พระวิินััยภาคปฏิิบััติิ (สำหรัับผู้�้บวชใหม่่) 91 วิธิ ีีจำพรรษา ก่อ่ นจะเปล่ง่ วาจา อธิษิ ฐานคำเข้า้ พรรษา พึึงพร้อ้ มกันั ไหว้พ้ ระสวดมนต์์ จบแล้ว้ พึึงพร้้อมกันั ว่่า อิิมัสั ะมิงิ อาวาเส อิมิ ััง เตมาสังั วัสั สังั อุเุ ปมะ ดัังนี้้� ๓ หน ฯ ถ้้าอธิษิ ฐานพรรษาทีีละรูปู ให้้ว่่า อิิมัสั ะมิงิ อาวาเส อิมิ ััง เตมาสังั วััสสััง อุเุ ปมิิ ดัังนี้้� ๓ หน ฯ วิิธีีทำอุโุ บสถ สังั ฆอุุโบสถ คืือมีีภิิกษุุประชุุมกัันตั้�งแต่่ ๔ รููปขึ้้�นไป มีีพระพุุทธานุุญาตให้้สวด พระปาติโิ มกข์์ ฯ คณะอุโุ บสถ คือื มีภี ิกิ ษุุประชุมุ กันั ๓ รููป หรืือ ๒ รููป ท่า่ นห้้ามไม่ใ่ ห้ส้ วดพระปาติโิ มกข์์ ทรงอนุุญาตให้้ทำปาริิสุทุ ธิิอุุโบสถ ดัังนี้้�
92 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ มีีพระภิิกษุุ ๓ รููป ให้้ตั้�งญัตั ติิ การตั้�งญััตติิ จะให้้รููปแก่่หรืือรููปอ่่อนก็็ได้้ไม่่เป็็นประมาณ แล้้วแต่่ ความสามารถ ถ้้ารูปู แก่ต่ั้�งญััตติิพึึงว่า่ สุุณาตุุ เม อาวุโุ ส อายัสั ะมันั ตา, อัชั ชุโุ ปสะโถ (ปััณณะระโส) ปััตตะกััลลััง มะยััง อััญญะมััญญััง ปาริิสุุทธิิอุุโปสะถััง กะเรยยามะ ดัังนี้้� ฯ ถ้้ารูปู อ่่อนตั้�งญัตั ติิพึึงว่่า สุุณาตุุ เม ภัันเต อายัสั ะมัันตา, อััชชุุโปสะโถ (ปััณณะระโส) ยะทายัสั ะมันั ตานััง มะยังั อัญั ญะมััญญััง ปาริสิ ุทุ ธิอิ ุโุ ปสะถััง กะเรยยามะ ดัังนี้้� ฯ ถ้้าวัันอุุโบสถตรงกัับวััน ๑๔ ค่่ำ พึึงว่่า “จาตุุททะโส” แทนวััน ๑๕ ค่่ำ “ปััณณะระโส” ที่�ว่ งเล็บ็ ไว้้นั้้�น ฯ บอกความบริิสุุทธิ์์� ครั้�นตั้ง� ญัตั ติจิ บแล้้ว พึึงบอกบริิสุทุ ธิ์แ� ก่่กัันและกััน ดัังนี้้� รููปแก่่บอกว่่า ปริิสุุทโธ อะหััง อาวุุโส ปะริิสุุทโธติิ มััง ธาเรหิิ ดัังนี้้� ๓ หน ฯ รููปอ่่อนบอกว่่า ปริิสุุทโธ อะหััง ภัันเต ปริิสุุทโธติิ มััง ธาเรถะ ดัังนี้้� ๓ หน ฯ
พระวิินัยั ภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรัับผู้�้บวชใหม่่) 93 วิธิ ีีปวารณา (สัังฆปวารณา) มีีภิิกษุุประชุุมกัันตั้�งแต่่ ๕ รููปขึ้�้นไป จึึงทำปวารณาการสงฆ์์ได้้ คืือพึึง ตั้�งญััตติิประกาศแก่ส่ งฆ์์ก่่อน จึึงปวารณาดัังนี้้� ตั้�งญััตติิปวารณา ๓ หน การตั้�งญัตั ติิจะให้ร้ ููปแก่ห่ รือื อ่่อนก็ไ็ ด้้ แล้้วแต่ส่ ามารถ ถ้้ารููปแก่่ตั้�งญััตติิพึึงว่่า สุุณาตุุ เม อาวุุโส สัังโฆ อััชชะ ปะวาระณา (ปัณั ณะระสีี) ยะทิิ สังั ฆััสสะ ปััตตะกัลั ลังั สังั โฆ เตวาจิิกังั ปะวาเรยยะ ดัังนี้้� ฯ ถ้้ารููปอ่่อนตั้�งญััตติิพึึงว่่า สุุณาตุุ เม ภัันเต สัังโฆ อััชชะ ปะวาระณา (ปััณณะระสีี) ยะทิิ สัังฆัสั สะ ปัตั ตะกัลั ลััง สังั โฆ เตวาจิิกังั ปะวาเรยยะ ดังั นี้้� ฯ ถ้า้ วันั ปวารณาตรงกับั วันั ๑๔ ค่่ำ พึึงว่า่ “จาตุทุ ทะสีี” แทนวันั ที่�่ ๑๕ ค่่ำ “ปััณณะระสีี” ที่่�วงเล็็บไว้้นั้้�น ถึึงต่่อไปก็็พึึงเปลี่�่ยนอย่่างนี้้�ทุุก ๆ แห่่งไป ฯ เมื่่อ� ตั้ง� ญััตติแิ บบนี้้� พึึงปวารณา รูปู ละ ๓ หน จึึงควร ฯ
94 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ตั้�งญััตติปิ วารณา ๒ หน ถ้้ารููปแก่่ตั้�งญััตติิพึึงว่่า สุุณาตุุ เม อาวุุโส สัังโฆ อััชชะ ปะวาระณา (ปัณั ณะระสีี) ยะทิิ สัังฆััสสะ ปััตตะกัลั ลััง สัังโฆ เทวะวาจิิกััง ปะวาเรยยะ ดัังนี้้� ฯ ถ้้ารููปอ่่อนตั้�งญััตติิพึึงว่่า สุุณาตุุ เม ภัันเต สัังโฆ อััชชะ ปะวาระณา (ปัณั ณะระสีี) ยะทิิ สังั ฆัสั สะ ปัตั ตะกัลั ลังั สังั โฆ เทวะวาจิกิ ังั ปะวาเรยยะ ดังั นี้้� ฯ เมื่อ� ตั้ง� ญัตั ติอิ ย่า่ งนี้้ � พึึงปวารณารูปู ละ ๒ หน จึึงควรมากกว่า่ นี้้ก� ็ค็ วร น้อ้ ย ไม่ค่ วร ฯ ตั้�งญััตติิปวารณา ๑ หน ถ้้ารููปแก่่ตั้�งญััตติิพึึงว่่า สุุณาตุุ เม อาวุุโส สัังโฆ อััชชะ ปะวาระณา (ปััณณะระสีี) ยะทิิ สังั ฆััสสะ ปัตั ตะกััลลััง สังั โฆ เอกะวาจิกิ ังั ปะวาเรยยะ ดังั นี้้� ฯ ถ้้ารููปอ่่อนตั้�งญััตติิพึึงว่่า สุุณาตุุ เม ภัันเต สัังโฆ อััชชะ ปะวาระณา (ปััณณะระสีี) ยะทิิ สัังฆััสสะ ปัตั ตะกััลลััง สัังโฆ เอกะวาจิิกััง ปะวาเรยยะ ดังั นี้้� ฯ เมื่่อ� ตั้�งญัตั ติอิ ย่า่ งนี้้ � พึึงปวารณารููปละ ๑ หน หรืือมากกว่า่ ๑ หนก็็ควร ฯ
พระวิินััยภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรับั ผู้บ้� วชใหม่)่ 95 ตั้�งญััตติปิ วารณา ให้้ผู้้�มีพรรษาเท่า่ กันั ปวารณาพร้้อมกััน ถ้้ารููปแก่่ตั้�งญััตติิพึึงว่่า สุุณาตุุ เม อาวุุโส สัังโฆ อััชชะ ปะวาระณา (ปััณณะระสีี) ยะทิิ สัังฆััสสะ ปัตั ตะกััลลััง สังั โฆ สะมานะวัสั สิิกััง ปะวาเรยยะ ดัังนี้้� ฯ ถ้า้ รูปู อ่อ่ นตั้ง� ญัตั ติพิ ึึงว่า่ สุณุ าตุุ เม ภันั เต อาวุโุ ส สังั โฆ อัชั ชะ ปวาระณา (ปัณั ณะระสีี) ยะทิิ สังั ฆัสั สะ ปััตตะกััลลังั สังั โฆ สะมานะวััสสิิกััง ปวาเรยยะ ดังั นี้้� ฯ ตั้ง� ญัตั ติอิ ย่า่ งนี้้� ภิกิ ษุผุู้�มีีพรรษาเท่า่ กันั พึึงปวารณาพร้อ้ มกันั จะว่า่ ๓ หน หรือื ๒ หนก็ไ็ ด้้ แล้ว้ แต่่สะดวก ฯ ตั้�งญัตั ติิครอบทั่่ว� ไป ถ้้ารููปแก่่ตั้�งญััตติิพึึงว่่า สุุณาตุุ เม อาวุุโส สัังโฆ อััชชะ ปะวาระณา (ปััณณะระสีี) ยะทิิ สัังฆัสั สะ ปัตั ตะกััลลังั สังั โฆ ปะวาเรยยะ ดังั นี้้� ฯ ถ้้ารููปอ่่อนตั้�งญััตติิพึึงว่่า สุุณาตุุ เม ภัันเต สัังโฆ อััชชะ ปะวาระณา (ปัณั ณะระสีี) ยะทิิ สังั ฆัสั สะ ปััตตะกััลลังั สังั โฆ ปะวาเรยยะ ดังั นี้้� ฯ ตั้�งญัตั ติิอย่า่ งนี้้� จะปวารณารูปู ละกี่�่หน ก็ไ็ ด้แ้ ล้ว้ แต่ส่ ะดวก ฯ
96 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ คำปวารณาออกพรรษา ครั้น� ตั้ง� ญัตั ติแิ ล้ว้ พึึงกล่า่ วคำปวารณาทีีละรูปู ตามลำดับั พรรษาที่แ่� ก่แ่ ละ อ่่อน เว้น้ ไว้้แต่่ตั้ง� ญััตติใิ ห้้ผู้�มีีพรรษาเท่่ากันั ปวารณาพร้อ้ มกััน ฯ รููปแก่่ปวารณาว่่า สัังฆััง อาวุุโส ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริิสัังกายะ วา วะทันั ตุุ มััง อายัสั ะมัันโต อะนุกุ ัมั ปังั อุปุ าทายะ ปััสสัันโต ปะฏิกิ กะริิสสามิิ ฯ ทุตุ ิิยััมปิิ สัังฆังั อาวุโุ ส ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุเุ ตนะ วา ปะริิสังั กายะ วา วะทันั ตุุ มังั อายัสั ะมันั โต อะนุกุ ัมั ปังั อุปุ าทายะ ปัสั สันั โต ปะฏิกิ กะริสิ สามิิ ฯ ตะติยิ ัมั ปิิ อาวุโุ ส สังั ฆังั ปะวารเรมิิ ทิฏิ เฐนะ วา สุเุ ตนะ วา ปะริสิ ังั กายะ วา วะทันั ตุุ มังั อายัสั ะมันั โต อะนุกุ ัมั ปังั อุปุ าทายะ ปัสั สันั โต ปะฏิกิ กะริสิ สามิิ ฯ ดัังนี้้� ฯ รูปู อ่อ่ นปวารณาตามลำดับั พรรษาว่่า สัังฆััง ภัันเต ปะวาเรมิิ ทิิฎเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริิสัังกายะ วา วะทันั ตุุ มังั อายัสั ะมัันโต อะนุุกัมั ปััง อุุปาทายะ ปััสสันั โต ปะฏิิกกะริสิ สามิิ ฯ ทุตุ ิิยัมั ปิิ ภันั เต สัังฆััง ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุเุ ตนะ วา ปะริิสังั กายะ วา วะทันั ตุุ มังั อายัสั ะมันั โต อะนุกุ ัมั ปังั อุปุ าทายะ ปัสั สันั โต ปะฏิกิ กะริสิ สามิิ ฯ ตะติยิ ััมปิิ ภันั เต สังั ฆััง ปะวาเรมิิ ทิฏิ เฐนะ วา สุเุ ตนะ วา ปะริสิ ัังกายะ วา วะทันั ตุุ มังั อายัสั ะมันั โต อะนุกุ ัมั ปังั อุปุ าทายะ ปัสั สันั โต ปะฏิกิ กะริสิ สามิิ ฯ ดังั นี้้� ฯ
พระวิินััยภาคปฏิบิ ัตั ิิ (สำหรับั ผู้บ�้ วชใหม่)่ 97 แปลว่่า ข้้าแต่่พระสงฆ์์ผู้�เจริิญ กระผมขอปวารณาต่่อสงฆ์์ หากท่่าน ทั้้ง� หลายได้เ้ ห็น็ ได้ย้ ินิ หรือื สงสัยั ว่า่ กระผมได้ท้ ำสิ่ง� ที่ไ�่ ม่ถ่ ูกู ต้อ้ ง ขอท่า่ นทั้้ง� หลาย โปรดอนุุเคราะห์์ ว่่ากล่่าวตัักเตืือนกระผมด้้วย เมื่่�อกระผมมองเห็็นแล้้ว จักั ประพฤติิตัวั เสีียใหม่่ให้ด้ ีีขึ้้น� คณะปวารณา มีภี ิกิ ษุุประชุุมกันั เพีียง ๔ รููป ๓ รููป ก่อ่ นจะปวารณา พึึงตั้�งญััตติเิ สีียก่อ่ น จะให้ร้ ููปใดรูปู หนึ่ง�่ ก็ไ็ ด้้ ฯ มีีภิิกษุเุ พีียง ๔ รููป ในอาวาสที่ม�่ ีภี ิกิ ษุอุ ยู่�จำพรรษาไม่ถ่ ึึง ๕ รูปู เมื่่อ� ถึึงวันั ปวารณา พึึงประชุมุ กันั แล้ว้ ปฏิิบัตั ิิดัังนี้้� พึึงตั้ง� ญัตั ติวิ ่า่ สุณุ าตุุ เม อายัสั ะมันั โต อัชั ชะ ปะวาระณา (ปัณั ณะระสีี) ยะทายัสั ะมัันตานังั ปััตตะกััลลััง มะยังั อัญั ญะมัญั ญังั ปะวาเรยยามะ ดัังนี้้� ฯ มีีภิิกษุเุ พีียง ๓ รููป พึึงตั้ง� ญัตั ติวิ ่า่ สุณุ าตุุ เม อายัสั ะมันั ตา อัชั ชะ ปะวาระณา (ปัณั ณะระสีี) ยะทายัสั ะมันั ตานััง ปััตตะกัลั ลััง มะยััง อัญั ญะมััญญังั ปะวาเรยยามะ ดัังนี้้� ฯ
98 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ คำปวารณาของภิิกษุุ ๔ รููป ๓ รูปู ครั้น� ตั้ง� ญัตั ติจิ บแล้ว้ พึึงปวารณาต่อ่ กันั และกันั ตามลำดับั พรรษาแก่แ่ ละ อ่อ่ น ดังั นี้้� รููปแก่่ปวารณาว่า่ อะหััง อาวุโุ ส อายัสั ะมัันเต ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริสิ ังั กายะ วา วะทันั ตุุ มังั อายัสั ะมันั โต อะนุกุ ััมปังั อุุปาทายะ ปัสั สัันโต ปะฏิิกกะริสิ สามิิ ฯ ทุุติิยััมปิิ อาวุุโส อายััสะมัันเต ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริิสัังกายะ วา วะทัันตุุ มังั อายัสั ะมันั โต อะนุกุ ัมั ปังั อุุปาทายะ ปัสั สันั โต ปะฏิิกกะริสิ สามิิ ฯ ตะติิยััมปิิ อาวุุโส อายััสมัันเต ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริิสัังกายะ วา วะทันั ตุุ มังั อายัสั ะมัันโต อะนุกุ ััมปังั อุุปาทายะ ปัสั สันั โต ปะฏิกิ กะริิสสามิิ ฯ ดังั นี้้� ฯ รูปู อ่่อนปวารณาว่า่ อะหััง ภัันเต อายััสะมันั เต ปะวาเรมิิ ทิฏิ เฐนะ วา สุเุ ตนะ วา ปะริสิ ังั กายะ วา วะทันั ตุุ มััง อายััสะมันั โต อะนุุกัมั ปังั อุุปาทายะ ปััสสัันโต ปะฏิกิ กะริสิ สามิิ ฯ ทุุติิยััมปิิ ภัันเต อายััสะมัันเต ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริสิ ังั กายะ วา วะทันั ตุุ มังั อายัสั ะมัันโต อะนุุกัมั ปังั อุปุ าทายะ ปััสสัันโต ปะฏิิกกะริสิ สามิิ ฯ ตะติิยััมปิิ ภัันเต อายััสะมัันเต ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริิสัังกายะ วา วะทันั ตุุ มััง อายััสะมัันโต อะนุุกัมั ปังั อุปุ าทายะ ปััสสัันโต ปะฏิกิ กะริสิ สามิิ ฯ ดัังนี้้� ฯ
พระวิินัยั ภาคปฏิิบััติิ (สำหรับั ผู้้�บวชใหม่่) 99 คำปวารณาของภิกิ ษุุ ๒ รูปู มีภี ิิกษุปุ ระชุมุ กันั ๒ รููป ไม่ต่ ้้องตั้ง� ญัตั ติิ พึึงปวารณากัันทีีเดีียว ดัังนี้้� รูปู แก่่ปวารณาว่า่ อะหััง อาวุุโส อายััสะมัันตััง ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริิสังั กายะ วา วะทะตุุ มังั อายัสั ะมา อะนุุกัมั ปััง อุปุ าทายะ ปัสั สัันโต ปะฏิกิ กะริิสสามิิ ฯ ทุุติิยััมปิิ อาวุุโส อายััสะมัันตััง ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริิสัังกายะ วา วะทะตุุ มััง อายััสะมา อะนุุกััมปััง อุุปาทายะ ปััสสัันโต ปะฏิิกกะริิสสามิิ ฯ ตะติิยััมปิิ อาวุุโส อายััสะมัันตััง ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริิสัังกายะ วา วะทะตุุ มััง อายััสะมา อะนุุกััมปััง อุุปาทายะ ปััสสัันโต ปะฏิกิ กะริิสสามิิ ฯ ดัังนี้้� ฯ รูปู อ่่อนปวารณาว่่า อะหััง ภันั เต อายััสะมันั ตััง ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุเุ ตนะ วา ปะริสิ ังั กายะ วา วะทันั ตุุ มังั อายััสะมา อะนุุกัมั ปังั อุปุ าทายะ ปััสสันั โต ปะฏิกิ กะริสิ สามิิ ฯ ทุุติิยััมปิิ ภัันเต อายััสะมัันตััง ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริิสัังกายะ วา วะทะตุุ มััง อายััสะมา อะนุุกััมปััง อุุปาทายะ ปััสสัันโต ปะฏิกิ กะริิสสามิิ ฯ ตะติิยััมปิิ ภัันเต อายััสะมัันตััง ปะวาเรมิิ ทิิฏเฐนะ วา สุุเตนะ วา ปะริสิ ังั กายะ วา วะทะตุุ มััง อายััสะมาโต อะนุกุ ัมั ปังั อุุปาทายะ ปัสั สัันโต ปะฏิกิ กะริสิ สามิิ ฯ ดังั นี้้� ฯ
100 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ คำปวารณาของภิิกษุุ ๑ รูปู ภิกิ ษุอุ ยู่�จำพรรษารูปู เดีียว ครั้น� ถึึงวันั ปวารณา พึึงไหว้พ้ ระสวดมนต์เ์ สร็จ็ แล้ว้ จึึงอธิิษฐานคำปวารณาว่่า อััชชะ เม ปวาระณา ดัังนี้้� คำถวายกฐินิ (แบบมหานิิกาย) ว่่านะโม ๓ จบ แล้ว้ ว่่า อิทิ ังั สะปะริิวารััง กะฐินิ ะจีีวะระทุุสสััง สัังฆัสั สะ โอโณชะยามะ ทุุติิยััมปิิ อิิทััง สะปะริิวารััง กะฐิินะจีีวะระทุุสสััง สัังฆััสสะ โอโณชะยามะ ตะติิยััมปิิ อิิทััง สะปะริิวารััง กะฐิินะจีีวะระทุุสสััง สัังฆััสสะ โอโณชะยามะ ดังั นี้้� ฯ พระสงฆ์์รัับ “สาธุุ” พร้อ้ มกััน คำอปโลกน์์องค์ท์ ี่�่ ๑ การอปโลกน์์กฐิิน จะให้้พระเถระในชุุมนุุมนั้้�น หรืือรููปใดรููปหนึ่่�งก็็ได้้ แล้ว้ แต่ส่ ามารถดัังนี้้� ฯ ผ้้ากฐิินทาน กัับทั้้�งผ้้าอานิิสงสบริิวารทั้้�งปวงนี้้�เป็็นของท่่านปััจจย ทานาธิิบดีี มีีความอุุตสาหะพาซึ่�่งประยุุรวงศาคณาญาติิ มิิตรสหาย นำผ้้า กฐิินทานอัันนี้้� มาถวายแก่่พระภิิกษุุสงฆ์์ จะได้้เฉพาะพระภิิกษุุรููปใดรููปหนึ่�่ง ก็็หามิิได้้ ผ้้าพระกฐิินทานนี้้�บริิสุุทธิ์� เปรีียบประหนึ่�่งผ้้าทิิพย์์ อัันเลื่�อนลอยมา ในนภากาศ ตกลงในที่ช่� ุมุ นุมุ สงฆ์์ทั้้ง� ปวงนี้้� จะได้เ้ ฉพาะเจาะจงแก่ภ่ ิิกษุุรูปู ใดรูปู หนึ่่�งก็็หามิิได้้ ผ้้าพระกฐิินทานนี้้� โดยพระบรมพุุทธานุุญาตไว้้ว่่า ให้้พระเถรานุุเถระทั้้�งปวง พร้้อมกัันยอมอนุุญาตให้้แก่่พระภิิกษุุรููปหนึ่่�ง เพื่่�อ
พระวินิ ัยั ภาคปฏิิบััติิ (สำหรับั ผู้�บ้ วชใหม่่) 101 กฐินิ ัตั ถารกิจิ โดยคำพระอรรถกถาจารย์ผ์ู้้�รู้้�พระบรมพุทุ ธาธิบิ ายสังั วรรณนาไว้ว้ ่า่ พระภิิกษุุผู้้�ประกอบด้้วยศีีลสมาธิิคุุณ มาตรว่่ารู้�ธรรมทั้้�ง ๘ ประการ มีีบุุพกิิจ เป็็นต้้น จึึงสมควรเป็็นผู้้�รัับผ้้ากฐิินทาน ก็็บััดนี้้�พระสงฆ์์ทั้้�งปวงเห็็นสมควรแก่่ ภิกิ ษุุรูปู ใด จงยอมพร้้อมใจให้แ้ ก่ภ่ ิิกษุรุ ูปู นั้้น� เถิดิ ฯ คำอปโลกน์อ์ งค์์ที่่� ๒ ผ้้ากฐิินทาน กัับทั้้�งผ้้าอานิิสงสบริิวารทั้้�งปวงนี้้� ข้้าพเจ้้าพิิจารณา เห็็นสมควรแก่่ท่่าน (ออกชื่�อผู้�ครอง) ผู้้�มีีสติิปััญญาสามารถเพื่่�อจะกระทำ กฐิินััตถารกิิจตามพระบรมพุุทธานุุญาตไว้้ ถ้้าภิิกษุุรููปใดเห็็นว่่าไม่่สมควรแล้้ว จงทัักท้้วงขึ้�้นในที่่�ชุุมนุุมสงฆ์์ (หยุุดสัักระยะหนึ่่�ง) ถ้้าเห็็นสมควรแล้้ว จงสาธุุ การให้พ้ ร้้อมกัันเทอญฯ พระสงฆ์์พึึงรัับว่่า “สาธุุ” ดัังนี้้พ� ร้้อมกััน ฯ แต่่นั้้�น ถ้้าจะเอาผ้้าผืืนใดเป็็นองค์์กฐิิน พึึงชัักผ้้าผืืนนั้้�นออกวางพาด ขวางบนไตร แล้ว้ คู่่�สวดพึึงสวด สมมติิตามพระบาลีี คำสวดสมมติินั้้น� พึึงเปิดิ ดูู ในญััตติทิ ุตุ ิิยกรรมวาจา พิธิ ีีทำกฐิินอย่่างธรรมยุุติกิ นิิกายข้า้ งหน้า้ โน้้น เทอญ ฯ ครั้น� สวดสมมติจิ บลงแล้ว้ องค์ค์ รองกฐินิ พึึงพินิ ทุไุ ตรกฐินิ นั้้น� ส่ว่ นคำพินิ ทุุ เหมือื นกล่่าวแล้้วข้้างต้้นนั้้�น แต่น่ ั้้น� พึึงถอนผ้า้ เก่่าออกจากอธิิษฐานเสีีย แต่่เมื่่�อ จะถอน พึึงเอาผ้้าใหม่ผ่ ืนื ที่่�จะกรานเป็น็ องค์์กฐินิ นั้้�น มาทัับผ้้าเก่่าลง แล้้วจึึงว่า่ คำถอนอธิิษฐาน คำถอนอธิิษฐานนั้้�นเหมืือนคำกล่่าวแล้้วข้้างต้้นนั้้�น แต่่นั้้�น พึึงอธิิษฐานผ้้าใหม่่เป็็นอย่่าง ๆ ไป คำอธิิษฐานเหมืือนกล่่าวแล้้วข้้างต้้นนั้้�น ครั้ �นแล้้วพึึงออกไปให้้พ้้นหััตถบาสสงฆ์์ครองผ้้าไตรกฐิินนั้้�นเสร็็จแล้้ว พึึงเข้้าไป ในที่ช่� ุุมนุุมสงฆ์์ เริ่ม� กรานกฐิินต่อ่ ไป
102 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ คำกรานกฐินิ ในไตรกฐิินทั้้�ง ๓ ผืืนนั้้�น จะกรานผืืนใดให้้เป็็นองค์์กฐิินก็็ได้้ แล้้วแต่่ ความพอใจของท่่านผู้�ครอง แต่เ่ มื่อ� จะกรานพึึงผิินหน้า้ ต่อ่ พระพุทุ ธรููปประธาน แล้้วว่า่ นะโม ครบ ๓ จบ ถ้า้ กรานสัังฆาฏิิว่่า อิมิ ายะ สังั ฆาฏิยิ า กะฐินิ ังั อััตถะรามิิ ดัังนี้้� ๓ จบ ถ้า้ กรานจีีวรว่่า อิมิ ินิ า อุุตตะราสัังเคนะ กะฐิินังั อััตถะรามิิ ดังั นี้้� ๓ จบ ถ้า้ กรานสบงว่า่ อิมิ ินิ า อันั ตะระวาสะเกนะ กะฐินิ ังั อัตั ถะรามิ ิ ดังั นี้้� ๓ จบ แต่น่ั้้น� สงฆ์พ์ ึึงนั่่ง� คุกุ เข่า่ ผินิ หน้า้ เฉพาะต่อ่ พระพุทุ ธรูปู ประธาน กราบ ๓ หน แล้้วพร้้อมกันั ว่่า “นะโม” ครบ ๓ จบ เริ่�มทำการอนุุโมทนากฐินิ ต่่อไป ดังั นี้้� คำอนุโุ มทนากฐิิน องค์ค์ รองกฐิิน เมื่่�อจะบอกให้ส้ งฆ์อ์ นุุโมทนา พึึงนั่่�งคุุกเข่่าผิินหน้า้ เฉพาะ ต่่อสงฆ์ ์ ถ้า้ แก่ก่ ว่่าสงฆ์์ในชุุมนุมุ นั้้�น พึึงว่่า อััตถะตััง อาวุโุ ส สัังฆััสสะ กะฐินิ ังั ธัมั มิโิ ก กะฐินิ ััตถาโร อะนุโุ มทะถะ ดัังนี้้� ๓ จบ ฯ ถ้า้ อ่่อนกว่่าสงฆ์ใ์ นชุุมนุุมนั้้�น แม้ร้ ููปหนึ่ง่� พึึงว่่า อััตถะตังั ภันั เต สังั ฆััสสะ กะฐิินังั ธััมมิิโก กะฐินิ ััตถาโร อะนุโุ มทะถะ ดัังนี้้� ๓ จบ ฯ ถ้้าภิิกษุุผู้�จะรัับอนุุโมทนามีีรููปเดีียวและอ่่อนกว่่าผู้�ครองกฐิิน ส่่วนภิิกษุุ นอกนั้้�นเป็็นแต่่นิิมนต์์ให้้มาเป็็นคณะปููรกะให้้เท่่านั้้�น พึึงว่่าคำให้้อนุุโมทนาว่่า อัตั ถะตังั อาวุโุ ส สังั ฆัสั สะ กะฐินิ ังั ธัมั มิโิ ก กะฐินิ ัตั ถาโร อะนุโุ มทาหิ ิ ดังั นี้้� ๓ จบ ฯ
พระวิินัยั ภาคปฏิบิ ัตั ิิ (สำหรัับผู้บ�้ วชใหม่่) 103 อนุุโมทนาทีีละรูปู ถ้้าผู้�อนุโุ มทนาแก่่กว่า่ ผู้�ครองพึึงว่่า อััตถะตััง อาวุุโส สัังฆััสสะ กะฐิินััง ธััมมิโิ ก กะฐินิ ัตั ถาโร อะนุโุ มทามิ ิ ดังั นี้้� ๓ จบ ฯ ถ้้าผู้�อนุโุ มทนาอ่่อนกว่า่ ผู้�ครองพึึงว่่า อัตั ถะตังั ภันั เต สัังฆััสสะ กะฐินิ ังั ธััมมิิโก กะฐิินััตถาโร อะนุโุ มทามิิ ดัังนี้้� ๓ จบ ฯ อนุุโมทนาพร้อ้ มกันั พึึงว่่า อััตถะตััง ภัันเต สัังฆััสสะ กะฐิินััง ธััมมิิโก กะฐิินััตถาโร อะนุโุ มทามะ ดังั นี้้� ๓ จบ ฯ คำให้้อนุุโมทนาก็็ดีี คำอนุุโมทนาก็็ดีี จะเติิมคำว่่า “ทุุติิยััมปิิ” และ “ตะติยิ ัมั ปิิ” เข้า้ ในรอบที่่� ๒ และที่�่ ๓ หรืือจะไม่เ่ ติมิ เข้้า ก็็ใช้ไ้ ด้ท้ ั้้�ง ๒ อย่า่ ง แล้ว้ แต่ค่ วามนิิยมของท่า่ นผู้�เป็น็ ประธานในชุมุ นุุมนั้้น� ฯ
104 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ กฐิินัตั ถารวิิธีี (อย่่างพระสงฆ์ค์ ณะธรรมยุตุ ิกิ นิกิ าย) ตามธรรมเนีียมที่ท่� ำกันั อยู่� ในวงศ์์พระสงฆ์ค์ ณะธรรมยุุติิกนิิกาย ผ้า้ ผืนื ที่่� จะกรานเป็็นองค์์กฐิินนั้้�น ต้้องตััดเย็็บย้้อมให้้เสร็็จในวัันนั้้�น เหตุุนั้้�นผ้้าผืืนที่�่ จะกรานเป็น็ องค์ก์ ฐินิ นั้้น� ทายกจึึงนำผ้า้ ขาวไปถวายเสีียทีีเดีียว ส่ว่ นการตัดั เย็บ็ ย้้อม เป็น็ ภาระของสงฆ์์ แต่ถ่ ้า้ มีที ายกทายิกิ ามาช่่วยก็็ควร ฯ คำถวายกฐิินทาน ว่า่ นะโม ๓ จบ แล้ว้ ว่่า อิิมััง ภัันเต สะปะริิวารััง กะฐิินะทุุสสััง สัังฆััสสะ โอโณชะยามะ สาธุุ โน ภัันเต สัังโฆ อิิมััง สะปะริิวารััง กะฐิินะทุุสสััง ปฏิิคคััณหาตุุ ปฏิคิ คะเหตะวา จะ อิมิ ินิ า ทุสุ เสนะ กะฐิินังั อัตั ถะระตุุ อััมหากััง ทีีฆะรััตตังั หิติ ายะ สุขุ ายะ ฯ พระสงฆ์ร์ ัับ “สาธุ”ุ พร้อ้ มกัันแล้้วแต่่นั้้น� ถึึงทำการอปโลกน์์ต่อ่ ไป ดังั นี้้�
พระวินิ ัยั ภาคปฏิิบััติิ (สำหรัับผู้บ�้ วชใหม่)่ 105 คำอปโลกน์์กฐิินองค์์ที่�่ ๑ (ธรรมยุตุ ) อิิทานิิ โข อาวุุโส (ถ้้าอ่่อนกว่่าสงฆ์์ในที่่�ชุุมนุุมนั้้�น แม้้รููปหนึ่�่งพึึงว่่า อิิทานิิ โข ภัันเต) อิิมััง สะปะริิวารััง กะฐิินะทุุสสััง สัังฆััสสะ กะฐิินััตถารา ระหะกาเลเยวะ อุุปปัันนััง อีีทิิเสจะ กาเล เอวััง อุุปปัันเนนะ ทุุสเสนะ กะฐิินััตถาโร วััสสััง วุุตถานััง ภิิกขููนััง ภะคะวะตา อะนุุญญาโต เยนะ อากัังขะมานััสสะ สัังฆััสสะ ปััญจะ กััปปิิสสัันติิ อะนามัันตะจาโร อะสะมาทานะจาโร คะณะโภชะนััง ยาวะทััตถะจีีวะรััง โย จะ ตััตถะ จีีวะรุุปปาโท โส เนสััง ภะวิิสสะติิ จะตูสู ุุปิิ เหมันั ติิเกสุุ มาเสสุุ จีีวะระกาโล มะหัันตีีกะโต ภะวิิสสะติิ อิทิ านิิ ปะนะ สัังโฆ อากังั ขะติิ นุโุ ข กะฐิินััตถารััง อุทุ าหุุ นากัังขะติิ ฯ พระสงฆ์ร์ ัับว่่า “อากัังขามะ ภัันเต” พร้อ้ มกันั ฯ คำอปโลกน์์องค์์ที่่� ๒ โส โข ปะนะ ภัันเต กะฐินิ ัตั ถาโร ภะคะวะตา ปุคุ คะลััสสะ อััตถาระวะ เสเนวะ อะนุุญญาโต นาญญะตะระ ปุุคคะลััสสะ อััตถารา อััตถะตััง โหติิ กะฐิินันั ติิ หิิ วุตุ ตังั ภะคะวะตา นะ สัังโฆ วา คะโณ วา กะฐิินััง อัตั ถะระติิ สัังฆัสั สะ จะ คะณัสั สะ จะ สามัคั คิิยา ปุคุ คะลััสเสวะ อัตั ถารา สัังฆััสสะปิิ คะณััสสะปิิ ตััสเสวะ ปุุคคะลััสสะปิิ อััตถะตััง โหติิ กะฐิินััง อิิทานิิ กััสสิิมััง กะฐินิ ะทุุสสังั ทัสั สามะ กะฐินิ ััง อััตถะริิตุงุ โย ชิณิ ณะจีีวะโร วา ทุพุ พะละ จีีวะโร วา โย วา ปะนะ อุสุ สะหิิสสะติิ อัชั เชวะ จีีวะระกัมั มังั นิฏิ ฐาเปตะวา สัพั พะวิธิ านังั อะปะริิหาเปตะวา กะฐินิ ังั อัตั ถะริิตุงุ สะมัตั โถ ภะวิิสสะติิ ฯ สงฆ์์พึึงนิ่่�งอยู่ � ฯ
106 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ คำอปโลกน์อ์ งค์ท์ ี่่� ๓ อิธิ ะ อััมเหสุุ อายััสะมา (อิิตถันั นาโม-ใส่่ฉายาของผู้้�รับ) สัพั พะมะหััล ละโก พะหุุสุุตโต ธััมมะธะโร วิินะยะธะโร สะพรััหมะจารีีนััง สัันทััสสะโก สะมาทะปะโก สะมุุตเตชะโก สััมปะหัังสะโก พะหุุนนััง อาจะริิโย วา อุุปััชฌาโย วา หุุตะวา โอวาทะโก อะนุุสาสะโก สะมััตโถ จะ ตัังตััง วิินะยะกัมั มััง อะวิโิ กเปตวา กะฐินิ ััง อััตถะริติ ุงุ มััญญามะหะเมวะ สััพโพยังั สังั โฆ อิมิ ััง สะปะริวิ ารังั กะฐินิ ะทุสุ สังั อายัสั มะโต (อิิตถัันนามััสสะ-ใส่่ฉายา ของผู้้�รับ) ทาตุกุ าโม ตัสั ะมิงิ กะฐิินััง อัตั ถะรัันเต สัพั โพยััง สังั โฆ สัมั มะเทวะ อะนุุโมทิิสสะติิ อายััสมะโต (อิิตถัันนามััสเสวะ-ใส่่ฉายาของผู้้�รับ) อิิมััง สะปะริวิ ารังั กะฐินิ ะทุสุ สังั ทาตุงุ รุจุ จะติิ วา โน วา สัพั พัสั สิมิ ัสั สะ สังั ฆัสั สะ ฯ สงฆ์์พึึงรัับพร้อ้ มกันั ว่่า “รุุจจะติิ ภัันเต” พร้อ้ มกััน ฯ คำอปโลกน์อ์ งค์ท์ ี่�่ ๔ ยะทิิ อายัสั มะโต (อิติ ถันั นามััสสะ-ใส่ฉ่ ายาของผู้้�รับ) อิมิ ััง สัปั ปะริวิ า รังั กะฐิินะทุสุ สังั ทาตุงุ สััพพััสสิิมัสั สะ สังั ฆัสั สะ รุจุ จะติิ สาธุุ ภันั เต สัังโฆ อิมิ ังั กะฐินิ ะทุสุ สะปะริวิ าระภูตู ังั ติจิ ีีวะรังั วัสั สาวาสิกิ ัฏั ฐิติ ิกิ ายะ อะคาเหตะวา อายััสะมะโต (อิติ ถันั นามัสั เสวะ-ใส่่ฉายาของผู้้�รับ) อิิมินิ า อะปะโลกะเนนะ ทะทาตุุ กะฐิินะทุุสสััง ปะนะ อะปะโลกะเนนะ ทิิยยะมานััมปิิ นะ รููหะติิ ตััสะมา ตััง อิิทานิิ ญััตติิทุุติิเยนะ กััมเมนะ อะกุุปเปนะ ทานาระเหนะ อายััสมะโต (อิิตถัันนามััสสะ-ใส่่ฉายาของผู้้�รับ) เทมาติิ กััมมะสัันนิิฏฐานััง กะโรตุุ ฯ พระสงฆ์์รับั ว่า่ “สาธุุ ภัันเต” พร้้อมกััน ฯ
พระวินิ ัยั ภาคปฏิิบััติิ (สำหรัับผู้�บ้ วชใหม่่) 107 พิิธีีกรรมและคำขอลาสิิกขาบท ผู้้�ขอพึึงตั้ง� นะโม ๓ จบ แล้ว้ กล่า่ วทีีละวรรคดังั นี้้� คำขอขมาโทษ ข้้าแต่่อาจารย์์ผู้�เจริิญ หากแม้้นว่่าพวกข้้าพเจ้้าทั้้�งหลายได้้ประมาท พลาดพลั้้�งไปด้้วยกายกรรม วจีีกรรม มโนกรรม ทั้้�งที่่�เจตนาและไม่่เจตนา ทั้้�งต่อ่ หน้้าและลับั หลังั ขอพระคุณุ เจ้้าโปรดอโหสิิกรรมนั้้�น ๆ แก่พ่ วก ข้า้ พเจ้า้ ทั้้�งหลายด้ว้ ยเถิดิ เพื่่อ� ความสำรวมระวังั ในกาลต่่อไป อาจาริิเย ปะมาเทนะ, ทะวารััตตะเยนะ กะตััง, สััพพััง อะปะราธััง ขะมะตุุ โน ภันั เต (ว่่า ๓ หน) (นำพานดอกไม้เ้ ข้้าถวาย ทุกุ คนกราบหมอบลงรับั การขมาจากพระสงฆ์์ รอกล่า่ วคำว่่า) ขะมามะ ภัันเต คำลาสิกิ ขา สิกิ ขังั ปััจจักั ขามิ ิ ข้า้ พเจ้า้ กล่า่ วคืนื ซึ่่�งสิิกขา วิินยััง ปัจั จัักขามิ ิ ข้้าพเจ้้า กล่่าวคืืนซึ่�่งวิินัยั คิหิ ีีติิ มังั ธาระเถ ท่่านทั้้�งหลายจงจำข้า้ พเจ้้าไว้ว้ ่่า เป็น็ คฤหัสั ถ์์ ณ บัดั นี้้� ดังั นี้้� ๓ หน แล้้วกราบลง ๓ หน ออกไปนุ่่�งห่่มผ้้าของคฤหััสถ์์ เสร็็จแล้้วกลัับเข้้ามารัับพระไตรสรณคมน์์ และศีีล ๕ ตามพิิธีี เป็น็ อันั เสร็จ็ การลาสิิกขา (ถ้้าเป็น็ สามเณร จะไม่่ใช้้คำว่่า คิหิ ีีติิ มังั ธาเรถะ ก็็ควร ฯ)
108 งานกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ คำขอขมาโทษ ด้้วยกายก็็ดีี ด้้วยวาจาก็็ดีี ด้้วยใจก็็ดีี กรรมน่่าติิเตีียนอัันใด ที่่�ข้้าพเจ้้า กระทำแล้ว้ ในพระอาจารย์ ์ ขอพระอาจารย์จ์ งงดซึ่ง่� โทษล่ว่ งเกินิ อันั นั้้น� เพื่่อ� การ สำรวมระวัังในพระอาจารย์ใ์ นกาลต่อ่ ไป กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา อาจาริเิ ย กุุกััมมััง ปะกะตััง มะยายังั อาจาริิโย ปะฏิคิ คัณั หะตุุ อััจจะยัันตััง กาลัันตะเร สังั วะริติ ุงุ วะ อาจาริิเย คำขอขมาโทษ ผู้้�ขอ อุุกาสะ วัันทามิิ ภัันเต สััพพััง อะปะราทััง ขะมะถะ เม ภัันเต มะยากะตััง ปุุญญััง สามิินา อนุุโมทิิตััพพััง สามิินา กะตััง ปุุญญััง มััยหััง ทาตััพพังั สาธุุ สาธุุ สาธุุ อะนุโุ มทามิิ คำลากลับั บ้า้ น ผู้�ลา หันั ทะทานิิ มะยังั ภัันเต อาปุุจฉามะ พะหุกุ ิิจจา มะยััง พะหุุกะระณีียา พระสงฆ์์ผู้้�รับั ลา ยััสสะทานิิ ตุมุ เห กาลังั มััญญะถะ ผู้�ลา สาธุุ ภัันเต (แล้้วกราบ ๓ หน)
พระวิินัยั ภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรัับผู้บ�้ วชใหม่่) 109 คำแสดงตนเป็็นพุทุ ธมามกะ การแสดงตนเป็็นพุุทธมามกะ คืือ การประกาศตนของผู้�แสดงว่่าเป็็น ผู้้�นับั ถืือพระพุุทธศาสนา คืือ พระพุทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์์ เป็น็ สิ่ง� สูงู สุุด และเป็น็ ที่�่พึ่่�งที่่�ระลึึกของตน พิิธีีพุุทธมามกะเกิิดขึ้�้นหลัังจากที่�่พระพุุทธเจ้้าได้้ประกาศคำสอนของ พระองค์์แก่่ประชาชนและมีีผู้ �ที่�ได้้รัับฟัังคำสอนแล้้วเกิิดศรััทธาเลื่ �อมใส ปฏิิบััติิตามคำสอนนั้้�นจนได้้รัับผลจากการปฏิิบััติิตามสมควรแล้้วจึึงยอมรัับว่่า พระพุทุ ธศาสนาซึ่ง่� ประกอบด้้วยพระพุทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์์ เป็น็ สิ่�งที่�ม่ ีี คุุณค่่ายิ่ �งต่่อชีีวิิตตนจึึงได้้ประกาศตนเป็็นพุุทธมามกะซึ่�่งบางคนก็็ออกบวช ในพระพุุทธศาสนา บางคนก็็เป็็นคฤหัสั ถ์์ แต่่ไม่ว่ ่่าจะอยู่�ในฐานะใด สำหรับั ผู้้�ที่�่ เป็น็ “พุทุ ธมามกะ” แล้ว้ ก็ค็ ือื ผู้้�ที่ย�่ ึึดมั่น� ในหลักั ธรรมคำสอนในพระพุทุ ธศาสนา อย่า่ งมั่่น� คงตลอดไป สิ่ง� ที่่จ� ำเป็็นในการแสดงตนเป็น็ พุุทธมามกะ การแสดงตนเป็็นพุุทธมามกะจะต้้องแสดงต่่อหน้้าพระสงฆ์์ หรืือในที่�่ ประชุมุ สงฆ์์ โดยมีีสิ่�งจำเป็็นต้อ้ งใช้้ ดังั นี้้� ๑. โต๊ะ๊ หมู่่�บูชู า ๒. พระพุุทธรููป ๓. ดอกไม้ธ้ ูปู เทีียน ๔. พุุทธมามกะบััตร เพื่่อ� มอบให้้แก่ผู่้�แสดงตน และเก็็บไว้เ้ ป็็นหลัักฐาน
110 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ลำดับั ขั้้�นตอนการแสดงตนเป็็นพุุทธมามกะ ขั้น� ตอนที่่� ๑ เมื่่อ� จัดั สถานที่่�หอประชุุม และที่น�่ ั่่�งพระสงฆ์์เรีียบร้้อยแล้้ว จึึงนิมิ นต์พ์ ระสงฆ์เ์ ข้า้ สู่่�บริิเวณพิิธีี ขั้น� ตอนที่่� ๒ ผู้�แทนนัักเรีียนเข้้าไปนั่่�งคุกุ เข่า่ หน้้าโต๊ะ๊ หมู่่�บูชู า จุดุ ธูปู เทีียน และวางดอกไม้้บููชา ส่่วนผู้�เข้้าร่่วมพิิธีีนั่่�งคุุกเข่่าและประนมมืือ สงบจิิตใจ ระลึึกถึึงคุณุ ของพระรัตั นตรัยั เมื่อ� ผู้�แทนนัักเรีียนนำกล่า่ วคำบููชาพระรัตั นตรัยั ให้ท้ ุุกคนว่า่ ตามพร้้อม ๆ กันั เมื่อ� จบแล้้วให้ก้ ราบแบบเบญจางคประดิษิ ฐ์์ คำบููชาพระรััตนตรัยั อิมิ ินิ า สักั กาเรนะ พุทุ ธังั ปูเู ชมะ ข้า้ พเจ้า้ ขอบูชู าพระพุทุ ธเจ้า้ ด้ว้ ยเครื่อ� ง สักั การะ (กราบ) อิิมินิ า สัักกาเรนะ ธัมั มััง ปููเชมะ ข้้าพเจ้า้ ขอบููชาพระธรรมด้้วยเครื่�อง สัักการะนี้้� (กราบ) อิิมิินา สัักกาเรนะ สัังฆััง ปููเชมะ ข้้าพเจ้้าขอบููชาพระสงฆ์์ด้้วยเครื่�อง สัักการะนี้้� (กราบ) ขั้น� ตอนที่่� ๓ ผู้้�แทนนักั เรีียนถวายพานเครื่�องสักั การะ พร้้อมกัับรายชื่อ� นักั เรีียนที่เ�่ ข้า้ ร่ว่ มพิธิ ีีทั้้ง� หมด แด่พ่ ระสงฆ์์ ส่ว่ นผู้�เข้า้ ร่ว่ มพิธิ ีีนั่่ง� คุกุ เข่า่ ประนมมือื แล้ว้ กราบแบบเบญจางคประดิิษฐ์พ์ ร้้อมกันั ขั้�นตอนที่�่ ๔ กล่่าวคำนมััสการพระพุุทธเจ้้าและคำขอแสดงตนเป็็น พุุทธมามกะพร้้อม ๆ กััน
พระวิินัยั ภาคปฏิบิ ัตั ิิ (สำหรับั ผู้บ้� วชใหม่่) 111 คำนมััสการพระพุุทธเจ้า้ นะโม ตััสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมั มาสััมพุทุ ธััสสะ (๓ จบ) คำแปล ขอนอบน้้อม แด่่พระผู้�มีีพระภาคเจ้า้ พระองค์์นั้้�น ซึ่�ง่ เป็็นผู้�ไกลจากกิิเลส ตรัสั รู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง คำขอแสดงตนเป็็นพุุทธมามกะ เอเต (ชาย) เอตา (หญิิง) มะยััง ภัันเต สุุจิิระปะริินิิพพุุตััมปิิ ตััง ภะคะวันั ตััง สะระณััง คััจฉามะ ธัมั มััญจะ สัังฆัญั จะ พุทุ ธะมามะกาติิ (ชาย) พุทุ ธะมามิิกาติิ (หญิงิ ) โน สัังโฆ ธาเรตุุ ฯ คำแปล ข้้าแต่่พระสงฆ์์ผู้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าขอถึึง พระผู้�มีีพระภาคเจ้้า พระองค์์นั้้�น แม้ป้ ริินิิพพานแล้ว้ ทั้้ง� พระธรรม พระสงฆ์์ เป็น็ สรณะที่่�ระลึึกนับั ถืือ ขอพระสงฆ์์ จงรับั ข้า้ พเจ้้าไว้เ้ ป็็นพุุทธมามกะด้ว้ ยเถิดิ ขั้�นตอนที่่� ๕ เมื่�อกล่า่ วจบแล้ว้ พระสงฆ์์ประนมมือื รัับ “สาธุ”ุ ผู้้�เข้า้ ร่่วม พิธิ ีีนั่่�งพับั เพีียบ ประนมมืือฟังั โอวาทจากประธานสงฆ์์ ขั้�นตอนที่�่ ๖ เมื่�อจบโอวาทแล้้ว ให้ผู้้�เข้้าร่ว่ มพิธิ ีีรัับ “สาธุ”ุ แล้้วนั่่ง� คุกุ เข่่า ประนมมืือ
112 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ กล่่าวคำอาราธนาศีีล ๕ มะยััง ภันั เต, วิสิ ุุง วิิสุุง รัักขะณััตถายะ, ติสิ ะระเณนะ สะหะ, ปัญั จะ สีีลานิิ ยาจามะ ฯ ทุุติิยัมั ปิิ มะยััง ภัันเต, วิสิ ุุง วิิสุงุ รัักขะณัตั ถายะ, ติิสะระเณนะ สะหะ, ปััญจะสีีลานิิ ยาจามะ ฯ ตะติิยัมั ปิิ มะยััง ภัันเต, วิสิ ุงุ วิิสุงุ รักั ขะณัตั ถายะ, ติิสะระเณนะ สะหะ, ปัญั จะสีีลานิิ ยาจามะ ฯ ขั้�นตอนที่�่ ๗ พระสงฆ์์เป็น็ ผู้้�บอกคำสมาทานศีีล ๕ ผู้้�เข้า้ ร่่วมพิิธีีว่า่ ตาม เป็็นตอน ๆ หลัังจากนั้้�นพระสงฆ์์จะกล่่าวสรุุปหลัังจากการสมาทานศีีล ๕ เพีียง ๑ ครั้ง� และผู้�เข้้าร่่วมพิิธีีกล่า่ วตาม ๓ ครั้�งว่่า อิิมานิิ ปััญจะ สิกิ ขาปะทานิิ สะมาทิิยามิิ ขั้น� ตอนที่่� ๘ พระสงฆ์บ์ อกอานิสิ งส์ข์ องศีีล ซึ่ง่� ผู้�เข้า้ ร่ว่ มพิธิีีไม่ต่ ้อ้ งกล่า่ วตาม ดังั นี้้� สีีเลนะ สุุคะติิง ยัันติ,ิ สีีเลนะ โภคะสัมั ปทา, สีีเลนะ นิพิ พุตุ ิงิ ยันั ติิ, ตัสั ะมา สีีลััง วิโิ สธะเย หลัังจากนั้้�น ผู้้�เข้้าร่่วมพิิธีีหรืือผู้�แทนนัักเรีียนรัับพุุทธมามกะบััตรและ ถวายเครื่�องไทยธรรมแด่่พระสงฆ์์ เมื่�อพระสงฆ์์อนุุโมทนาผู้�แสดงตนเป็็น พุุทธมามกะกรวดน้้ำ รัับพร เสร็็จแล้้วคุุกเข่่ากราบพระสงฆ์์ ๓ ครั้�ง เป็็นอััน เสร็จ็ พิิธีี
พระวิินััยภาคปฏิบิ ัตั ิิ (สำหรัับผู้้บ� วชใหม่)่ 113 คำกล่า่ วถวายทาน อิิมานิิ มะยััง ภัันเต, ภััตตานิิ สะปะริิวารานิิ, ภิิกขุุสัังฆััสสะ โอโณชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภิกิ ขุสุ ัังโฆ, อิมิ านิิ ภัตั ตานิ,ิ สะปะริิวารานิ,ิ ปะฏิิคคััณหาตุ,ุ อััมหากังั , ทีีฆะรััตตััง, หิิตายะ, สุุขายะ ฯ คำแปล ข้้าแต่่พระสงฆ์์ผู้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลายขอน้้อมถวายซึ่�่งภััตตาหารกัับ ของที่่�เป็็นบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� แด่่พระสงฆ์์ ขอพระสงฆ์์จงรัับซึ่่�งภััตตาหาร กัับของที่่�เป็็นบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� เพื่่�อประโยชน์์ เพื่่�อความสุุขแก่่ข้้าพเจ้้า ทั้้�งหลายสิ้น� กาลนานเทอญ ฯ คำถวายสังั ฆทาน (เพื่่�ออุุทิิศผู้ต�้ าย) อิมิ านิิ มะยััง ภันั เต, มะตะกะภัตั ตานิ,ิ สะปะริวิ ารานิ,ิ ภิิกขุุสังั ฆััสสะ โอโณชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภิิกขุุสัังโฆ, อิิมานิิ มะตะกะภััตตานิิ, สะปะริิวารานิิ, ปะฏิิคคััณหาตุุ, อััมหากััญเจวะ, มาตาปิิตุุอาทีีนััญจะ, ญาตะกานังั , กาละกะตานััง, ทีีฆะรััตตังั , หิติ ายะ, สุขุ ายะ ฯ คำแปล ข้้าแต่พ่ ระภิกิ ษุุสงฆ์์ผู้�เจริญิ ข้า้ พเจ้า้ ทั้้�งหลาย ขอน้อ้ มถวายซึ่ง่� ภััตตาหาร เพื่่�อผู้้�ล่่วงลัับไปแล้้ว พร้้อมกัับของบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� แด่่พระภิิกษุุสงฆ์์ ขอพระภิิกษุุสงฆ์์ จงรัับภััตตาหาร เพื่่�อผู้้�ล่่วงลัับไปแล้้ว พร้้อมกัับของบริิวาร ทั้้ง� หลายเหล่า่ นี้้� ของข้า้ พเจ้้าทั้้ง� หลาย เพื่่�อประโยชน์์ เพื่่�อความสุขุ แก่ข่ ้า้ พเจ้้า ทั้้�งหลายด้้วย แก่่ญาติิทั้้�งหลายด้ว้ ย ผู้้�ล่่วงลับั ไปแล้ว้ มีีมารดาบิิดาเป็็นต้้นด้ว้ ย (ในกรณีีที่ม�่ ารดาบิิดาของผู้้�ถวายสิ้น� ชีีวิติ แล้ว้ ) ตลอดกาลนานเทอญ ฯ
114 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ คำถวายปััจจััย ๔ (คือื ผ้า้ อาหาร ที่อ่� ยู่�อาศัยั เครื่�องใช้้ต่่าง ๆ และยารักั ษาโรค) อิเิ ม มะยังั ภันั เต, จะตุุปััจจะเย, อิิธะ อาหะริติ ตะวา, ภิกิ ขุสุ ังั ฆัสั สะ, นิิยยาเทมะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภิิกขุสุ ังั โฆ, อิเิ ม จะตุปุ ัจั จะเย, ปะฏิิคคัณั หาตุุ, อััมหากังั , ทีีฆะรััตตังั , หิิตายะ, สุุขายะ ฯ คำแปล ข้้าแต่่พระภิิกษุุสงฆ์์ผู้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย น้้อมปััจจััย ๔ เหล่่านี้้� มา ณ ที่น่� ี้้แ� ล้ว้ ขอมอบถวาย แด่่พระภิิกษุุสงฆ์ ์ ขอพระภิิกษุสุ งฆ์์ จงรับั ปัจั จััย ๔ เหล่่านี้้ � ของข้า้ พเจ้า้ ทั้้�งหลาย เพื่่อ� ประโยชน์์ เพื่่�อความสุขุ แก่ข่ ้า้ พเจ้้าทั้้ง� หลาย ตลอดกาลนานเทอญ ฯ คำถวายข้้าวสาร อิิมานิิ มะยััง ภัันเต, ตััณฑุุลานิิ, สะปะริิวารานิิ, ภิิกขุุสัังฆััสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภิกิ ขุุสังั โฆ, อิิมานิ,ิ ตััณฑุลุ านิิ, สะปะริิวารานิิ, ปะฏิคิ คััณหาตุุ, อัมั หากังั , ทีีฆะรััตตังั , หิิตายะ, สุขุ ายะ ฯ คำแปล ข้้าแต่่พระภิิกษุุสงฆ์์ผู้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ขอน้้อมถวายข้้าวสาร พร้้อมกัับของบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� แด่่พระภิิกษุุสงฆ์์ ขอพระภิิกษุุสงฆ์์จงรัับ ข้า้ วสาร พร้อ้ มกับั ของบริวิ าร ทั้้ง� หลายเหล่า่ นี้้ � ของข้า้ พเจ้า้ ทั้้ง� หลาย เพื่่อ� ประโยชน์์ เพื่่อ� ความสุุข แก่่ข้้าพเจ้า้ ทั้้�งหลาย ตลอดกาลนานเทอญ ฯ
พระวิินัยั ภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรับั ผู้บ�้ วชใหม่)่ 115 คำถวายผ้า้ อาบน้ำ้ ฝน อิิมานิิ มะยััง ภันั เต, วัสั สิิกะสาฏิกิ านิิ, สะปะริิวารานิิ, ภิกิ ขุสุ ัังฆัสั สะ, โอโณชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภิิกขุุสัังโฆ, อิิมานิิ, วััสสิิกะสาฏิิกานิิ, สะปะริิวารานิิ, ปะฏิิคคััณหาตุุ, อััมหากััญเจวะ, มาตาปิิตุุอาทีีนััญจะ, ปิิยะชะนานััง, ทีีฆะรััตตััง,หิิตายะ, สุุขายะ ฯ คำแปล ข้า้ แต่พ่ ระภิกิ ษุสุ งฆ์ผ์ู้�เจริญิ ข้า้ พเจ้า้ ทั้้ง� หลาย ขอน้อ้ มถวาย ผ้า้ อาบน้้ำฝน พร้้อมกัับของบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� แด่่พระภิิกษุุสงฆ์์ ขอพระภิิกษุุสงฆ์์จงรัับ ผ้า้ อาบน้้ำฝน พร้้อมกัับของบริวิ าร ทั้้�งหลายเหล่า่ นี้้ � ของข้า้ พเจ้้าทั้้ง� หลาย เพื่่�อ ประโยชน์์ เพื่่�อความสุุข แก่ข่ ้า้ พเจ้้าทั้้ง� หลายด้ว้ ย แก่ป่ ิยิ ชนทั้้ง� หลาย มีีมารดา บิิดาเป็็นต้้นด้้วย ตลอดกาลนานเทอญ ฯ คำถวายผ้า้ ป่า่ อิมิ านิิ, มะยััง ภันั เต, ปังั สุุกููละจีีวะรานิิ, สะปะริวิ ารานิ,ิ ภิิกขุสุ ัังฆััสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภิิกขุุสัังโฆ, อิิมานิิ, ปัังสุุกููละจีีวะรานิิ, สะปะริวิ ารานิิ, ปะฏิคิ คัณั หาตุุ, อััมหากังั , ทีีฆะรัตั ตังั , หิติ ายะ, สุุขายะ ฯ คำแปล ข้า้ แต่พ่ ระภิกิ ษุสุ งฆ์ผ์ู้�เจริญิ ข้า้ พเจ้า้ ทั้้ง� หลาย ขอน้อ้ มถวายผ้า้ บังั สุกุ ุลุ จีีวร พร้้อมกัับของบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� แก่พ่ ระภิกิ ษุุสงฆ์ ์ ขอพระภิิกษุุสงฆ์์ จงรับั ผ้้าบังั สุุกุุลจีีวร พร้้อมกับั ของบริิวาร ทั้้ง� หลายเหล่่านี้้�ของข้า้ พเจ้า้ ทั้้ง� หลาย เพื่่อ� ประโยชน์์ เพื่่อ� ความสุขุ แก่ข่ ้า้ พเจ้า้ ทั้้�งหลาย ตลอดกาลนานเทอญ ฯ
116 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ คำถวายเครื่�องอััฐบริขิ าร อิมิ านิิ มะยังั ภันั เต, อัฏั ฐะ, ปะริกิ ขาระวัตั ถูนู ิิ, สะปะริวิ ารานิิ, ภิกิ ขุุ สัังฆััสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภิิกขุุสัังโฆ, อิิมานิิ, อััฏฐะ, ปะริิกขาระวัตั ถููนิ,ิ สะปะริิวารานิิ, ปะฏิคิ คัณั หาตุ,ุ อััมหากัญั เจวะ, มาตาปิติ ุุ อาทีีนััญจะ, ปิิยะชะนานััง, ทีีฆะรัตั ตััง, หิิตายะ, สุุขายะ ฯ คำแปล ข้า้ แต่พ่ ระภิกิ ษุสุ งฆ์ผ์ู้�เจริญิ ข้า้ พเจ้า้ ทั้้ง� หลาย ขอน้อ้ มถวาย เครื่อ� งอัฐั บริขิ าร พร้อ้ มกับั ของบริิวารทั้้ง� หลายเหล่่านี้้� แก่่พระภิกิ ษุสุ งฆ์ ์ ขอพระภิิกษุุสงฆ์์ จงรัับ เครื่ �องอััฐบริิขาร พร้้อมกัับของบริิวาร ทั้้�งหลายเหล่่านี้้� ของข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย เพื่่อ� ประโยชน์์ เพื่่อ� ความสุขุ แก่ข่ ้า้ พเจ้า้ ทั้้ง� หลายด้ว้ ย แก่ป่ ิยิ ชนทั้้ง� หลาย มีีมารดา บิดิ าเป็น็ ต้น้ ด้้วย ตลอดกาลนานเทอญ ฯ
พระวินิ ััยภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรัับผู้้บ� วชใหม่)่ 117 คำถวายกุฎุ ีี ยััคเฆ ภัันเต สัังโฆ, ปะฏิิชานาตุุ, มะยังั ภัันเต, เอตานิิ, อาวะสะถานิ,ิ สะปะริิวารานิิ, จาตุุททิิสััสสะ, ภิิกขุุสัังฆััสสะ, อาคะตานาคะตััสสะ, อาวะสะถััตถายะ, พุุทธะสาสะเน, นิิยยาเทมะ, สาธุุ โน ภัันเต, อะยััง, จาตุุททิิสััสสะ, ภิิกขุุสัังฆััสสะ, อาคะตานาคะตััสสะ, อาวะสะถััตถายะ, อาวะสะถะทานััสสะ, อานิิสัังโส, อััมหากััญเจวะ, มาตาปิิตุุอาทีีนััญจะ, ปิิยะชะนานังั , ทีีฆะรัตั ตังั , หิติ ายะ, สุุขายะ, สังั วััตตะตุุ ฯ คำแปล ข้า้ แต่พ่ ระภิกิ ษุสุ งฆ์ผ์ู้�เจริญิ ขอพระภิกิ ษุสุ งฆ์จ์ งรับั ทราบ ข้า้ พเจ้า้ ทั้้ง� หลาย ขอมอบถวายกุุฎีี พร้้อมกัับของบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� ไว้้ในพระพุุทธศาสนา เพื่่อ� ประโยชน์์ เป็็นที่่อ� ยู่�อาศััย ของพระภิิกษุุสงฆ์์ ผู้้�อยู่�ในทิิศทั้้ง� ๔ ทั้้�งที่่�มาแล้้ว และยังั มิไิ ด้ม้ า ขออานิสิ งส์์ แห่ง่ การถวายกุฎุ ีี เพื่่อ� ประโยชน์์ เป็น็ ที่อ�่ ยู่�อาศัยั ของ พระภิกิ ษุสุ งฆ์ ์ผู้�อยู่�ในทิศิ ทั้้ง� ๔ ทั้้ง� ที่ม่� าแล้ว้ และยังั มิไิ ด้ม้ านี้้ � ของข้า้ พเจ้า้ ทั้้ง� หลาย จงเป็น็ ไป เพื่่อ� ประโยชน์์ เพื่่อ� ความสุขุ แก่ข่ ้า้ พเจ้า้ ทั้้ง� หลายด้ว้ ย แก่ป่ ิยิ ชนทั้้ง� หลาย มีีมารดาบิดิ าเป็็นต้น้ ด้้วย ตลอดกาลนานเทอญ ฯ
118 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ คำถวายเสนาสนะ-ที่�่นั่่ง� ที่�่นอนและอุุปกรณ์์ทุุกชนิดิ อิิมานิิ มะยััง ภัันเต, เสนาสะนานิิ, สะปะริิวารานิิ, จาตุุททิิสััสสะ, ภิิกขุุสัังฆััสสะ, อาคะตานาคะตััสสะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภิิกขุุสัังโฆ, อิิมานิิ, เสนาสะนานิิ, สะปะริิวารานิิ, ปะฏิิคคััณหาตุุ, อััมหากััญเจวะ, มาตาปิิตุุ อาทีีนัญั จะ, ปิยิ ะชะนานััง, ทีีฆะรัตั ตััง, หิติ ายะ, สุุขายะ, สังั วัตั ตะตุุ ฯ คำแปล ข้้าแต่่พระภิิกษุุสงฆ์์ผู้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ขอมอบถวายเสนาสนะ พร้้อมกัับของบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� ไว้้ในอาวาสนี้้� เพื่่�อประโยชน์์เป็็น เครื่�องใช้้สอย ของพระภิิกษุุสงฆ์์ ผู้้�อยู่�ในทิิศทั้้�ง ๔ ทั้้�งที่่�มาแล้้ว และยัังมิิได้้มา ขอพระภิิกษุุสงฆ์์ จงรัับเสนาสนะ พร้้อมกัับของบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� ของ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย เพื่่�อประโยชน์์ เพื่่�อความสุุขแก่่ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลายด้้วย แก่่ ปิิยชนทั้้ง� หลาย มีีมารดาบิิดาเป็น็ ต้น้ ด้้วย ตลอดกาลนานเทอญ ฯ
พระวินิ ััยภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรับั ผู้บ�้ วชใหม่)่ 119 คำถวายพััดลม ยััคเฆ ภัันเต สัังโฆ, ปะฏิชิ านาตุุ, มะยััง ภัันเต, เอตััง, ยัันตะวีีชะนััง, สะปะริิวารััง, จาตุุททิิสััสสะ, ภิิกขุุสัังฆััสสะ, อาคะตานาคะตััสสะ, มะหา ชะนัสั สะ จะ, สีีตะสัมั ปะทานััตถายะ, อิิมััสะมิงิ ฐาเน, นิิยยาเทมะ, สาธุุ โน ภัันเต, อะยััง, จาตุุททิิสสััสสะ เจวะ, ภิิกขุุสัังฆััสสะ, อาคะตานาคะตััสสะ, มะหาชะนััสสะ จะ, ตะสััมปะทานััตถายะ, ยัันตะวีีชะนิิยา, ทานััสสะ, อานิสิ ังั โส, อััมหากัญั เจวะ, มาตาปิิตุุอาทีีนัญั จะ, ปิยิ ะชะนานังั , ทีีฆะรััตตังั , หิติ ายะ, สุุขายะ, สัังวััตตะตุุ ฯ คำแปล ข้้าแต่่พระภิิกษุุสงฆ์์ผู้�เจริิญ ขอพระสงฆ์์จงรัับทราบ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ขอมอบถวายพััดลม พร้้อมกัับของบริิวารนี้้� ณ สถานนี้้� เพื่่�อประโยชน์์เป็็น เครื่�องให้้ความเย็็น แก่่พระภิิกษุุสงฆ์์ ผู้้�อยู่�ในทิิศทั้้�ง ๔ ทั้้�งที่่�มาแล้้ว และ ยังั มิไิ ด้ม้ า ขออานิสิ งส์แ์ ห่ง่ การถวายพัดั ลม เพื่่อ� ประโยชน์เ์ ป็น็ เครื่อ� งให้ค้ วามเย็น็ แก่่พระภิิกษุุสงฆ์์ผู้�อยู่�ในทิิศทั้้�ง ๔ ทั้้�งที่่�มาแล้้ว และยัังมิิได้้มาด้้วย แก่่มหาชน ด้้วยนี้้� ของข้้าพเจ้า้ ทั้้�งหลาย เพื่่�อประโยชน์์ เพื่่อ� ความสุุข แก่ข่ ้า้ พเจ้้าทั้้�งหลาย ด้้วย แก่่ปิิยชนทั้้�งหลาย มีีมารดาบิดิ าเป็็นต้้นด้้วย ตลอดกาลนานเทอญ ฯ
120 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ คำถวายเครื่อ� งขยายเสีียง ยััคเฆ ภัันเต สัังโฆ, ปะฏิิชานาตุุ, มะยััง ภัันเต, โฆสะนายัันตััง, สะปะริิวารััง, พุุทธะสาสะนิิกานััง, ธััมมะ, เทสะนููปะกะระณััตถายะ, สังั ฆัสั สะ, นิิยยาเทมะ, สาธุุ โน ภัันเต, อะยััง, พุทุ ธะสาสะนิกิ านััง, ธัมั มะ, เทสะนูปู ะกะระณััตถายะ, โฆสะนายันั ตััสสะ, ทานััสสะ, อานิิสังั โส, อััมหากััญ เจวะ, มาตาปิิตุุอาทีีนััญจะ, ปิิยะชะนานััง, ทีีฆะรััตตััง, หิิตายะ, สุุขายะ, สังั วัตั ตะตุุ ฯ คำแปล ข้้าแต่พ่ ระสงฆ์ผ์ู้�เจริญิ ขอพระสงฆ์จ์ งรับั ทราบ ข้้าพเจ้า้ ทั้้�งหลาย ขอมอบ ถวายเครื่�องขยายเสีียง พร้้อมกัับของบริิวารนี้้� แก่่พระสงฆ์์ เพื่่อ� ประโยชน์์เป็็น อุปุ กรณ์แ์ ก่ก่ ารแสดงธรรม แก่พ่ ุทุ ธศาสนิกิ ชนทั้้ง� หลาย ขออานิสิ งส์แ์ ห่ง่ การถวาย เครื่อ� งขายเสีียง เพื่่อ� เป็น็ ประโยชน์อ์ ุปุ กรณ์์ แก่ก่ ารแสดงธรรม แก่พ่ ุทุ ธศาสนิกิ ชน ทั้้ง� หลายนี้้ � ของข้า้ พเจ้า้ ทั้้ง� หลาย จงเป็น็ ไป เพื่่อ� ประโยชน์์ เพื่่อ� ความสุขุ แก่ข่ ้า้ พเจ้า้ ทั้้�งหลายด้้วย แก่่ปิิยชนทั้้�งหลาย มีีมารดาบิิดาเป็็นต้้นด้้วย ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ
พระวิินััยภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรับั ผู้้บ� วชใหม่)่ 121 คำกล่า่ วกัปั ปิยิ ะ (ถวายอาหารที่่�มีีเมล็ด็ ) วิิธีีการทำกััปปิิยะ คืือ นำผัักหรืือผลไม้้ที่่�ต้้องทำกััปปิิยะมาวาง ตรงหน้า้ พระ แล้ว้ พระท่่านจะถามว่า่ กัปั ปิิยังั กะโรหิิ แปลว่า่ ทำให้้สมควรแล้้ว หรือื โยม อุบุ าสก อุบุ าสิกิ าหรือื สามเณรจะใช้เ้ ล็บ็ เด็ด็ หรือื มีดี ตัดั ผักั ผลไม้้ ๑ ผล ให้้ขาดออกจากกััน พร้อ้ มกัับพูดู ว่่า กััปปิยิ ััง ภัันเต แปลว่่า ทำให้้สมควรแล้้ว การทำกัปั ปิยิ ะกับั พืชื หรือื ผลไม้เ้ พีียงต้น้ เดีียวหรือื ลูกู เดีียว จะมีผี ลทำให้พ้ ระฉันั พืืชหรือื ผลนั้้�นได้้ทั้้ง� จานหรืือทั้้�งถาด
ภาคผนวก
124 งานกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ กฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ รับั เป็น็ เจ้า้ ภาพทอดกฐินิ ประจำปีี ณ วัดั ป่า่ ภูตู ะคาม บ้้านภูตู ะคาม ตำบลท่า่ ศิลิ า อำเภอส่่องดาว จัังหวััดสกลนคร ในวันั เสาร์ท์ ี่�่ ๖ และอาทิติ ย์ท์ ี่�่ ๗ พฤศจิกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ในการนี้้� รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ ชาญชัยั พานทองวิิริิยะกุลุ อธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยขอนแก่่น รองศาสตราจารย์์ ดร.นิยิ ม วงศ์พ์ งษ์ค์ ำ รองอธิกิ ารบดีีฝ่า่ ยศิลิ ปวัฒั นธรรมและเศรษฐกิจิ สร้า้ งสรรค์์ พร้้อมคณะได้้เดิินทางไปนมััสการคณะสงฆ์์ วััดป่่าภููตะคาม เพื่่�อปัักกฐิินตาม ฮีีตคองประเพณีีดั้้ง� เดิมิ เมื่อ� วันั ที่�่ ๑๙ กันั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๔ วััดป่า่ ภูตู ะคาม มีีพระอาจารย์์ทองปาน จารุวุ ัณั โณ เป็น็ เจ้า้ อาวาส และ มีีพระสงฆ์จ์ ำพรรษา ณ พรรษากาลนี้้� จำนวน ๙ รููป อาวาสแห่่งนี้้�เป็็นวัดั ป่่าสาย พระอาจารย์ม์ั่่�น ภููริิทััตโต มีกี ารสอนฝึกึ ปฏิิบััติิธรรมตามวาระและโอกาสต่า่ ง ๆ รวมทั้้�งเป็็นวััดที่�่มีีความโดดเด่่นในด้้านสาธารณสงเคราะห์์ เช่่น การสนัับสนุุน การสร้้างโรงพยาบาลต่่าง ๆ และสงเคราะห์์พุุทธศาสนิิกชนในด้้านอื่น� ๆ ในโอกาสอัันเป็็นมงคลสมััยนี้้� จึึงขอเชิิญชวนคณาจารย์์ เจ้้าหน้้าที่่� พนัักงาน นัักศึึกษาและพุุทธศาสนิิกชนทั่่�วไป ร่่วมบุญุ ร่่วมอนุโุ มทนากฐินิ โดย พร้อ้ มเพรีียงกััน สาธุุ สาธุุ ฝููงผู้้�ข้้าทั้้�งหลายหมายมีี อธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยขอนแก่่น รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ช์ าญชัยั พานทองวิริ ิยิ ะกุลุ พร้้อมด้ว้ ยคณาจารย์์ ข้้าราชการ พนัักงาน บุุคลากร นัักศึึกษา ได้้มีีจิิตศรััทธาเลื่�อมใสในบวร พระพุุทธศาสนา จึึงพร้้อมเพรีียงกัันมาตั้ �งกองกฐิินมหาวิิทยาลััยขึ้�้นที่�่วััดป่่า ภูตู ะคาม บ้า้ นภูตู ะคาม ตำบลท่า่ ศิลิ า อำเภอส่อ่ งดาว จังั หวัดั สกลนคร เพื่่อ� จักั ได้้
พระวินิ ััยภาคปฏิบิ ัตั ิิ (สำหรับั ผู้้บ� วชใหม่่) 125 ทอดถวายแด่่พระภิิกษุุสงฆ์์ผู้�อยู่�จำพรรษาสามเดืือนถ้้วนไตรมาส ณ อาราม วััดป่่าภููตะคาม บ้้านภููตะคามแห่่งนี้้� วัันที่�่ ๖-๗ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ตรงกับั วันั ขึ้น�้ ๒ และ ๓ ค่่ำ เดือื น ๑๒ เวลา ๐๗.๓๐ น. เป็น็ ต้้นไป ด้ว้ ยเจตนาอันั บริสิ ุทุ ธิ์น�ี้้ � ฝูงู ข้า้ ทั้้ง� หลาย จึึงขออาราธนานิมิ นต์ ์ พระภิกิ ษุสุ งฆ์์ ทุุกรููปในอารามแห่่งนี้้� ได้้อยู่�ร่วมอนุุโมทนาซึ่่�งผ้า้ กฐิินทาน ของฝููงผู้้�ข้้าทั้้�งหลาย ด้ว้ ยเทอญ
126 งานกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔
รายนามผู้�้บริหิ าร บุคุ ลากร และผู้้�มีจี ิติ ศรััทธา เจ้้าภาพบริิวารกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔
128 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ รายนามผู้บ�้ ริหิ าร บุคุ ลากร และผู้้�มีีจิติ ศรััทธา เจ้า้ ภาพบริิวารกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ ณ วัดั ป่า่ ภูตู ะคาม ตำบลท่่าศิิลา อำเภอส่อ่ งดาว จัังหวััดสกลนคร ลำดับั ที่่� ชื่่อ� –สกุุล ตำแหน่่ง/สังั กััด รายการ ๑ รองศาสตราจารย์์ นพ.ชาญชัยั อธิิการบดีี ผ้า้ ขาวซันั ฟอไรซ์์ พานทองวิิริิยะกุลุ มหาวิิทยาลััย ๓๐ หลา ขอนแก่น่ เข็็มจักั ร ด้า้ ย ๑๒ สีี ๒ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ๑ ไม้้ ๒,๒๐๐ บาท นพ.ธรา ธรรมโรจน์์ รองอธิิการบดีี ตาลปัตั รไหมไทย ฝ่่ายบริหิ าร ปักั โลโก้้ มข. ด้้ามมุุก ๒ เล่ม่ ๓,๐๐๐ บาท ชุุดไทยธรรมชุุดพิิเศษ ชุุดที่�่ ๑ จำนวน ๑ ชุดุ ๑,๒๐๐ บาท บาตร ๙ นิ้้ว� พร้อ้ มขาหวาย เสื้อ� โทเร ๑ ชุดุ ๑,๒๙๐ บาท ผ้า้ ห่ม่ นวม ๗๐*๙๐ ซม. ๑๐ ผืืน ๓,๕๐๐ บาท
พระวินิ ัยั ภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรัับผู้้�บวชใหม่)่ 129 ลำดับั ที่่� ชื่่�อ–สกุุล ตำแหน่ง่ /สังั กััด รายการ เสื่อ� ยางพารายาว ๑๐ เมตร ๑ ผืนื ๙๐๐ บาท ช้อ้ น ส้อ้ ม พร้อ้ มกระเป๋า๋ และจานใส่ถ่ ุุงทอง ๑ ชุดุ ๑๑๐ บาท ๓ รองศาสตราจารย์์ รองอธิกิ ารบดีีฝ่า่ ย หมอนอิงิ ไหม อาสนะ ดร.นิยิ ม วงศ์์พงษ์์คำ ศิิลปวััฒนธรรม ไหมไทยปักั โลโก้้ ๑ ชุุด และเศรษฐกิจิ ๑,๙๐๐ บาท สร้้างสรรค์์ ๔ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ รองอธิกิ ารบดีี ตาลปัตั รไหมไทยปักั อาวุุธ ยิ้้�มแต้้ ฝ่า่ ยโครงสร้้าง โลโก้ ้ มข. พื้้น� ฐานและ ด้า้ มมุกุ ๑ เล่ม่ สิ่�งแวดล้อ้ ม ๑,๕๐๐ บาท ๕ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ รองอธิิการบดีี ผ้า้ ห่ม่ นวม ๗๐*๙๐ ซม. ดร.เด่่นพงษ์์ สุดุ ภักั ดีี ฝ่า่ ยดิิจิทิ ัลั ๕ ผืืน ๑,๗๕๐ บาท ช้อ้ นแกง ๑ กุุรุุส ๒๕๐ บาท ๖ ศาสตราจารย์์ รองอธิกิ ารบดีี เตาแก๊ส๊ ลักั กี้�เฟรม ดร.มนต์์ชัยั ดวงจิินดา ฝ่่ายวิิจัยั และ ๑ ตััว ๓,๘๐๐ บาท บััณฑิิตศึึกษา
130 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ ลำดับั ที่่� ชื่่อ� –สกุุล ตำแหน่่ง/สังั กัดั รายการ ๗ รองศาสตราจารย์์ รองอธิกิ ารบดีี เสื่�อยางพารายาว ดร.เกรีียงไกร กิจิ เจริิญ ฝ่า่ ยทรััพยากร ๑๐ เมตร ๒ ผืนื บุุคคล ๑,๘๐๐ บาท ๘ รองศาสตราจารย์์ รองอธิกิ ารบดีี หมอนอิิงไหม ดร.ไมตรีี อินิ ทร์ป์ ระสิทิ ธิ์� ฝ่า่ ยการศึึกษา อาสนะไหมไทย และบริกิ าร ปักั โลโก้้ ๑ ชุุด วิชิ าการ ๑,๙๐๐ บาท ๙ ศาสตราจารย์์ รองอธิิการบดีี กระบะมุุกพร้อ้ ม ดร.ธิดิ ารัตั น์์ บุญุ มาศ ฝ่า่ ยนวัตั กรรม ถ้ว้ ยทอง ๑ ชุุด และวิสิ าหกิจิ ๑,๒๙๐ บาท ๑๐ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ผู้�ช่ว่ ยอธิิการบดีี ตาลปัตั รไหมไทย ดร.พิพิ ัธั น์์ เรือื งแสง ฝ่า่ ยดิจิ ิทิ ัลั ปัักโลโก้ ้ มข. ด้้ามมุุก ๑ เล่ม่ ๑,๕๐๐ บาท ๑๑ ผู้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ผู้�ช่ว่ ยอธิกิ ารบดีี ผ้้าไตรโทเร ๒*๓ เมตร ดร.สมพงษ์ ์ สิิทธิิพรหม ฝ่่ายรัักษา ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท ความปลอดภัยั ๑๒ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ผู้�ช่่วยอธิิการบดีี ผ้้าไตรโทเร ๒*๓ เมตร นพ.ศัักดา วราอััศวปติิ ฝ่า่ ยวางแผนและ ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท พัฒั นาคุุณภาพ
พระวินิ ัยั ภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรับั ผู้บ�้ วชใหม่)่ 131 ลำดับั ที่่� ชื่่�อ–สกุลุ ตำแหน่่ง/สัังกััด รายการ ๑๓ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ผู้�ช่่วยอธิิการบดีี ย่่ามไหมไทยปัักโลโก้้ ณัฐั พัชั ญ์ ์ อนัันต์ธ์ ีีระกุุล ฝ่่ายการศึึกษา มข. ๑ ใบ ๖๕๐ บาท และบริิการ วิชิ าการ ๑๔ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ผู้�ช่ว่ ยอธิิการบดีี รองเท้า้ หนังั ๑ คู่่� นริินทร์์ จัันทร์ศ์ รีี ฝ่่ายพััฒนา ๔๕๐ บาท นัักศึึกษาและ ย่า่ มไหมไทยปักั โลโก้้ ศิษิ ย์เ์ ก่า่ สัมั พันั ธ์์ มข. ๑ ใบ ๖๕๐ บาท ๑๕ ศาสตราจารย์์ ผู้�ช่ว่ ยอธิิการบดีี รองเท้า้ หนังั ๑ คู่่� พญ.ผิวิ พรรณ มาลีีวงษ์์ ฝ่า่ ยวิจิ ัยั และ ๔๕๐ บาท บััณฑิติ ศึึกษา หมอนอิงิ ไหม อาสนะไหมไทย ปักั โลโก้้ ๑ ชุุด ๑,๙๐๐ บาท ย่า่ มไหมไทยปักั โลโก้้ มข. ๑ ใบ ๖๕๐บาท เสื่อ� ยางพารายาว ๑๐ เมตร ๑ ผืนื ๙๐๐ บาท มุ้ �งครอบ สีีพระราช นิยิ ม ๑ หลััง ๔๒๐ บาท
132 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ ลำดับั ที่่� ชื่่�อ–สกุุล ตำแหน่ง่ /สัังกัดั รายการ ๑๖ ดร.กิิตติสิ ัันต์์ ศรีีรัักษา ผู้�ช่่วยอธิิการบดีี ผ้้าไตรโทเร ๒*๓ เมตร ฝ่า่ ยศิลิ ปวัฒั นธรรม ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท และเศรษฐกิจิ สร้า้ งสรรค์์ ๑๗ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ผู้�ช่่วยอธิิการบดีี ผ้้าไตรโทเร ๒*๓ เมตร ดร.ปิิยะวััชร ฝอยทอง ฝ่า่ ยโครงสร้้าง ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท พื้้�นฐานและ สิ่ง� แวดล้้อม ๑๘ อาจารย์์ศิิรประภา ผู้�ช่ว่ ยอธิิการบดีี หม้อ้ แกง ๔๐ ซม. บำรุุงกิิจ ฝ่า่ ยบริิหาร ๑,๑๐๐ บาท ทรัพั ย์์สินิ ๑๙ รองศาสตราจารย์์ คณบดีีคณะ เสื่�อยางพารายาว ดร.ชููพงษ์์ ทองคำสมุุทร สถาปัตั ยกรรม- ๑๐ เมตร ๑ ผืนื ศาสตร์์ ๙๐๐ บาท ถาดสเตนเลส ๔๐ ซม. ๑ ใบ ๑๐๐ บาท ๒๐ ศาสตราจารย์์ คณบดีีคณะ หมอนอิิงไหม ดร.สมปอง วิทิ ยศาสตร์์ อาสนะไหมไทย คล้้ายหนองสรวง ปัักโลโก้้ ๑ ชุุด ๑,๙๐๐ บาท ๒๑ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ คณบดีีคณะ เสื่อ� ยางพารายาว ดร.บุุริินทร์ ์ เปล่่งดีีสกุุล ศิลิ ปกรรมศาสตร์์ ๑๐ เมตร ๑ ผืนื ๙๐๐ บาท
พระวิินััยภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรัับผู้้�บวชใหม่)่ 133 ลำดับั ที่�่ ชื่่�อ–สกุุล ตำแหน่่ง/สัังกััด รายการ ๒๒ รองศาสตราจารย์์ คณบดีีวิทิ ยาลััย ย่า่ มไหมไทยปัักโลโก้้ ดร.พีีรสิิทธิ์� คำนวณศิลิ ป์์ การปกครอง มข. ๑ ใบ ท้อ้ งถิ่น� ๖๕๐ บาท ๒๓ รองศาสตราจารย์์ คณบดีีคณะ ตาลปััตรไหมไทย ดร.อรทััย เพีียยุรุ ะ มนุุษยศาสตร์์ ปักั โลโก้ ้ มข. และสังั คมศาสตร์์ ด้้ามมุกุ ๑ เล่ม่ ๑,๕๐๐ บาท หมอนอิงิ ไหม อาสนะไหมไทย ปักั โลโก้้ ๑ ชุุด ๑,๙๐๐ บาท ผ้้าไตรโทเร ๒*๓ เมตร ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท ร่่ม ๓๐ นิ้้ว� สีีพระราชนิยิ ม ๑ คััน ๑๙๐ บาท ชุุดไทยธรรมพิเิ ศษ ชุุดที่�่ ๒ จำนวน ๑ ชุุด ๑,๔๐๐ บาท ๒๔ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ คณบดีีคณะ ผ้้าไตรโทเร ๒*๓ เมตร ดร.อารยา เชาว์เ์ รือื งฤทธิ์� เทคโนโลยีี ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท
134 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ลำดับั ที่�่ ชื่่อ� –สกุุล ตำแหน่่ง/สัังกััด รายการ ๒๕ รองศาสตราจารย์์ คณบดีี ผ้้าขาวซัันฟอไรซ์์ ดร.เพ็ญ็ ศรีี เจริิญวานิชิ คณะบริหิ ารธุรุ กิจิ ๓๐ หลา และการบัญั ชีี เข็็มจักั ร ด้า้ ย ๑๒ สีี ๑ ไม้้ ๒,๒๐๐ บาท ๒๖ รองศาสตราจารย์์ คณบดีี หมอนอิิงไหม ทพญ. ดร.วรานุชุ คณะทัันต- อาสนะไหมไทย ปิิติิพัฒั น์์ แพทยศาสตร์์ ปักั โลโก้้ ๑ ชุดุ คณบดีีคณะ ๑,๙๐๐ บาท ๒๗ รองศาสตราจารย์์ ศึึกษาศาสตร์์ หมอนอิิงไหม ดร.สุมุ าลีี ชััยเจริิญ อาสนะไหมไทย คณบดีี ปัักโลโก้้ ๒ ชุดุ ๒๘ รองศาสตราจารย์์ คณะสัตั ว- ๓,๘๐๐ บาท น.สพ. ดร.บัณั ฑิิตย์์ แพทยศาสตร์์ ย่า่ มไหมไทยปัักโลโก้้ เต็ง็ เจริญิ สกุุล มข. ๒ ใบ ๑,๓๐๐ บาท ชุุดไทยธรรมถุุงตาข่า่ ย ๑๔ ชุดุ ๗,๗๐๐ บาท ผ้า้ เช็ด็ ตัวั ๓๐*๖๐ เมตร ผ้้าเช็็ดหน้้า ๑๒*๑๒ เมตร สีีพระราชนิยิ ม ๑๑ ชุุด ๑,๙๘๐ บาท ถังั น้้ำพลาสติกิ ในห้อ้ งน้้ำ ๘ ใบ ๑,๒๐๐ บาท
พระวินิ ัยั ภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรัับผู้บ้� วชใหม่่) 135 ลำดับั ที่�่ ชื่่อ� –สกุลุ ตำแหน่่ง/สังั กัดั รายการ ๒๙ รองศาสตราจารย์์ คณบดีีคณะ หมอนอิงิ ไหม ดร.ไพบููลย์์ ดาวสดใส เภสััชศาสตร์์ อาสนะไหมไทย ปัักโลโก้้ ๑ ชุุด ๑,๙๐๐ บาท ๓๐ รองศาสตราจารย์์ คณบดีีวิิทยาลััย ชุดุ เครื่อ� งโยธา ดร.ลำปาง แม่น่ มาตย์์ บััณฑิติ ศึึกษา เลื่อ� ยไฟฟ้า้ ๑ ชุดุ การจัดั การ ๕,๕๐๐ บาท ๓๑ ศาสตราจารย์์ คณบดีีบัณั ฑิติ ผ้้าไตรโทเร ๒*๓ เมตร ดร.สุรุ ศักั ดิ์ � วงศ์ร์ ัตั นชีีวินิ วิิทยาลััย ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท ๓๒ รองศาสตราจารย์์ รองคณบดีีฝ่่าย ตาลปัตั รไหมไทย ดร.พงศกร บริิหาร วางแผน ปักั โลโก้ ้ มข. ด้า้ มมุกุ พรรณรัตั นศิลิ ป์์ และพััฒนา ๑ เล่ม่ ๑,๕๐๐ บาท คุณุ ภาพ บัณั ฑิติ วิิทยาลััย ๓๓ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ รองคณบดีีฝ่า่ ย เสื่อ� ยางพารายาว ดร.ปรีีชาวุฒุ ิ ิ อภิริ ะติงิ ศิิลปวััฒนธรรม ๑๐ เมตร ๑ ผืืน และเศรษฐกิิจ ๙๐๐ บาท สร้า้ งสรรค์์ คณะศิิลปกรรม- ศาสตร์์
136 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ ลำดับั ที่่� ชื่่อ� –สกุุล ตำแหน่ง่ /สัังกััด รายการ ๓๔ ผู้�ช่่วยศาสตราจารย์์ รองคณบดีีฝ่า่ ย กระติกิ น้้ำร้้อน ๑ ใบ ดร.วิริ ัชั วงศ์ภ์ ินิ ันั ท์ว์ ัฒั นา วิิชาการและ ๗๐๐ บาท การต่า่ งประเทศ กระเป๋า๋ อเนกประสงค์์ คณะมนุษุ ยศาสตร์์ ๑ ใบ ๓๐๐ บาท และสังั คมศาสตร์์ ๓๕ ผู้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ รองคณบดีีฝ่่าย หม้อ้ แกง ๔๐ ซม. ดร.วณิชิ ชา ณรงค์์ชัยั แผนยุทุ ธศาสตร์์ ๑ ใบ ๑,๑๐๐ บาท และวิิจััยคณะ กระทะใหญ่่ ๓๐ นิ้้ว� มนุุษยศาสตร์์ ๑ ใบ ๑,๒๐๐ บาท และสังั คมศาสตร์์ ช้อ้ น ส้อ้ ม พร้อ้ มกระเป๋า๋ และจานใส่ถ่ ุงุ ทอง ๑ ชุดุ ๑๐๐ บาท ขัันพลาสติิก ๕ ใบ ๕๐ บาท ๓๖ ผู้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ผู้�ช่ว่ ยคณบดีีฝ่า่ ย ขาตั้ง� ตาลปัตั ร แบบมุุก ดร.ธนพฤกษ์์ ชามะรัตั น์์ วิิชาการและการ ๑ ตััว ๑,๓๙๐ บาท ต่่างประเทศ สััปทน ตาดดอก คณะมนุษุ ยศาสตร์์ สีีเหลืืองทองปักั ๑ คััน และสังั คมศาสตร์์ ๑,๕๙๐ บาท ๓๗ ผู้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ผู้�ช่ว่ ยคณบดีีฝ่า่ ย ขันั สเตนเลส ๑๐ ใบ วััสมิิลล์์ วััชระกวีีศิิลป ศิลิ ปวัฒั นธรรม ๑,๐๐๐ บาท และศิษิ ย์์เก่่า สััมพันั ธ์์
พระวินิ ัยั ภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรัับผู้้บ� วชใหม่่) 137 ลำดับั ที่่� ชื่่อ� –สกุลุ ตำแหน่ง่ /สัังกัดั รายการ ๓๘ ดร.กิติ ติ์์ � เธีียรธโนปจััย ผู้�อำนวยการ มุ้�งครอบ สีีพระราชนิยิ ม สำนัักเทคโนโลยีี ๑ หลััง ๔๒๐ บาท ดิิจิทิ ััล ธงกฐินิ เต่า่ จระเข้้ มััจฉา ตะขาบ ๑ ชุดุ ๖๐๐ บาท ๓๙ รองศาสตราจารย์์ ผู้ �อำนวยการ ย่่ามไหมไทยปััก ดร.ชูชู าติ ิ กมลเลิศิ สำนักั บริกิ าร โลโก้้ มข. ๑ ใบ วิชิ าการ ๖๕๐ บาท ๔๐ รองศาสตราจารย์์ รองผู้�อำนวยการ ผ้า้ ไตรโทเร ๒*๓ เมตร น.สพ. ดร.สุุวิิทย์์ อุปุ สััย ฝ่่ายวิิชาการ ๓ ไตร ๓,๖๐๐ บาท สำนักั บริกิ าร วิิชาการ ๔๑ นางสาวสุุนิภิ า ไสวเงินิ ผู้�อำนวยการ ตาลปัตั รไหมไทยปักั สำนักั งาน โลโก้ ้ มข. อธิกิ ารบดีี ด้า้ มมุุก ๑ เล่ม่ ๑,๕๐๐ บาท ๔๒ นางพรรณีี ศัักดิ์ท� ััศนา ผู้�อำนวยการ ผ้า้ ไตรโทเร ๒*๓ เมตร กองคลังั ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท ๔๓ นายธััญญา ภักั ดีี ผู้�อำนวยการกอง หมอนอิงิ ไหม อาสนะ บริิหารงานกลาง ไหมไทยปักั โลโก้้ ๑ ชุุด ๑,๙๐๐ บาท
138 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ลำดับั ที่่� ชื่่�อ–สกุุล ตำแหน่่ง/สัังกััด รายการ ๔๔ นางสุภุ ารััตน์์ มูลู ศรีี ผู้�อำนวยการ เสื่�อยางพารายาว สำนักั งานสภา ๑๐ เมตร ๑ ผืืน มหาวิทิ ยาลัยั ๙๐๐ บาท ๔๕ ดร.ลััดดาวัลั ย์์ สีีพาชัยั ผู้�อำนวยการศูนู ย์์ รองเท้้าหนังั ๑ คู่่� ศิิลปวััฒนธรรม ๔๕๐ บาท ๔๖ นางสาวกานต์์ธิิดา รองผู้�อำนวยการ รองเท้า้ หนังั ๑ คู่่� บุุญเสริิม ศูนู ย์ศ์ ิลิ ป- ๔๕๐ บาท วัฒั นธรรม ๔๗ ศาสตราจารย์์ ผู้ �อำนวยการ ย่่ามไหมไทย ดร.กุุลธิิดา ท้้วมสุขุ ศูนู ย์ว์ ิิจััย ปัักโลโก้ ้ มข. ๒ ใบ และครอบครััว นวััตกรรม ๑,๓๐๐ บาท การเรีียนรู้� แบบสมาร์์ต ๔๘ นางเพ็็ญนภา วัันสาสืืบ ผู้�อำนวยการ กระบะมุกุ พร้้อม กองบริิหารงาน ถ้้วยทอง ๑ ชุุด คณะมนุษุ ยศาสตร์์ ๑,๒๙๐ บาท และสังั คมศาสตร์์ ๔๙ ผู้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ คณะ ย่่ามไหมไทย ดร.หอมหวล บัวั ระภา มนุุษยศาสตร์์ ปักั โลโก้้ มข. ๑ ใบ และสังั คมศาสตร์์ ๖๕๐ บาท
พระวินิ ััยภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรับั ผู้บ้� วชใหม่)่ 139 ลำดับั ที่�่ ชื่่�อ–สกุลุ ตำแหน่่ง/สัังกััด รายการ ๕๐ นายพัันธ์ศ์ ัักดิ์ � กองคลััง ผ้้าไตรโทเร ๒*๓ เมตร เศรษฐจรรยา ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท ผ้า้ ไตรโทเร ๒*๓ เมตร ๕๑ นางยุพุ า เศรษฐจรรยา กองคลััง ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท ร่่ม ๓๐ นิ้้�ว ๒ คันั ๕๒ นางจิิตติิมา อินิ ธิิราช กองคลััง ๓๘๐ บาท ๕๓ นางสาวมััลลิิกา แก้ว้ เกิิด กองคลังั ธููป เทีียน ๑ ชุุด ๒๐๐ บาท ๕๔ นางสาวสุพุ ัตั รา ก้อ้ นชาลีี กองคลังั ผ้้าเช็็ดตััว ๓๐*๖๐ นิ้้�ว ผ้า้ เช็ด็ หน้า้ ๑๒*๑๒ นิ้้ว� ๑ ผืนื ๑๘๐ บาท ๕๕ นางกฤษณา สุนุ ทรไชยา คณะ กระบะมุกุ พร้้อม เศรษฐศาสตร์์ ถ้้วยทอง ๑ ชุดุ ๑,๒๙๐ บาท ๕๖ นางหอมหวล นาถ้้ำเพชร บัณั ฑิติ วิิทยาลัยั ผ้า้ ไตรโทเร ๒*๓ เมตร ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท ช้อ้ น ส้อ้ ม พร้อ้ มกระเป๋า๋ และจานใส่ถ่ ุงุ ทอง ๑ ชุุด ๑๐๐ บาท
140 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ลำดับั ที่�่ ชื่่�อ–สกุลุ ตำแหน่ง่ /สัังกััด รายการ ๕๗ นางสาวศิิตธีีรา สโมสร บัณั ฑิติ วิทิ ยาลััย หมอนหนุุน ๑ ใบ ๔๕๐ บาท ๕๘ นางสาวเสาวภา สโมสร บัณั ฑิติ วิทิ ยาลััย ชุดุ ไทยธรรมถุงุ ตาข่า่ ย ๑ ชุุด ๕๕๐ บาท ๕๙ นางสาวฌานีี สโมสร บััณฑิิตวิทิ ยาลัยั บาตรสเตนเลส ๙ นิ้้ว� ขาหวาย เสื้�อโทเร ๑ ชุดุ ๑,๒๙๐ บาท ๖๐ นางพููล ใยสุ่�น บััณฑิิตวิทิ ยาลััย ผ้า้ ห่ม่ นวม ๗๐*๙๐ ซม. สีีพระราชนิิยม ๑ ผืืน ๓๕๐ บาท ๖๑ นางสาวศรัณั ยา แซ่่จััง บัณั ฑิิตวิิทยาลััย ถังั น้้ำพลาสติกิ ในห้้องน้้ำ ๑ ใบ ๑๕๐ บาท ๖๒ นางพาณิภิ ัคั พระชััย บััณฑิติ วิทิ ยาลัยั ที่น่� อนพระ ยาว ๒ เมตร ๑ ผืืน ๔๐๐ บาท ๖๓ นางสาววรรณิิศา สีีเรืือง บัณั ฑิติ วิิทยาลัยั ช้อ้ น ส้อ้ มพร้อ้ มกระเป๋า๋ และจานใส่ถ่ ุุงทอง ๑ ชุดุ ๑๐๐ บาท
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184