรรมคาสอน จานวน 14 เร่ือง คือ ขุนบรม ชนะสันทะยอยคาสอน ฮตี สิบสอบคองสิบส่ี คากลอนเร่ืองปู่ สอนหลาน กาพย์ปู่สอนหลาน กาพย์หลานสอนปู่ ธรรมดาสอนโลก กาพย์วิฑูรย์บัณฑิตกาพย์โอนซาสอน คากลอนสอนโลก เสียวสวาสดิ์ พญาคากองสอนไพร่ สริ จิ ันโทวาทยอดคาสอน ตานานเร่ืองพยาอินทร์โปรดโลก โดยศึกษาถึงคุณสมบัติของผู้นา และลักษณะของสังคมท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสานประเภทวรรณกรรม คาสอน ผลการศึกษาพบว่า คุณสมบัติของผู้นาตามอุดมคติน้ัน จะต้องเป็นผู้ท่ีปกครองบ้านเมืองด้วยหลัก คุณธรรมนาเอาธรรมะนาใช้ในการปกครองประชาชน ลักษณะการปกครองดังกล่าวมีพนื้ ฐานมาจากความเชื่อ ในหลักธรรมของพุทธศาสนา ซงึ่ เช่อื กันว่า ผ้นู าทด่ี ี ปกครองอาณาประชาราษฎร์ไดร้ ม่ เย็นเปน็ สุขบ้านเมอื งอุดม สมบูรณ์ และเจริญรุ่งเรืองจะต้องเป็นผู้ทรงไว้ซึ่ง \"ทศพิธราชธรรม\" นอกจากนี้ยังมีหลักธรรมะอื่น ๆ
11 เป็นแนวทางในการปกครองเช่นจักรวรรดิวัตธรรม และราชสังคหวัตถุ เป็นต้น นอกจากหลักธรรมะดังกล่าว แล้ว ผู้นายังจะต้องประพฤติปฏิบัติตามแบบแผนของสังคมที่ได้กาหนดเอาไว้ใน \"ฮีตคอง\" อันเป็นแนวทาง ในการประพฤติปฏิบัติที่สืบทอดกันมาต้ังแต่สมัยโบราณ ผู้นายังมีหน้าท่ีในการบาบัดทุกข์บารุงสุขให้แก่อาณา ประชาราษฎร์ให้ความรัก และช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้ท่ีได้รับความยากลาบาก วางนโยบายการปกครองให้ เหมาะสม ตลอดจนให้การอบรมสั่งสอนแก่ข้าราชการ ขุนนาง และประชาชนท่ัวไปให้ปฏบิ ัติตนให้ถูกต้องตาม แนวทางของสังคมเพอื่ ให้สังคมเกิดความสงบสุข การทานุบารุงพุทธศาสนา และพระสงฆ์ถือเป็นหน้าที่โดยตรง ของผู้นา เพราะศาสนาจะมีความเจริญรุ่งเรือง บ้านเมืองมีความสงบสุขได้น้ันข้ึนอยู่กับศรัทธาความเชื่อของ ประชาชนที่มีต่อศาสนาผู้นาในฐานท่ีเป็นองค์อุปถัมภ์ศาสนา จะต้องปฏิบัติให้เป็นแบบ อย่างแก่อาณา ประชาราษฎร์ เพ่ือเป็นการสืบทอดพระศาสนา และยังผลให้เกิดความสงบสุขในสังคม วรรณกรรมอีสาน ประเภทวรรณกรรมคาสอนยังสะท้อนให้เห็นถึงลักษณะของสังคมที่พึงประสงค์ว่า เป็นสังคมที่มีความอุดม สมบูรณ์ มีความเสมอภาค และไม่เบียดเบียนกัน ทุกคนอยู่กันอย่างสงบสุข เกื้อกูล และแบ่งปันให้ทานซ่ึงกัน และกนั วทิ ยานิพนธข์ อง สมัย วรรณอุดร (2545) เร่ือง กำรศึกษำเปรียบเทียบวรรณกรรมอีสำนและลำว เรื่อง ลำบุษบำ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมอสี านและลาว เรื่อง ลาบุษบา ซึ่งปรากฏใน เอกสารใบลาน จารด้วยตัวอักษรธรรม ฉบับอีสาน ชื่อว่า ลาบุษบา มีจานวน 8 ผูก 234 หน้าลาน อายุ พ.ศ. 2455 ส่วนฉบับลาว ช่ือว่า ลากาพร้าปลาแดกปลาสมอ มีจานวน 5 ผูก 228 หน้าลาน อายุ พ.ศ. 2474 ผลการศึกษาว่า วรรณกรรมทั้ง 2 ฉบับเป็นวรรณกรรมที่มีลักษณะร่วมกันทุกอย่าง กล่าวคือ ใช้ปลาร้ามาเป็น ประเด็นหลักในการนาเรื่อง โดยมีจุดมุ่งหมายในการแต่งเพ่ือแสดงให้เห็นแนวคิดทางพระพุทธศาสนาเร่ือง กฎแห่งกรรม มีลักษณะคาประพันธ์ประเภทร้อยแก้ว มีแพร่หลายในภาคอีสานมากกว่าประเทศลาว ในเชิง วรรณศิลป์ทั้ง 2 ฉบับ ก็มีลักษณะเหมือนกัน กล่าวคือ แก่นเรื่องเน้นในเรื่องกฎแห่งกรรม โครงเร่ืองและ การดาเนินเรื่องเป็นไปตามลาดับเวลา ฉากท้ังฉากแบบเหมือนจริงและแบบจินตนาการ แต่ฉบับลาว จะพรรณนาฉากธรรมชาตไิ ดล้ ะเอียดกว่าฉบบั อีสาน มีตัวละครที่เหมือนกนั คือมีตวั ละครฝ่ายธรรมทมี่ ีทัง้ มนษุ ย์ และอมนุษย์ ส่วนตัวละครฝ่ายอธรรมมีเฉพาะมนุษย์ มีการใช้ถ้อยคาและสานวนโวหารที่ไพเราะสละสลวย ตลอดถึงมีการใช้โวหารประเภทต่าง ๆ เป็นภาพพจน์ท่ีทาให้ผอู้ ่านเหน็ ภาพและเกดิ ความรู้สกึ คล้อยตาม ในเชิง สังคมทั้ง 2 ฉบับ ได้สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิต ค่านิยม ความเชื่อ หลักธรรมคาสอนของชาวอีสานและชาวลาว ที่เหมือนกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงได้สะท้อนให้เห็นว่าพระพุทธศาสนาเข้ามามีอิทธิพลต่อจิตใจของชาวอีสาน และชาวลาวเกือบทุกอยา่ งท้ังหลักในการปกครอง หลกั ในการดาเนนิ ชีวติ ตลอดถึงจารีตประเพณี คตคิ วามเชื่อ และค่านิยมล้วนเก่ียวข้องกับหลักธรรมคาสอนทางพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น อันเป็นหลักฐานที่ยืนยันชัดเจน วา่ ชาวอีสานและชาวลาวมีความเคารพศรทั ธาทตี่ ้ังม่นั ในพระพทุ ธศาสนาอย่างยง่ิ วิทยานิพนธ์ของ สัติยะพันธ์ คชมิตร (2546) เรื่อง พัฒนำกำรของควำมเชื่อเร่ืองนำค แถบลุ่ม แม่น้ำโขงต้ังแต่ยุคอุรงั คธำตุสปู่ ระวัติศำสตรร์ ่วมสมัย มีวตั ถุประสงค์ เพ่ือศึกษาความเช่ือเร่ืองนาคของชุมชน อีสานลุ่มแม่น้าโขง อนั ได้แก่ จังหวัดเลย หนองคาย อดุ รธานี สกลนคร และนครพนม ในช่วงยุคอรุ ังคธาตุ (พทุ ธ
12 ศตวรรษท่ี 21-23) จนถึงปจั จุบัน ผลการศึกษาพบว่า ตามหลักฐานทางโบราณคดีและเอกสารมีรอ่ งรอยว่านาค เป็นสิ่งท่ีปรากฏอยู่ในสัญลักษณ์ทางความเชื่อดั้งเดิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งลัทธิความอุดมสมบูรณ์ ซง่ึ มีการเคารพเซน่ สรวงบชู าธรรมชาติ และสตั ว์บางชนิด โดยเช่ือว่าจะเปน็ ผูบ้ นั ดาลใหเ้ กดิ ความม่ังคั่งแก่ชมุ ชน แถบลุ่มน้าโขง ในช่วงยุคอุรังคธาตุคติเร่ืองนาคได้ถูกนามาใช้ในด้านการเมืองการปกครองโดยสัมพันธ์กับ การขยายตัวของอาณาจักรล้านช้าง ในบริเวณลุ่มน้าโขง รวมท้ังเป็นสัญลักษณ์สาคัญทางพุทธศาสนา ปัจจุบัน ชุมชนแถบลุ่มน้าโขงยังคงมีความเชื่อ พิธีกรรมนิทาน เรื่องเล่าในท้องถ่ินท่ีเกี่ยวข้องกับคติเร่ืองนาค เมื่อมี การส่งเสริมการท่องเท่ียวเป็นผลให้นาคถูกใช้เป็นจุดขายทางการท่องเท่ียวโดยนาคได้กลายเป็นสินค้าทาง วัฒนธรรม เม่ือคติเร่ืองนาคเปลี่ยนไป ชุมชนในบริเวณแถบลุ่มน้าโขงจึงพยายามที่จะแสดงว่าคตคิ วามเช่ือเรื่อง นาค เป็นคติความเช่อื ทม่ี ีมานานและเปน็ สิ่งท่ีสมั พันธ์กับวิถีชีวติ ของผ้คู นในบริเวณแถบลุ่มน้าโขง วิทยานิพนธ์ของ ตุลำ คมกฤต มโนรัตน์ (2547) เรื่อง กำรวิเครำะห์แนวคิดเร่ืองอำนำจใน วรรณกรรม : ศกึ ษำกรณที ้ำวฮงุ่ ทำ้ วเจือง มีวตั ถปุ ระสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพ่อื วิเคราะห์แนวคิดเร่อื งอานาจ ในวรรณกรรม : ศึกษากรณีท้าวฮงุ่ ท้าวเจือง โดยการศึกษาลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมและการวิเคราะห์ แนวคิดเรื่องอานาจในวรรณกรรมผ่านการมองแนวคิดวาทกรรมเรื่องอานาจเชิงพ้ืนที่ และอานาจเชิงภาษา โดยใช้วรรณกรรม 4 ฉบับคอื (1) วรรณกรรมฉบับลา้ นนา (2) วรรณกรรมฉบับลา้ นช้าง (3) วรรณกรรมเงนิ ยาง เชียงแสนฉบับท่ี 1และ (4) วรรณกรรมเงินยางเชียงแสนฉบับท่ี 2 และ 2) เพ่ือศึกษาลักษณะทางสังคมและ วฒั นธรรมผ่านวรรณกรรมทา้ วฮุ่ง ท้าวเจอื ผลการศกึ ษาพบว่า ในอดีตดินแดนล้านนา ล้านชา้ ง มีการตั้งถน่ิ ฐาน เป็นเมือง สังคมเป็นสังคมชนชั้นมีท้ังชนชั้นปกครองและชนช้ันผู้ถูกปกครอง มีการแต่งงานระหว่างชนชั้น ปกครอง เพ่ือเป็นการรักษาฐานอานาจ ตลอดจนมีความไม่เท่าเทียมกันระหว่างชายหญิง เป็นสังคม เกษตรกรรม ชาวบ้านมีความเช่ือมั่นเรื่องโชคชะตา ส่วนการศึกษาแนวคิดเร่ืองอานาจในวรรณกรรมโดย การศึกษา อานาจเชิงพ้ืนท่ี และอานาจเชิงภาษาพบว่าวรรณกรรมท้าวฮุ่ง ท้าวเจือง มิใช่เพียงเป็นวรรณกรรม เพื่อให้ความบันเทิงเพียงอย่างเดียว แต่ยังแฝงด้วยอานาจที่ถูกสร้างผ่านวาทกรรมว่าด้วยความจริงทาง ประวตั ศิ าสตร์ วาทกรรมทางพนื้ ท่ีวาทกรรมทางภาษา ซึง่ วรรณกรรมเรอ่ื งน้อี าจเปน็ เร่ืองจริงทางประวตั ศิ าสตร์ หรืออาจจะเป็นเพียงการสร้างวาทกรรมชุดหน่ึงผ่านตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ของบุคคลนามว่าฮุ่งหรือเจือง วรี บุรษุ สองฝงั่ โขง วารสารของ ศุภชัย ภักดีและสนม ครุฑเมือง (2551) เรื่อง นกกระเต็นด่อน : วิเครำะห์ควำมเช่ือ และภำพสะท้อนสังคม มีวัตถุประสงค์ เพ่ือวิเคราะห์ความเชื่อ และภาพสะท้อนสงคมจากวรรณกรรมเร่ือง นกกระเต็นด่อน ซึ่งชาระโดย พระราชรัตโนบล (พิมพ์นารโท) ผลการศึกษาพบว่า ความเชื่อท่ีปรากฏใน วรรณกรรมเร่ือง นกกระเต็นดอ่ นพบความเช่ือเรื่องส่ิงศักดิส์ ทิ ธิม์ ากท่ีสดุ รองลงมาคือ ความเชื่อเรื่อง ฤกษ์ยาม โชค เคราะห์ ความเชื่อเรื่องนรกสวรรค์ ความเชื่อเร่ืองบุคคล ความเช่ือเร่ือง ภูตผีปีศาจ ความเช่ือเร่ือง เครื่องรางของขลัง ไสยศาสตร์ ความเช่ือเร่ืองสุขภาพ และสวัสดิ์ภาพ ความเชื่อเร่ืองหมอดูโหราศาสตร์ และความเช่ือเรื่องส่ิงแวดล้อมตามลาดับ สาหรับความเชื่อท่ีไม่ปรากฏในวรรณกรรมเรื่องน้ี ได้แก่ ความเชื่อ
13 เร่ืองเพศ และ ความเชื่อเรื่องความฝัน การศึกษาภาพสะท้อนทางสังคมพบวา่ ผู้เขียนได้สะท้อนภาพของสังคม ในวรรณกรรมท้องถน่ิ เรือ่ งนีป้ ระกอบไปดว้ ย สภาพความเปน็ อยกู่ ารเมืองการปกครอง ประเพณี และคติธรรม รายงานการวิจัยของ โสรัจ นำมอ่อน และคณะ (2551) เร่ือง กำรศึกษำวิเครำะห์อิทธิพล จำก นิทำนพ้ืนบ้ำนหนังสือผูกใบลำนอักษรธรรมอีสำนในจังหวัดอุบลรำชธำนี มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลปรัชญาธรรมและคติธรรมท่ีปรากฏในนิทานพื้นบ้านจากหนังสือใบลานในจังหวัด อุบลราชธานี และ 2) เพื่อเปรียบเทียบอิทธิพลปรัชญาธรรมและคติธรรมท่ีมีต่อวิถีชีวิตชุมชนกลุ่มเจาะจงอายุ อาชีพและการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า นิทานพื้นบ้านอีสานนอกจากให้ความรู้ความเพลิดเพลิน สนุกสนาน ม่วนชื่นโฮแซว และหลักพุทธปรัชญาแนวคิดและหลกั คติธรรม แนวทางยึดถือประพฤติปฏิบัติในชวี ิตประจาวัน แล้วยังทาให้ทราบถึงแนวคิดอันล้าลึกกว้างไกล วิจิตรพิสดารท่ีแสดงออกผ่านทาง ส่ือกลาง คือ วรรณกรรม ใบลาน อันเป็นประจักษ์พยาน ที่ยังคง หลงเหลือไว้เป็นมรดกตกทอด อันล้าค่าทางสังคม ให้คนไทยท้ังชาติได้ ภาคภูมิใจไม่น้อยหน้าชนชาตใิ ด ท้ังยังให้ทราบวถิ ีการดาเนินชีวิตประจาวนั การอยู่ร่วมกันในสังคม อนั เป็นคน ส่วนใหญ่ของประเทศชาติ จึงควรอนุรักษ์เผยแพร่นิทานพื้นบ้านให้เข้าสู่กลุ่มเยาวชนให้หันมาสนใจมากยิ่งข้ึน ด้วยการนาเขา้ ส่รู ะบบการสอนในสถาบนั สอนนอกระบบ และสอนตามอัธยาศยั ศึกษาวิเคราะห์นิทานพ้นื บ้าน อีสานในด้านอ่ืน ๆ อาทิ ด้านผลกระทบทางความประพฤติ การแสดงออกนอกระเบียบแบบแผน ด้านขนบธรรมประเพณี ศีลธรรม จริยธรรมอันดีงาม ท่ีเป็นส่ิงยั่วยุในทางสังคมปรากฏอยู่ทุกวี่วัน ท่ีมา ของเหตุการณร์ นุ แรงในสังคมปจั จบุ นั ที่นา่ เปน็ ห่วงยิ่ง วิทยานิพนธ์ของ พระมหำสุระเวช วชิโร (2553) เร่ือง กำรศึกษำวิเครำะห์โลกทัศน์ทำง พระพุทธศำสนำในวรรณกรรมพื้นบ้ำนอีสำน เรื่องพระยำคันคำก มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษารูปแบบวรรณกรรมอีสาน 2) เพ่ือศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในวรรณกรรม และ วิเคราะห์โลกทัศนทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในวรรณกรรม เร่ืองพระยาคันคาก ผลจากการศึกษา พบว่า วรรณกรรมพ้ืนบ้านอีสานมีลักษณะผสมผสานตามความเช่ือท้องถ่ินกับวรรณกรรมท้องถ่ิน ซ่ึงส่วนมาก ไมปรากฏชื่อผู้แต่งและสามารถจัดเป็นกลุม ๆ ดังนี้ วรรณกรรมพุทธศาสนา วรรณกรรมประวัติศาสตร์ วรรณกรรมนิทาน วรรณกรรมคาสอน และวรรณกรรมเบ็ดเตล็ด สาหรับพุทธธรรมที่ปรากฏในเร่ืองพระยาคัน คากนี้พบว่ามี 2 สวน คือ สวนที่เป็นสภาวธรรม ไดแก หลักอริยสัจ 4 ขันธ 5 ไตรลักษณ์และกรรมนิยาม และส่วนที่เป็นคุณธรรม ไดแก่ ความกตัญญู ความเมตตา ความสามัคคี ความสันโดษ และความเสียสละ หลักกัลยาณมิตรการบาเพ็ญทาน และความเพียร สาหรับโลกทัศน์ทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏ ไดแก โลกทัศน์ทางธรรมชาติ ส่ิงเหนือธรรมชาติ หลักความสัมพันธ์การปกครองและเศรษฐกิจและการครองชีพ และโลกทัศน์ท่ีมีต่อธรรมชาติได แก่ การอาศัยธรรมชาติคือ น้าฝนในการทานาของเหล่ามนุษย์น้า จึงเปน็ ธรรมชาตทิ ่ีสาคัญ โลกทัศน์ท่ีมีตอ่ ส่ิงเหนือธรรมชาตไิ ดแก ความล้ีลับ มหัศจรรย์แห่งเหตุการณท่ีเกิดข้ึน เช่น การเนรมิตปราสาทแกพระยาคันคาก เป็นต้น หลักความสัมพันธ์ไดแก ความผูกพันเก่ียวข้องกับคนใน ครอบครัวและสังคม หลักการปกครองเร่ืองพระยาคันคากนั้นเป็นการใช้อานาจปกครองในทางท่ีไมชอบธรรม ของพระยาแถน ด้านเศรษฐกิจและการครองชพี ไดแก มนุษย์ทั้งหลายมอี าชีพทานา ต้องอาศัยน้าฝนในการทา
14 นา เม่ือเกิดความแห้งแล้ง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการกระทาของพระยาแถน ทาให้เกิดความเป็นอยู่ยากลาบาก จงึ ไดตอสกู้ บั พระยาแถน จนไดชัยชนะในท่ีสดุ และกลบั มคี วามเปน็ อยทู่ ่ีดดี งั เดิม สารนิพนธข์ อง เจรญิ ช่วงชติ (2557) เรอ่ื ง วิเครำะห์กำรเมอื งกำรปกครองไทยในปจั จุบันผ่ำนหลัก ธรรมิกรำชในวรรณกรรมเรื่องท้ำวฮุ่ง ท้ำวเจือง มีวัตถุประสงค์ เพ่ือวิเคราะห์การเมืองการปกครองของไทย ในปัจจุบันผ่านหลักธรรมิกราชที่ปรากฏในวรรณกรรมเร่ืองท้าวฮุ่ง ท้าวเจือง ผลการศึกษาพบว่า ท้าวฮุ่ง ท้าวเจืองน้ันเป็นนามของวีรบุรุษคนไทลุ่มแม่น้าโขงตอนบน ก่อนสมัยสุโขทัย ในวรรณกรรมชนชาติไทใน ลา้ นนา ล้านชา้ ง สบิ สองพันนา และไทดาเวยี ดนามเหนือทเ่ี ขยี นถึง ขนุ เจอื งเม่ือวเิ คราะหก์ ารเมอื งการปกครอง ของไทยผ่านหลักธรรมิกราชท่ีปรากฏในวรรณกรรม ท้าวฮุ่ง ท้าวเจือง ปรากฏว่าในการปกครองแผ่นดิน มี 23 หลัก ได้แก่ อย่าสั่งการตามใจ การพัฒนาปกครองบ้านเมืองให้พิจารณาให้อย่างถ่องแท้ ให้ปกป้องดูแล ญาติ พี่น้อง รักประชาชน ให้ประพฤติถือตามจารีตประเพณี อย่าลาเอียงให้ความเท่าเทียมกัน ควรผูกมิตรต่าง เมืองเอาไว้เอาไว้ ในยามสงบให้รู้จักซ่อมแซม คูนดินทาถนนสะพานให้แข็งแรง ให้สามารถใช้เดินออกศึกได้ สะดวก อย่าเป็นคนถือดี อวดโอ้ โมโหร้าย ไม่รู้จักเอาใจใส่บ้านเมือง ให้อยู่เป็นผู้นาเม่ือเกิดศึกสงคราม ให้เอา ใจใส่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ อย่าประมาทต่อศัตรู อย่าไปเบยี ดเบียนผู้อ่ืน คิดอะไรให้รอบครอบ ให้รู้จักรักษาเชื้อ แถว โคตรรพระวงค์ เก็บความลบั เปน็ ละกิเลสได้ อยา่ ข่มเหงไพร่ฟา้ ประชาชน อยา่ ขม่ ขู่ขดุ รดี ใหร้ ูจ้ ักตอบแทน บุญคุณ รู้จักให้อภัย พวกล้ินอ่อนปากหวาน อยู่ต่อหน้าพูดดี หลับหลังพูดร้าย ยามเมื่อรักกันพูดแต่งแนวดี เวลาผิดใจกนั เหมอื นกบั จะฆ่ากนั ได้ และสดุ ทา้ ยใหร้ ู้จกั นาความเจรญิ ไปสบู่ ้านเมอื งที่ตนไปอยูอ่ าศัย วารสารของ พระคำพันธ์ ผิวกระจ่ำง และประยูร แสงใส (2560) เร่ือง กำรศึกษำวิเครำะห์พุทธ ศำสนำผ่ำนตำนำนพระธำตุพนมและพระธำตุเชิงชมุ มวี ัตถปุ ระสงค์ 2 ประการ คอื 1) เพอ่ื ศึกษาตานานพระ ธาตุพนมและพระธาตุเชิงชุม และ 2) เพื่อวิเคราะห์พัฒนาการพุทธศาสนาผ่านตานานพระธาตุพนมและพระ ธาตุเชิงชุม ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้างพระธาตุพนมและพระธาตุเชิงชุมเป็นตาราทางประวัติศาสตร์ด้าน ความคิด ความเชื่อของมนุษย์ เพราะตานานมีกาเนิดใกล้ชิดกับมนุษย์มากท่ีสุด ซึ่งให้ความรู้เก่ียวกับโลกทัศน์ ความเช่ือ ค่านิยมของสังคมมนุษย์ในแต่ละสังคม ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเช่ือเร่ืองโชคลางอิทธิปาฏิหาริย์ เหตุการณ์เหนือธรรมชาติในความหมายท่ีเฉพาะข้อเท็จจริงเก่ียวกับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาต่ออาณาจักร สังคม ความคิด ต่อระเบียบวิถีการดารงชีวิตของมนุษย์ในยุคสมัยนั้น ตา นานจะแสดงถึงอิทธิพล ของพระพทุ ธศาสนาทเี่ ขา้ ไปมสี ่วนกาหนดแนวความคิดของประชาชนและทฤษฎี วารสารของ อนันตศักดิ์ พลแก้วเกษ และ เกียรติศักดิ์ พิกุลศรี (2561) วรรณกรรมอีสำนเรื่อง “ ท้ำวย่ี ” : ศึกษำวิเครำะห์เชิงอุดมกำรณ์ตัวละคร มีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาอุดมการณ์ของท้าวยี่ ในวรรณกรรมอีสาน เรอื่ ง “ท้าวย”่ี ฉบบั บ้านนาศรี อาเภอเชยี งคาน จังหวัดเลย เคร่ืองมือวิจัยคอื การพรรณนา วิเคราะห์ (Deseriptive Analysis) อุดมการณ์ที่ปรากฏในวรรณกรรมเร่ืองท้าวยี่ ฉบับบ้านนาศรี อาเภอ เชียงคาน จังหวัดเลย การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผลการศึกษา พบว่า มีอุดมการณ์ในวรรณกรรมเร่ืองท้าวยี่ทั้งหมด 4 ลักษณะ ได้แก่ 1. อุดมการณ์หลักหรือเป้าหมายสูงสุด ประกอบด้วย 2 ลักษณะ 1) อดุ มการณ์ทางความคิด 2) อุดมการณ์ในการแสวงหาความจริงจากแรงปรารถนา
15 2. อุดมการณ์ทางความเช่ือ 2 อุดมการณ์ กล่าวคือ 1) อุดมการณ์ความเชื่อช่วยให้บังเกิด ความเป็นสิริมงคล 2) อุดมการณ์ความเช่ือในเร่ืองโลกนี้และโลก 3. อุดมการณ์ของพระโพธิสัตว์ประกอบ 2 อุดมการณ์ กล่าวคือ 1) อุดมการณ์เรื่องพระโพธิสัตว์ธรรมราชา 2) อุดมการณ์นครในอุดมคติ 4. ตัวละครผู้ช่วยทางอุดมการณ์หรือ ตัวละครที่เสริมบุญบารมี 3 จาพวก 1) ลุงของท้าวย่ี คือผู้ให้ความอุปการะรองจากพ่อแม่ 2) ควายเงินมี อิทธิฤทธิแ์ ละมีความมหศั จรรย์ 3) ไก่เผอื ก (ไกเ่ งิน) เปน็ ผชู้ ว่ ยเหลอื ให้ทา้ วยไ่ี ด้ประพฤตปิ ฏิบตั ิตามอุดมการณ์ วารสารของ ศิริศกั ดิ์ อภิศกั ดิม์ นตรี (2563) เร่ือง ตำนำนอรุ ังคธำต:ุ นำคอยู่ในสุวรรณภูมิ ไม่มีนำค ที่พระธำตุพนม มีวัตถุประสงค์ เพื่อโครงสร้างเน้ือหาและเร่ืองนาคในตานานอุรังคธาตุ ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้างประกอบด้วย 9 ช่วงเวลา มีลักษณะเร่ืองเล่าเก่ียวกับพระพุทธศาสนาบนแผ่นดินท่ีราบลุ่มทั้ง 2 ฝั่ง แม่น้าโขง ดาเนินเร่ืองตามความคติความเช่ือเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าในสมัยภัทรกัป และพระพุทธเจ้าในอนาคต ผ่านเหตุการณ์การเจริญรุ่งเรืองและเส่ือมโทรมลงของพระพุทธศาสนาและบ้านเมืองต่าง ๆ ทั้งน้ีสามารถ แบ่งกลุ่มเมืองในตานานอุรังคธาตุตามการอยู่อาศัยของนาคเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มเมืองสุวรรณภูมิอันเป็นท่ี อาศัยของเหล่านาค มีสุวรรณนาคเป็นใหญ่ ได้แก่ เมืองสุวรรณภูมิ เมืองจันทบุรี เมืองศรีสัตตนาค เมืองหนอง หาญน้อย และหนองหาญหลวง 2) กลมุ่ เมอื งศรีโคตรบองที่ไมม่ ีนาคอยู่อาศัย แต่เปน็ สถานทซ่ี ง่ึ ประดษิ ฐานพระ บรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าในสมัยภัทรกัป คือ พระธาตุพนม อย่างไรก็ตามเมืองท้ัง 2 มีความสัมพันธ์ ทางด้านการเมืองการปกครอง ผ่านการจุติและอุบัติพระยาติโคตรบูร และกษัตริย์องค์อน่ื ๆ บนแผ่นดินท่ีราบ ลุ่มแม่นา้ โขง ด้วยเหตุนี้ จึงกล่าววา่ นาคมีอยใู่ นสวุ รรณภมู ิ และไมม่ ีนาคอยู่ที่พระธาตุพนม วารสารของ คมกฤษณ์ วรเดชนัยนำ และ ปฐม หงส์สุวรรณ (2563) เร่ือง ช้ำงในวรรณกรรม นิทำนอีสำน : กำรสร้ำงอัตลักษณ์สัตว์และควำมหมำยทำงวัฒนธรรม มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาบริบทของวรรณกรรมนิทานอีสาน 2) เพื่อศึกษาการสร้างอัตลักษณ์สัตว์ให้กับช้างในวรรณกรรม นิทานอีสาน 3) เพื่อศึกษาช้างกับความหมายทางวัฒนธรรม ในวรรณกรรมนิทานอีสาน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิง คุณภาพ โดยศึกษาจากตัวบทวรรณกรรมนิทานอีสาน 3 เร่ือง คือ 1. สังข์ศิลป์ชัยฉบับของปรีชา พิณทอง 2. นางผมหอม ฉบับของชมรมวรรณกรรมอีสาน 3. ท้าวคัชชนาม ฉบับของอัมพร นามเหลา ผลการศึกษา พบวา่ 1. บริบทของวรรณกรรมนิทานอีสานทั้ง 3 เรื่อง สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ด้าน คือ 1) ด้านความ เป็นมาเป็นวรรณกรรมท่ีมีเนื้อหาคล้ายกับชาดก ผู้ประพันธ์นามาแต่งเพ่ือเป็นนิทานสอนคติธรรม รวมถึงเป็น มูลเหตุอธิบายสถานท่ีต่าง ๆ ในท้องถิ่นอีสานและ สปป.ลาว 2) ด้านเนื้อหาท่ีเกี่ยวกับช้าง ช้างจะมีบทบาทท้ัง บทบาทเด่นและบทบาทรอง แต่มีความสาคัญต่อการพัฒนาและการคล่ีคลายของท้องเร่ือง 3) ด้านการศึกษา เน้นการศึกษาในเชิงเปรียบเทยี บ กลวธิ กี ารประพันธ์ ศิลปะการใช้ภาษา ตลอดจนภาพสะท้อนสังคมวฒั นธรรม คติความเชื่อและประเพณี 2. การสร้างอัตลักษณ์ให้กับช้างในวรรณกรรมนิทานอีสาน สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ด้าน คือ 1) การสรา้ งอตั ลกั ษณด์ า้ นร้ายให้กับช้าง ซงึ่ เปน็ อัตลักษณด์ ้านลบของช้าง เช่น ดา้ นความโหดร้าย ดา้ นความไร้ ศลี ธรรม ซ่งึ อตั ลกั ษณ์เหล่าน้ยี ่อมขัดตอ่ สงั คมภายใต้วถิ แี ห่งพุทธศาสนา 2) การสร้างอตั ลักษณ์ ดา้ นดใี ห้กับช้าง
16 ซ่ึงเป็นอัตลักษณ์ด้านบวก เช่น ด้านความเสียสละ ด้านความเป็นบิดาท่ีมีความรักต่อบุตร ซึ่งอัตลักษณ์เหล่านี้ สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ สตั วส์ ามารถกระทาจริยธรรมอนั ดงี ามต่อมนุษยไ์ ด้ 3. ช้างกับความหมายทางวฒั นธรรมในวรรณกรรมนทิ านอสี าน สามารถแบง่ ออกได้เป็น 2 ความหมาย คือ 1) ช้างคือสัญลักษณ์ของอานาจเหนือธรรมชาติ ซ่ึงความลึกลับยากแก่การหยั่งรู้และอยู่เหนือการควบคุม ของมนุษย์ ทั้งยังเป็นตัวเช่ือมระหว่างโลกสามัญกับโลกศักด์ิสิทธ์ิ 2) ช้างคือสัญลักษณ์ของการสืบเผ่าพันธ์ุและ เพศสภาวะเป็นสัตว์ท่ีมีพลังอานาจในการสร้างสภาวะการเจริญพันธุ์ ซ่ึงเช่ือมโยงไปถึงการให้ความสาคัญ ทางเพศสภาวะระหวา่ งหญงิ และชาย บทความของ ชูศักด์ิ ศุกรนันทน์ (ม.ป.ป) เรื่อง ควำมเป็นวีรบุรุษของท้ำวฮุ่งหรือเจือง : มุมมอง จำกมหำกำพย์เรื่อง “ท้ำวฮุ่งท้ำวเจือง” มีวัตถุประสงค์ เพ่ือวิเคราะห์ความเป็นวีรบุรุษของท้าวฮุ่งหรือท้าว เจือง จากมุมมองในมหากาพย์เร่ืองท้าวฮ่งุ หรือเจือง มหากาพย์เร่ืองน้ีเป็นวรรณคดวี ีรบุรุษที่มีช่ือเสียงมากแห่ง อุษาคเนย์ ได้นาเสนอการสดุดีสรรเสริญวีรกรรมของวีรกษัตริย์ในสมัยโบราณ ผลการศึกษาพบว่า มีผู้ศึกษา เร่ืองราวของมหากาพย์เรื่องน้ีในแง่มุมต่าง ๆ เป็นจานวนมาก ส่วนการวิเคราะห์ความเป็นวีรบุรุษของท้าวฮุ่ง หรือท้าวเจืองน้ัน พบว่า ท้าวฮุ่งหรือเจืองน้ันเป็นวีรบุรุษทางวัฒนธรรมและสามารถประมวลความเป็นวีรบุรุษ โดยรวมได้แก่ ทรงมีพระปรีชาสามารถในการรบ ทรงมีความกล้าหาญเด็ดเด่ียว ทรงอุดมบุญญานุภาพ ทรงมีภาวะผนู้ าทด่ี ี ทรงยดึ ม่นั ในหลักจารตี ประเพณี ทรงเปน็ ทีเ่ คารพรกั และมีความรกั ทม่ี ั่นคง จากการทบทวนงานศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับงานวรรณกรรมอีสาน สรุปได้ว่า วรรณกรรมอีสานเป็นเร่ือง เล่า นิทาน ท่ีถูกเล่าขานกันต่อ ๆ มาแบบปากต่อปาก ส่วนใหญ่เป็นวรรณกรรมท่ีเก่ยี วพันกับชีวิตของคนอีสาน และลาว เพราะเป็นพื้นท่ที ค่ี าบเก่ยี วเน่ืองกันมาต้ังแตส่ มยั โบราณกาล ซึ่งเป็นวรรณกรรมพทุ ธศาสนา เน่ืองดว้ ย พระพุทธศาสนาเข้ามามีอิทธิพลต่อจิตใจของชาวอีสาน และชาวลาวเกือบทุกอย่างทั้งหลักในการปกครอง หลักในการดาเนินชีวิต ตลอดถึงจารีตประเพณี คติความเชื่อ และค่านิยมล้วนเก่ียวข้องกับหลักธรรมคาสอน ทางพระพุทธศาสนาท้ังสิ้น อันเป็นหลักฐานที่ยืนยันชัดเจนว่าชาวอีสานและชาวลาวมีความเคารพศรัทธาที่ตั้ง มั่นในพระพุทธศาสนาอย่างย่ิง และผู้วิจัยจะนาข้อมูลอันเป็นประโยชน์นี้ไปใช้เป็นแนวทางของการศึกษาธุงใน วรรณกรรมอีสาน ในการวิเคราะหว์ รรณกรรมทเ่ี ก่ียวเนอ่ื งกับตานาน นทิ านและความสาคญั ทางพทุ ธศาสนา 2.2.2 เอกสำรทศ่ี กึ ษำงำนธุงในอสี ำน จากการทบทวนงานศกึ ษาท่ีเกยี่ วขอ้ งกับงานธุงในอีสาน ผวู้ ิจัยพบวา่ มงี านศึกษาจานวน 7 เร่ือง ดังนี้ ตำรำงที่ 2 วรรณกรรมและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ งการศกึ ษางานธุงในอีสาน ลำดับ ช่ือเรื่อง ปที พ่ี มิ พ์ ผู้เขียน ประเภท วทิ ยานพิ นธ์ 1. ธุงผะเหวดกับวิถีชีวิตของชาวบ้านดู่ 2542 พวงเพชร ชุปวา ตาบลธงธานี อาเภอธวัชบุรี จังหวัด ร้อยเอ็ด
17 2. อุบลราชธานี : กรณีทุง 2548 อรชร พรประเสริฐ และคณะ รายงานการ วิจัย 3. บนั ทึก ศกึ ษา ธงุ อสี าน 2559 ประทบั ใจ สิกขา หนงั สอื 4. ตงุ 2561 วิทยา วุฒไิ ธสง บทความ 5. ธุง หรือ ทงุ และปะคือ ความหมาย 2562 วีณา วสี เพญ็ และคณะ เอกสาร ค ว า ม ส า คั ญ ใ น บ ริ บ ท ม ร ด ก ท า ง ประกอบการ วฒั นธรรม เสวนา วิชาการ 6. จนิ ตภาพแหง่ ความเชอ่ื และความศรัทธา 2563 ปิยนุช ไชยกาล และสุชาติ วารสาร สุขนา 7. ธุง ตุง สัญลักษณ์แห่งความศรัทธาที่ 2563 ณฎั ฐ์ฑกฤษณ์ ไชยจนิ ดา บทความ เหมือนหรือตา่ งของอสี านและล้านหนา้ วทิ ยานิพนธข์ อง พวงเพชร ชปุ วำ (2542) เร่อื ง ธงุ ผะเหวดกับวถิ ชี ีวิตของชำวบ้ำนดู่ ตำบลธงธำนี อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพ่ือศึกษาวิธีการ กระบวนการและขั้นตอน การทาธุงของชาวบ้านดู่ ตาบลธงธานี อาเภอธวัชบุรี จังหวดั ร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่ งธุงกับ วิถีชีวิตของชาวบ้าน ตาบลธงธานี อาเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ผลการศึกษาพบว่า ธุงผะเหวดเป็นภาษา ท้องถิ่นที่เรียกชื่อว่า ธงที่ปักรอบศาลาการเปรียญเนื่องในพิธีทาบุญมหาชาติของชาวอีสาน เป็นเครื่องแสดง สัญลักษณ์ให้ชาวบ้านได้รับรู้ร่วมกันว่าเวลาน้ี และสถานที่แห่งนี้จะทาการประกอบพิธีกรรมท่ีสาคัญทางพุทธ ศาสนา กล่าวคือ ประเพณีการทาบุญผะเหวด โดยจะใช้ธุงผะเหวดที่ได้จากบ้านหนองดู่ ตาบลธงธานี อาเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 33 ผืน ทอด้วยก่ีทอที่มีหน้ากว้างระหว่าง 30 - 60 เซนติเมตร เส้นยืน และเส้นทอทาด้วยผ้ายประเภทเดียวกัน ชาวบ้านทอผสมด้วยวัสดุท่ีมีอยู่ในท้องถิ่น เพื่อให้เกิดน้าหนัก และความสวยงามด้วยไม้ชิ้นแบน ๆ ทอลั่นผสมเป็นลายตัดขวางการวางระยะและความยาวของไม้ จะทาให้ เกิดเป็นลวดลายกันตลอดแนวความยาวของผืนธง ซึ่งมีความยาวเฉล่ีย 3.61 เซนติเมตร ส่วนชายธงได้รับ การออกแบบประดิษฐ์ตกแต่งให้สวยงามเป็นพิเศษภาระการทาผืนธงเป็นหน้าท่ีของผู้หญิง ส่วนผู้ชายมีหน้าที่ ทาเสาธงวิธกี ารทาธงุ ผะเหวดไดร้ ับการพฒั นาด้วยวัสดแุ ละวิธกี ารตามความก้าวหน้าทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ธุงผะเหวดท่ีชาวบ้านทาขึ้นมาจึงมีรูปแบบและลวดลายแตกต่างกันตามกาลเวลา การทาธุงผะเหวด ของชาวบ้านทาเพื่อถวายวัดไปใช้ในงานทาบุญประเพณีและเพ่ือเป็นการไถ่บาปของตนเองตามความเช่ื อใน พทุ ธศาสนาของชุมชนและนยิ มทาธงุ ผะเหวดถวายเปน็ ค่เู พ่อื ปรารถนาความสมบรู ณ์ทางดา้ นการครองเรือน รายงานการวิจัยของ อรชร พรประเสริฐ และคณะ (2548) เรื่อง อุบลรำชธำนี : กรณีทุง มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษารูปแบบและลักษณะของทุง 2) เพื่อศึกษาโอกาสและพิธีกรรมใน การใช้ทุง และ 3) เพ่ือศึกษาการทอทุงแหล่งเก็บรักษาทุงในจังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษาพบว่า ทุงเกือบ
18 ทั้งหมดเปน็ ทุงที่ทอจากเส้นใยด้ายหรือฝ้าย ซึ่งจะใช้เปน็ เส้นยืนสาหรับเส้นขวางใช้ทั้งด้าย ฝ้าย หรืออาจมีไหม บ้าง และบางแห่งใช้ไมไ้ ผเ่ หลาเปน็ แผน่ บางกวา้ งประมาณ 1 เซนตเิ มตร ยาวเท่าท่ตี ้องการแทรกเส้นด้ายใหเ้ ป็น ลวดลายเชน่ เป็นลายเจดยี ์ ลายเรขาคณิต เปน็ ตน้ การทอทงุ นยิ มทอเปน็ รปู ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั พุทธศาสนาเป็นสว่ น ใหญ่ เช่น รูปพระพุทธเจ้า รูปปัญจวัคคีย์ รูปเจดยี ์รูปปราสาท หรือรูปสัตว์ตา่ ง ๆ ประกอบด้วย ช้าง สิงห์ เสือ นาค เป็นต้น แต่เดิมชาวอุบลราชธานีนิยมใช้ทุงในงานบุญพระเวส หรือบุญเดือน 4 ซึ่งจะกระทาที่วัด ส่วนงานอื่น ๆ ไม่นิยมใช้ ส่วนการเก็บรักษาทุงในวัดก็ไม่ได้จัดเก็บอย่างถูกต้อง เป็นการม้วนพับทับรวม ๆ กันไว้ จึงทาให้สัตว์แทะกัด และชารุดเสียหาย ย่ิงไปกว่านั้นทุงก็นับวันจะสูญหายและถูกลดความสาคัญลง ในปี พ.ศ. 2555 นายมีชยั แต้สจุ ริยาและคณะ จึงไดม้ ีความคิดสร้างสรรค์ และได้เลง็ เหน็ ถงึ ความสาคัญ ในการ สบื ทอดการทาทงุ จึงได้รวมตัวกนั ทอทุงและใชท้ ุงประดบั สถานท่ีต่าง ๆ นอกวัด ตลอดจนนามาใช้ตกแต่งในงาน ศพบุคคลที่เคารพนับถือ อีกทั้งจัดให้มีการประกวดทุงขึ้น ต้ังแต่น้ันบุคคลกลุ่มนี้ก็ใช้ทุงในทุกโอกาสและทาให้ บุคคลอ่ืนนาทุงมาใช้ประดับสถานท่ีที่ตนจัดงานจึงเป็นนิมิตหมายอันดีท่ีจะสืบทอดวัฒนธรรมการใช้ทุง ในจงั หวดั อบุ ลราชธานใี ห้แพร่หลายมากขึ้น หนังสือของ ประทับใจ สิกขำ (2559) เร่ือง บันทึก ศึกษำ ธุงอีสำน มีวัตถุประสงค์ เพ่ือเป็นองค์ ความรู้จากงานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี ผลการศึกษาพบว่า ชาวอีสานถวายธุง เป็นพุทธบูชา และอุทิศถวายด้วยความเช่ือและความศรัทธา ปัจจุบันการใช้ธุงนอกจากใช้เพื่อวัตถุประสงค์ ดังที่กล่าวมาแล้ว ชาวอีสานยังนิยมนาธุงมาใช้ในการประดับตกแต่งสถานที่เน่ืองในพิธีหรือเทศการต่าง ๆ ท่ีไม่ใช่เป็นพุทธบูชาหรือเกี่ยวข้องกับพิธีกรรมทางศาสนา แต่เพ่ือประดับตกแต่งให้เกิดความสวยงามซึ่งถือว่า เป็นสิ่งท่ีดีงาม เป็นการสืบสานอนุรักษ์และเผยแพร่งานศิลปะพื้นบ้านอันมีคุณค่า อีกท้ังยังเป็นการส่งเสริม ให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับคนทอผ้าในท้องถ่ิน หรือที่นิยมเรียกขานกันท่ัวไปว่า ภูมิปัญญาท้องถ่ิน อย่างไรก็ตาม ส่ิงหน่ึงที่แฝงมาจากการทอธุงและการใช้ธุง ก็คือภาพสะท้อนของงานศิลปะบนผืนผ้าท่ีผู้ทอใช้ จินตนาการในการสร้างสรรค์โดยยึดแบบแผนโบราณควบคู่กับการแต่งเติมตามความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย โดยการแสดงออกผา่ นเทคนิคการทอ การเลือกใช้วัสดุ และการใชล้ วดลาย ซ่ึงไดก้ ลายเปน็ ความร่วมสมยั ทาให้ ผ้าธุงในปัจจุบันไม่ได้เป็นเพียงแต่ความเช่ือ ความศรัทธา แต่ยังแฝงไปด้วยความงดงามอย่างมีคุณค่าตามแบบ ฉบับเฉพาะถ่นิ บทความของ วิทยำ วุฒิไธสง (2561) เรื่อง ตุง ผลการศึกษาพบว่า ธงุ หรือ ตงุ ในมุมมองของคนรนุ่ ใหม่อาจเห็นภาพไม่ชัดเจน ขาดความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง แต่ ธุง หรือ ตุง ก็ยังอยู่ในวิถีวัฒนธรรมความเชื่อ ของคนอีสาน รวมถึงผู้คนในแถบลุ่มน้าโขง และถือได้ว่า ธุง หรือ ตุง เป็นมรดกทางวัฒนธรรมท่ีมีเอกลักษณ์ เฉพาะตามความเช่ือถือของแต่ละท้องถิ่น ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ จนกลายเป็นมรดกทาง วฒั นธรรมอันลา้ ค่าท่ีควรแกก่ ารบนั ทึก ศกึ ษาไวใ้ ห้ลูกหลานเรยี นรสู้ ืบไป เอกสารประกอบการเสวนาวิชาการของ วีณำ วีสเพ็ญ และคณะ (2562) เร่ือง ธุง หรือ ทงุ และปะคือ ควำมหมำย ควำมสำคัญ ในบริบทมรดกทำงวัฒนธรรม ผลการศึกษาพบว่า ธง เป็นสิ่งหนึ่งซึ่ง สะบัดไหวในอากาศ เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองหมาย เคร่ืองแสดง เคร่ืองสังเกต ให้กับมนุษย์ ในเผ่าชนของโลกทั้งใน
19 อดีตกาลมาจนถึงปัจจุบันอย่างต่อเน่ืองมาช้านาน หน้าที่ของธงในปัจจุบันแม้จะไม่ผิดแผกแตกต่างจากเดิม แต่ก็มีพัฒนาการทั้งทางด้านรูปแบบ สีสันเป็นจานวนมากหลากหลาย ตามพื้นท่ี ตามแต่วัฒนธรรมของกลุ่ม ชาติพันธุ์ หากแต่ ผืนธง และ เสาธง ยังคงเป็นองค์ประกอบหลักอย่างที่เคยเป็นมาแต่ในอดีต ซ่ึงภาคอีสานใน อดีตจนถึงปัจจุบันนั้น ธง หรือ ธุง มีบทบาทในวิถีวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก นอกจากพบในประเพณี พิธีกรรม แล้ว ยังพบธงอยู่ในวรรณกรรมต่าง ๆ ท้ัง ประเภทนิทาน วรรณกรรมตานาน วรรณกรรมคาสอน ที่จารึก ในเอกสารใบลานเป็นจานวนมาก เช่น ท้าวฮ่งุ ขุนเจือง ท้าวคัชชนาม อุรังคธาตุ ปสู่ อนหลาน ธรรมดาสอนโลก เป็นต้น มักในฉากขบวนแห่ ฉากการสู้รบ และมีบางคาศัพท์เก่ียวกับธงไดส้ ูญหายไปเช่น ปะคือ อัน หมายถึง ธงประเภทหนึ่ง และยังมีวรรณกรรมอีกประเภทหน่ึง คือ สลองอานิสงส์ ได้กล่าวถึงท่ีมาของธงในพุทธศาสนา ประเภทของธง การใช้ ในลักษณะต่าง ๆ และอานิสงส์ของการถวายธง โดยเขียนตามขนบภาษาถิ่นคือ ใช้ ท แทน ธ เช่น ทุงกระดาษ ทุงซาย ทุงไซ ทุงทอง ทุงเผิ่ง ทุงฝ้าย ทุงเหล็ก เป็นตน้ โดยคนอีสานมักจะจารึกท้ัง ตัวอักษรธรรม และไทยนอ้ ย ดว้ ย ท ผสมสระ อุ และมี ง เป็นตวั สะกด ผู้คนสมัยใหม่จึงรับรู้แล้วว่า ทุง น้ันเป็นคาเก่าโบราณ ก็คือ ธช, ธฺวช ในภาษาบาลี - สันสกฤต และธง ใน ภาษาไทยสมัยปัจจุบันด้วยความคุ้นชิน การพลิกแผลงทางภาษาและความรุ่มรวยด้านตัวอักษร จึงไม่เกิน ความสามารถท่ีจะบัญญัติศัพท์ใหม่ว่า ธุง ข้ึนได้ เป็นเพราะสามารถเขียน - อ่าน ได้โดยไม่ละท้ิง ความหมายเดิม ซึ่งถือเป็นศัพท์ประชานิยมท่ีผู้คนอีสานปจั จุบนั เขียนอย่างสนิทใจกันไดเ้ ปน็ อย่างดี ในหนังสือ เล่มนี้จะใช้คาว่า “ธุง” ตลอดท้ังเล่ม ซึ่งในปัจจุบัน ธุงอีสานมีหลายบทบาทเช่นเดียวกับท้องถิ่นต่าง ๆ ท่ีมีบทบาทใหม่อย่างโดดเด่นมากในปัจจุบัน คือ การใช้เป็นเครื่องประดับตกแต่งสถานท่ีท่องเท่ียวในงานบุญ ประเพณีต่าง ๆ เช่น งานเทศกาลมาฆบชู า “มาฆ ปูรมี ทวารวดีมิ่งหล้า” เมืองฟา้ แดดสงยาง ณ พระธาตุยาคู ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ งานวิสาขปุณณมี ประเพณีสรงน้าพระธาตุยาคู เป็นต้น เพื่อดึงดูดสายตาและสร้างความบันเทิงเริงใจใหแ้ ก่ นักท่องเที่ยว ควบคู่ไปกับการใช้ธงุ เป็นเครื่องแสดงถงึ ความ เปน็ พื้นที่ศักดิ์สทิ ธด์ิ ้วย วารสารของ ปิยนุช ไชยกำล และสุชำติ สุขนำ (2563) เร่ือง จินตภำพแห่งควำมเช่ือและควำม ศรัทธำ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาสัญลักษณ์ทางพุทธศาสนาและความเชื่อพื้นถิ่นได้แก่ รูปทรงพระธาตุ ธุง พญานาค 2) เพ่ือสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมท่ีตอบสนอง ต่อแนวความคิดโดยใช้เทคนิค จิตรกรรมการจุดสีบนผ้าขาว เพ่ือสร้างบรรยากาศให้เป็นดังสรวงสวรรค์ที่ดูเบาบางและสงบ ผลการศึกษา พบวา่ พระธาตเุ จดยี ์เปน็ สง่ิ ที่ชาวพุทธสรา้ งขึน้ เพ่อื นอ้ มราลกึ ถึงคุณงามความดีเลื่อมใสศรทั ธา ธุงเปน็ สัญลักษณ์ แห่งความดีงาม พญานาคเป็นสัญลักษณ์ความเช่ือของคนอีสานที่คอยปกปักรักษาและมีความศรัทธาต่อพุทธ ศาสนาเป็นสัญลักษณ์ที่ได้ศึกษามาสร้างเป็นผลงานจิตกรรม และผลการสร้างสรรค์ตามกระบวนการที่ได้ กาหนดไว้ ทาให้เกิดการเรียนรู้การแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาผลงานจนบรรลุวัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ โดยสามารถสร้างความเป็นเอกภาพในผลงาน การใช้หลักทฤษฎขี องลัทธผิ สานจุดสี (Pointillism) ค่อย ๆ ทับ ซอ้ นผสมผสานกนั ของสสี ร้างความความรู้สึกสะเทอื นไหว เกดิ ประกายของสหี ลอมรวมเป็นบรรยากาศ บางเบา ดูสงบเกิดความรู้สึกศรัทธา เป็นจินตภาพของบรรยากาศในสรวงสวรรค์ โดยสรุปรูปสัญลักษณ์จากความเช่ือ
20 และความศรัทธาของชาวอีสาน สามารถนามาผสมผสานกับความคิดและจินตนาการส่วนตัว เป็นผลงานท่ีมี รูปแบบ เชงิ อดุ มคติท่ีสามารถแสดงอตั ลักษณส์ ่วนตัวของผ้สู รา้ งสรรค์ได้ บทความของ ณัฎฐ์ฑกฤษณ์ ไชยจินดำธุง (2563) เรื่อง ธุง ตุง สัญลักษณ์แห่งควำมศรัทธำท่ี เหมือนหรือต่ำงของอีสำนและล้ำนหน้ำ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสัญลักษณ์แห่งความศรัทธาที่เหมือนหรือ แตกต่างของธุงอีสานและตุงล้านหน้า ผลการศึกษาพบว่า ธุงในภาคอีสาน และตุงในภาคเหนือ มีความ สอดคล้องกันในด้านของความเชื่อ รูปลักษณ์ส่ือสัญญะท่ีปรากฏบนแผ่นธุงหรือตุง รวมไปถึงความเชื่อ จุดมุ่งหมายในการถวาย หากจะแตกต่างกันที่ความเป็นมา การใช้พิธีกรรม ซ่ึงเป็นผลมาจากบริบทพ้ืนที่ วัฒนธรรมประเพณี รูปแบบทางสังคม แต่เมื่อนามาวิเคราะห์ผ่านทฤษฎีมายาคติและโครงสร้างหน้าท่ีแล้ว ธุงและตุงคือ สัญลักษณ์ความศรัทธาของชาวอีสานและล้านนาท่ีถ่ายทอดผ่านพิธีกรรมทางพุทธศาสนา โดยมุ่งหวังเพื่อความเป็นสิริมงคล ความเจริญรุ่งเรือง ความคาดหวังทรัพย์ศฤงคารในภาพภพหน้า รวมถึงเปน็ บันไดนาพาไปสู่โลกของพระศรีอาริย์หลุดพ้นจากสังสารวัฎตามท่ีปรากฏบนแผ่นธงุ หรือตุงของชาวนอสี านและ ลา้ นนา จากการทบทวนงานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับงานธุงในอีสาน สรุปได้ว่า ธง ธุง ทุง ตุง หรือปะคือ เป็นช่ือ เรียกท่ีมีความหมายเดยี วกัน ในภาคอสี านมักนิยมใช้ตวั สะกด ธ ท เป็น ธุง หรือ ทุง บา้ ง ซึ่งธุงก็เป็นสัญลกั ษณ์ อย่างหน่ึงท่ีแสดงถึงพื้นที่ศักดิ์สิทธ์ิหรือแสดงถึงความดีงาม โดย ใช้เป็นเคร่ืองหมาย เคร่ืองแสดง และเครื่องสังเกตให้กับมนุษย์ ชาวอีสานมักนาธุงมาถวายเป็นพุทธบูชา โดยอุทิศถวายด้วยความศรัทธาที่มีต่อ พทุ ธศาสนา รวมถึงนาธุงมาใชใ้ นการประดับตกแตง่ สถานท่ีเนื่องในพิธีหรือเทศกาลตา่ ง ๆ ท่ีไม่ใชเ่ ป็นพุทธบูชา หรือเก่ียวข้องกับพิธีกรรมทางศาสนาเพียงอย่างเดียว ท้ังน้ีแล้วธุงยังหลักฐานให้เห็นในวรรณกรรมอีสาน ท่ีถูกจารึกในเอกสารใบลานไว้ว่ามีบทบาทสาคัญที่มีผลต่อความศรัทธาของชาวอีสานมาตั้งแต่คร้ังบรรพบุรุษ ดังจะเห็นได้จากเรื่อง ท้าวฮุ่งขุนเจือง ท้าวคัชชนาม อุรังคธาตุ ปู่สอนหลาน ธรรมดาสอนโลก เป็นต้น แต่ในปัจจุบันความเช่ือความศรัทธายังคงมีให้เห็น แต่กลับถูกลดความศรัทธาลง หากแต่ถูกเช่ือว่าเป็นแค่ เคร่ืองประดับประดา เพ่ือแสดงถึงความสวยงามเท่าน้ัน เหตเุ ปน็ เพราะชาวอีสานได้นาธงุ มาประยุกตใ์ นรูปแบบ ใหม่ ท่ีหลากหลายการใช้งานมากข้ึน และเป็นเคร่ืองมือท่ีสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนต่อไป และผู้วิจัยจะนาข้อมูล อันเป็นประโยชน์น้ีไปใช้เป็นแนวทางของการศึกษาธุงในวรรณกรรมอีสาน ในการวิเคราะห์ธุงในวรรณกรรม อสี านทง้ั 3 เร่อื ง 2.2.3 เอกสำรที่เก่ียวกับวรรณกรรมอีสำน จากการทบทวนงานเอกสารท่ีเก่ียวข้องกบั วรรณกรรมอีสาน ผู้วจิ ัยได้กาหนดวรรณกรรมอีสานจานวน 3 เรื่อง ดังนี้
21 ตำรำงที่ 3 วรรณกรรมท่เี ก่ยี วขอ้ งการศกึ ษาหนงั สือวรรณกรรมอสี าน ลำดบั ชื่อเรือ่ ง ปีทพ่ี มิ พ์ ผูเ้ ขียน ประเภท 1. พระยาคนั คาก 2. ท้าวคชั ชนาม 2555 สมชยั ฟักสุวรรณ์ หนังสือ 3. ตานานอุรงั คธาตุ 2562 พระอรยิ านวุ ัตร เขมจารี เถระ หนังสือ 2562 ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ หนังสือ หนงั สอื ของ สมชัย ฟกั สวุ รรณ์ (2555) เรือ่ ง พระยำคันคำก ผลการศึกษาพบว่า พระยาคันคาก เป็นวรรณกรรมท้องถิ่นอีสานที่ให้ท้ังสาระและความบันเทิง สอดแทรกความรู้ ด้านคติธรรม คาคม และจารีต ประเพณีที่ดงี าม ซึ่งเร่ืองพระยาคันคากมีเรื่องย่อว่า พระนางแก้วเทวีมเหสีแห่งพระยาเอกราชเจ้าเมืองอินตาม หานคร ได้ประสูติพระโอรสซ่ึงมีผิวพรรณเหลืองอร่ามด่ังทองคา แต่ทว่ามีผิวหนังดุจคางคก และในวันท่ีพระ กุมารประสูติเกิดอัศจรรย์ขึ้นบนพื้นโลกฝนตกฟ้าร้องฟ้าผ่าลมพายุพัดต้นไม้หักล้มระเนระนาดเสียงดังสน่ัน หวั่นไหวราวกับว่าโลกจะถล่มทลาย ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์ของผู้มีบุญลงมาเกิด พระยาเอกราชได้จัดหาหญิงสาว ท่ีมีลักษณ์ดี เช่น มีถิ่นเต่งตึงกลมงามมาเป็นแม่เลี้ยงนางนมแก่พระกุมาร เมื่อพระกุมารเจริญวัยเติบใหญ่เป็น หนุ่มก็คิดอยากได้คู่ครองและอยากได้ปราสาทเสาเดียวไว้เป็นท่ีประทับ จึงเข้าเฝ้าทูลขอให้พระบิดาช่วยฝ่าย พระบิดาเห็นว่าพระโอรสของตนมีรูปร่างผิดแผกแตกต่างไปจากคนทั้งหลายคงไม่มีหญิงใดปรารถน าจะได้ เป็นคู่ครอง จึงทรงบอกให้พระกุมารเลิกล้มความคิดเช่นนั้นเสียโดยให้เหตุผลว่า พระกุมารมีรูปร่างอัปลักษณ์ ทาให้พระกมุ ารเสยี พระทัยย่ิงนกั ต่อมาในกลางดึกสงัดของคืนวันหนึ่ง พระกุมารจึงต้ังจิตอธิษฐานว่าถ้าตนเคยได้สร้างสมบุญบารมีมา ก็ขอให้สาเร็จดังความปรารถนาด้วยเถิด ด้วยแรงอธิษฐานทาให้บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ซึ่งเป็นท่ีประทับนั่ง ของพระอินทร์เกิดแข็งกระด้างข้ึนพระอนิ ทร์ จึงลงมาเนรมิตปราสาทเสาเดียวอันงดงามหาท่ีเปรียบมิได้พร้อม ดว้ ยข้าทาสบรวิ ารเคร่ืองอปุ โภคบริโภคล้วนแล้วไปด้วยทพิ ย์ปานประหนึง่ เมืองสวรรค์ และยังได้นาเอานางแกว้ จากอุดรกุรุทวีปมามอบให้เป็นคู่ครองก่อนจากได้เนรมิตพระกุมารให้เป็นชายหนุ่มรูปงามพระยาเอกราชเห็น ประจกั ษ์ในบญุ บารมขี องลูกแลว้ จงึ เวนราชสมบัตบิ ้านเมอื งให้ครอบครอง เม่ือพระกุมารได้ครองราชย์แล้วเจ้าเมืองทั้งหลายในชมพูทวีปต่างก็มาขออยู่ใต้ร่มบารมี แม้พวกพญา ครุฑ พญานาค พญาหงส์ เหล่าสัตว์น้อยใหญ่ เช่น ช้าง ม้า เสือ สิงห์ กระทิง แรด ลงไปถึง กบ เขียด อึ้งอ่าง คางคก ผึ้ง ต่อ แตน มด ปลวก ต่างพากันมาถวายตัวเป็นบริวารจนหมดส้ิน ทาความไม่พอใจให้พระยาแถน เปน็ ยง่ิ นกั พระยาแถนจึงไม่ยอมให้พวกพระยานาคลงเลน่ น้า เปน็ เหตุใหเ้ กิดความแห้งแลง้ ฝนไมต่ กลงมายงั โลก มนุษย์เป็นเวลาหลายปี ทาให้พืชพนั ธ์ุธัญญาหารเท่ียวเฉาตายมนุษย์และเหล่าสัตว์พากันเดือดร้อน จึงไปทูลให้ พระยาคางคกทราบพระยาคางคกจึงไปยังเมืองบาดาลถามพวกนาคดูเม่ือรู้เหตุที่ทาให้ฝนแล้งแล้ว พระยาคางคกจึงยกทัพอันประกอบไปด้วยมนุษย์และเหล่าสัตว์ทั้งหลายบรรดามีอยู่ในโลกขึ้นไปทาสงครามกับ พวกแถนฟ้า
22 พระยาคางคกกับพระยาแถนฟ้าได้ต่อสู้กันด้วยอิทธิฤทธิ์ต่าง ๆ เม่ือพระยาแถนเห็นว่าจะเอาชนะ พระยาคางคกด้วยฤทธิ์เดชไม่ได้ จึงท้าให้ชนช้างกันในท่ีสุดพระยาคางคกชนะจับพระยาแถนฟ้าได้ให้พระยา นาคมัดไว้พระยาแถน จึงขอยอมแพ้ขอมอบถวายบ้านเมืองให้และสัญญาว่าจะส่งน้าฝนลงมาให้ตามฤดูกาล ดังเดิมและจะลงมาปลูกพันธ์ุข้าวทิพย์ลูกเท่ามะพร้าวให้นับ แต่น้ันมาพอถึงฤดูทานาฝนก็ตกลงมายังความชุ่ม ชื้นให้แก่แผ่นดินเป็นประจาทุก ๆ ปี พระยาคางคกปกครองบ้านเมืองด้วยทศพิธราชธรรมถือศีลภาวนาสร้าง กุศลกรรมอยู่มิได้ขาดทาให้ชาวประชาร่มเย็นเป็นสุขกันทั่วหน้าพระองค์ทรงพระชนมายุได้แสนปีจึงสวรรคต หลังจากน้ันมาชาวโลกก็ได้อาศัยหนทางท่ีพระยาคางคกสร้างไว้ข้ึนไปเรียนเอาเวทย์มนต์คาถาจากพวก พระยาแถนเมื่อลงมายังโลกแล้วก็ใช้คาถาอาคมที่ตนเรียนมาจากครูบาอาจารย์เดียวกันรบราฆ่าฟันกันล้มตาย เป็นจานวนมากต่อมาก และพวกมนุษย์ยังพากันเกียจคร้านไม่เอาใจใส่เรือกสวนไร่นา เม่ือข้าวกล้าที่พระยา แถนลงมาปลกู ให้ตามคาสญั ญากบั พระยาคางคกสุกแกแ่ ลว้ ก็ไม่พากนั ทายงั ฉางไวใ้ สม่ ิหนาซา้ ยังพากนั โกรธแค้น ให้เมล็ดข้าวท่ีโตเท่าลูกมะพร้าวช่วยกันสับฟันจนแตกเป็นเม็ดเล็กเม็ดน้อยเมล็ดข้าว จึงกลายเป็นเมล็ดเล็ก ๆ ดังท่ีเห็นกันอยู่ในปัจจุบันน้ี จากน้ันมาข้าวจึงไม่เกิดเองมนุษย์ต้องหว่านไถปักคาจึงจะได้ข้าวมากิน เมอื่ พระยาแถนเหน็ ชาวโลกละเลยศีลธรรมไม่ตัง้ ตนอยู่ในศลี ธรรมอันดีงามพระยาแถน จงึ ทาลายเสน้ ทางติดต่อ ระหวา่ งชาวโลกกับพวกแถนเสียนบั แตน่ นั้ มาชาวโลกจงึ ไม่อาจขน้ึ ไปยังเมอื งฟา้ พระยาแถนได้อีก หนังสือของ พระอริยำนุวัตร เขมจำรี เถระ (2562) เรื่อง ท้ำวคัชชนำม ผลการศึกษาพบว่า วรรณกรรมอีสาน เร่ือง ท้าวคัชชนาม เป็นวรรณกรรมสองฝ่ังโขง มีลักษณะเหมือนวรรณกรรมหลาย ๆ เรื่อง ที่เป็นสมบัติร่วมกับผู้คนสองฝั่งโขงเพราะประวัติชาติพันธุ์ ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครอง วิถีชีวิต ความเชื่อ ประเพณี และวัฒนธรรม ได้หล่อหลอมให้ผู้คนในภูมิภาคน้ีและสองฝ่ังโขงมีวิถีชีวิตร่วมกัน โดยมีเร่ืองคัชชนาม แบ่งออกเป็นตอน ๆ หรือบั้น ได้ 82 บ้ัน ช่ือของบ้ันจะนาเอาเหตุการณ์หลัก ๆ ของตอน น้ันมาเป็นชอื่ ทาให้การอ่านเร่ืองคัชชนามที่มีเนื้อเรื่องยาว เป็นท่ีเข้าใจงา่ ยข้ึน เริ่มจากบ้นั คัชชนามลงเกิด บนั้ พระอินทร์ บั้นบ้านเมืองเกิดวิบัติ ยักข์เที่ยวหากินคนตามลาดับ จนถึง 3 บั้นสุดท้ายคือ บั้นคัชนามลาแม่เมือ เมืองจาปา บั้นบัวระบัติพ่อแม่ และบ้ันอวสานนิทานในท่ีสุด โดยมีเร่ืองย่อคัชชนามฉบับพระอริยานุวัตร เขมจารี เถระ ปรวิ รรตโดยสังเขปไดเ้ รยี บเรยี งไวด้ งั นี้ มีเมือง ๆ หนึ่งชื่อ “นครศรีสาเกส” มีราชาปกครองด้วยทศพิธราชธรรม ทาให้บ้านเมือง มคี วามปึกแผน่ มน่ั คงพรอ้ มไปดว้ ยทรัพยศ์ ฤงคาร ไพร่ฟา้ ประชาราษฎรต์ ่างมีความสขุ พชื พรรณธัญญาหารอดุ ม สมบูรณ์ อาณาเขตของเมืองนั้นมีความยาวแสนวา กว้างแสนวา มีกาแพงล้อมรอบ ภายในเต็มไปด้วยปรางค์ และปราสาททองคา ชาวเมืองล้วนศรัทธาต่อการบุญกุศล ถือศีลให้ทาน นิยมให้ลูกตนบวชสืบทอดพระศาสนา อยู่เนืองนิตย์ ยังมีย่าเฒ่าอนาถาคนหนึ่ง อาศัยอยู่นอกเมือง นางมีเพียงควายหน่ึงตัวช่อื “บักหย่อม” เป็นเพื่อน นางก็ได้เลี้ยงดูเป็นอย่างดี วันหน่ึงนางคิดอยากได้ท่ีนาสักแปลง เพ่ือทานาปลูกข้าวเพราะไม่อยากรบกวนขอ ข้าวผู้ใด จึงไปขอแบ่งที่นาจากเพื่อนบ้านเป็นที่ทากิน เพื่อนบ้านใจดีแบ่งปันที่นาให้ โดยให้ผืนนาของนาง อยู่ตรงกลางรายล้อมด้วยท่ีนาของเพื่อนบ้าน นางไดล้ งมือทานาด้วยความใสใ่ จจนข้าวของนางออกรวงสวยงาม และหวังใจว่า จะนาข้าวไปทาบุญถวายทานเพ่ือส่ังสมบุญกุศลให้เกิดแก่นาง แต่พระอินทร์ได้ส่องทิพยเนตร
23 จึงทราบว่า ย่าเฒ่านางนี้คือผู้ท่ีจะเป็นมารดาพระโพธิสัตว์ในอนาคต จึงแปลงเพศเป็นช้างลงมาทาลายข้าว ทพี่ ร้อมจะเก็บเก่ียวอนั ย่าเฒา่ จากนั้นกห็ นีเข้าป่าโดยทิ้งรอยเท้าไว้ ขา้ มปา่ เขาลาเนาไพร สดุ ถงึ ภสู ิงห์ เขตเมือง จาปาแล้วพระอินทรก์ ็กลับคนื สู่สรวงสวรรค์ รุ่งเชา้ เม่ือนางมายังนาของตน พอเห็นสภาพนาข้าวซึ่งพร้อมเก็บเกี่ยวถูกเหยียบย่าทาลายจมโคลนตม ไปเสียส้ิน ไม่เหลือรวงดีแม้แต่รวงเดียวและเกิดเฉพาะกับนาของนาง ทั้ง ๆ ที่อยู่ตรงกลาง แต่นาผู้อ่ืนกลับ ไม่เสียหาย นางท้ังน้อยใจ โกรธและเศร้าใจมาก เห็นแต่รอยท้าวใหญ่เหยียบย่าไปท่ัวนา จึงออกเดินทางไป ตามหาตัวผู้ทาลาย ผ่านป่า ภูเขา ตดิ ตามรอยไปเปน็ ระยะเวลาสองเดือน ในเดือนย่ีหน้าหนาวระหว่างเดินรอน แรมไปนางเกิดกระหายมาก แหล่งน้าต่าง ๆ ในธรรมชาติที่มีล้วนแห้งเหือดหมด เหลือเพียงน้าปัสสาวะในรอย เท้าช้างเทา่ นนั้ นางจึงจาใจด่ืมเพ่ือดับความกระหาย พลบค่านางจึงฝนั ประหลาดตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ พระอนิ ทร์มาอ้มุ นางไปไวท้ ่ีปราสาทวิไชยนต์ ฝันว่า ราหูบังพระจันทร์ตกลงจากฟากฟ้ามีแสงเรื่อเรืองและนางได้พระจันทร์เป็น ของตนเอง ฝันว่าพระอาทิตย์มาส่องแสงสว่างทั่วป่า ฝันว่ามีธุงรัดรอบเขาพระสุเมรุจนสั่นสะเทือนน่ากลัว นางสะดุ้งตื่นด้วยความกลัว แต่นางก็ยังออกตามรอยช้างต่ออีกเป็นเวลาถึงสามเดือน พระอินทร์จึงไปเชิญ เทวบุตรผู้ซึ่งเป็นหน่อโพธิสัตว์ แต่จะหมดสิ้นอายุขัยจากชั้นดาวดึงส์ ลงมาจุติใช้ชาติเพื่อบาเพ็ญบารมี และให้เทวดาสององค์ อันเป็นสหายโพธสิ ตั ว์ลงมาเกดิ ทตี่ ่างเมืองดว้ ย ไม่นานนักย่าเฒ่าก็ตั้งครรภ์ นางคิดด้วยความแปลกใจในเหตุของการตั้งครรภ์และแน่ใจว่า เพราะกินน้ารอยเท้าช้าง เกิดความละอายเพื่อนบ้าน เกรงจะเป็นท่ีติฉินนินทา จึงหวนกลับคืนเมืองศรีสาเกส ท่ีตนจากมาเป็นเวลา 10 เดือนนางจึงคลอดกุมาร ซ่ึงมีผิวพรรณงามด่ังทองคา ร่างกายสมส่วนดุจพระอินทร์ ออกมาและให้ชอ่ื บตุ รของนางว่า “คัชชนาม” เพ่ือนบา้ นตา่ งก็ช่วยแม่เฒ่าดแู ลกุมารน้อยเหมือนลูกของตนเอง กุมารน้อยผู้นี้มีลักษณะพิเศษคือ มีกาลังมาก เหาะเหินเดินอากาศและดาดินได้แรงมากมหาศาลนัก เม่ือถึงวัยกาลังหัดเดินพระอินทร์ได้ให้เทวบุตรนาดาบ “ศรีคันไชย์” มาถวายแก่กุมาร แม่เฒ่า เพ่ือนบ้าน ชาวเมืองต่างดีใจและชื่นชมในความสามารถของกุมารนอ้ ยผ้นู ้ีเป็นอยา่ งมาก ในสมัยต่อมาได้เกิดความวิบัติขาดแคลน ฝนแล้งนาล่มทั่วผืนแผ่นดิน เมืองศรีสาเกสอันม่ังค่ังก็ไม่เว้น บ้านเมืองกลับอัตคัดขัดสน เกิดความอดอยากยากแค้น ชาวเมืองจึงต้องเข้าป่าเข้าหาลูกไม้ เผือก มัน ประทังชีพ นับวันอาหารยิ่งหายาก ต้องออกหาเป็นระยะทางไกลเพ่ิมมากข้ึน เพราะผู้คนก็ต่างต้องดิ้นรน เอาชีวิตรอดในค่าคืนหน่ึง กุมารน้อยท่ีพึ่งหัดเดินได้กล่าวกับแม่ว่า ในดอยใหญ่แห่งหนึ่งมีเครือมันและหัวมัน ใหญ่อยู่จานวนมาก จนทาให้นางฉงนสนเท่ห์ว่า เด็กน้อยพึ่งหัดเดนิ ทาไมถึงรูด้ ีนัก ทาให้นางย้อนคิดถงึ ความฝัน นึกถึงรอยเท้าช้างว่า ชะรอยจะเป็นพระอินทร์มาโปรด รุ่งเช้าท้ังสองจึงออกเดินทาง นางแบกเสียม กุมารน้อย สะพายศรีคันไชย เพ่ือเสาะหาหัวมันตามที่กุมารกล่าว ด้ันด้นจนถึงดงมันท่ีหมาย ทั้งสองต่างดีใจที่เป็นจริง ตามทก่ี มุ ารกลา่ ว จึงลงมอื ช่วยกนั ขุดมัน ขณะที่ทั้งสองกุลีกุจอขุดมันน้ัน มียักษ์ตนหน่ึงชื่อ “สัจจะยักข์” มันมีตาแดงก่าในมือถือสากก้อมออก หากิน ยักษ์ไดเ้ ห็นควันไฟท่ีทง้ั สองกอ่ ไวเ้ พอื่ ทาอาหาร ก็ย่างสามขุมดมุ่ เข้าหาแล้วจิกผมแม่ย่าเฒ่าหวังจะหกั คอ กินเป็นอาหาร เม่ือกุมารน้อยได้ยินเสียงแม่ร้องด้วยความเจ็บปวด จึงกระโดดออกจากหลุมมันแล้วใช้ดาบ
24 เข้าต่อสู้กับยักษ์อย่างกล้าหาญ สุดท้ายยักษ์สู้ไม่ไหวจึงร้องขอชีวิตและบอกท่ีซ่อนทองให้เป็นการแลกเปลี่ยน พร้อมกับสาบานว่า จะไม่ทาร้ายใครอีก หากทาไม่ได้ให้ฆ่าเสีย คัชชนามขุดทองได้สามแสนห้าหมื่นตื้อ แม่ขุดและหาบได้ห้าหมื่นต้ือ ทั้งสองนากลับไปฝังดินไว้ที่เรือน ต้ังแต่นั้นเป็นต้นมาสองแม่ลูกจึงพ้นจาก ความทุกข์ยาก ยักษ์ก็ลาทั้งสองไป ท้ังสองได้ขุดแท่งทองคาและช่วยแบกหาบกลับถึงบ้าน แล้วจึงนาไปฝังซ่อน ไว้ไม่ใหใ้ ครเห็นในเหตุการณค์ รัง้ น้ี ทาใหท้ งั้ สองแม่ลกู มีฐานะดีกนิ อย่ดู ีอย่างสขุ สบาย เมื่อคัชชนามอายุย่างเข้าสิบสองขวบ มหาชนคนทั้งหลายได้กล่าวขวัญถึงความเก่งกล้าสามารถ จนได้ยินไปถึงราชาผู้ปกครองนครศรีสาเกส พระองค์คิดอยากทอดพระเนตรความสามารถที่ร่าลือกัน อีกท้ังต้องการให้คัชชนามเป็นราชบุตรบุญธรรม มารดาคัชชนามไม่สามารถต้านทานได้จึงเข้าเฝ้าตามพระ ประสงค์พระราชานครศรีสาเกสไดป้ ฏสิ ัณฐาน ขอดูอิทธิฤทธ์ขิ องคัชชนามและไดป้ ่าวประกาศให้คนท่ัวทั้งเมือง เข้ามาชมด้วย บททดสอบคือการตอ่ สู้กับช้างเผือกที่มีร่างกายสูงใหญ่มากและตกมัน คชั ชนามสู้โดยเอาน้ิวก้อย เกี่ยวตวั ชา้ งไว้ ช้างไม่สามารถไหวตงิ ได้เหมือนมีแรงเทา่ เมลด็ งา คชั ชนามเอามอื รวบงาจนช้างล้มกน้ กระแทก ต่อจากนั้นคัชชนามก็ถอนต้นตาลสองต้น เหาะขึ้นกวัดแกว่งบนอากาศ สร้างความต่ืนตาต่ืนใจให้กับ พระราชาและชาวเมืองยิ่งนัก เสร็จแล้วพระยาศรีสาเกสก็ลงมาหาคัชชนามแล้วบอกว่า หากท้าวคัชชนามอายุ ได้สิบหกปีจะมอบเมืองให้ปกครองแทน แต่คัชชนามก็ได้กล่าวอย่างถ่อมตนว่า ตัวเองมีฐานะต่าต้อยไม่คู่ควร ปกครองบ้านเมือง พระราชาจงึ ให้รางวัลเป็นการตอบแทน จากนนั้ คชั ชนามกก็ ลบั คืนสูบ่ ้านเรือนแห่งตน เม่ือคัชชนามอายุสิบสามปี แม่จึงเล่าชาติกาเนิดรวมถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ก่อนหน้าให้คัชชนามฟัง หลายวันต่อมาคัชชนามจึงขอร้องแมเ่ พอื่ ออกตามหาผู้เปน็ พ่อของตน ตามแนวพุทธธรรม และไปทลู ลาบดิ าบุญ ธรรมคือเจ้าเมืองศรีสาเกตและกล่าวฝากมารดาไว้กับพระองค์ คัชชนามได้จัดเตรียมสิ่งของเดินทาง ประกอบด้วยทองคาแสนไถ้ พร้อมด้วยสะพายดาบศรคี ันไชยออกเดินทาง เมื่อเร่ิมเดินทางตามรอยช้างผู้เป็นพ่อ ได้ผ่านป่าผาภูด้ันด้นอยู่หลายเดือน จนเดือนส่ีมาถึงทุ่งนาเพียง มองเห็นพ่อนากาลังลากไม้ร้อยกอเพื่อทาร้ัวล้อมที่นา คัชชนามจึงเข้าไปลองกาลังโดยเหยียบปลายไม้ ที่กาลังลาก ทาให้ชายท้ังสองได้ปะลองกาลังกัน ผลปรากฏว่า ชายไม้ร้อยกอเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ จึงขอเป็น บา่ วรับใช้และร่วมเดนิ ติดตามคัชชนามไปดว้ ย หลายวันผ่านไป ระหวา่ งเดินทางอยนู่ นั้ ก็พบพ่อค้าผู้มกี าลังมาก ลากเกวียนร้อยเล่มเสียงกระดึงดงั ไปทั่วทั้งราวปา่ คัชชนามจงึ ใหไ้ ม้ร้อยกอไปซ่อน เพ่ือตัวเองจะได้ทดลองกาลัง กับชายลากเกวียนผู้นี้ คัชชนามก็ไปท่ีเกวียนเล่มสุดท้ายและใช้มือฉุดดึงเกวียนกลับ ทาให้ชายลากเกวียน ล้มหงายหลังและโกรธคัชชนามมาก จึงเข้าต่อสู้กันอย่างสุดกาลัง สุดท้ายคัชชนามก็เป็นผู้ชนะ พ่อค้าเกวียน จึงขอเป็นบา่ วรับใช้อีกคน และชว่ ยกนั บรรทุกทองคาจากคชั ชนามไปคนละสว่ น จากนั้นทั้งสามก็ออกเดินทางรอนแรมเข้าสู่ป่าอันกว้างใหญ่ของ “ย่าหม่อม” นางเป็นผียักขิณีเฝ้าป่า แห่งนี้ มักปลูกกระท่อมและก่อไฟไว้ เพื่อล่อให้นักเดินทางให้มาติดกับและกินเหยื่อท่ีโชคร้ายเหล่านั้นเป็น อาหารในป่าแห่งน้ีมี “กินายโม้” ตัวใหญ่มาก มีกาลังแรงเท่าช้างสารแปดเชือก อาศัยอยู่ในป่าเช่นกันขณะนั้น ทั้งสามต้องการอาหารพอดี คัชชนามจึงให้ไม้ร้อยกอไปหาอาหารก่อน เขาจึงถือเสียมออกไปท่ีรูหวังว่ า
25 จะได้วัตถุดิบมาปรุงเป็นอาหาร เม่ือขุดลงไปในรูนั้นปรากฏวา่ เห็นขาของกินายโม้ จึงใช้มือจับขาหวังดึงตัวมัน ออกมา แต่กลับถูกขาของกินายโม้ดีดกระเดน็ ไปถึงพนั วาแลว้ สลบไป คัชชนามเห็นว่าไปนานผิดปกติ จึงให้เกวียนร้อยเล่มไปดูเพ่ือนและไปหาเจ้าแมลงยักษ์ พอไปถึงท่ีรู ก็ร้องเรียกหาไม้ร้อยกอ แต่ไม่ได้ยินเสียงใดตอบกลับมา จึงลงไปที่รูหวังจะได้ขาสัตว์ตัวนั้น ผลก็ปรากฏเช่น เดียว กันกับสหายรักก่อนหน้าน้ี ต่อมาคัชชนามจึงมาท่ีรูกินายโม้ กระโดดลงรูนั้น แล้วเดินเข้าไปบิดเอา ขากินายโม้ออกมาอย่างง่ายดาย จากน้ันก็ไปน่ังรอสองบ่าวผู้รับใช้ใต้ร่มไทร ไม่นานสองบ่าวรู้สึกตัวฟ้ืนขึ้น จึงเดินทางกลับมายังท่ีพักแรมตนและบอกถึงสาเหตุแห่งการหายตัวไป คัชชนามให้บ่าวทั้งสอง ไปขอไฟจาก ย่าหม่อม เม่ือถึงเรือนย่าหม่อมท้ังสองจึงร้องขอไฟ ได้รับการตอบกลับว่า เอาไปเถิดไปก่อกันริ้นเหลือบยุง ท้ังสองได้เข้าไปต่อยเอาถ่านไฟ ปรากฏว่ายักขิณีเอาสุ่มเหล็กครอบขังทั้งสองไว้ แล้วใช้เชือกมัดแขนขาทรมาน จนตาย จากน้ันก็นาไปใส่ฮีนไว้ คัชชนามเฝ้ารออยู่ เห็นผิดปกติจึงได้เดินทางเข้าไปยังเรือนยักษ์ ถามหาบ่าว ท้งั สองคน ยักษ์ทาทีกล่าววา่ ไมเ่ หน็ มีใครมาขอเลย ทา้ วจึงขอไฟจากนางเพือ่ นาไปใช้ ทนั ใดสมุ่ เหล็กขนาดเขื่อง กค็ รอบลงมาจากด้านบน คชั ชนามเห็นเช่นนัน้ กก็ ระโดดถีบจนสุ่มนั้นพงั ทลาย แล้วต่อสกู้ ับยักขิณรี า้ ย นางยักษ์ สู้ไม่ได้จึงบอกที่ซ่อนบ่าวทั้งสอง และมอบไม้เท้าวิเศษ “กกช้ีตาย ปลายช้ีเป็น” แล้วบอกวิธีใช้ด้วย จากน้ันคัชชนามจึงใช้กกชไี้ ปที่ผียักษ์ ทาให้ยักษ์ตายกลายเป็นภูเขาน้อย และใช้ปลายช้ีไปยังสองบ่าวที่ตายให้ ฟ้ืนคนื ชีพ ในเวลาต่อมา ท้ังสามออกมาจากเรือนผี กลับมาย่างขากินายโม้กินเป็นอาหาร แล้วออกเดินทางกัน ต่อไปเม่ือเดินทางรอนแรมป่าเขาอยู่หลายวัน ก็มาถึง “เมืองขวาง” อันเป็นเมืองร้างหามีผู้ใดอาศัยอยู่ไม่ คัชชนามจึงให้บ่าวท้ังสองเข้าสารวจในพระราชวัง ตนเองจะรออยู่ด้านนอก เมื่อทั้งสองเข้าสารวจในที่ต่าง ๆ ก็เห็นสตรีนางหนึ่งซ่อนตัวใน “อูบผ้าลาย” หรือ “กะอูบเม็งชอน” จึงได้ไต่ถามส่ิงที่เกิดข้ึน นางกล่าวว่า ตนนั้นเป็นราชธิดาเมืองขวาง เหลือเพียงนางคนเดียวท่ีรอดชีวิต เพราะหลบอยู่ในท่ีซ่อนน้ี เหตุการณ์เกิดขึ้น เพราะ “งซู วง” ตวั ยาวแสนโยชน์ หางมนั อยบู่ นฟ้า ห้อยหัวลงมาล่าสัตวต์ า่ ง ๆ ในเมืองจนหมดส้นิ หากรักชวี ติ ขอให้ออกจากป่าแห่งน้ี ทั้งสองจึงบอกว่า มีท้าวคัชชนามเท่าน้ันที่จะปราบมันได้และได้กลับออกไปพบ ท้าวคชั ชนามทีร่ ออย่ดู า้ นนอก แลว้ ทูลเชิญให้เขา้ มาในวงั เมื่อคัชชนามพบนางจึงถามชื่อและได้ทราบว่า ควันไฟ สามารถล่อให้งูซวงปรากฏตัวได้ จึงส่ังให้บ่าว ทั้งสองก่อกองไฟเพ่ือให้งูซวงออกมา เม่ืองูปรากฏร่าง คัชชนามจึงใช้กกไม้เท้าวิเศษช้ีไปท่ีงูซวง ด้วยอิทธิฤทธิ์ ของไม้เท้าวิเศษ งซู วงตายตกลงจากท้องฟา้ ถมทับเมอื งขวาง คัชชนามใชม้ ือผ่าแหวะท้องงู จากสะดือไปถึงโคน หาง นากระดูกต่าง ๆ ออกมา มีทั้งกระดูกคน ช้าง ม้า วัว ควายและอ่ืน ๆ มากมาย แยกเป็นกอง ๆ ไว้เริ่มตั้งแต่ กระดูกพระราชา พระเทวี เสนา อามาตย์ เร่ือยไปจนถึงสัตว์เล็กสัตว์น้อย แล้วใชไ้ ม้เท้ามงคลชี้ไป ยังกองกระดูก ทุกผู้ทุกนามจึงกลับต่ืนฟ้ืนคืนชีพดังเดิม แล้วเขาทั้งหลายจึงกลับสู่ท่ีอาศัยแห่งตน จากน้ัน พระราชาได้เชิญทั้งสามเข้าสู่พระราชวัง แล้วจัดการมอบเมืองให้คัชชนามปกครอง ถึงแม้คัชชนามจะตอบ ปฏิเสธแล้วก็ตาม คัชชนามได้ครองเมืองมาสักระยะหนึ่ง มีความประสงค์จะเดินทางตามหาพ่อต่อ เลยให้ไม้
26 ร้อยกอปกครองเมืองแทนพร้อมอภิเษกนางคากองให้เป็นมเหสี จากน้ันก็สั่งสอนวิธกี ารปกครองต่าง ๆ ให้และ ออกเดนิ ทางกบั เกวียนรอ้ ยเลม่ ตอ่ ไป เดินทางรอนแรมมาเป็นระยะเวลานานพอสมควร ได้พบเมืองร้างอีกเมืองหน่ึงนามว่า “เมืองสรวง” ท้ังสองเดินเข้าไปในพระราชวัง เห็นปราสาทราชมณเฑียรตระการตา หากแต่สงัดเงียบวังเวงไร้ผู้คนอาศัย มีเพียงกลองขนาดใหญ่อยู่ในวังแห่งนี้ คัชชนามจึงตีดูสามคร้ัง คร้ังที่สามปรากฏมีเสียงหญิงสาวอยู่ภายในส่ง เสียงออกมา คัชชนามจึงเอาดาบปาดหน้ากลองออก ปรากฏร่างนางท่ีงดงามออกมา เธอบอกว่าเป็นราชธิดา เมอื งสรวง ช่อื “นางคาสิงห์” อาศยั ในกลองเพอ่ื หนียักษ์ท่มี ากินคนสัตว์ตา่ ง ๆ ในเมอื งไปจนหมดสนิ้ คัชชนาม จึงช่วยนางออกจากกลอง ท้ังสามจึงรออยู่ในพระราชวัง ส่วนคัชชนามออกมารอดักยักษ์ที่จะมาหากินในเวลา ค่าคืน ถึงเวลาท่ีฟ้ามืดสนิทยักษ์ก็เดินทางมาถึง ท้าวคัชชนามก็เอากกไม้เท้าวิเศษช้ีไปที่ยักษ์ ทาให้ยักษ์ส้ินชีพ แลว้ จากนัน้ เอาปลายไม้วเิ ศษชี้ไปยังกองกระดกู ทุกคนตา่ งก็กลบั ฟน้ื กลายเป็น พระราชา มเหสี เสนา อามาตย์ ไพร่ฟ้าพลเมือง สัตว์นอ้ ยใหญ่มีชวี ิตดงั เดมิ แลว้ ตา่ งแยกยา้ ยกันไปสทู่ ี่อยู่อาศัยแหง่ ตน พระราชา ขา้ ราชบริพาร ได้กล่าวขอบคุณท้าวคัชชนาม ในเวลาต่อมาจึงให้ท้าวคัชชนามครองเมืองและให้อภิเษกกับ “นางกองสี” (คาสงิ ห์) ท้าวคัชชนามครองเมอื งได้สามเดือน ประสงคจ์ ะตามหาพ่อเช่นเคย ไดส้ ละราชสมบัติให้บ่าวอกี คนคือ เกวียนร้อยเล่มครองเมืองแทน พร้อมท้ังอภิเษกนางกองสีให้เป็นมเหสีราชาแห่งเมืองสรวงและสั่งสอนหลักใน การปกครองบา้ นเมือง แลว้ ออกเดินทางตามหาพอ่ ตอ่ ไป ตงั้ แตอ่ อกเดินทางเปน็ เวลาสามปี ระหว่างทางคัชชนามได้เดินทางเข้าไปในป่าที่มีดงทึบหนาและหวน คิดถึงมารดาอย่างยิ่ง ได้อัญเชิญเทวดาและสรรพสัตว์ทั้งหลายเช่น ครุฑ นาคให้มาคุ้มครอง ในป่าน้ันได้พบฝูง เปรต จึงถามถึงสาเหตุท่ีมาเป็นเปรตเช่นน้ี ได้ความว่า เคยข่มเหงชาวบ้าน ลืมคุณและด่าพ่อแม่ บังคับเอาเมีย ผู้อ่ืน ข่มเหงชาวบ้าน เป็นหญิงมิจฉาจาร เป็นเพชฌฆาต พูดในทางเสียหาย ลักขโมย ฆ่าสัตว์ ตาหนิพระสงฆ์ และยุให้สงฆ์แตกกัน ในป่าน้ันได้พบกับฤๅษี คัชชนามได้บอกถึงสาเหตุของการเดินทางและขอให้พระฤๅษีช่วย บอกทาง พระฤๅษีจงึ เมตตาบอกทางไปสูย่ อดเขาทีห่ น้าผามรี อยเท้าช้างเหยยี บไวท้ หี่ น้าผาน้นั คัชชนามเดินทาง ต่อจนถึงเขตป่าหิมพานต์ ได้ชมสระอโนดาต และเข้าสู่บริเวณ “เมืองภูเงิน” ซ่ึงเป็นท่ีอยู่ของเหล่ากินรี จงึ ได้พบรกั กบั “นางปทุมมา” กนิ รซี ึง่ เปน็ ลกู สาว “ทา้ วเสตะราช” เจ้าเมอื งภูเงิน ทา้ วคชั ชนามได้อภิเษกโดย พิธีบายศรีสู่ขวัญ และได้อยู่กินกันฉันท์สามีภรรยานานพอสมควร แล้วก็ลาทั้งสองออกเดินทางเพื่อตามหาพ่อ อีกคร้ัง พร้อมกับให้คาม่ันสัญญาถึงความม่ันคงแห่งรักที่มีต่อนางปทุมา เมื่อพบบิดาแล้วจะกลับมารับนางนาง ปทมุ าได้ร้อยดอกไม้มอบแทนตัวนาง เม่ือเดินทางได้พบถ้าใหญ่แห่งหนึ่ง สูงสิบสองโยชน์เรียกว่า “ถ้านางนอน” ได้อาศัยเป็นท่ีพักแรมอยู่ ภายใน โดยคิดคานึงถึงแต่เพียงนางปทุมมา เมียผู้เป็นที่รัก ครั้นรุ่งเช้าคัชชนามได้เดินทางไปพบสระท่ีโขลง ช้างป่า อาศัยหากินเล่นน้าอยู่ แล้วอาศัยช้างเหล่าน้ีเพ่ือนาทางตามรอยพ่อตนต่อไปจากการเดินทางรอนแรม ตามโขลงช้างข้ามป่าเขามาหลายเพลา คัชชนามก็มาถึงยอด “ภูสิงห์” เขต “เมืองจาปา” และไม่ปรากฏ รอยเท้าพ่ออีก จึงถือเปน็ การสิ้นสุดการค้นหาเพยี งเท่าน้ี คัชชนามจึงก้มกราบรอยชา้ ง เม่ือมองลงมาจากภูสิงห์ มองเห็นนครจาปาและหอแก้วยอดทองคา คัชชนามได้ฝังทองคาไว้นาติดตัวไปพอใช้จ่ายเท่านั้น ลงจากภูสิงห์
27 เดนิ หนา้ สเู่ มอื งจาปาและ เขา้ ไปยงั สระน้าแห่งหน่ึง แลว้ ใช้ดาบศรีคันไชย์ตดั เกศ สระเกศ สรงนา้ ผลัดเปล่ียนผ้า ทรงชุดใหม่ แต่งองค์ทรงเครือ่ งงดงาม เมื่อคัชชนามเดินทางเข้าไปในเมืองจาปา ผู้คนต่างต่ืนตะลึงในความงามของคัชชนาม ได้พบกับนาง ตองตอยหญิงขอทานซึ่งเคยมีเงินทอง แต่ชะตากรรมทาให้ตกยากเป็นขอทาน คัชชนามเห็นคล้ายแม่ของตน จึงขอพักอาศัยด้วยพร้อมมอบทองให้นางซ่ึงได้ดูแลและรักคัชชนามเหมือนลูก คัชชนามอยากไดผ้ ้าช้ันเย่ียมมา นุง่ จงึ ให้แมเ่ ฒ่าเอาทองไปขอแลกมาจากวงั เมือ่ แตง่ ตัวดว้ ยผ้านค้ี ัชชนามงามมาก ทกุ คนชื่นชมพร้อมนาของกิน ของใช้มามอบให้มากมาย เพ่ือหวังให้ท้าวคัชชนามเชยชมตน ทาให้หญิงยากไร้แม่บุญธรรมมีฐานะดีขึ้น กว่าแต่ก่อน ช่วงเวลานี้ถือเป็นช่วงที่คัชชนามหลงอยู่ในกามคุณมากที่สุด เพ่ือนของคัชชนามเห็นว่า สตรีท่ีเหมาะสมกบั คชั ชนามท่ีสดุ คอื นางสีไว ลูกสาวเศรษฐีเมอื งจาปาและเป็นพระสหายสนิทของ “นางสดี า” ผู้มีเน้ือกายหอมพันวา นางเป็นพระธิดา “พระยากามะทา” เจ้าเมืองจาปา กับ “นางอาคา” พระมเหสี คชั ชนามจงึ ฝากสาสน์แนะนาตัวไปถึงนางสีไวและนางสีไวก็ใชใ้ หน้ างคาไขเอาผ้าและสาสน์ ไปมอบคัชชนามและ ชวนไปเท่ียวป่าชมดอกไม้และเกี้ยวพาราสีกันโดยการทายชอ่ื ดอกไม้ต่าง ๆ ในระหวา่ งที่คัชชนามอยู่เมืองจาปา น้ัน ก็เกิดเหตุการณ์ร้ายข้ึนในบ้านในเมือง ซ่ึงมีสาเหตุมาจากในวันหนึ่งพระยากามะทาเจ้าเมืองจาปา มีพระประสงค์เสด็จออกประพาสป่าล่าเน้ือท่ีป่าหิมพานต์ เม่ือถึงป่าพระยากามะทาก็ล่าเนื้อกับข้าราชบริพาร อย่างสนุกสนาน ขณะนั้นสัจจะยักข์ซึ่งเป็นยักษ์ที่เคยบอกที่ซ่อนทองคาให้กับคัชชนามก็ปรากฏตัวข้ึน เมื่อเห็นพระราชาก็เกิดความหิวอยากกินเป็นอาหาร จึงแปลงกายเป็นกวางทองว่ิงล่อหลอกให้พระยากามะทา ควบม้าไล่ตาม จนพลดั หลงกบั ขา้ ราชบริพาร เขา้ ปา่ ขา้ มภเู ขาหลายลูก เมื่อเขา้ ใกล้ กวางกลบั เพศเปน็ ยักษแ์ ละจะใชข้ วานทารา้ ยพระราชา พระยากามะทาขอชีวติ พระองค์ไว้ โดยมีสิ่งแลกเปลี่ยนคือ จะส่งหญิงสาววยั รุ่นในเมืองจาปาท่ีมีเนื้อหอมอร่อยมาให้แทน เพราะพระองค์ตอ้ งดูแล บ้านเมือง ยักษ์ตกลงและให้สร้างปราสาทไว้นอกเมือง จัดเคร่ืองสังเวยสองเดือนต่อคร้ัง จากนั้นยักษ์ก็ปล่อย พระราชากลับคนื สเู่ มอื ง ถึงเมืองพระราชาก็จัดสร้างปราสาทสังเวยอยดู่ ้านนอกเมือง และจดั สงั เวยหญงิ สาว สองเดอื นต่อคร้งั เปน็ ประจา จนบ้านเมืองเตม็ ไปด้วยความกลัว โศกสลดเศรา้ หมอง ทั้งลกู สาวชาวบา้ น ลูกสาว เสนา อามาตย์ก็หมดลง คงเหลือแต่นางสีดาลูกสาวพระยากามะทา และวันนั้นก็มาถึง แม้พระยากามะทาจะขอไปให้ยักษ์กินตนเองแทน ส่วนพระชายาก็จะขอไปด้วย นางสีดาไม่สามารถยอมได้ เพราะนางจะถูกผู้คนทั้งเมืองติเตียน สุดท้ายจึงจาเป็นตอ้ งสังเวยนางสีดาให้กับยักษ์ โดยนานางสู่ปราสาทนอก เมอื งเพอ่ื รอการสังเวย กล่าวถึงคัชชนาม เม่ือได้ทราบเร่ืองนางสีดาจากแม่บุญธรรมของตน คัชชนามจึงแต่งองค์ทรงเครื่อง เตรียมการต่าง ๆ เพื่อตอ่ สู้กับยักษ์ร้ายที่จะมาปราสาทตอนเที่ยงคืนตามท่ีมารดาขอร้อง คัชชนามนาพิณติดตวั ไปด้วย เม่ือเดินทางถึงปราสาท คัชชนามได้เข้าไปทุบทาลายหอผีและส่ิงของเคร่ืองสังเวยทั้งหมด ก่อนเข้าไป ในปราสาทด้านใน นางสีดาตกใจแทบสลบและเตรียมให้ยักษ์กิน เน่ืองจากเป็นคืนเดือนมืด ทั้งสองจึงไม่มี โอกาสมองเห็นซึ่งกันและกัน คัชชนามได้ยินเสียงนางจึงถามไถ่ นางสีดาร้องดา่ เพราะคิดว่าเป็นยักษ์แตก่ ็แปลก ใจมากท่ีเสียงไพเราะประดุจเสียงพระอินทร์ และเมื่อได้พูดคุยกันสักระยะ นางจึงรู้ว่ามิใช่ยักษ์ หากแต่เป็น
28 ชายหนุ่มผู้มาช่วยเหลือ คัชชนามบอกเพียงว่า ตนเองเป็นชายกาพร้า เป็นลูกชายพระยาศรีสาเกส พร้อมบรรเลงพิณขับกล่อมให้นางฟงั ในห้วงเวลาอันสุขสมระคนความหวาดกลัวน้ัน ทั้งสองต่างสมพาสกันเป็น ท่ีน่าอัศจรรย์เม่ือเวลาถึงเท่ียงคืน สัจจะยักษ์ก็เข้ามาในปราสาทหวังได้กินเน้ือหญิงสาวบริสุทธ์ิ แต่กลับเห็น เครื่องเซ่นสังเวยพังทลายแทบไม่เหลือชิ้นดี จึงโกรธมากและเข้าไปต่อสู้กับผู้รุกราน ยักษ์เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ จึงสอบถามและทราบว่าคือสัจจะยักษ์ คัชชนามจาได้จึงว่ากล่าวตักเตือนและจะปล่อยตัวไป แต่ยักษ์ไม่ยอม ใหค้ ัชชนามปลอ่ ยตนไป เนื่องจากสานกึ ผิดมากทเี่ ห็นแกก่ ินมากกวา่ คาส่ังสอน ขอให้สังหารตนเสีย เมื่อคัชชนามคิดไตร่ตรองถี่ถ้วนแล้ว จึงปลดดาบออกจากฝัก จ้วงแทงไปที่คอยักษ์จนยักษ์จนถึงแก่ ความตายเหยียดร่างนอนอยู่รมิ สระใกล้ปราสาทน้ัน จากนั้นคัชชนามและนางสีดา ตา่ งพลอดรักกันตอ่ จนเกอื บ รุง่ สาง เม่ือถึงเวลาร่าลากัน ท้งั สองไดแ้ ลกเปลี่ยนสิ่งของกันเพ่อื เตอื นความจา คือ แหวนของนางสีดากับชายผ้า แสนคาของคัชชนาม โดยท่ีไม่ได้เห็นหน้ากันเลย พระยากามะทาประสงค์จะตอบแทนบุญคุณผู้ช่วยเหลือ จึงประกาศหาไปท่ัวเมือง พบว่า “ข้อยหญ้าม้า” (คนรับจ้างให้หญ้าม้า) แอบอ้างว่า ตัวเองเป็นผู้ปราบยักษ์ ดว้ ยการใชไ้ ม้คานแทงคอยักษ์ตาย แต่เม่ือพิจารณารอยแทงแล้วไม่สมจริงเพราะไม้คานไม่สามารถแทงคอยักษ์ ซ่ึงมีร่างสูงมากได้ นางสีดาจึงเล่าให้พระยากามะทาฟังว่า ผู้ที่ช่วยเหลือมีกาลังมาก และมีแหวนของนางที่มอบ ให้ ส่วนนางก็มีชายผ้าของชายคนน้ัน พระยากามะทาจึงประกาศหาผู้ที่มีชายผ้าจากชาวเมืองทั้งหมด ทาให้ เกิดเหตุการณ์อลหม่านข้ึน เพราะผู้ชายในเมือง ท้ังหนุ่มน้อย ฉกรรจ์ แก่เฒ่า พิการ ต่างก็อยากจะแต่งงานกับ นางสีดา สดุ ท้ายคชั ชนามก็ปรากฏตวั ขนึ้ และนาชายผ้าท่ีขาดมาต่อกันได้อยา่ งพอดี อกี ทง้ั ยงั นาแหวนของนางสี ดาทีม่ อบไวม้ าแสดง จงึ ได้อภเิ ษกสมรสกับนางสีดาและนางสีไว คชั ชนามจึงไดค้ รองเมอื งจาปาต้ังแต่น้นั เวลาผ่านมานานพอสมควร คัชชนามคิดถึงพระยาศรีสาเกส มารดา ไม้ร้อยกอ ชายแก่เกวียนและนาง ปทุมาที่เมืองภูเงนิ มาก นางสีดาและนางสีไวสังเกตเห็นความเศร้าของคัชชนามจึงไตถ่ าม คัชชนามเลยเล่าเร่ือง นางปทุมาและเรื่องมารดาของตน นางทั้งสองจึงให้คัชชนามไปเชิญนางปทุมมามาอยู่ด้วย คัชชนามจึงไปเย่ียม แม่ที่เมืองศรีสาเกสและได้เดินทางสู่เมืองภูเงิน พบนางปทุมมา แล้วขอนางไปอยู่ด้วยกันท่ีเมืองจาปาในฐานะ มเหสีและเล่าเรื่องนางสีดา นางสีไวเมืองจาปาใหฟ้ ัง พร้อมได้นาคาเชิญของนางอาคาเชญิ ให้นางปทุมมาไปเปน็ ญาติพ่ีนอ้ งร่วมอทุ ร ทงั้ ยังไดเ้ ชญิ ทา้ วเสตะราชและนางบัพพาวัณแหง่ เมอื งภเู งนิ ไปเยือนเมอื งจาปาด้วย หลังจากท่ีท้าวเสตะราชเห็นถึงความม่ันคงในรักของท้าวคัชชนาม และจะยกย่องนางปทุมาเสมอกัน กับนางสีดาจึงอนุญาตให้นางปทุมมาไปอยู่กับคัชชนาม และท้าวเสตะราชได้จัดขบวนมาส่งนางปทุมมาอย่าง สมเกียรตปิ ระกอบด้วยเทพกินรีเหาะเหินมาทางอากาศเปน็ ขบวนจานวนส่ีแสนองค์ พร้อมแก้วแหวน เงินทอง จานวนมาก พระยากามะทาได้ตอ้ นรับอย่างสมเกยี รติ โดยนาช้าง ม้า วัว ควาย แกว้ แหวน เงินทองมอบแก่ท้าว เสตะราช ชาวเมืองจาปานั้น ต่างต่ืนเต้น พากันตอ้ นรับและเลี้ยงแขกเมอื งเป็นอย่างดี นางอาคา นางบัพพาวัณ ต่างเปล่ียนกันแสดงความรักและช่ืนชมนางปทุมมา นางสีดาและประกาศเป็นทองแผ่นเดียวกัน มีการเฉลิมฉลอง อย่างมโหฬารด้วยการละเล่นต่าง ๆ นางบัพพาวัณได้สั่งสอนให้นางทั้งสามเชื่อฟังสามี อย่าหู เบา ดูแลข้าวปลาอาหารถวาย ดูแลพ่อแม่ทั้งสองฝ่าย พูดดีกับผู้ท่ีต่ากว่า ท้าวคัชชนามและมเหสีทั้งสาม
29 คือ นางปทมุ มานางสีดา นางสีไว ตา่ งมไี มตรอี นั ดีตอ่ กัน หลงั จากนน้ั ไม่นานท้าวเสตะราชก็ขอตวั เสด็จกลับคืนสู่ เมืองภเู งนิ กล่าวถึงพระเจ้าเมืองขวาง คือชายไม้ร้อยกอและพระเจ้าเมืองสรวง คือชายร้อยเล่มเกวียน ทั้งสองรู้ ขา่ วความงามของธดิ าเจา้ เมอื งจาปา จงึ ไดจ้ ัดเตรยี มกาลังพลเดนิ ทางเพ่ือทาศกึ ชิงนางสีดาไปถวายท้าวคัชชนาม ผู้มีบุญคุณกับพวกตน โดยไม่รู้ว่าเมืองจาปานั้นมีท้าวคัชชนามเสวยเมืองอยู่แล้ว เม่ือได้ฤกษ์จึงจัดทัพเคลื่อน ขบวนพลเดินทาง ระหว่างทางได้ยกทัพบุกเมืองส่วยของเมืองจาปาก่อนคือ “เมืองผายี” มี “เจ้าฟ้าหยาด” ปกครองอยู่ ทาให้เจ้าเมืองผายีต้องส่งทตู ไปขอกาลังจากเมืองจาปา แต่ทัพทางจาปามายังไมถ่ งึ เกิดศึกชนช้าง กันขึ้น ก่อนทาให้เจ้าฟ้าหยาดกับลูกส้ินพระชนม์ในสนามรบ จากน้ันพระยาเมืองขวาง พระยาเมืองสรวงจึง จัดแบ่งนางสนม สมบัติ ทรัพย์ศฤงคารต่าง ๆ ให้แก่ขุนศึกของตน เม่ือจัดการพระศพเจ้าฟ้าหยาดเสร็จ จึงจัดเตรียมบ้านเมืองและกาลังพลเพ่ือบุกประชิดเมอื งจาปาต่อไป ทูตเมืองฟ้าหยาดมาถึงเมืองจาปาและแจ้งแก่ “เพ็ชล่วง” ซ่ึงเป็นแม่ทัพเมืองจาปาว่า ศึกจะเข้ามาตี เมืองจาปา เพ็ชล่วงจึงรีบเข้าทูลพระยากามะทาและเฝ้าท้าวคัชชนาม เพ่ือเตรียมทัพรับการบุกประชิดจาก ข้าศึก หลังจากน้ัน ก็มีการทาศึกปะทะกันอย่างหนักหน่วง แต่เมื่อท้าวคัชชนามปรากฏตัวข้ึน พระราชาทั้งสอง ถึงกับตะลึงงัน จึงหยุดทัพและรีบลงมาจากหลังช้าง เพื่อกราบทูลขออภัยโทษ จากน้ันคัชชนามติเตียนคน เนรคณุ ท้งั สอง แล้วจึงยก “ทา้ วไชยะราช” ซึง่ หนีภยั สงครามไปอยทู่ ี่ “เมืองกาสี” ให้มาครองเมืองผายีแทน พระเจ้าฟ้าหยาดท่ีสวรรคตในสงคราม ท้าวคัชชนามไดส้ อนการจัดการบา้ นเมือง ให้กับพระยาทั้งสาม เมอื งคือ เมอื งขวาง เมืองสรวง และเมอื งผายี จากนนั้ ท้าวคัชชนามและพระยาท้งั สาม ก็ต้ังขบวนเดินทางสู่เมือง ศรีสาเกส เพ่ือไปรับพระมารดาของท้าวคัชชนาม เมื่อคัชชนามพบพระมารดาแล้ว พระยาทั้งสามที่ติดตามมา ด้วยก็ขอทูลลากลับบ้านเมืองตนและท้าวคัชชนามได้ส่งสาส์นกราบทูลถึงพระยานครศรีสาเกสซ่ึงเปน็ พระบิดา บุญธรรมให้รับทราบ พร้อมส่งเครื่องบรรณาการต่าง ๆ มาถวายท้าวคัชชนามได้แต่งสาส์นไปหา “พระยาอาลมั ” แห่ง“เมืองราชนครศรี” ผู้เป็นพระสวามีแหง่ พระมารดา พร้อมถวายเครอ่ื งบรรณาการตา่ ง ๆ และขออนุญาตนาพระมารดาไปครองเมืองกาสี ในนาม “พระแท่นแก้วขัตติยะราชมารดา” คัชชนามได้สอน ธรรมะในการครองเมืองให้กับพระมารดา แล้วจึงลากลับคืนสู่เมืองจาปา ท้าวคัชชนามปกครองบา้ นเมืองอย่าง สงบสุขสืบตอ่ มาหลายปี มีราชบุตรครองเมอื งต่าง ๆ ดงั น้ี 1. ราชบตุ รท่ีเกดิ กับนางสดี า ชอื่ “รตั นำถ” ปกครองเมืองจาปาตอ่ จากทา้ วคชั ชนาม 2. ราชบุตรท่ีเกิดกับนางปทุมมาสองพระองค์ องค์พ่ีชื่อ “ทันยำแก้ว”ครองเมืองภูเงิน องค์น้องช่ือ “อินทะราชกุมาร” ครองเมืองกาสี แทนยา่ 3. ราชบุตรท่ีเกิดกับนางสีไว ช่ือ “คัชชเนต” ได้ไปครองเมืองราชนครศรี ของเจ้าปู่อาลัม ส่วนดาบคันไชยศรี ไม้เทา้ วิเศษ พระอินทร์ไดน้ ากลับคนื สู่สวรรค์ ในบ้ันสดุ ทา้ ยของเร่ืองไดก้ ลา่ วม้วนชาติชาดก
30 หนังสือของ ยุทธพงศ์ มำตย์วิเศษ (2562) เร่ือง ตำนำนอุรังคธำตุ ผลการศึกษาพบว่า ตานาน อุรังคธาตุ ถูกเรียบเรียงมาจากนิทานเก่าแก่ท่ีมีอยู่ 3 เร่ือง ได้แก่ ศาสนานครนิทาน เป็นเรื่องเกี่ยวกับลาดับ กษัตริย์ทีป่ ระมวลมาจากพงศาวดารล้านชา้ ง ปาทลักษณนทิ าน เปน็ เร่อื งเก่ียวกบั การประทับรอยพระพุทธบาท ในลุ่มแม่น้าโขง และอุรังคธาตุนิทาน เป็นเร่ืองเกี่ยวกับการสร้างเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุในลุ่มน้าโขง โดยมกี ารบันทึกว่า พญาโพธิสาลราช ทรงไดร้ บั “นิทานอรุ ังคธาต”ุ จากเมอื งอนิ ทปัถนคร ในช่วงปี พ.ศ. 2070 จากนั้นพระยาไชยชมพูจึงนามาเรียบเรียงเข้ากับ “ปาทลักษณนิทาน” และ “ศาสนานครนิทาน” เป็น “ตานานอุรงั คธาต”ุ ซึ่งมเี นอ้ื เรอ่ื งโดยยอ่ ว่า อุรังคธาตุหรือตานานพระธาตุพนมมีตานานเล่าว่า ก่อนองค์พุทธเจ้าเสด็จเข้าพระนิพพาน พระพุทธ องค์ได้เสด็จมากับพระอานนท์แล้วหยุดอยู่แคมหนองคันแทเสื้อน้า อันเป็นท่ีต้ังพระธาตุหลวงเมืองเวียงจันทน์ ในปจั จุบัน พระพุทธองค์ได้มองเห็นด้วยพระญาณ จึงไดก้ ล่าวเร่ืองราวของบา้ นเมืองแถบนอี้ อกเปน็ 2 ประการ คือ ช่วงเวลาร่วมสมัยกับพระเจ้าอโศกมหาราชของอินเดีย จะเป็นช่วงก่อบ้านแปงเมืองเวียงจันทน์ขึ้นที่น้ัน พร้อมกับเร่ืองราวของพระอรหันต์ได้นาเอาพระธาตุส่วนต่าง ๆ ของพระองค์เจ้ามาสถิตย์ไว้บริเวณแถบน้ี รวมท้ังการก่อบ้านแปงเมืองท่ีช่ือว่า เมืองดอยนันทกังฮี (คือ เมืองหลวงพระบางในทุกวันน้ี) โดยอิทธิฤทธิ์ ของอมรฤาษี โยธกิ ฤาษี หลังจากน้นั ก็เป็นคากล่าวในช่วงเวลาเลยไปทางหน้า แลพระพุทธองค์เจ้าจึงเสด็จเดิน ย้ายผ่านหลายท่ี และล่องลงใต้แคมของแม่น้าของ จากนั้นเลยเสด็จเข้าสู่ศรีโคตรบูรณแคว้น (ช่วงอาเภอ ท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ในปัจจุบัน) แล้วก็พานักอยู่ดอยกัปปนคีรีหรือภูกาพร้า (ที่ต้ังพระธาตุพนม จังหวดั นครพนม ในปจั จุบัน) พญาศรีโคตรบรู ณมานิมนต์พระพุทธองค์เข้าไปรับบิณฑบาต ในเขตเมืองพญาศรี โคตรบูรณ จึงมีโอกาสได้ถือบาตรพระพุทธองค์ไปส่งยังภูกาพร้า แล้วก็ต้ังความปารถนาเกิดเป็นพระพุทธเจ้า ในอนาคตกาล ในคราวนี้พระพุทธองค์ได้ทรงตรัสอนาคตของพญาศรีโคตรบูรณให้แก่พระอานนท์ฟังว่า พญาตนน้ีจะได้ไปเกิดอยู่ยังเมืองร้อยเอ็ดประตูชาติหน่ึง แล้วจะได้ไปเกิดเป็นพญาสุมิตตธรรมวงศา อยู่เมือง มรุกขนครอีกชาติหน่ึง มาถึงชาติน้ี พญานั้นสิได้แปงธาตุสถูป เพื่อสิได้บรรจุอุรังธาตุ กระดูกหน้าอกของเรา ตถาคต เนายังอยู่ภูกาพร้านี้เอง จากนั้นองค์พระพุทโธเจ้าจึงเสด็จกลับ แล้วเข้าไปเมืองหนองหาญหลวง (คือ จังหวัดสกลนคร) ทรงเทศนาธรรมแก่พญาสุวรรณภงิ คาร พญาตนนี้ได้ขอให้พระพุทธองค์ประทับรอยพระ พุทธบาทไว้เป็นที่ขาบไหว้บูชา เม่ือประทับรอยพระพุทธบาทแล้วจึงเสด็จไปสู่ดอยแห่งหนึ่ง พระมหากัสปปะ จากนครราชคฤห์ พอพระมหากัสปปะมาถึงจึงตรัสสั่งเสียไว้ว่า เม่ือเราตถาคตเข้าสู่ปรินิพพานแล้ว ให้พระมหากสั สปะเอาอรุ ังธาตุของเราตถาคตมาสถติ เนายังอยภู่ ูกาพร้าแห่งนี้ ตามรอยพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ ทเ่ี คยปฏบิ ตั ิสบื มา แล้วพระพทุ ธองคจ์ ึงเสด็จไปสู่ภูกูเวียน (ภูพานในเขตจังหวดั อดุ รธานี ในปัจจบุ ัน) พระพุทธองค์จึงเสด็จไปสู่ดอยนันทกงั ฮี แล้วประทานรอยพระพุทธบาทไว้ แล้วกล่าวถึงอนาคตกาลวา่ ดินแดนขวางเขตแคมหนองคันแทเสื้อน้านั้น (ในยุคพระเจ้าอโศกมหาราช) กาลล่วงไปก็จักสูญสลาย แลจักมีพญาตนหน่ึง (เจ้าฟ้างุ้ม กษัตริย์ลาวล้านชา้ ง) มาทานุบารุงพระพุทธศาสนาให้รุ่งเรืองอร่ามในขวางเขต นี้ (ท่ีประทับอยู่ คือ เมืองหลวงพระบาง) ภายหน้าเม่ือขวางเขตเมืองน้ีเส่ือมลง พระพุทธศาสนาก็จักกลับไป
31 รุ่งเรืองยังขวางเขตเมืองหนองคันแทเสื้อน้าแห่งนั้นแล (เมืองเวียงจันทร์) เมื่อเถิงอนาคตดินแดนแถวนี้แล้ว กเ็ สด็จกลับพระเชตวนั ดงั เดมิ องค์พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพาน ล่วงไปได้ปีท่ี 8 พระมหากัสสปะเถระพร้อมด้วยพระอรหันตาเจ้าหา้ ร้อยตน ได้พากันอัญเชญิ พระอรุ ังธาตขุ องพระพทุ ธองคม์ าสู่ภูกาพรา้ ผา่ นมาเมืองหนองหาญหลวง พญาสวุ รรณ ภิงคารกับพญาคาแดง เจ้าเมืองหนองหาญหลวงกับเจ้าเมืองหนองหาญน้อย ได้ออกมากราบไหว้ แล้วเกิด ความอยากได้พระอุรังธาตไุ วบ้ ชู าอยู่เมอื งของตน จงึ พากนั ก่อธาตสุ ถูปแข่งกนั ระหว่างผู้ชายกับผู้หญงิ เพ่อื จะได้ เอาพระอุรังธาตุขององค์พระพุทธเจ้ามากราบไหว้ โดยผู้หญิงใช้มารยาล่อผู้ชาย ทาให้ธาตุสถูปของผู้หญิง จึงสร้างสาเร็จก่อน โดยชื่อว่าธาตุนารายเจงเวง แต่พระมหากัสสปะห้ามไม่ให้เอาพระอุรังธาตุไว้ท่ีแห่งนี้ เพราะว่าองค์พระพุทธเจ้าไม่ได้สั่งความไว้ก่อนปรินิพพาน จึงให้พระอรหันต์นาเอาพระอังคารธาตุมาให้ใส่ไว้ใน ธาตุสถูปไว้บูชาแทน บัดนี้ พระมหากัสสปะจึงพาพระอรหันตาทุกพระองค์ไปสู่ภูกาพร้า เจ้าพญาทั้งสองก็ได้ตามพระเถระ เจ้าท้ังหลายไปด้วย พอมาถึงเจ้าพญานันทเสนเมืองศรีโตรบูรณได้มาต้อนรบั กราบไหว้เปน็ อย่างดี เมื่อรู้ถึงพญา จลุ ณแี ละพญาอนิ ทปตั ฐ จงึ ได้พากันมาชว่ ยพระเถระเจ้าป้ันอฐิ เผาดินก่ออูบมงุ เพอ่ื จะไดร้ ักษาพระอรุ ังธาตขุ อง พระพุทธองค์ ตามท่ีเคยได้ฝากความกับพระมหากัสสปะ เมื่อก่ออูบมุงพระอุรังธาตุเสร็จจึงเกิดปาฎิหาริย์ให้ พระมหากัสปปะรับรู้เกี่ยวกับพระประสงค์แห่งองค์พุทธเจ้าห้ามไม่ให้มีการฐาปนาก่ออูบมุงแล้ว จึงได้นา พระอรุ งั ธาตเุ ข้าไว้ในอูบมุงนน้ั แล้วจงึ นาประตไู ม้อัดไว้ เจา้ พญาท้ัง 5 กเ็ ลยอธิษฐานขอให้สาเร็จอรหนั ต์ในกาล เบื้องหน้า จากนั้นเจ้าพญาทั้ง 5 จึงได้ลาจากกันกลับเมือง หลังจากนั้นพระวิษณุกรรมจึงได้ลงมาลักลายอูบมุง เหลา่ เทวดาทั้งหลายกไ็ ดล้ งมาบูชาพระอรุ ังธาตุ และไดแ้ บ่งเวรยามกันมาดูแลรกั ษาพระอุรงั คธาตุ กล่าวย้อนไปถึงเจ้าพญาศรีโคตรบูรณท่ีได้มีโอกาสถือบาตรของพระพุทธองค์เจ้าว่า ในช่วงเวลาน้ี พระพุทธเจ้าเสด็จเข้าพระนิพพาน เจ้าพญาองค์น้ีได้ส้ินพระชนม์แล้วก็ได้ไปเกิดเป็นโอรสเจ้าเมืองสาเกตุ มีชื่อว่า สุริยะกุมาร ส่วนทางเมืองศรีโคตรบูรณน้ัน เจ้าพญานันทเสนผู้น้องได้สืบเมืองต่อไป เจ้าเมืองสาเกตุ นครน้ันมีชื่อว่า ศรีอมรนี เป็นสหายเท่ียวเล่นอยู่กับพญาโยธิแห่งเมืองกุรุนทะ ทั้งสองจึงได้ครองเมืองร่วมกัน โดยมีช่ือเมืองว่า ศรีอโยธยา ตามช่ือของเจ้าพญาท้ังสอง ต่อมาภายหลังได้ออกบวชเป็นผ้าขาวมีอิทธิฤทธิ์ จึงท้ิงเมืองสาเกตุไว้ เมื่อสุริยกุมารอายุได้ 16 ปี จึงได้ครองเมืองสาเกตุสืบต่อมา พญาท้ังสองนั้นได้เท่ียวไปตี เมืองต่าง ๆ ได้ถึงร้อยเอ็ดเมือง เพื่อนามาอยู่ใต้อานาจของสุริยกุมาร เมืองสาเกตุจึงมีช่ือเรียกว่า \"เมืองฮ้อยเอด็ ปากตู\" สุริยะกุมารได้ทานบุ ารุงพระศาสนาเปน็ อย่างดี และได้บารุงพระพุทธศาสนาอยู่เมืองฮ้อย เอ็ดปากตู จนได้ช่ือว่า สุริยะวงศาธรรมิกราชาธิราชเอกราช เมื่ออายุได้ 18 ปี ในช่วงท่ีมีการแปงอูบมุง ประดิษฐานพระอุรังธาตุ (พญานันทเสนครองราชย์ได้ 18 ปี พระมหากัสสปะนาเอาพระอุรังธาตุมา ฉะนนั้ พระพทุ ธเจา้ ได้เสด็จมาภูกาพร้ากอ่ นปรนิ ิพพานอย่างน้อย 10 ป)ี จากการทบทวนงานเอกสารที่เกี่ยวข้องกับวรรณกรรมอีสาน สรุปได้ว่า ผู้วิจัยได้กาหนดวรรณกรรม อีสานจานวน 3 เรื่อง ได้แก่ ท้าวคัชชนาม ท้ พระยาคันคาก และตานานอุรังคธาตุ ซึ่งวรรณกรรมท้ัง 3 เรื่องน้ี เป็นวรรณกรรมสองฝั่งโขงท่ีมีเนื้อหาเก่ียวกับพุทธศาสนาเป็นหลัก ซ่ึงมีเหตุการณ์การสู้รบ ตีเมืองของผู้ครอง
32 เมือง โดยพบว่ามี ธุง หรือ ทุงเข้าไปเก่ียวโยงกับการออกรบสู้ศึก และในพิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งก็ทาให้ เห็นว่าธุงในวรรณกรรมปรากกฏข้ึนและมีอยู่จริงในประวัติศาสตร์อีสาน และผู้วิจัยจะนาข้อมูลอันเป็น ประโยชน์น้ีไปใช้เป็นแนวทางของการศึกษาธุงในวรรณกรรมอีสาน ในการวิเคราะห์ธุงที่ปรากฏตัวบทอยู่ วรรณกรรมอีสาน พร้อมท้ังวิเคราะห์ว่าธุงในวรรณกรรมทั้ง 3 เร่ือง ใช้ประโยชน์ในเหตุการณ์หรือพิธีกรรม ใดบ้าง
33 บทท่ี 3 วธิ กี ำรดำเนินกำรวิจัย การศึกษาเรื่อง ธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาธุงที่ปรากฏในวรรณกรรม อีสานจานวน 3 เร่ือง ได้แก่ 1) ท้าวคัชชนาม 2) พระยาคันคาก และ 3) ตานานอุรังคธาตุ โดยผู้วิจัยได้ ดาเนินการวิจัยตามลาดบั ข้ันตอน ดงั นี้ 1. ระเบียบวิธีวจิ ัย 2. ระยะเวลาในการศกึ ษาคน้ คว้า 3.1 ระเบียบวิธีวิจัย งานวิจัยเร่ือง ธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสาน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเคร่ืองมือในการ เก็บรวบรวมข้อมูลคือ วรรณกรรมอีสานจานวน 3 เรื่อง ได้แก่ ท้าวคัชชนาม พระยาคันคาก และตานาน อุรังคธาตุ และได้ใช้เอกสารประเภทต่าง ๆ เช่น วารสาร รายงานการวิจัย บทความทางวิชาการ ตลอดจน วิทยานิพนธ์เป็นข้อมูลเสริม จากน้ันนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ ตีความ นาเสนอข้อมูลในรูปแบบพรรณนา วิเคราะห์ และสรุปผลการศึกษาด้วยการผสานระหว่างคติชนวิทยากับวิธีวิจัยเชิงคุณภาพภายใต้กรอบแนวคิด วีรบุรุษทางวัฒนธรรม (Cultural Hero) แนวคิดตานานและเรื่องเล่า (Myth and Legend) แนวคิดเรื่อง จักรวาลวทิ ยา (Cosmology) และทฤษฎบี ทบาทหน้าท่ีนิยม (Functionalism) หรือทฤษฎโี ครงสร้าง - หน้าที่ (Structural-Functionalism) ผู้วิจัยได้ต้ังประเด็นการกาหนดขอบเขตตัวบทในการวิเคราะห์ จากการทบทวนวรรณกรรมและ งานวิจัยที่เก่ียวข้อง เพ่ือเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีมีความครอบคลุม และตรงตามวัตถุประสงค์ ของการวิจยั โดยผวู้ จิ ัยได้แบง่ การวิจัยออกเป็น 4 สว่ น ดังน้ี 1) ความหมายของธุง 1.1) ความหมายของธุงตามหลกั ฐานทีป่ รากฏในเอกสาร 1.2) ความหมายของธงุ ในทางภาษาศาสตร์ 2) ความสาคญั ของธงุ ในทางพุทธศาสนา 3) การศกึ ษาธงุ ทป่ี รากฏในวรรณกรรมอสี านจานวน 3 เร่อื ง ได้แก่ 1) ทา้ วคัชชนาม 2) พระยาคนั คาก และ 3) ตานานอรุ งั คธาตุ โดยมรี ายละเอยี ดแนวทางการวิจัย ดงั นี้ 3.1) ธุงมีคาเรียกตามตัวบทในวรรณกรรมอสี านวา่ อย่างไร 3.2) ความหมายหรือสัญลกั ษณ์ของธุงที่ปรากฏตามหลกั ฐานในเอกสารเปน็ อยา่ งไร
34 3.3) ธุงในวรรณกรรมปรากฏอยู่ในเหตุการณ์ หรือพธิ กี รรมอยา่ งไร 3.4) สรุปโดยรวมว่าวรรณกรรมทั้ง 3 เร่ืองธุงมีคาเรียกตัวบทว่าอย่างไร ธุงเข้าไปมีบริบท อย่างไร และมีความหมายสัญลกั ษณ์เหมือนหรือตา่ งกันอยา่ งไร (อธบิ ายในบทท่ี 5 ) 4) ธุงทปี่ รากฏในวรรณกรรมอีสานที่วา่ ดว้ ยเรือ่ งจักรวาลวทิ ยา 3.2 ระยะเวลำในกำรศกึ ษำค้นคว้ำ ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการจัดทาโครงงานวิจัยสหกิจศึกษาใช้เวลาทั้งหมดจานวน 16 สัปดาห์ นับตั้งแต่วันที่ 21 ธันวาคม 2563 ถึงวันท่ี 9 เมษายน 2564 โดยมีตารางแสดงแผนการทางาน ดงั ต่อไปนี้ ตำรำงที่ 4 : ระยะเวลาการดาเนนิ งาน 4 เดอื น ตัง้ แต่วนั ที่ 21 ธันวาคม 2563 ถงึ วนั ท่ี 9 เมษายน 2564 ลำดบั แผนกำรดำเนนิ งำน ธันวำคม มกรำคม กมุ ภำพนั ธ์ มีนำคม 2563 2564 2564 2564 สัปดำห์ สัปดำห์ สปั ดำห์ สัปดำห์ 1234123412341234 1 ทบทวนเอกสารและงานวิจัย ที่เก่ียวข้องกับหัวข้อวิจัยท่ี สนใจ 2 ก า ห น ด หั ว ข้ อ วิ จั ย แ ล ะ วัตถปุ ระสงค์ 3 กาหนดขอบเขตการศึกษา และคัดเลือกข้อมูลที่ใช้ใน การศึกษาวิเคราะห์ 4 เขียน และส่งงานวิจัยในบท ท่ี 1 บทนา 5 เขียน และส่งงานวิจัยในบท ท่ี 2 จากการทบทวนเอกสาร และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับ หวั ข้อ 6 เขียน และส่งงานวิจัยในบท ท่ี 3 วธิ ีการดาเนนิ การวิจัย 7 เขียน และส่งงานวิจัยในบท ท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู
35 8 เขียน และส่งงานวิจัยในบท ท่ี 5 สรุป อภิปรายผลและ ข้อเสนอแนะ
36 บทท่ี 4 ผลกำรศึกษำและวิเครำะห์ข้อมลู รายงานการวิจัยเร่ือง ธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาธุงที่ปรากฏใน วรรณกรรมอีสานจานวน 3 เร่ือง ได้แก่ 1) ท้าวคัชชนาม 2) พระยาคันคาก และ 3) ตานานอุรังคธาตุ ผ้วู จิ ัยไดร้ วบรวมข้อมลู และวิเคราะห์โดยอาศยั แนวคดิ ทฤษฏที างคตชิ นวิทยา ผู้วิจัยเลือกศึกษาธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสาน เฉพาะด้านที่สนใจและมีความเกี่ยวเน่ืองกัน อัน นาไปสผู่ ลการศกึ ษาตามวตั ถปุ ระสงคท์ ีต่ ้ังไว้ โดยแบง่ ออกเป็น 4 สว่ น คอื 1) ความหมายของธุง 2) ความสาคญั ของธุงในทางพทุ ธศาสนา 3) การศึกษาธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานจานวน 3 เร่ือง และ 4) ธุงท่ีปรากฏใน วรรณกรรมอีสานท่ีว่าด้วยเร่ืองจักรวาลวิทยา ซ่ึงสามารถนาเสนอผลการวิเคราะห์ตามเน้ือหาของข้อมูลได้ ตามลาดบั ดังนี้ 4.1 ควำมหมำยของธงุ ผู้วิจัยได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ความหมายของธุงตามหลักฐานที่ปรากฏในเอกสาร และ ส่วนที่ 2 ความหมายของธุงในทางภาษาศาสตร์ 4.1.1 ควำมหมำยของธงุ ตำมหลักฐำนที่ปรำกฏในเอกสำร จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องผวู้ ิจัยไดร้ วบรวมความหมายของธุง ไวด้ งั น้ี ธง น้นั มาจากคาบาลี - สันสกฤต คือ ธช, ธฺวช แปลตามศัพท์ว่า “ผ้ำท่ีสะบัดไป” ซึ่งหมายถึง ธงทั่วไป ใช้เป็น สญั ลักษณ์ เครือ่ งหมาย เคร่อื งแสดง หรอื เครอื่ งสงั เกต ส่วนคาว่า ธง ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน กล่าวว่า ธง เป็นผืนผ้าสี่เหล่ียม หรือสามเหล่ียม โดยมากเป็นสีและบางอย่างมีลวดลายเป็นรูปต่าง ๆ ที่ทาด้วยผ้าหรือกระดาษ และสิ่งอื่น ๆ ก็มีสาหรับใช้เป็นเครื่องหมายบอกชาติ ตาแหน่งในราชการ โดยมีกาหนดกฎเกณฑ์เป็นต้น เช่น ธงชาติ ธงแม่ ทัพนายกอง ใช้เป็นเคร่ืองหมายตามแบบสากลนิยม เช่น ธงกาชาด บอกท่ีต้ังกองบรรเทาทุกข์ ธงขาวบอกถึง ความจานนขอหย่าศึกหรือยอมแพ้ ธงเหลืองบอกถึงเรือพยาบาลคนป่วยหรือเรือที่มีโรคติดต่ออันตราย ส่วนธง แดง บอกถึงเหตุอันเป็นภัย ใช้เป็นเครื่องหมายเรือเดินทะเล คณะ สมาคม อาคาร การค้า และอ่ืน ๆ ทั้งน้ีใช้ เป็นอาณัติสัญญาณ หรือใช้เป็นเคร่ืองตกแต่งสถานที่ในงานร่ืนเริง ตลอดจนใช้ถือเข้าขบวนแห่ (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2556 : 592 อ้างถึงใน วีณา วสี เพ็ญ และคณะ, 2562 : 3) ปรีชา พิณทอง ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับ ธง ไว้ว่า “ธง” เรียกว่า “ธุง” หรือ “ทุง” อาจเป็นเพราะ การกร่อนเสียงตามทอ้ งถน่ิ ซึ่งทุงสามารถแบ่งเปน็ หลายชนิดไดแ้ ก่ ทุงที่ทาด้วยกระดาษจะเรียกวา่ ทุงกระดาษ ส่วนทุงท่ีทาด้วยผ้าเรียกว่า ทุงผ้า และทุงที่ใช้ไม้ไผ่สาน เรียกว่า ทุงช่อ ส่วนทุงท่ีทาเพื่อใช้ในขณะออกรบ เรียกว่า ทงุ ชยั (ปรชี า พณิ ทอง, 2532 : 410)
37 นอกจากนี้ในวรรณกรรมอีสานหลายเรื่องยังพบคาศัพท์อื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกับ ธุง คือ ปะคือ ซึ่งมีความหมายว่า “ร่ม หรือ ฉัตร” ซึ่งในเชิงอรรถอธิบายคาศัพท์โบราณ ในหนังสือท่ีปริวรรตวรรณกรรม หลายเล่ม ได้ใหค้ วามหมายวา่ ธง หากเมอ่ื สังเกตตามลักษณะในการแกว่งไกวเคลอื่ นไหวของปะคอื แล้วน่าจะมี ความหมายถงึ ธง มากกวา่ (ปรชี า พณิ ทอง, 2532 : 504) ส่วนประเภทของธุงผู้วิจัยได้แบง่ ตามธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานทั้ง 3 เร่ือง โดยจัดหมวดหมู่ตาม บรบิ ทชื่อเรียกตามการใชง้ าน สี รปู รา่ ง และรปู ทรง ดังนี้ 1) ธงุ ธรรมดา เป็นธงุ รูปส่ีเหลย่ี มผืนผ้าสีต่าง ๆ บางผืนลงยันต์ ใช้สาหรบั นาขบวนตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ธุงแดง เบ้ืองขวา เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงการเสียสละเลือดเนื้อ ธุงเหลืองอร่ามเบื้องซ้าย เป็นสัญลักษณ์แสดงถึง ความปลอดภัยของไพร่พล หรือความน่าเกรงขาม ส่วนธุงมุ่ย หรือธุงสีขาว เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงการพักรบ หรอื เปน็ การแสดงถึงการยอมแพห้ ากฝา่ ยใดฝ่ายหนึง่ เสียเปรยี บ 2) ธุงชัย เป็นธงรูปสามเหล่ียมตดั ทแยงมุมคล้ายธงมังกรของจีน ผิดกันท่ีของจีนนาด้านยาวไว้ข้างล่าง และมีครีบเป็นรูปเปลวตลอดผืน ส่วนของไทยนาด้านยาวไว้ข้างบน ทาครีบเพียง 3 - 5 ชาย หรือบางครั้งก็มี 6 - 9 ชาย ทอด้วยเส้นด้ายหรือเส้นไหมสลับสี บางคร้ังใช้ไม้ไผ่คั่น นิยมใช้ลายประจายาม ลายปราสาท ลาย เครอื เถา ลายสตั ว์ ลายดอกไม้ เปน็ เครื่องหมายแสดงถึงชยั ชนะหรอื สิริมงคล 3) ธุงคา หรือธุงคาส่ัง ในสมัยโบราณ ผู้เป็นเเม่ทัพหรือขุนพลอ่ืน ๆ แต่ละหน่วยจะมี \"ธุงคาสั่ง\" ไว้ ประจา ลกั ษณะธงุ คาส่ัง เป็นธงุ ที่มขี นาดไม่ใหญ่นัก ปลายธงมักทาจากโลหะเชน่ เหล็ก ผนื ธงเป็นรปู สามเหลี่ยม ทาจากผา้ (ผา้ ไหม) บนธุงคาสงั่ ใชถ้ อื โบกเวลาออกคาส่งั หรอื บญั ชาทพั 4) ธุงกระด้าง มีลักษณะเป็นธงตะขาบที่ทาด้วยแผ่นไม้สังกะสีหรือวัสดุอ่ืน มีลายประดับท่ีส่วนปลาย ท้ังสองดา้ นมักจะทาให้แหลมขนาดพอเหมาะกับเสา โดยปลายแหลมด้านหน่ึงช้บี น อกี ด้านหนึ่งจะช้ีลงข้างลา่ ง ลวดลายท่ีแกะสลักบนธงุ กระด้างน้ันไดแ้ ก่ ลายพรรณพฤกษา ลายดอกไม้ ลายสัตว์ตา่ ง ๆ ( สัตว์ประจาปีเกิด ) นยิ มใชส้ กั การบูชาพระประธานหนา้ โบสถ์ วหิ าร หรือเจดีย์ 5) ธุงปฏาก หรอื ธงจระเข้ เปน็ ธงรูปสีเ่ หลยี่ มผืนผ้าแขวนหอ้ ยลงใช้ดา้ นกว้างผกู เขยี นรปู จระเข้ สาหรบั เป็นเครอื่ งบูชาเท่านนั้ ไม่นยิ มนาแห่ขบวน 6) ธุงด้างดาบไชย เป็นธุงท่ีมีลักษณะเช่นเดียวกับธุงชัยแต่เปลี่ยนตรงด้ามจับเป็นดาบและมีภู่ติดด้าม ดาบ ธงุ เป็นรูปสเี่ หล่ยี มผืนผ้า มักมรี ูปหนมุ าน รูปครฑุ อยตู่ รงกลางภายในธงุ 7) ธุงประดับ คือธุงท่ีใช้ประดับตกแต่งสถานท่ีคือ งานสมโภชเฉลิมฉลอง เพื่อให้เกิดความสวยงาม และยงั ใช้เป็นเครอื่ งหมายนาทางไปสูบ่ ริเวณงานดว้ ยธุง ท่ใี ชต้ กแตง่ สถานที่ เช่น ธงุ ชยั ธงุ กระด้าง 8) ธุงประกอบพิธีกรรม เป็นธุงที่ใช้ประกอบพิธีกรรมสักการบูชาสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา และเชอื่ ว่าจะไดอ้ านิสงสอ์ ย่างมาก
38 9) ช่อทุง ทาจากผ้ารูปสามเหล่ียม ส่ีเหล่ียม หรืออ่ืน ๆ นามาร้อยเรียงเป็นช่อ มีลักษณะเป็นตัวธุงจะ ย้อยลงเป็นช่อพวงยาว ซึ่งใช้ผ้าแถบสีขาวกว้างประมาณ 1 ฟุต ยาวประมาณ 2 – 2.40 เมตร มีไม้ไผ่เหลา ขนาดกวา้ ง 1 เซนติเมตร หนาพอสมควร 15 นิว้ 2 อัน เยบ็ ชายผา้ แถบทัง้ สองชายติดกับไม้ไผ่ท้งั 2 อัน 4.1.2 ควำมหมำยของธงุ ในทำงภำษำศำสตร์ ประเทศไทยนิยมใช้คาว่า “ธง” เป็นภาษาไทยมาตรฐาน แต่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาค อสี านมักนิยมเรียกวา่ “ธุง”ส่วนภาคเหนือ มักนิยมเรียกวา่ “ตุง” และในประเทศลาว มักเรียกวา่ “ทง” หรือ “ทุง” ซึ่งคาว่า ธง ธุง ทง ทุง หรือตุง มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีสันสกฤต โดยบาลีจะใช้คาว่า “ธช” ส่วนภาษาสันสกฤตน้ันจะใชค้ าว่า ธฺวชฺ เม่ืออาณาจักรตา่ ง ๆ ในอุษาคเนย์รับมาใช้ จึงปรับเปล่ียนไปตามความ ถนดั ของการออกเสียงในแตท่ ้องถ่นิ ของตนเอง คาว่า ธง นั้นมีการเปลี่ยนแปลงด้านพยัญชนะตัวสะกด กล่าวคือ มีการเปลี่ยนตัวสะกดที่มีความ ใกล้เคียงกัน ออกเสียงเหมือนกัน แตร่ ูปต่างกัน และความหมายยังคงเดมิ ดงั เช่น ธง เป็น ทง หรือ ธงุ เป็น ทุง หรืออาจมีมูลเหตุมาจากภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาลาวมีความคล้ายคลึงกัน และการออกเสียงเหมือนกัน ดังเช่น ตัวสะกด ธ ท แต่ด้วยภาษาลาวไม่มี “ธ” ทาให้ต้องใช้ตัวสะกด “ท” เป็นตัวอักษรแทน “ธ” ซึ่งภาษาไทยถิ่นอีสานใช้พยัญชนะแบบไทย จึงใช้ “ธ” เป็นพยัญชนะเท่าน้ัน ในด้านความหมายและการออก เสียงถือไดว้ ่า ทั้งสองคาน้ีไม่มคี วามแตกตา่ งกนั แตจ่ ะแตกต่างเพยี งรปู พยญั ชนะตน้ เท่านนั้ ส่วนคาว่า “ตุง” ภาคเหนือมักใช้พยัญชนะ ต แทน ธ ท เน่ืองด้วยมีเสียงท่ีคล้ายกัน ในทาง ภาษาศาสตร์กล่าวว่า เป็นเสียงธนิต [Tch] (aspirated) (เสียงธนิต มีลักษณะการเปล่งเสียงแบบเสียงกักเสียด แทรก เสียงไม่ก้อง และมีลม ฐานที่เกิดเสียง คือ ปุ่มเหงือก) ของอักษรต่ามักตรงกับเสียงสิถิล [T] (unaspirated) (เสียงสิถิล มีลักษณะการเปล่งเสียงแบบเสียงกักเสียดแทรก เสียงไม่ก้อง และไม่มีลม ฐานท่ี เกิดเสียง คือ ปุ่มเหงือก) ดังเช่น ท เป็น ต ตัวอย่างคือ ทาง เป็น ตาง หรือ ช เป็น จ ตัวอย่างคือ ช้อน เป็น จ๊อน โดยมักจะคงเสยี งวรรณยุกต์เดมิ ไว้ สาหรับในประเทศไทยโดยท่ัวไปคนส่วนใหญ่มักนิยมเรียกว่า “ตุง” ตามอย่างทางภาคเหนือ เพราะ การออกสียงการพูดทาให้ออกเสียงง่ายกว่าคาว่า ธงุ หรือ ทงุ และมีการใชใ้ นกจิ กรรมพิธีการคอ่ นข้างมาก และ มีรูปแบบที่หลากหลาย จนกลายเป็นเอกลักษณ์ของล้านนาหรือภาคเหนือ ตุง คาน้ีเป็นภาษาภาคเหนือ หมายถึง ธง ซ่ึงตรงกับลักษณะของ ปฎากะ ที่เป็นธงของอินเดีย ส่วนธุงของอีสานนิยมทอเป็นผืนยาว ๆ มีรูป สัตว์หรือรูปภาพต่าง ๆ ตามความเช่ือบนผืนธุง เช่น จระเข้ เสือ ตะขาบ นางเงือก เทวดา และอื่น ๆ (วทิ ยา วุฒิไธสง, 2561) ส่วนคาว่า “ปะคือ” หมายถึง “ร่ม หรือ ฉัตร” ในเอกสารหนังสือที่กล่าวไว้ ซ่ึงในทางภาษาศาสตร์ คาว่า ปะคือ มีการเปล่ียนแปลงด้านคาศพั ท์ กล่าวคือ เป็นหน่วยคาท่มี คี วามหมายเปล่ยี นแปลงไป หรือมคี าอื่น มาใช้แทนท่ีความหมายบางส่วน หรือแทนที่ความหมายจนหมด หากมีคาอื่นมาแทนท่ีความหมายจนหมด คานั้นจะเลิกใช้หรือเรียกว่า “ศัพท์สูญ” ซึ่งศัพท์สูญคือ คาท่ีปรากฏอยู่ในเอกสารโบราณแต่ปัจจุบันได้เลิกใช้
39 ดังเช่นคาว่า ปะคือ เป็นศัพท์สูญโดยสิ้นเชิง เพราะในปัจจุบันได้เลิกใช้คาน้ีแล้ว และมีการใช้คาว่า ธง หรือ ธุง ที่มีความหมายคลา้ ยกนั มาแทน จากการรวบรวมความหมายของธุง สรุปได้ว่า คาว่า ธง ธุง ทง ธุง และ ปะคือ มีความหมายเดียวกัน คือ ธง ที่ใช้เป็นเครื่องแสดงสัญลักษณ์อย่างหน่ึงตามการใช้งาน หากมองในทางภาษาศาสตร์แล้วน้ันคาว่าธุง มีการเปลี่ยนแปลงในเร่ืองของพยัญชนะที่มีการเปลี่ยนพยัญชนะตัวสะกดที่มีความใกล้เคียงกัน ออกเสียง เหมือนกัน แต่รูปต่างกัน และความหมายยังคงเดมิ ดังเช่น ธุง เป็น ทุง และภาษาลาว ไม่มีพยัญชนะตัวสะกด ธ จึงได้ใช้พยัญชนะ ท แทน ส่วนคาว่า ตุง ภาคเหนือมักใช้พยัญชนะ ต แทน ท เนื่องด้วยมีเสียงท่ีคล้ายกัน ในทางภาษาศาสตร์กล่าวว่า เป็นเสียงธนิต [Tch] ของอักษรต่ามักตรงกับเสียงสิถิล [T] ดังเช่น ท เป็น ต ตวั อย่างคือ ทาง เป็น ตาง และศัพท์สูญโดยสิ้นเชิง เป็นคาที่ปรากฏอยู่ในเอกสารโบราณแต่ปจั จุบันเลิกใช้แล้ว ดังจะพบคาว่า ปะคือ ซ่ึงคาว่า ปะคือ มีความหมายคือ “ร่ม หรือ ฉัตร” ซ่ึงในทางเชิงอรรถอธิบายคาศัพท์ โบราณ ในหนังสอื ทป่ี ริวรรตวรรณกรรมหลายเลม่ และไดใ้ ห้ความหมายว่า ธง 4.2 ควำมสำคัญของธุงในทำงพทุ ธศำสนำ เสถียรโกเศศ กล่าวว่า ธงมีความเก่ียวข้องกับวิถีชาวพุทธมาต้ังแต่บรรพกาล ธงในพระพุทธศาสนา ปรากฏใน ธชัคคสตู ร ซง่ึ พระพทุ ธเจา้ ตรสั เลา่ แก่พระภกิ ษุท้งั หลายว่าเป็นถอ้ ยคาของพระอนิ ทร์ตรสั ปลุกใจทวย เทพในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในขณะท่ีกาลังทาสงครามกับอสูรว่า ถ้าถึงคราวเข้าท่ีคับขันอันตรายเกิดความสะดุ้ง กลัวแล้ว ก็ให้แลดูธงประจากอง จะทาให้หายหวาดกลัว ตามความน้ีพระพุทธเจ้าตรัสต่อไปว่า ถ้าภิกษุเกิด ความสะดุ้งกลัว ก็ให้พึงระลึกถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ คือ บทสวดอิติปิโส ภควา ฯลฯ ก็จะกาจัดความขลาดกลวั ใหพ้ น้ ไป ด้วยเหตุนี้ในตานานการสวดมนต์ ซึ่งเป็นการสวดเพื่อความเป็นสิริมงคลและป้องกันอันตราย ในเวลา ทาบุญ พระสงฆ์สมัยก่อนจึงได้เลือกเอาพระสูตรและพระคาถาสรรเสริญคุณพระรัตนตรัยมาสวดเป็นมนต์ เรยี กว่า กำรสวดพระปรติ แปลวา่ ความต้านทาน ความป้องกนั โดยมีการคดั เลอื กเอาคาถาทนี่ บั ถือกัน มาปรุง เป็นบทสวดขึ้น เรียกว่า รำชปริต แบ่งออกเป็น 2 อย่างคือ จุลราชปริต หรือบทสวดเจ็ดตานาน และมหาราช ปริต หรือบทสวดสิบสองตานาน โดยมีผู้กลา่ วว่า ต้นเค้ามาจากประเทศศรีลังกา ประเทศพม่า มอญ ไทย เขมร ต่างรับการสวดพระปริตนมี้ า ถ้ามีการสวดพระปรติ ที่ใด ท่ีน้ันย่อมตอ้ งมบี าตรหรอื หม้อน้าใส่น้ามีเทียนจุดติดไว้ และผูกด้ายสายสิญจน์ ล่ามมาให้พระสงฆ์ท้ังปวงถือในเวลาสวดพระปริตร และมีพิธีเอาเทียนจุ่มน้าในหม้อ น้ามนต์ดับไฟและถือเป็นน้าท่ีต้านทาน ป้องกันสิ่งช่ัวร้าย บทสวดที่เกี่ยวข้องกับ ธง ในเจ็ดตานาน หรือสิบสอง ตานานชื่อวา่ ธชคั คปริต แปลว่า ว่าดว้ ยเคารพธง (เสฐียรโกเศศ. ประเพณีเบด็ เตล็ด. 2508 : 48-49) วิทยา วุฒิไธสง กล่าวว่า “ธุง” มีความเป็นมาจากเรื่องเล่าเม่ือครั้งในอดีตว่า มีพวกเหล่ามารปีศาจข้ึน ไปก่อกวนเทวดาบนสวรรค์ จนทาให้เหล่าเทวดาตกใจกลัวเป็นอย่างมาก ทาให้เจ้าแห่งสวรรค์สร้าง “ธุง” ขึ้นมา เพ่ือให้เหล่าเทวดาได้มองเห็น “ธุง” แล้วเกิดความกล้าหาญไม่หวาดกลัวเหล่ามารอสูรอีกต่อไป “ธุง” จึงเป็นเหมือนตัวแทนในการขับไล่มารร้ายไปจากสวรรค์น้ันเอง ทาให้ในกาลต่อมามนุษย์จึงได้ประดิษฐ์ “ธุง”
40 เพ่ือเป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างมนุษย์กับสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ การติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์กับผู้ท่ีล่วงลับไป แล้ว อีกทั้งเพื่อเปน็ พทุ ธบูชา “ธุง” จึงนับได้ว่าเป็นเครื่องสักการะ เพ่ือใช้พิธีกรรมทางพุทธศาสนาในบุญเฉลิมฉลอง หรือขบวนแห่ ตา่ ง ๆ การประดับประดาในงานพิธีต่าง ๆ เพ่ือความสวยงามตระการตา โดยมีความแตกต่างกันตามความเชื่อ ในการประกอบพิธีกรรมของท้องถิ่น ซ่ึงโดยท่ัวไปธุงจะมีลักษณะคล้ายกับธงมีความยาวประมาณ 1 – 3 เมตร อาจทอด้วยผ้าฝ้ายเป็นลายขิด ลวดลายสัตว์ คน ต้นไม้ หรือพระพุทธรูป เพื่อถวายพระสงฆ์เป็นพุทธบูชา ทั้งนี้เป็นการทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ท่ีล่วงลับไปแล้วหรือเป็นการถวายเพ่ือส่งกุศลผลบุญให้แก่ตนเองใน ชาตหิ นา้ ก็ด้วยคตคิ วามเช่ือที่ว่าเม่ือตายไปแลว้ จะพน้ จากการตกนรกโดยอาศัยเกาะชายธุงขน้ึ สวรรค์ จะได้พบ พระศรีอริยะเมตตรัย หรอื จะไดถ้ งึ ซง่ึ พระนิพพาน ของตน (วิทยา วุฒิไธสง, 2561) จากการรวบรวมความสาคัญของธุงในทางพุทธศาสนา สรุปได้ว่า ธง หรือ ธุง มีความเก่ียวข้องกับวิถี ชาวพุทธมาตั้งแต่บรรพกาล เป็นเหมือนตัวแทนในการขับไล่มารไปจากสวรรค์ ทาให้มนุษย์ได้ประดิษฐ์ “ธุง” เพื่อเป็นสื่อกลางในการติดตอ่ ระหว่างมนุษย์กับสิ่งศักด์ิสิทธิ์ และเพื่อถวายพระสงฆ์เป็นพุทธบูชา ท้ังนี้ก็ยังเป็น การทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว หรือเป็นการถวายเพ่ือส่งกุศลผลบุญให้แก่ตนในชาติหน้า ด้วยคติความเช่ือที่ว่าเม่ือตายไปแล้วจะพน้ จากการตกนรกโดยอาศัยเกาะชายธุงข้ึนสวรรค์ จะได้ไปพบพระศรี อริยะเมตตรัย เหตุน้ีเป็นการราลึกถึงคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ คือ สอนให้ยึดเหน่ียวความกตญั ญูรู้คุณ อนั จะสรา้ งอานิสงสส์ งู ยิ่งแก่ผูป้ ฏบิ ัติ 4.3 กำรศกึ ษำธงุ ท่ีปรำกฏในวรรณกรรมอีสำน การศึกษาธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานจานวน 3 เรื่อง ได้แก่ 1) ท้าวคัชชนาม 2) พระยาคันคาก และ 3) ตานานอรุ งั คธาตุ เป็นการวเิ คราะหต์ ัวบทว่าธงุ ปรากฏอยู่ในเหตกุ ารณอ์ ย่างไร 4.3.1 วรรณกรรมอสี ำน เรอื่ ง ท้ำวคัชชนำม วรรณกรรมอสี าน เรอื่ ง ท้าวคัชชนาม เป็นวรรณกรรมสองฝั่งโขง มีลักษณะเหมอื นวรรณกรรมหลาย ๆ เร่ือง ท่เี ปน็ สมบตั ิรว่ มกับผ้คู นสองฝง่ั โขง ซึง่ จากการศกึ ษาวรรณกรรมอสี านเรื่องนี้แล้ว พบว่า ธุงเข้าไปมีบริบท เกือบทุก ๆ เหตุการณ์ของเรื่องเริ่มต้ังแต่การเร่ิมเรื่อง จนกระท่ังจบเร่ือง แต่วรรณกรรมเรื่อง ท้าวคัชชนามน้ี ไมไ่ ด้ใชค้ าเรยี กวา่ ธุง แต่ใชค้ าว่า ปะคอื เพราะเป็นคาศพั ท์โบราณทห่ี มายถงึ รม่ หรอื ฉัตร ที่ปรากฏอยู่ในเร่อื ง โดยผู้วิจัยได้รวบรวมตวั บทในแต่ละตอนไวด้ งั น้ี ตอนท่ี 2 บั้นพระอินทร์ ตวั บทท่ี 1 อนั หนงึ่ ฝันวา่ ธงุ ไชยเก้ียว เขาเมรไุ กวแกว่ง ทกุ ส่าดาว เมืองทา้ วผอ่ งดู (หนา้ 48) ถอดความได้วา่ : ฝนั วา่ มธี ุงไชยรัดรอบเขาพระสเุ มรุจนสน่ั สะเทอื นน่ากลัว
41 จากตัวบทดังกล่าวน้ีอยู่ในตอนท่ี 2 บ้ันพระอินทร์ ซึ่งเป็นเหตุการณ์หลังจากที่ย่าเฒ่ากระหายน้าและ ไดด้ ม่ื น้าปสั สาวะในรอยเท้าชา้ ง เมอ่ื พลบคา่ ขณะนอนหลบั นางจึงฝันประหลาดหลาย ๆ เรอ่ื ง ไดแ้ ก่ พระอินทร์ มาอุ้มนางไปไวท้ ปี่ ราสาทวิไชยนต์ ฝันวา่ ราหูบังพระจันทร์ตกลงจากฟากฟา้ มีแสงเรอื่ เรืองและนางได้พระจันทร์ เป็นของตนเอง ฝันว่าพระอาทิตย์มาส่องแสงสว่างทั่วป่า และสุดท้ายฝันว่ามีธุงรัดรอบเขาพระสุเมรุ จนส่ันสะเทอื นนา่ กลัว จากตัวบทข้างตน้ ทาให้เห็นว่า มกี ารปรากฏธุง ตามคาเรยี กขานของคนอสี าน ซงึ่ ปรากฏ อย่ใู นลักษณะของนมิ ติ หรอื ความฝัน เป็นการส่ือความหมายในการบอกเหตทุ จ่ี ะเกิดขึ้นล่วงหนา้ ตอนท่ี 56 ไม้ฮ้อยกอเกวียนฮ้อยเหล้มฮบจำปำ ตวั บทท่ี 2 พระก็ ทงพายแกว้ มุงคลุ เมืองสิบสอก ไปแล้ว พลโยธาแห่กมุ้ ตีนข้างเสพไป พอเห็นเพอ่ื น ๆ เหลอื้ ม ฮมย(์ รม่ )อาจดวงขาว พุน้ เยอ ปะคือคาแกวง่ ไกว ออกเวยี งยีย้าย ผงธุลีควันข้นึ เมือบนบดมีด มองเบง่ิ พลล่วงเจา้ คอื นา้่ องั่ ฝาย (หน้า 342) ถอดความได้ว่า : พระเจ้าเมืองขวาง และพระเจ้าเมืองสรวง ได้ทรงช้างแก้วมุ่งสู่เมืองจาปา พร้อมพลทหารถือ ร่มขาว ถอื ธงุ คาสะบัดไสวไป ฝนุ่ ตลบอบอวล เม่อื มองดูแล้วเหมือนดงั่ กับนา้ ท่ลี น้ ฝาย ตัวบทที่ 3 แตน่ ั้น พระบาทเจา้ ไหวหวั่นเฟือนอก พระกท็ งพลหลวง สูห่ อไชย์ยั้ง พระก็ทงพลลา้ น เจด็ วันตามฮตี ทัพใหญ่ตง้ั เลยี นลอ้ แต่งพล เบอ้ื งฝ่ายก้า่ ขนุ เอกกองหาญ ปะคือไชยแ์ ดง แกวง่ พลนา่ หนา้ ปะคือแดงเบอ้ื ง ภายขวาท้าวเถอื ก ทัพใหญ่ต้ัง เฮียงท้าวฝา่ ยขวา ปะคอื แดงเหลอื้ ม บาคาท้าวเกศ ต้งั ทพั ไว้ ภายซา้ ยใส่ปะคอื ทา้ วมอ่ นต้ังทพั ไว้ ปะคอื มุย่ หมายพล เดินตามหลงั แทบบาจอมเจ้า ปะคือคาตัง้ ทันกางหอมไพร่ (หนา้ 343) ถอดความได้วา่ : พระเจา้ เมืองขวาง และพระเจ้าเมอื งสรวง ตง้ั ทพั สู่หอไชยเปน็ เวลาเจด็ วนั ตามฮีต โดยแบ่งไพร่ พลดูแลออกเป็น เบ้ืองหน้าขุนเอกกองหาญต้ังธุงไชยแดงนาหน้า เบ้ืองขวาท้าวเถือกตั้งธุงแดงเรียง เบ้ืองซ้าย
42 ท้าวเกศตง้ั ธุงเหลืองอร่าม และเบื้องหลังท้าวม่อนตั้งธุงมุ่ย (สีขาว) หมายให้ยุตกิ ารสู้รบ พร้อมไพร่พลตามหลัง แทบใกล้ผคู้ รองเมอื งและมีธุงคา (คาสัง่ ) พรอ้ มเตรียมตัวท่ีจะกาง จากตัวบทดังกล่าวน้ีอยู่ในตอนที่ 56 ไม้ฮ้อยกอเกวียนฮ้อยเหล้มฮบจาปา เป็นเหตุการณ์ที่พระเจ้า เมอื งขวาง คอื ชายไม้ฮอ้ ยกอ และพระเจ้าเมอื งสรวง คอื ชายฮอ้ ยเกวยี น ท้ังสองรขู้ า่ วความงามของธดิ าเจา้ เมือง จาปา จึงได้จัดเตรียมกาลังพลเดินทาง เพ่ือทาศึกชิงนางสีดาไปถวายท้าวคัชชนาม ผู้มีบุญคุณกับพวกตนซ่ึงท้ัง สองไม่รู้เลยว่าเมืองจาปานั้นมีท้าวคัชชนามเสวยเมืองอยู่แล้ว จากตัวบทข้างต้นทาให้เห็นว่าธุงปรากฏอยู่ใน เหตุการณ์การเตรียมออกศึกสู้รบ และมีการระบุถึงปะคอื ไชยแดงท่ีใช้ต้งั นาหน้า เพ่ือเปน็ สัญลักษณ์แสดงถงึ ชยั ชนะ ส่วนปะคือแดงเบื้องขวา เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงการเสียสละเลือดเน้ือ ส่วนปะคือเหลืองอร่ามเบื้องซ้าย เป็นสัญลักษณ์แสดงถึง ความปลอดภัยของไพร่พล หรือความน่าเกรงขาม ส่วนปะคือมุ่ย หรือธุงสีขาวตามหลัง เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงการพักรบ หรือเป็นการแสดงถึงการยอมแพ้หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียเปรียบ ทั้งน้ียังปรากฏปะคือคา (สันนิษฐานว่าเป็น ธุงคาสั่ง) เป็นสัญลักษณ์เม่ือพร้อมที่จะสู้รบ จะมีการยกธุงข้ึนเพ่ือ ออกคาสัง่ ตอนท่ี 57 เกวียนฮ้อยเหลม้ โฮมพล ตัวบทท่ี 4 แต่นน้ั พลไหลเทา้ ทพั ไชย์มัวมืด พระกเ็ สดจ็ จากชา้ ง เมอื ห้องแหง่ หอ ท้าวทุ่มตงั้ ขนนั ราชหัวพล ปะคือไชย์ขาวหมาย หมพู่ ลหวั ตอ้ ง ภายขวานนั้ บางามท้าวเทศ ปะคอื อาจก้่า บาทา้ วถา่ วเหลือง เบอ้ื งฝา่ ยซ้าย บาบ่าวขนุ เคอื ง ปะคอื แดงหมาย หมพู่ ลภายซ้าย ภายหลงั นั้น ขุนซนิ บาบ่าว ปะคอื อาจกา้่ บาท้าวใสน่ ลี ทนั กางนัน้ ปะคอื คา้ พระบาท พลมากลน้ ปะมาณไดแ้ ปดแสน (หน้า 351) ถอดความไดว้ ่า : พระเจ้าเมอื งสรวง คือชายฮอ้ ยเกวียนเรง่ รวบรวมพลเพือ่ จะออกศกึ ตั้งไพร่พลต่าง ๆ พรอ้ มธงุ ในแตล่ ะเบอ้ื ง ซงึ่ รวบรวมพลไดป้ ระมาณแปดแสนคน จากตัวบทดังกล่าวน้ีอย่ใู นตอนที่ 57 เกวียนฮอ้ ยเหล้มโฮมพล เป็นเหตุการณ์เม่ือได้ฤกษ์ชัยหลังจากตัง้ ทัพที่หอไชยเป็นเวลาเจ็ดวัน จึงจัดทัพเคลื่อนขบวนพลเดินทาง รวบรวมพลโดยฮ้อยเกวียน ซ่ึงทาให้เห็นว่า มีการเรียก ปะคือ (ธุง) ปรากฏอยู่ในการสู้รบ โดยในตัวบทนี้ได้มีการระบุประเภทและสีปะคือ เพื่อเป็น เครอื่ งหมายแสดงใหก้ บั ไพร่พล
43 ตอนที่ 58 ไม้ฮ้อยกอ เกวยี นฮ้อยเหลม้ เล็วเมืองผำยี ตัวบทท่ี 5 แตน่ ัน้ เขาก็ผดั ถีบใช้ ท้าวคืน่ ในเวยี ง มนั กไ็ หลพลแพน บาก็ทงพายช้าง ออกเวยี งมีย้งั มันก็แยงทีอ่ ้าย เขอื กใ็ สชนช้าง อาฮงหนนุ หมู่ มาแล้ว เตินพลแพน วนเวียนเบ้อื ง บาท้าวเอกหาญ ไหลหมเู่ ขา้ ผอู่ ดูช้างยอดแก้ว สับตอ่ มหี น อาฮงเฮียง หลั่งไหลหุมเขา้ ปะคอื ขาวทา้ วท่มุ มาแลว้ พายซา้ ยซ่อยกัน ขุนเอกไหลมา พุ้นเยอ ซอ่ ยชนภายซ้าย (หน้า 367) ถอดความไดว้ ่า : ไพร่พลของพระเจา้ เมืองขวาง และพระเจ้าเมืองสรวงต่างยกทัพบกุ ตเี มืองผายี ทรงเตรยี มช้าง ไพร่พลต่างถือหอกลอ้ มเมืองผายที ง้ั เบอื้ งซา้ ยและเบอ้ื งขวา และมกี ารต้อนไพรพ่ ลของเจา้ ฟา้ หยาด ให้ยกธงุ ขาว เพ่ือให้ยอมแพ้ จากตัวบทดังกล่าวน้ีอยู่ในตอนที่ 58 ไม้ฮ้อยกอ เกวยี นฮ้อยเหล้มเล็วเมืองผายี เป็นเหตกุ ารณ์ระหว่าง ทางท่ีพระเจ้าเมืองขวาง และพระเจ้าเมืองสรวงได้ยกทัพบุกเมืองส่วยของเมืองจาปาก่อนคือ “เมืองผายี” มี “เจ้าฟ้าหยาด” ปกครองอยู่ ทาให้เจ้าเมืองผายีต้องส่งทูต ไปขอกาลังจากเมืองจาปา แต่ทัพทางจาปามายัง ไม่ถึง จึงเกิดศึกชนชา้ งกันขึ้น ซ่ึงทาให้เห็นว่ามีการเรียก ปะคือ (ธุง) ซ่ึงปรากฏอยู่ในเหตกุ ารณ์การออกศึกสรู้ บ โดยในเหตกุ ารณน์ มี้ ีปะคอื ขาวปรากฏอยู่ เป็นสัญลักษณ์ทีแ่ สดงถึง การยอมแพ้ เพราะอีกฝา่ ยหน่ึงเสียเปรยี บ ตอนที่ 61 สองรำชำแตง่ ฑตู ำไปเถงิ พระเจ้ำผำยี ตัวบทท่ี 6 พระก็ เสด็จสู่ช้าง สารต้นเค่อื งคา้ ยาบๆเบ้อื ง เขาแกว่งปะคอื คา้ เสนาแหน ออกเวยี งยยี ้าย ควนๆก้อง สะบดั ไชยต์ เี สพ ทั้งสีด่ า้ น ทะลงั พ้นื แผน่ ดนิ (หน้า 390) ถอดความได้ว่า : พระเจ้าเมืองขวาง และพระเจ้าเมืองสรวงได้ส่งทูตไปถึงเจ้าฟ้าหยาด ให้ทรงเสด็จสู่ช้างตัวผู้ และท้ังสองราชาจงึ ทรงช้างออกนอกเวียง แกวง่ สะบดั ธุง ตีกลองสนนั่ ทั้งสด่ี ้าน จากตัวบทดังกล่าวน้ีอยู่ในตอนที่ 61 สองราชาแต่งฑูตาไปเถิงพระเจ้าผายี เป็นเหตุการณ์ตอนท่ี พระเจ้าเมืองขวาง และพระเจ้าเมืองสรวงได้ทรงล้อมเมืองผายี และส่งทูตไปเจรจาในการชนช้าง ซ่ึงทาให้เห็น ว่ามีการเรยี ก ปะคอื (ธุง) ปรากฏอยู่ในเหตกุ ารณก์ ารออกศึกสรู้ บ เพ่อื เป็นเครื่องหมายแสดงให้กบั ไพร่พล
Search