Content หมวดที่ 1 ทำควำมรู้จกั ITTHI หมวดที่ 2 บุคคลำกร ITTHI หมวดท่ี 3 ข้อบงั คบั เกีย่ วกับกำรทำงำน หมวดท่ี 4 สวสั ดกิ ำรพนกั งำน หมวดที่ 5 นโยบำยต่ำงๆ ของบรษิ ทั
ส ำ ร จ ำ ก ค ณ ะ ผู้ บ ริ ห ำ ร การวาง แ ผนง บ ป ระมาณ ใ นไตรมาสที่ 3 ตลอดระยะเวลากว่ายี่สิบปีท่ีผ่านมา ITTHI มุ่งม่ันท่ีจะพัฒนาและดาเนินธุรกิจ ให้เจริญก้าวหน้าโดยยึดหลักความโปร่งใส ได้มาตรฐาน ต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของคุณธรรม จริยธรรมและจรรณยาบรรณเป็นแนวทางการดาเนินธุรกิจเสมอมา บริษัท อิทธิฤทธ์ิ ไนซ์ คอร์ปอเรช่ัน จากัด (มหาชน) จึงได้ดาเนินการจัดทาคู่มือ พนักงาน ITTHI โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้พนักงานของบริษัทฯ ทุกท่าน มีความรู้ ความเข้าใจในกฎระเบียบ ข้อบังคับในการทางาน นโยบาย สวัสดิการต่างๆท่ีบริษัทฯ จัดให้ ตลอจนนาไปยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ในกาลนี้ บริษัทฯ ถือว่าพนักงานทุกท่านได้รับทราบ และเข้าใจคู่มือพนักงาน ITTHI ฉบับนี้แล้วและคู่มือพนักงาน ITTHI นี้อาจมีการแก้ไข เปลี่ยนแปลงได้ตามความ เหมาะสม ดังนั้นพนักงานทุกท่านจึงควรติดตามประกาศและกฎระเบียบต่างๆ ที่บริษัท ฯจะแจ้งให้ทราบต่อไป หากกรณีมีข้อสงสัยขอให้ดาเนินการสอบถามได้ท่ีฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ของบริษัทฯ เ ฮ มั น ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ แ ล็ บ ส์ ตุลาคม 2565 ห น้ า 0 8
หมวดท่ี 1 ทำควำมรูจ้ กั ITTHI
คู่มือพนักงาน COMPANY PROFILE ปี 2542 จดทะเบยี น ชอ่ื หจก.อทิ ธฤิ ทธิอ์ เิ ลคตรคิ เร่มิ ผลติ สนิ ค้ำประเภท สว่ นประกอบโคมไฟ ให้กับโรงงำนและร้ำนค้ำ จำหน่ำยโคมไป ท่ัวประเทศ ด้วยเงินทุนจดทะเบียนเร่ิมต้น 500,000 บำท และดำเนินกิจกำรเรื่อยมำ จนได้เป็นตัวแทนกำรขำย สินค้ำ ใหก้ ับหลำยแบรนดช์ ้ันนำ เชน่ Siemens, Philips ภำยใตแ้ บรนด์ อิทธฤิ ทธิ์ (ITTHIRIT) ปี 2545 ไดม้ กี ำรขยำยโรงงำนไปตำ่ งประเทศ และนำเข้ำสินค้ำจำกต่ำงประเทศ เพื่อขยำยศักยภำพต้นทุน รำคำ และพัฒนำสินค้ำ ให้ตรงกับควำมต้องกำรของตลำด และมีกำรเปล่ียนชื่ออแบรนด์ จำก อิทธิฤทธิ์ (ITTHIRIT) เปน็ ไลท์ทรโี อ (LIGHTTRIO) ได้มีกำรขำยเขำ้ โครงกำรอสงั หำริมทรพั ยช์ ้ันนำในประเทศ ปี 2553 ได้ย้ำยท่ีตงั้ มำอย่ทู ่ี ต.พันท้ำยนรสิงห์ จ.สมุทรสำคร จนถงึ ปัจจบุ ัน ซ่ึงใชเ้ ปน็ โรงงำนคลังสินค้ำ Showroom และสำนกั งำน บนพนื้ ท่ีประมำณ 10,000 ตรม. ปี 2557 เปลย่ี นช่ือจำก ห้ำงหุน้ ส่วนจำกัด เปน็ บริษัท อทิ ธฤิ ทธ์ อเิ ลคตริค จำกดั และไดม้ กี ำรนำเทคโนโลยี สมยั ใหม่พวก Sola Cell ระบบ Smart Lighting เข้ำมำขำยให้กับโครงกำรมำกกว่ำ 1000 โครงกำรในประเทศ ปี 2560 ได้รบั เครอ่ื งหมำยมำตรฐำนอุตสำหกรรม <มอก.1955-2551> เปน็ ผู้ผลติ และจำหนำ่ ยโคมไฟ ปี 2561 ไดร้ ับมำตรฐำน ISO 9001:2015 และไดพ้ ัฒนำกลมุ่ สนิ คำ้ ใหม่ใหส้ อดคล้องกับควำมตอ้ งกำรของตลำดและ อยใู่ นฐำนลูกคำ้ ปัจจบุ ันและเจำะกลุม่ ลูกค้ำใหม่ เป็นสนิ คำ้ กลุม่ Smart Home และทำระบบ Home Automation ภำยใตแ้ บรนด์ Homehuk Smart ไดร้ ับกำรตอบรับเปน็ อยำ่ งดีจำกโครงกำรหมูบ่ ำ้ นและคอนโด ปี 2562 ตลอดระยะเวลำ 20 กว่ำปี บรษิ ทั ฯ ได้ดำเนนิ ธุรกจิ และผลติ สินค้ำออกมำท้งั หมด 6 กลุ่ม ไดแ้ ก่ Outdoor, Indoor, Decorate, หลอดไฟ LED, โคมไฟ Solar Cell, และระบบ Smart Home ไดม้ กี ำรจำหนำ่ ยมำกกว่ำ 1000 โครงกำร และเรำยงั ยดึ มัน่ จะพฒั นำสนิ ค้ำและบริกำรต่อไป และไดเ้ พ่มิ เติมกำรบริกำรรบั ออกแบบ ตดิ ตงั้ แสงสว่ำง ระบบไฟฟำ้ ให้กับบำ้ นพักอำศัยและโครงกำรอีกด้วย ปี 2563 บรษิ ทั ฯ ได้พัฒนำระบบกำรทำงำนให้สอดคล้องกบั เทคโนโลยีกำรเปล่ยี นแปลงของตลำด เศรษฐกิจ โดย เพ่มิ ชอ่ งทำงกำรจำหนำ่ ยสนิ ค้ำบน Platform Online เพื่อเขำ้ ถงึ ลูกคำ้ ไดอ้ ยำ่ งรวดเรว็ และปจั จบุ นั ไดม้ ีกำร เปล่ียนชอ่ื บริษัท เปน็ บริษัท อิทธฤิ ทธ์ ไนซ์ คอรป์ อเรชัน่ จำกัด และยดึ หลักนโยบำยใหม่ เพอ่ื ตอบโจทย์กำร ทำงำนใหก้ ับลูกค้ำมำยิง่ ข้ึน ปี 2565 บรษิ ทั ฯ ได้แปรสภำพของบรษิ ทั จำก บริษัท อทิ ธิฤทธิ์ ไนซ์ คอร์ปอเรช่ัน จำกัด เปน็ บรษิ ัท อทิ ธฤิ ทธิ์ ไนซ์ คอร์ปอเรช่นั จำกัด (มหำชน) เพ่ือรองรบั และเตรียมพรอ้ ม ในกำรพัฒนำ เตบิ โตของบริษทั อย่ำงมน่ั คงและย่ังยืน
ค่มู ือพนกั งาน Our Business ก ำ ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ข อ ง บ ริ ษั ท หนา้
07 ค่มู ือพนกั งาน หนา้
คู่มอื พนักงาน วิสัยทัศน์ (Vision) “ เป็นผู้นำธรุ กจิ ผลติ ภัณฑ์ไฟฟำ้ แสงสวำ่ ง พลงั งำทดแทน อปุ กรณ์เทคโนโลยอี ัจฉรยิ ะ นวตั กรรมท่ีอยอู่ ำศัย เพอ่ื สง่ มอบ บรกิ ำรท่ดี ีเยียม สรำ้ งประสบกำรณแ์ ละควำมสะดวกสบำย แกผ่ บู้ รโิ ภค” พันธะกจิ (Mission) สร้ำงผลติ ภณั ฑ์และ พัฒนำขยำยธุรกจิ ให้ สรำ้ งโครงขำ่ ย พฒั นำองคก์ รให้ บรกิ ำรท่ตี อบสนอง เติบโตอย่ำงยงั่ ยนื ธรุ กจิ เพอ่ื ยก เป็นองคก์ รแหง่ ควำมตอ้ งกำรให้ โปร่งใส รบั ผดิ ชอบ ระดบั คณุ ภำพ นวัตกรรม ลกู ค้ำไดค้ วำมพงึ ตอ่ สังคมส่งิ แวดล้อม และประสบกำรณ์ มีบคุ ลำกรและ พอใจสงู สดุ ควำมสะดวก ระบบกำรบริหำร รวดเรว็ ในกำรใช้ จดั กำรท่ีทนั สมัย บรกิ ำรของลกู ค้ำ มีประสิทธภิ ำพ . หนา้
คู่มอื พนกั งาน ค่ ำ นิ ย ม อ ง ค์ ก ร NICE N : New Gen กำ้ วทนั ยุคใหม่ I : Innovation ใสใ่ จนวตั กรรม C : Customer Focus ให้ควำมสำคัญลกู คำ้ E : Energy รักษำประสทิ ธภิ ำพเต็มกำลัง เ ฮ มั น ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ แ ล็ บ ส์ ห น้ า 0 7
ค่มู ือพนักงาน ค่ ำ นิ ย ม อ ง ค์ ก ร NEW N : New-Now-Next เปิดรับส่งิ ใหม่ E : Engagement ใส่ใจผูกพนั W : Win-Work-Wealth สร้ำงงำนทม่ี น่ั คง
ค่มู อื พนกั งาน วัฒนธรรมองค์กร (Culture) “เปน็ องคก์ รท่มี ีกตกิ ำกำรอย่รู ว่ มกัน มีผลชี้วดั เพอ่ื สรำ้ งกำรทำงำนทมี่ ปี ระสิทธิภำพ ในขณะเดียวกนั กม็ คี วำมรกั ควำมเอ้อื เฟอื้ ควำมเสยี สละ และรูส้ กึ เปน็ สว่ นหน่งึ ของทีม ”
คมู่ ือพนกั งาน ภำพรวมกำรประกอบธุรกจิ 1.จดั จำหน่ำยอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ประเภทLอIุปGกรHณTส์ I่อNงสGว่ำงPRODUCT บรษิ ทั เปน็ ผูจ้ ัดจำหน่ำยอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับกำรส่องสว่ำงครบวงจร ซ่ึงประกอบด้วย กำรจำหน่ำยหลอดไฟ โคมไฟฟ้ำส่องสว่ำง ผลิตภัณฑ์ส่องสว่ำงโดยใช้ พลงั งำนจำกแสงอำทิตย์ ซ่งึ ในส่วนของผลิตภัณฑ์โคมไฟฟ้ำส่องสว่ำงบริษัทว่ำจ้ำงผู้ผลิต ภำยนอกเพ่ือผลิตและจำหน่ำยในแบรนด์ “Lighttrio” เป็นหลักนอกจำกน้ีบริษัทยังมี หนว่ ยงำนภำยในเพือ่ สนบั สนนุ ดำ้ นกำรผลติ เสำไฟและโคมไฟเพื่อใช้เป็นส่วนประกอบของ อุปกรณ์ส่องสว่ำงเพ่ือให้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทมีควำมหลำกหลำยและมีเอกลักษณ์ที่ แตกต่ำงจำกคู่แข่ง รวมท้ังมีบริกำรเสริมต่ำง ๆ อำทิเช่น กำรออกแบบระบบแสงสว่ำง สำหรับงำนต่ำง ๆ กำรออกแบบระบบแสงสว่ำงให้เหมำะกับลักษณะของงำน กำร ให้บริกำรเช่ำผลิตภัณฑ์โคมไฟฟ้ำแสงสว่ำงและระบบไฟฟ้ำแสงสว่ำงสำหรับงำน ต่ำงๆ เพื่อรองรับควำมต้องกำรของลูกค้ำท่ีหลำกหลำยในทุกกลุ่มเป้ำหมำยตลอดจนกำรจัด จำหน่ำยผลติ ภัณฑ์ Smart home เพ่อื รองรับกำรเทคโนโลยีทเ่ี ปล่ยี นแปลงตลอดเวลำ
คมู่ อื พนกั งาน ผลิตภัณฑ์สอ่ งสวำ่ งใชภ้ ำยในอำคำร ผลติ ภณั ฑ์ส่องสวำ่ งทใ่ี ชต้ ดิ ตั้งภำยในอำคำร โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ ให้แสงส่องสว่ำง ตำมลักษณะกำรใช้งำนแตไ่ มเ่ หมำะแกก่ ำรนำไปใช้งำLนIGHTING PRODUCT ภำยนอกอำคำรเนื่องจำกไมส่ ำมำรถทนทำนต่อสภำวะอำกำศภำยนอกเชน่ น้ำ แสงแดด ได้ โดยผลิตภณั ฑ์สอ่ งสวำ่ งทีใ่ ช้ภำยในอำคำรไดแ้ ก่ โคมไฟ Fluorescent, High Bay, Track Light , Downlight , Emergency ,Ceiling Lamp , LED Panel เป็นต้น
คู่มอื พนกั งาน ผลติ ภณั ฑส์ ่องสว่ำงใช้ภำยนอกอำคำร ผลติ ภัณฑ์สอ่ งสวำ่ งทีใ่ ชต้ ิดตัง้ ภำยนอกอำคำร โดยมีวัตถุประสงค์เพอ่ื ให้แสงส่อง สว่ำงตำมลกั ษณะกำรใช้งำนภำยนอกอำคำรซึ่งมีคณุ สมบัตSขิ OองผLลAติ ภRัณฑP์ทRอ่ี OอกDแบUบใCห้T ทนต่อสภำวะอำกำศภำยนอก เช่น น้ำ แสงแดด ได้ โดยผลติ ภัณฑ์สอ่ งสวำ่ งที่ใช้ ภำยนอกอำคำรได้แก่ โคมไฟ Up-Down Light,Wall Mounted Luminaires , Step Light , Up Light , In ground Lights , Under water Lights , Bor , Bollard , Post Top เปน็ ต้น
คูม่ อื พนักงาน ผลิตภณั ฑส์ ่องสวำ่ งเพือ่ ใช้ในกำรตกแตง่ รูปลผกั ลษิตณภ์ขณั อฑงผส์ ล่อิตงภสวณั ่ำฑงทท์ ี่ใ่ีมชลี ้เกัพษ่อื ณกำะรเตฉกพแำตะท่งแ่แี ลตะกอตอ่ำกงแจบำกบผใSลหOิตเ้ กภดิ ัณLคAฑวำ์สRมอ่ สงPวสยวRง่ำOำงนท่ัวDซไง่ึปUมีCT โดยผลิตภณั ฑ์ส่องสว่ำงเพอื่ ใช้ในกำรตกแตง่ ได้แก่ Lofts , Crystal , Modern , Wood , Table Lamp , LED Vintage เปน็ ต้น
คมู่ ือพนักงาน ผลิตภัณฑส์ อ่ งสวำ่ งโดยใช้พลงั งำนจำกแสงอำทิตย์ ผดงัลกิตลภำ่ ณั วจฑะ์ทมใี่ แีชผ้แงสพงสลวังงำ่ ำงนจำเพกอ่ืดใวชงส้อะำสทมิตพย์เลปงั น็ งำแนหซล่งึ่งนพิยลมงั ใเพชS้สอื่ Oำใหห้แรLับสAงกสำRวรตำ่ งPดิ ตRโดง้ั OภยำผยDลนติ UอภกัณCฑT์ อำคำรเป็นหลกั
คู่มือพนกั งาน ตวั แทนจำหน่ำย อยำ่ งเป็นทำงกำร SOLAR PRODUCT
ผลิตภัณฑส์ มำรท์ โฮม คู่มอื พนักงาน SOLAR PRODUCT
คมู่ ือพนกั งาน อุปกรณ์ SOLAR ROOFTOP Solar Rooftop ให้บริกำรตดิ ตั้ง Solar Rooftop แบบครบวงจร รวมถงึ กำรออกแบบ กำรขออนญุ ำต ติดตัง้ และกำรบำรงุ รักษำสำหรับทอ่ี ยู่อำศัย และโรงงำนอุตสำหกรรม
ค่มู อื พนกั งาน SMART CITY Smart City SOLAR PRODUCT เมอื งท่ีใช้ประโยชน์จำกเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทท่ี นั สมยั และชำญฉลำด เพือ่ เพม่ิ ประสิทธิภำพของกำรใหบ้ ริกำร
ค่มู อื พนกั งาน เครือ่ งชำร์จรถยนต์ไฟฟ้ำ • EV CHARGER AC2 7.3KW SOLAR PRODUCT • เป็นตวั แทนจำหนำ่ ยใหก้ บั E@ ภำยใตแ้ บรนด์ EA anywhere • มแี บบใช้ในบำ้ นและ สำหรับคอนโดมี แบบ PROFIT SHARING
คู่มือพนกั งาน ผลิตและจำหนำ่ ยผลิตภณั ฑ์ฆ่ำเช้อื ประเภทแอลกอฮอล์ SMART HOME PRODUCT บริษทั ผลิตและจำหนำ่ ยผลิตภัณฑ์ฆ่ำเช้อื ประเภทแอลกอฮอลซ์ ่งึ มที ั้งผลติ ภณั ฑช์ นิดนำ้ และชนิดเจลหลำยขนำดและบรรจภุ ณั ฑ์ ภำยใตแ้ บรนด์ “UNION CLEAN” รวมถึงรับจ้ำง ผลิตแบบ OEM แก่ลูกคำ้ ที่สนใจท่ัวไป
หมวดท่ี 2 บุคลำกร ITTHI
คมู่ อื พนกั งาน โครงสร้ำงองค์กร ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร บ ริ ษั ท คณะกรรมกำร คณะกรรมกำร สำ นั ก เ ล ข ำ นุ ก ำ ร บ ริ ห ำ ร ค ว ำ ม เ สี่ ย ง บ ริ ห ำ ร บ ริ ษั ท คณะกรรมกำร ตรวจสอบ เ ล ข ำ นุ ก ำ ร ประธำน สำ นั ก ต ร ว จ ส อ บ ผู้ บ ริ ห ำ ร เ จ้ ำ ห น้ ำ ท่ี บ ริ ห ำ ร ภำยใน แ ซ น ด้ี โ จ น ส์ ไ อ มี เ บ ก แ ฮ ม พ อ ล แ ซ น เ ด อ ร์ ประธำนเจ้ำหน้ำทสี ำย ประธำนเจำ้ หนำ้ ทสี ำย ประธำนเจำ้ หนำ้ ทีสำย ประธำนเจ้ำหน้ำทสี ำย ปฏบิ ตั ิกำร ทรัพยำกรมนุษย์ สนบั สนุนและบริหำร กำรเงิน ขำยและกำรตลำด ทรพั ยำกรมนษุ ย์ จดั ซ้อื บญั ชี พัฒนำธุรกิจ ซัพพลำยเชน เทคโนโลยี บัญชีต้นทุนและ สำรสนเทศ ทรัพย์สนิ คลงั สินคำ้ กำรเงิน
คู่มือพนักงาน คณุ มณีวรรณ์ อัครบุญญำพฒั น์ ประธำนผกู้ อ่ ตั้ง
คมู่ อื พนกั งาน คณะกรรมกำรบรษิ ทั คณุ รณชิต มหทั ธนะพฤทธ์ิ คณุ ธนเสฏฐ์ อัครบุญญำพัฒน์ คุณเกรียงศกั ด์ิ บวั นุม่ คณุ ไตรสทิ ธิ์ อัครบุญญำพฒั น์ คณุ ธีรศำนต์ สหสั สพำศน์ คณุ ทัชนันท์ กงั วำนตระกูล คุณธันยส์ ติ ำ อัครบุญญำพฒั น์ คุณมินทร์ฐติ ำ อัครบญุ ญำพฒั น์ คณุ วีระศักดิ์ ขวัญมงคลพงศ์
คมู่ ือพนกั งาน คณะผ้บู ริหำร ประธำนเจ้ำหน้ำทบ่ี ริหำร Cheif Excutive Officer ( CEO ) คณุ ธนเสฏฐ์ อคั รบญุ ญำพฒั น์ ประธำนเจำ้ หนำ้ ที่บริหำรสำยปฏิบัตกิ ำร Chief Operating Officer (COO) คุณวรี ะศกั ด์ิ ขวญั มงคลพงศ์ ประธำนเจ้ำหน้ำท่ีบริหำรสำยทรัพยำกรมนุษย์ Chief Human Resource Officer (CHRO) คุณไตรสิทธ์ิ อคั รบุญญำพัฒน์ ประธำนเจ้ำหน้ำที่บริหำรสำยสนับสนุนและบริหำร Chief Administration Officer (CAO) คณุ ธัณย์สิตำ อคั รบญุ ญำพัฒน์ ประธำนเจำ้ หน้ำท่ีบรหิ ำรสำยกำรเงิน Chief Financial Officer (CFO) คณุ มินทรฐ์ ิตำ อคั รบุญญำพัฒน์
หมวดท่ี 3 ข้อบังคบั เก่ยี วกับกำรทำงำน
คู่มือพนกั งาน กำรว่ำจ้ำง 1. นโยบำย ข้อความในหมวดนี้รวมถึงกระบวนการว่าจ้าง อันได้แก่ การสรรหา คัดเลอื ก บรรจแุ ตง่ ตัง้ และโยกย้าย พนกั งาน เมื่อมีตาแหน่งว่าง บริษัทฯ จะพยายาม สรรหา คดั เลือก และบรรจแุ ตง่ ตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่งท่ีว่างนั้น โดยพิจารณาบุคคล ภายในทมี่ ีคณุ สมบัตเิ หมาะสมก่อน แตอ่ ย่างไรก็ตามบริษัทฯ ทรงไว้ซึ่งสิทธิและอานาจ ในการที่จะพิจารณา สรรหา คัดเลือก และบรรจุแต่งต้ังบุคคลในตาแหน่งต่าง ๆ จาก บุคคลภายนอกได้ตามท่ีเห็นสมควรและเหมาะสม 2. คณุ สมบัติของพนักงำน - มวี ฒุ ิการศึกษา ความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ตามที่บรษิ ัทกาหนดไว้ - มีอายไุ มต่ า่ กวา่ 18 ปี บริบรู ณ์ - มสี ุขภาพร่างกายแข็งแรง หรือผพู้ กิ ารท่ีมเี อกสารรับรองความพิการ (บตั รคนพกิ าร) - ไมเ่ ป็นผู้มหี น้สี นิ ล้นพน้ ตัวหรอื บุคคลที่ศาลมคี าส่งั ใหพ้ ิทักษ์ทรัพย์ หรอื บุคคล ลม้ ละลาย - ไม่เป็นผตู้ อ้ งโทษโดยคาพิพากษาถงึ ท่สี ุดให้จาคุกมากอ่ น 3. ประเภทของพนักงำน - พนักงานรายเดอื น คือ พนกั งานทบี่ รษิ ัทฯ ตกลงจ้างโดยกาหนดค่าจา้ งเป็นรายเดือน - พนกั งานรายวัน คือ พนักงานท่ีบริษัทฯ ตกลงจา้ งโดยกาหนดคา่ จ้างเปน็ รายวัน - พนักงานทดลองงาน คือ พนักงานทบี่ ริษทั ฯ มีหนังสือให้ทดลองงาน - พนักงานตามสญั ญาจา้ งพเิ ศษ คอื พนักงานท่บี ริษัทฯ ทาสญั ญาจ้างกบั พนกั งานใน กรณีตา่ ง ๆ
คมู่ ือพนักงาน กำรทำงำน 1.กำหนดวนั ทำงำน เวลำทำงำนปกติ และเวลำพกั ไวด้ ังนี้ สานกั งานแหง่ ใหญ่ / โรงงาน (สาหรับพนกั งานท่ที างานประจา) • วันทางานปกติ คอื วนั จนั ทร์ ถึง วนั เสาร์ • เวลาทางานปกติ วันจันทร์ ถึง วนั พฤหสั บดี คือ 08.00-18.00 น. • เวลาทางานปกติ วนั ศุกร์ ถึง วันเสาร์ คือ 08.00-17.00 น. • เวลาพกั คอื 12.00-13.00 น. วนั หยุดและหลักเกณฑ์กำรหยุด 1.วนั หยดุ วนั หยุดประจำสัปดำห์ - วันอาทิตย์ - วันเสาร์เว้นวนั เสาร์ (สปั ดาห์ท1ี่ และ สัปดาห์ที่ 3 ของเดือน) 2. วนั หยดุ ตำมประเพณี -บรษิ ทั กาหนดให้มวี นั หยุดตามประเพณอี ย่างนอ้ ยปลี ะ 13 วนั (รวมวันแรงงานแห่งชาติ) ทง้ั น้ีอาจมกี ารเปล่ียนแปลงวันหยุดได้ตามความเหมาะสมในแต่ละปี โดยรวมวันแรงงาน แห่งชาติด้วยและพนักงานจะได้รับค่าจ้างเท่ากับค่าจ้างในวันทางาน ซ่ึงบริษัทฯ จะ ประกาศใหท้ ราบ ลว่ งหน้าภายในเดือนธันวาคมของทุกปี ถ้าวันหยุดตามประเพณีตรง กบั วันหยดุ ประจาสปั ดาห์ให้หยุดชดเชยวันหยุดตามประเพณีวันน้ันไปหยุดในวันทางาน ถัดไป
คมู่ ือพนักงาน 3.วันหยุดพกั ผอ่ นประจำปี บริษัทกาหนดสทิ ธิลาหยดุ ประจาปีโดยไดร้ บั ค่าจ้างดังน้ี ระยะเวลาในการทางาน สิทธลิ าหยุดพกั ผ่อนประจาปี พนกั งานที่เข้าทางานครบ 1-3 ปี มีสทิ ธหิ ยุดพักผ่อนประจาปไี ด้ 7 วัน พนกั งานทเ่ี ขา้ ทางานครบ 3-6 ปี มสี ทิ ธิหยุดพกั ผอ่ นประจาปไี ด้ 9 วัน พนักงานท่เี ข้าทางานครบ 6-10 ปี มสี ิทธิหยดุ พักผอ่ นประจาปไี ด้ 12 วัน พนักงานท่เี ข้าทางานครบ 10 ปีขีน้ ไป มีสทิ ธิหยุดพักผ่อนประจาปไี ด้ 14 วนั บริษทั ฯ จะเป็นผู้กาหนดวันหยุดพกั ผอ่ นประจาปีใหแ้ ก่พนกั งานแตล่ ะคน โดยพนักงาน ท่ีประสงค์จะใช้สิทธิจะต้อง ย่ืนใบลาล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 วันทางาน และจะหยุดได้ก็ ตอ่ เมื่อได้รับการอนุมตั จิ ากผู้บังคับบัญชาเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรแล้วเทา่ นัน้ มฉิ ะน้ัน จะถือว่า ขาดงานละทง้ิ หน้าที่
คมู่ อื พนักงาน วนั ลำและหลักเกณฑ์กำรลำ ประเภท เงื่อนไขและ เอกสำร วธิ ีกำรลำ กำรลำ ระยะเวลำกำรลำ ประกอบกำรลำ 1.กำรลำป่วย • พนักงำนมีสิทธลิ ำปว่ ยได้ ใบรบั รองแพทย์ • กำรลำปว่ ยตอ้ งแจ้ง เทำ่ ทีป่ ่วยจรงิ โดยได้รบั ผู้บังคบั บญั ชำของ ค่ำจำ้ งเท่ำกบั ค่ำจำ้ งใน ตนทรำบและกำรลำ วนั ทำงำนปีหนึง่ ไม่เกนิ ตอ่ ฝำ่ ยทรัพยำกร 30 วันทำงำน มนษุ ย์ผำ่ นชอ่ งทำง ไลน์ (ITTHI-Team) • กำรลำป่วยตัง้ แต่ 3 วนั ทำงำนขน้ึ ไปจะตอ้ งมี • ตอ้ งยืน่ ใบลำตำม หนังสอื รับรองจำกแพทย์ แบบฟอรม์ ของ แผนปจั จบุ ันชัน้ หนึง่ มำ บรษิ ัทฯ ตอ่ แสดง(ตน้ ฉบับ) ผบู้ งั คบั บญั ชำ โดยตรงของตน • กรณกี ำรลำป่วยเกิดขึ้น ภำยใน 2 ชวั่ โมง ภำยหลังจำกท่ีมำทำงำน หลงั จำกเริ่มงำน แล้ว ใหข้ ออนมุ ตั ิกำรลำ ในวันแรกท่ีกลบั ตอ่ ผูบ้ งั คบั บัญชำ เขำ้ ทำงำน โดยตรงของตน 2.กำรลำคลอด • พนักงำนหญิงที่มคี รรภ์ มี ใบรับรองแพทย์ • กำรลำคลอดตอ้ งลำ สทิ ธลิ ำเพอ่ื คลอดบตุ ร สูตบิ ัตรบุตร ลว่ งหนำ้ อยำ่ งนอ้ ย ก่อนและหลังคลอดครรภ์ 30 วัน หน่ึงไมเ่ กินเก้ำสิบแปดวนั (รวมวนั หยุด) บริษทั ฯ จ่ำยคำ่ จ้ำงในวนั ทำงำน ให้แกพ่ นักงำน ซ่งึ ลำ คลอดตลอด ระยะเวลำท่ี ลำแตไ่ ม่เกนิ ส่สี ิบหำ้ วัน
คู่มือพนักงาน ประเภท เงอ่ื นไขและ เอกสำร วิธีกำรลำ กำรลำ ระยะเวลำกำรลำ ประกอบกำรลำ 3.กำรเพ่ือ • บรษิ ัทฯ อนุญำตให้ ใบรบั รองแพทย์ • พนักงำนท่จี ะลำ ทำหมัน พนักงำนลำเพ่ือทำหมนั เพือ่ ทำหมนั โดยได้รบั คำ่ จ้ำง ท้ังน้ี จะต้องแจ้งให้ จำนวนวนั ลำใหเ้ ป็นไป ผบู้ ังคับบญั ชำ ตำมระยะเวลำทแี่ พทย์ ทรำบลว่ งหนำ้ ไม่ แผนปจั จบุ ันชน้ั หนง่ึ เปน็ นอ้ ยกว่ำ 15 วัน ผู้กำหนด เม่อื ได้รับอนุมตั ิจงึ จะลำได้ 4.กำรเพอ่ื รับ • ในกรณที ที่ ำงรำชกำรได้ หมำยเรียกเข้ำ • พนกั งำนจะต้อง ออกหมำยเรียกตัว รบั เขำ้ รบั รำชกำร แจง้ ใหบ้ รษิ ัทฯ รำชกำรทหำร ทหำร ทรำบภำยใน พนักงำน เพ่ือเข้ำรบั 3 วันนับจำกวนั ท่ี • ไดร้ บั หมำยเรยี ก รำชกำรทหำรในกำรเรียก กำรลำเพ่อื รบั รำชกำรทหำร พลเพอื่ ตรวจสอบ เพอ่ื พนกั งำนตอ้ งลำ ล่วงหนำ้ 30 วนั กำรฝึกวิชำทหำร หรือ เพ่ือทดสอบควำมพร่ัง พรอ้ มโดยพนกั งำนจะ ได้รับคำ่ ในวันทำงำน ตลอดระยะเวลำที่ลำ แต่ ปีหน่งึ ไม่เกิน 60 วนั (โดยนบั ต่อเนอื่ งและ รวมท้ังวันหยุด)
คู่มือพนักงาน ประเภท เงื่อนไขและ เอกสำร วธิ กี ำรลำ กำรลำ ระยะเวลำกำรลำ ประกอบกำรลำ พนักงำนตอ้ งยน่ื 5.กำรลำเพ่ือกำร • พนักงำนมีสทิ ธลิ ำโดย • ใบลำลว่ งหน้ำ ฝกึ อบรมและ ไม่ไดร้ ับคำ่ จำ้ ง เพื่อกำร เพอื่ ให้ พัฒนำควำมรู้ ฝกึ อบรม หรอื พฒั นำ ผูบ้ ังคบั บญั ชำ ควำมสำมำรถ ควำมรูค้ วำมสำมำรถใน พิจำรณำอนมุ ตั ิ กรณี ดงั ตอ่ ไปนี้ เปน็ เวลำไม่น้อย - เพื่อประโยชนต์ ่อกำร กว่ำ 7 วัน โดย แรงงำน และสวัสดิกำร จะต้องระบุถึงเหตุ - สังคม รวมท้ังกำร ทีล่ ำโดยชัดแจ้ง ฝกึ อบรมหรือพัฒนำ เกีย่ วกับทกั ษะเพอื่ เพมิ่ ประสิทธิภำพในกำร ทำงำน กำรสอบวัดผลทำงกำร ศกึ ษำที่ทำงรำชกำรจัด หรอื อนุญำตใหจ้ ัดขึน้ • พนักงำนท่ีมีสทิ ธิลำ จะต้องเป็นพนกั งำนท่ี ผ่ำนกำรทดลองงำนแล้ว • พนกั งำนมสี ิทธิลำไดไ้ ม่ เกนิ 30 วันหรือ 3 คร้งั อย่ำงใดอยำ่ งหนึง่
คมู่ อื พนักงาน ประเภท เง่ือนไขและ เอกสำร วิธกี ำรลำ กำรลำ ระยะเวลำกำรลำ ประกอบกำรลำ 6. กำรลำ • พนกั งำนท่ผี ำ่ นกำร • พนักงำนยืน่ อุปสมบท ทดลองงำนแล้ว ใบลำขอกำรลำ สำมำรถขอลำอุปสมบท ต่อตน้ สงั กัด 7. กำรลำเพอ่ื ไดไ้ มเ่ กนิ 15 วันโดย ล่วงหนำ้ อยำ่ ง กิจธรุ ะอัน ได้รบั ค่ำจ้ำง โดย นอ้ ย 15 วนั จำเป็น สำมำรถลำได้เพยี งครง้ั กำรอนมุ ตั หิ รือไม่ เดียวเท่ำนนั้ ขึน้ อยกู่ ับกำร พจิ ำรณำของ • พนักงำนรำยเดือนมีสทิ ธิ ผบู้ ังคบั บญั ชำ ลำได้ ปลี ะ 6 วันทำกำร โดยไดร้ บั คำ่ จำ้ ง • พนักงำนยนื่ ใบลำลว่ งหน้ำ • พนกั งำนรำยวันมสี ิทธิลำ อยำ่ งนอ้ ย 1 วนั ได้ ปีละ 3 วนั ทำกำร โดย ไดร้ บั ค่ำจ้ำง 8. กำรลำเพื่อ • กำรลำเพือ่ จดั พธิ ี • ใบมรณะบัตร • โดยพนักงำนย่ืน กจิ ธุระอัน จำเป็น ฌำปนกิจศพ ใบลำล่วงหน้ำไม่ นอ้ ยกว่ำ 1 วัน เม่ือบดิ ำ มำรดำ ค่สู มรส พ่ีนอ้ งร่วมบดิ ำมำรดำ และบตุ รโดยชอบดว้ ย กฎหมำยของตนถงึ แกก่ รรม ลำไดไ้ ม่เกิน ครง้ั ละ 5 วัน
คู่มือพนกั งาน ประเภท เงอ่ื นไขและ เอกสำร วิธกี ำรลำ กำรลำ ระยะเวลำกำรลำ ประกอบกำรลำ โดยพนักงำนย่นื 8. กำรลำเพอื่ • ลำเพ่ือประกอบพธิ ีสมรส ทะเบยี นสมรถ • ใบลำลว่ งหน้ำไม่ กิจธุระอนั นอ้ ยกวำ่ 15 วัน จำเปน็ ของพนกั งำน หรือรปู ถ่ำยงำน แตง่ งำน พนกั งำนที่ผำ่ นทดลองงำน แล้ว สำมำรถลำ ไดไ้ มเ่ กนิ 3 วัน โดยมีสทิ ธิลำได้ เพียง 1 คร้ังต่อคน • กรณีเกิดอคั คีภยั อุทกภยั รปู ถ่ำยสภำพ • โดยพนกั งำนย่ืน ตำ่ งๆ ซ่ึงเป็นภัยพบิ ัติ บ้ำนเรอื นทีป่ ระสบ ใบลำหลงั จำก ทำงธรรมชำติ ภยั พบิ ัติ กลบั เขำ้ ทำงำนใน วนั แรกทันที บำ้ นเรือนทพ่ี ักอำศยั เกดิ เสียหำยเกนิ วำ่ ครึ่งหน่งึ ขึ้ ไป โดยมีสิทธลิ ำได้ ไม่เกนิ 3 วนั
คมู่ ือพนกั งาน หลักเกณฑ์กำรทำงำนลว่ งเวลำ และทำงำนในวนั หยดุ 1. หลกั ทัว่ ไป 1.1 ในกรณที ่ลี กั ษณะหรือสภำพของงำนจำเป็นต้องทำติดต่อกันไป ถ้ำหยุดจะเสียหำยแก่งำน หรือเป็นงำนฉุกเฉินโดยจะหยุดเสียมิได้ บริษัทฯ โดยกรรมกำรผู้จัดกำรหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมำย อำจจะสั่งพนักงำนคนใดคนหน่ึงหรือหลำยคนหรือทั้งหมดให้ทำงำนเกินเวลำทำงำนปกติตำม ควำมในหมวด 3 หรือมำทำงำนในวันหยดุ ตำมหมวด 5 ได้ 1.2 เพอื่ ประโยชน์แกก่ ำรผลติ กำรจำหนำ่ ย และกำรบริกำร พนกั งำนจะทำงำนล่วงเวลำ หรือ ทำงำนในวันหยุด หรือทำงำนล่วงเวลำในวันหยุดได้ตำมท่ีบริษัทฯ ส่ังเท่ำน้ัน บริษัทฯ อำจให้ พนักงำนทำงำนนอกหรอื เกนิ เวลำทำงำนปกติ หรอื ในวันหยุดเทำ่ ท่จี ำเปน็ 2. กำรจ่ำยค่ำทำงำนลว่ งเวลำ และคำ่ ทำงำนในวันหยุด ประเภทกำรทำงำน อัตรำกำรจำ่ ย 1.กำรทำงำนล่วงเวลำหลังชว่ั โมง • พนกั งำนจะได้รบั ค่ำล่วงเวลำในอัตรำไมน่ ้อยกว่ำหนึง่ กำรทำงำประจำวนั ตำมปกติ เท่ำครง่ึ ของอตั รำคำ่ จำ้ งต่อชว่ั โมงในวันทำงำนตำม จำนวนช่ัวโมง ( OT 1.5 เท่ำ ) 2.กำรทำงำนในวันหยุด • พนักงำนที่มีสทิ ธิได้รับคำ่ จ้ำงในวนั หยุด (เชน่ วนั หยุด ประจำสปั ดำห์ วันหยดุ ตำมประเพณี = พนกั งำนรำย เดือน) ถำ้ มำทำงำนในวันหยดุ จะได้รับคำ่ ทำงำนใน วนั หยดุ เพิ่มขึ้นอกี หนึ่งเทำ่ ของค่ำจำ้ งในวนั ทำงำนตำม จำนวนชัว่ โมงทท่ี ำงำนในวันหยุด ( OT 1 เทำ่ ) • พนักงำนท่ไี มม่ ีสิทธิได้รับค่ำจำ้ งในวนั หยุด (เช่น วนั หยุดประจำสปั ดำหส์ ำหรบั พนกั งำนรำยช่วั โมง รำยวัน = พนกั งำนรำยวัน) ถ้ำมำทำงำนในวันหยดุ จะ ไดร้ ับคำ่ ทำงำนในวนั หยดุ สองเท่ำของคำ่ จำ้ งในวัน ทำงำนตำมจำนวนช่ัวโมงทที่ ำงำนในวันหยุด ( OT 2 เทำ่ )
คู่มือพนักงาน หลักเกณฑก์ ำรทำงำนลว่ งเวลำ และทำงำนในวนั หยดุ ประเภทกำรทำงำน อตั รำกำรจ่ำย 3.คำ่ ล่วงเวลำในวนั หยุด • พนกั งำนมีสิทธไิ ด้รับค่ำทำงำนลว่ งเวลำในวันหยุด เมือ่ ได้ทำงำนในวันหยุดเกนิ เวลำทำงำนปกติของวันทำงำน ในอัตรำสำมเท่ำของค่ำจ้ำงในวนั ทำงำน ( OT 3 เท่ำ ) 4 . พนักงำนทไี่ มม่ สี ทิ ธิไดร้ บั คำ่ ทำงำนลว่ งเวลำ คำ่ ทำงำนใน • พนกั งำนซ่ึงมีอำนำจหน้ำทที่ ำกำรแทนบริษัทฯ วันหยุด และค่ำลว่ งเวลำในวันหยุด สำหรบั กรณีกำรจำ้ ง กำรใหบ้ ำเหนจ็ กำรลดค่ำจ้ำง หรอื กำรเลิกจำ้ ง ไม่มีสิทธไิ ดร้ บั คำ่ ทำงำนล่วงเวลำ ค่ำ ทำงำนในวนั หยุด และคำ่ ลว่ งเวลำในวนั หยดุ
คู่มอื พนักงาน วันและสถำนที่ทจี่ ำ่ ยค่ำจำ้ ง ค่ำล่วงเวลำ ค่ำทำงำนในวนั หยดุ และค่ำล่วงเวลำในวนั หยุด บริษทั ฯ กำหนดจำ่ ยค่ำจำ้ งใหแ้ ก่พนักงำนโดยมรี ำยละเอยี ดดงั น้ี 1. กำรนับวนั ทำงำนและงวดกำรจำ่ ยเงินเดือน แบง่ เปน็ 2 ประเภทดงั น้ี 1.1 พนักงำนรำยวัน นบั วันทำงำน วนั ท่ี 26 (ของเดือนทีผ่ ่ำนมำ) – วันที่ 10 ของเดอื น ปัจจุบนั เปน็ กำรจ่ำยเงินเดอื นงวดที่ 1 จ่ำยเงนิ เดือน วนั ที่ 15 ของเดือน 1.2 พนกั งำนรำยวัน นับวันทำงำน วันที่ 11 – 25 ของเดือนปจั จบุ นั เป็นกำรจ่ำย เงินเดอื นงวดที่ 2 จำ่ ยเงินเดอื น ทุกวันสิ้นเดอื น 1.3 พนักงำนรำยเดือน นับวนั ทำงำน วนั ท่ี 26 (ของเดือนท่ผี ่ำนมำ) – วนั ท่ี 25 ของเดือน ปัจจุบันเปน็ กำรจำ่ ยเงินเดือนงวดเดยี ว จ่ำยเงินเดอื นทุกวันส้นิ เดอื น 2. กำรจ่ำยเงินเดือนของบรษิ ทั จำ่ ยผำ่ นธนำคำรไทยพำนิชย์ ซง่ึ ใหพ้ นกั งำนเปิดบัญชอี อมทรพั ย์ กบั ธนำคำรท่ีบรษิ ัทฯ ไดแ้ จ้งให้พนักงำนทรำบ โดยไดร้ ับควำมยินยอมจำกพนักงำน
คู่มอื พนกั งาน วนิ ัยและโทษทำงวินัย 1.วตั ถุประสงค์ บริษัทฯ ได้กำหนดหลกั เกณฑ์ตำ่ ง ๆ ในหมวดนข้ี ้นึ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.1 เพ่ือเปน็ แนวทำงของผู้บังคบั บัญชำในกำรพิจำรณำ สง่ เสรมิ แก้ไข หรือปรับปรุง ควำมประพฤติของผ้ใู ตบ้ งั คับบัญชำ 1.2 เพ่อื ให้เกดิ ควำมเป็นธรรมตอ่ พนกั งำนในเรื่องวินยั ในกำรปฏบิ ตั ิของบรษิ ัทฯ 1.3 เพอื่ เปน็ แนวทำงในกำรปฏิบตั ิเกี่ยวกับวินัย อันจะนำไปสูค่ วำมเจริญก้ำวหน้ำ ของพนักงำนและบริษัทฯ 1.4 เป็นสว่ นช่วยสง่ เสรมิ ให้กำรดำเนนิ กิจกำรของบริษัทฯ บรรลถุ งึ วัตถุประสงค์ด้วย ควำมมรี ะเบียบ เป็นธรรม ถูกตอ้ งตำมกฎหมำยและกอ่ ใหเ้ กดิ ควำมสงบสุขใน กำรทำงำนรว่ มกัน 2. นโยบำย บริษทั ฯ ได้วำงนโยบำยในเรื่องวนิ ยั ของพนกั งำนไวด้ งั นี้ 2.1 ผูบ้ งั คบั บัญชำจะตอ้ งพยำยำมปอ้ งกนั มใิ หเ้ กิดปัญหำในกำรลงโทษทำงวนิ ัย ดว้ ย กำรใช้หลักเกณฑ์กำรบรหิ ำรบุคคล หรอื กำรปกครองทด่ี ี 2.2 ตำมปกติแลว้ กำรดำเนนิ กำรลงโทษทำงวินยั จะทำเปน็ ข้นั ตอน เพือ่ ให้พนักงำน ได้มีโอกำสปรบั ปรุงตนเอง นอกเสยี จำกควำมผดิ น้ันมีลักษณะร้ำยแรง 3. วินัยพนกั งำน เพื่อควำมเป็นระเบยี บเรียบร้อย และมปี ระสทิ ธิภำพในกำรทำงำนร่วมกัน พนักงำน จะตอ้ งปฏิบัติตำมระเบียบดงั ต่อไปน้ี
คูม่ อื พนักงาน หมวด รำยละเอียด 3.1 วินยั ท่วั ไป 3.1.1 ประพฤติตนเปน็ พลเมืองดีอยใู่ นระเบยี บและกฎเกณฑ์ของสังคมไม่ ประพฤติช่ัว กระทำหรือรว่ มกนั กระทำกำรใด ๆ อนั เป็นกำรผิดกฎหมำย ของบ้ำนเมืองทัง้ ในและนอกบริเวณบรษิ ทั ฯ 3.1.2 เชือ่ ฟังและปฏิบตั ิตำมคำสั่งของผบู้ งั คับบัญชำ 3.1.3 ปฏิบัตติ ำมระเบยี บขอ้ บงั คบั และกฎเกณฑต์ ำ่ ง ๆ ของบริษัทฯ ท่ีกำหนด ไว้โดยเคร่งครดั 3.1.4 แจง้ กำรเปลีย่ นแปลงสถำนภำพของตนเองให้บรษิ ัทฯ ทรำบในกรณเี ปลี่ยน ชื่อ / นำมสกุล ทอี่ ยูอ่ ำศัย สมรส/หยำ่ ร้ำง มีบุตร บคุ คลในครอบครัว เสยี ชีวติ เปลี่ยนบัตรประจำตัวประชำชน ทั้งนภ้ี ำยในเจด็ วันนบั จำกวนั ท่ี เปล่ยี นแปลงในแต่ละกรณี 3.1.5 รกั ษำควำมสะอำด ไมท่ ้ิงสิง่ ของหรอื สง่ิ ปฏกิ ูลใด ๆ นอกภำชนะทีบ่ ริษทั ฯ จัดไว้ 3.1.6 ชว่ ยกันดูแลประหยัดกำรใชว้ ัสดุอปุ กรณ์เครอ่ื งมือเครอ่ื งใช้พลังงำนและส่งิ อ่นื ๆให้ส้นิ เปลอื งน้อยท่ีสุด 3.1.7 ไมม่ ำทำงำนสำย ไมก่ ลับกอ่ นเวลำ หรือไมล่ ำหยุดงำนโดยไม่มีเหตุอัน สมควร หรือเป็นกำรหยดุ พร่ำเพร่ือ 3.1.8 ไมช่ ่วยเหลือ สนบั สนนุ ชกั จงู รู้เห็นเปน็ ใจ หรอื เพิกเฉยต่อกำรกระทำ ควำมผดิ ของพนักงำนอื่น 3.1.9 ห้ำมรับจ้ำงทำงำนให้ผอู้ น่ื หรือดำเนนิ ธุรกิจใดๆ อนั อำจเปน็ ผล กระทบกระเทอื นเวลำทำงำนหรือกิจกำรของบรษิ ทั ฯ 3.1.10 ห้ำมนำสิ่งของเคร่อื งมือเครอ่ื งใช้ หรอื ผลติ ภณั ฑข์ องบรษิ ัทฯ ไปใช้ ประโยชนส์ ว่ นตวั หรือใช้เพือ่ กำรอื่น ซ่ึงไมเ่ ก่ยี วข้องกบั กจิ กำรของบริษทั ฯ โดยไม่ได้รบั อนุญำต 3.1.11 ไม่ประพฤตติ นหรอื กระทำกำรใด ๆ ให้บริษทั ฯ เสื่อมเสียชอ่ื เสยี งหรือ อำจไดร้ ับควำมเสียหำย 3.1.12 ระมัดระวังดูแลรักษำส่งิ ของหรอื ทรพั ย์สนิ ของบรษิ ทั ฯ และตอ้ งแจง้ ใหผ้ ู้ บงั คบั -บัญชำทรำบเมอื่ ทำส่ิงของหรอื ทรพั ยส์ ินของบรษิ ัทฯ เสยี หำย หรอื สญู หำย
คู่มอื พนักงาน หมวด รำยละเอียด 3.1 วนิ ยั ทัว่ ไป 3.1.13 ห้ำมปดิ ประกำศ โฆษณำ ขีดเขียนข้อควำม แจกใบปลวิ เผยแพร่เอกสำร หรือส่ิงตพี มิ พใ์ ด ๆ ในบรเิ วณของบริษทั ฯ โดยมไิ ดร้ บั อนุญำต รวมท้งั กำร ปลด ทำลำยขดี เขียน เพ่ิมเติมเอกสำร ประกำศ หรอื คำสง่ั ใด ๆ ของ บริษัทฯ ด้วย 3.1.14 ไม่เปดิ เผยขอ้ มูล หรอื ปกปิดขอ้ เทจ็ จริงอันอำจเป็นเหตุให้บริษทั ฯ ได้รับ ควำมเสียหำย 3.1.15 ไม่ดูหมน่ิ หรอื หมิ่นประมำทบคุ คลอ่ืน หรอื เหยยี ดหยำมผูบ้ ังคับบญั ชำ หรอื ลกู คำ้ หรอื ผู้มำตดิ ตอ่ หรอื กระทำอ่นื ๆ ท่ีเปน็ กำรอันไมส่ มควร 3.1.16 หำกพนกั งำนหญงิ ต้งั ครรภ์ใหแ้ จ้งตอ่ ผบู้ งั คับบญั ชำเปน็ ลำยลกั ษณอ์ กั ษร และสง่ มำที่แผนกบุคคลเพ่ือเก็บขอ้ มลู 3.1.17 พนักงำนปฏเิ สธไมย่ อมรบั กำรตรวจโรคและตรวจสุขภำพโดยไมม่ เี หตผุ ล อนั สมควร 3.1.18 ห้ำมพนักงำน คยุ ประชมุ เกิน 5 คนข้นี ไปภำยในบริษัท เพอ่ื ป้องกนั กำรก่อกำรร้ำย หรอื ประท้วง ถือเปน็ โทษรำ้ ยแรง 3.2. ระเบียบกำร 3.2.1 พนกั งำนทบ่ี ริษทั ฯ กำหนดให้บนั ทกึ เวลำทำงำน ตอ้ งบนั ทกึ เวลำด้วย เข้ำหรอื ออก ตนเองทกุ คร้ังเมอ่ื เข้ำทำงำน เลิกงำน และ/หรือ ตำมระเบียบท่บี รษิ ทั ฯ บรเิ วณบริษัทฯ กำหนด ( ใช้วิธกี ำรสแกนลำยนิ้วมอื ) 3.2.2 พนกั งำนทีเ่ ขำ้ มำในบริเวณของบริษทั ฯ จะต้องแต่งกำยใหส้ ุภำพเรยี บรอ้ ย 3.2.3 พนักงำนทจี่ ะออกจำกสถำนท่ีทำงำนในระหว่ำงเวลำทำงำน และเวลำพกั ของตนเอง ไมว่ ำ่ กรณใี ดตอ้ งปฏิบตั ติ ำมระเบียบท่บี รษิ ัทฯ กำหนดทุกครง้ั และในกรณที เี่ ปน็ กำรออกจำกบรษิ ัทฯ โดยไมก่ ลับมำอีกใหบ้ ันทึกเวลำและ สแกนลำยนิว้ มือ 3.2.4 ตอ้ งแสดงบัตรประจำตัวพนกั งำนตอ่ ยำมรักษำกำรณ์เมือ่ ผำ่ นเขำ้ บริษทั ฯ หรือเม่ือยำมรกั ษำกำรณข์ อให้แสดง 3.2.5 นอกจำกกำรทำงำนตำมหนำ้ ท่ี ห้ำมเขำ้ มำหรอื อยู่ภำยในสถำนทีท่ ำงำน โดยไมไ่ ด้รับอนุญำต 3.2.6 กำรนำสง่ิ ของหรอื ทรัพย์สนิ ของบริษัทฯ ออกจำกบริษัทฯ ไมว่ ่ำกรณใี ดก็ ตำมจะต้องแสดงใบอนญุ ำตนำสง่ิ ของหรือทรพั ย์สนิ ท่จี ะนำออกน้นั ต่อยำม รักษำกำรณ์
คมู่ อื พนักงาน หมวด รำยละเอียด 3.2. ระเบยี บกำร 3.2.7 ตอ้ งให้ยำมรักษำกำรณต์ รวจสง่ิ ของที่นำตดิ ตัวเข้ำมำ หรอื เมอ่ื ออกจำก เข้ำหรือออก บริษทั ฯ บรเิ วณบรษิ ทั ฯ 3.2.8 ไม่ใช้เวลำทำงำนต้อนรับ หรอื พบปะผู้มำเยอื นในธุรกจิ ส่วนตวั โดย เด็ดขำด 3.2.9 ห้ำมนำสตั ว์เลี้ยงใด ๆ เขำ้ มำในบริเวณบริษทั ฯ 3.2.10 หำ้ มนำเขำ้ หรอื ใชเ้ สพ หรอื มีไว้ครอบครองซ่ึงอำวุธ ยำเสพตดิ ส่งิ มึนเมำ หรือสิ่งทีผ่ ดิ กฎหมำยภำยในบริเวณบรษิ ทั ฯ 3.2.11 หำ้ มพนักงำนท่ีอย่ใู นลกั ษณะมนึ เมำเขำ้ มำภำยในบรษิ ัทฯ 3.3. กำรมำทำงำน 3.3.1 พนักงำนต้องมำทำงำนอย่ำงปกติและสม่ำเสมอตำมวนั เวลำทำงำนที่ บริษัทฯกำหนด 3.3.2 พนักงำนต้องปฏบิ ตั ิตำมระเบียบในเรือ่ งกำรลงเวลำเข้ำและออกงำนโดย เครง่ ครดั 3.3.3 พนกั งำนต้องปฏิบตั ติ ำมระเบียบว่ำดว้ ยกำรลำ หรอื กำรหยดุ งำนโดย เครง่ ครัด 3.3.4 พนกั งำนตอ้ งปฏบิ ัติตำมกำหนดกำรและเวลำในเร่อื งกำรเข้ำทำงำน กำร ออกไปและกำรกลับเข้ำมำในกำรปฏบิ ตั งิ ำนนอกบรษิ ัทฯ และกำรเลิกงำน 3.3.5 พนกั งำนตอ้ งตดิ บตั รประจำตัวเมอื่ อย่ใู นที่ทำงำนทุกคร้งั และห้ำมทำชำรดุ สูญหำย หรือแก้ไขขอ้ ควำมใด ๆ 3.4 กำรปฏิบตั ิ 3.4.1 พนกั งำนต้องปฏบิ ตั ติ ำมคำสั่ง เมื่อบริษทั ฯ มคี ำสั่งใหโ้ ยกยำ้ ยพนกั งำนไป หน้ำท่ี ประจำหน่วยงำนใดไม่วำ่ จะเป็นกำรช่ัวครำวหรอื เปน็ กำรถำวร 3.4.2 พนักงำนตอ้ งปฏิบัติหน้ำท่ีอยำ่ งเตม็ ควำมสำมำรถ ด้วยควำมซอื่ สตั ยส์ จุ ริต และขยนั หมั่นเพยี ร 3.4.3 พนกั งำนต้องปฏบิ ตั หิ น้ำทด่ี ว้ ยควำมตั้งใจ สุขุมรอบคอบ และด้วยควำม พร้อมท้งั รำ่ งกำยและจติ ใจ
คู่มือพนักงาน หมวด รำยละเอยี ด 3.4 กำรปฏิบัติ 3.4.4 พนกั งำนตอ้ งใช้เวลำในกำรทำงำนทงั้ หมดของตนให้เป็นประโยชน์ตอ่ งำน หน้ำท่ี ตำมหนำ้ ที่ 3.4.5 พนักงำนต้องไม่ทำงำนให้กับบคุ คลหรือองคก์ รอ่นื ใด อันอำจกระทบตอ่ กำร ทำงำนให้แกบ่ ริษัทฯ ทง้ั นี้ไมว่ ำ่ จะไดร้ บั คำ่ จ้ำงหรอื ผลประโยชน์ตอบแทน หรอื ไม่ 3.4.6 พนกั งำนต้องไมเ่ สพสุรำ หรือยำเสพติด หรืออยู่ในอำกำรมนึ เมำภำยใน บรเิ วณบรษิ ทั ฯ หรือขณะปฏิบตั ิหน้ำท่ี 3.4.7 หำ้ มพนกั งำนปิดประกำศ นดั พบ ประชมุ อภปิ รำยภำยในบรษิ ทั ฯ รวมทงั้ จำหน่ำยจำ่ ยแจกเอกสำรภำยในบรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ด้รบั อนญุ ำตจำกกรรมกำร ผู้จัดกำร 3.4.8 หำ้ มนำบุคคลภำยนอกเขำ้ มำภำยในบริเวณบรษิ ัทฯ โดยไมไ่ ด้รบั อนญุ ำ 3.4.9 หำ้ มสูบบหุ รีภ่ ำยในบรเิ วณบริษัทฯ เว้นแต่สถำนทที่ บ่ี ริษัทฯ ได้กำหนดไว้ 3.4.10 หำ้ มฝ่ำฝืนระเบียบกำรแต่งชุดทำงำน 3.4.11 หำ้ มใช้เครื่องมอื เครอื่ งจกั ร โดยไม่มหี น้ำที่เก่ยี วข้อง 3.4.12 หำ้ มรับประทำนอำหำร หรือของขบเคยี้ วในเวลำทำงำน 3.4.13 หำ้ มละทิ้งหนำ้ ท่ี หรือขำดงำนโดยไมไ่ ด้รับอนุญำต 3.4.14 ห้ำมทำประกำรอื่นอนั ไม่สมควรแก่กำรปฏิบตั หิ น้ำที่ของตนใหล้ ุล่วงไปโดย ถูกต้องและสจุ รติ 3.4.15 พนกั งำนจะตอ้ งปฏิบัติหน้ำที่ หรือควำมรบั ผิดชอบตำมที่ผ้บู งั คับบญั ชำ กำหนด 3.4.16 พนักงำนจะตอ้ งปฏบิ ัติตำมคำส่ังของผูบ้ งั คับบญั ชำ ในกรณเี ลอ่ื น ตำแหนง่ โยกยำ้ ย หรอื กำรมอบหมำยงำน 3.4.17 พนกั งำนจะต้องพงึ รักษำสขุ ภำพของตนให้พรอ้ มทจ่ี ะทำงำนใหก้ บั บรษิ ทั ฯ 3.4.18 พนักงำนจะตอ้ งปฏิบตั ิตำมระเบยี บของพนักงำนรักษำควำมปลอดภัย 3.4.19 พนักงำนจะตอ้ งปฏบิ ัตติ ำมทผี่ ้บู ังคบั บัญชำกำหนด วธิ ีกำรใช้ วัสดอุ ุปกรณใ์ นกำรทำงำน 3.4.20 พนกั งำนจะตอ้ งสวมใสห่ รอื ใชอ้ ปุ กรณ์ควำมปลอดภยั และสขุ อนำมยั 3.4.21 กรณที ่ีพนกั งำนแสดงเจตนำทจ่ี ะทำงำนลว่ งเวลำ หรอื ทำงำนในวันหยุด แลว้ แต่กรณีแต่ไม่มำปฏบิ ัตงิ ำนนัน้ โดยไม่มีเหตผุ ลอนั สมควร และส่งผล ให้บรษิ ทั ฯ ได้รบั ควำมเสยี หำย บรษิ ทั ฯ อำจจะพิจำรณำโทษทำงวินยั ตำมขอ้ บงั คับเกีย่ วกบั กำรทำงำน
คู่มอื พนกั งาน หมวด รำยละเอียด 3.5 กำรรกั ษำ 3.5.1 พนักงำนต้องรกั ษำควำมลับของลูกคำ้ ของบริษัทฯ และพนกั งำนอน่ื หรอื ควำมลับของ บุคคลที่เก่ยี วขอ้ งกบั บรษิ ัทฯ บริษัทฯ 3.5.2 พนักงำนต้องรกั ษำควำมลบั และชือ่ เสยี งของบริษทั ฯ 3.5.3 พนกั งำนต้องไมเ่ ปิดเผยค่ำจำ้ งหรอื เงนิ เดอื น อัตรำกำรข้นึ เงนิ เดือนของ ตนเองหรอื ของผู้อน่ื จะโดยเจตนำหรือไมเ่ จตนำก็ตำม ทำใหพ้ นกั งำนผูไ้ ม่ มีหนำ้ ที่ เก่ยี วข้องได้ทรำบ 3.6 กำรรักษำ 3.6.1 พนกั งำนต้องไม่เข้ำไปเกย่ี วขอ้ งในกำรประกอบธุรกจิ อ่นื ใด อนั อำจมีผล ผลประโยชน์ของ กระทบกระเทอื นถึงประโยชน์ของบรษิ ัทฯหรือเปน็ กำรแข่งขนั กับบริษทั ฯ บริษัทฯ 3.6.2 พนกั งำนต้องไมป่ ฏบิ ัติสง่ิ ใดอันเป็นกำรขดั ตอ่ ผลประโยชนข์ องบริษทั ฯ ไม่ ว่ำทำงตรงและทำงออ้ ม 3.6.3 พนักงำนตอ้ งรักษำและเสริมสรำ้ งชอ่ื เสียงอันดงี ำมของบริษัทฯ 3.6.4 พนักงำนตอ้ งรกั ษำผลประโยชนข์ องบรษิ ทั ฯ โดยถอื เสมอื นวำ่ เป็น ผลประโยชนข์ องตนเอง 3.7 กำรใชแ้ ละ 3.7.1 พนักงำนต้องไม่สบู บหุ รี่ หรอื ก่อใหเ้ กดิ ประกำยไฟในสถำนท่ซี ง่ึ เก็บวตั ถุ กำรระวงั รักษำ ไวไฟหรือวตั ถุซ่ึงเปน็ เชอ้ื เพลิงภำยในบรเิ วณบริษทั ฯ หรือขณะปฏบิ ตั หิ น้ำที่ ทรพั ย์สนิ ของ ยกเว้นสถำนทซ่ี ่งึ จดั ไว้ให้ บริษทั ฯ 3.7.2 พนกั งำนตอ้ งไม่นำอปุ กรณ์ทรัพยส์ ินของบรษิ ัทฯ ไปใช้นอกเหนือจำกกำร ทำงำนให้แกบ่ รษิ ัทฯ 3.7.3 พนักงำนตอ้ งระวงั ทรพั ย์สินของบริษทั ฯ มิใหส้ ญู หำยหรอื ถูกทำลำยไป แม้ จะไมใ่ ช่หนำ้ ท่โี ดยตรงของตน 3.7.4 พนกั งำนต้องศกึ ษำ และทำควำมเข้ำใจถงึ วธิ กี ำรใช้ และคำแนะนำในดำ้ น ควำมปลอดภยั ของทรัพย์สนิ ของบรษิ ทั ฯ กอ่ นที่จะใชเ้ สมอ 3.7.5 พนักงำนต้องใช้ และบำรุงรกั ษำทรัพย์สินของบริษัทฯ เสมือนบุคคลท่วั ไป พึงใชแ้ ละบำรุงรกั ษำทรัพย์สนิ ของตนเอง 3.7.6 พนกั งำนตอ้ งปฏิบตั ติ ำมคำสงั่ หรอื ระเบียบเกี่ยวกบั ควำมปลอดภยั ในกำร ทำงำน
ค่มู อื พนกั งาน หมวด รำยละเอียด 3.8 ควำม 3.8.1 พนักงำนตอ้ งไมเ่ ปลีย่ นแปลง ปลอม แก้ไข ตัดทอน หรอื ทำลำยเอกสำร ซื่อสตั ย์สุจรติ ตำ่ ง ๆ ของบริษัทฯ หรือเอกสำรทมี่ ีกำรเก่ยี วขอ้ งระหวำ่ งบรษิ ัทฯ กับ พนกั งำนโดยไมม่ อี ำนำจหนำ้ ทีท่ จี่ ะกระทำกำรดังกลำ่ ว 3.8.2 พนกั งำนต้องแจ้งข้อมลู สว่ นตัวของตนตำมทบ่ี รษิ ทั ฯ ต้องกำรแกบ่ รษิ ัทฯ ตำมควำมเปน็ จริงและถำ้ ข้อมลู ทไี่ ดแ้ จง้ ไว้แล้วไมถ่ ูกตอ้ งตำมควำมเปน็ จรงิ ไมว่ ำ่ ด้วยเหตผุ ลใด พนักงำนตอ้ งรำยงำนขอ้ มลู ทีถ่ ูกตอ้ งใหบ้ รษิ ัทฯ ทรำบโดยเรว็ ท่ีสุด 3.8.3 พนกั งำนตอ้ งใหค้ วำมร่วมมือกับบรษิ ัทฯ ในกำรสอบสวนเร่ืองรำวต่ำง ๆ ท่ี บรษิ ทั ฯ ต้องกำร และในกำรร่วมมือดงั กล่ำวพนกั งำนจะต้องกระทำกำร ต่ำง ๆ ดว้ ยควำมสุจริต 3.8.4 พนักงำนตอ้ งไม่อำศยั อำนำจหน้ำที่ หรอื โอกำสในกำรทำงำนกับบริษทั ฯ เพอื่ แสวงหำประโยชนใ์ ด ๆ อันขดั ต่อจรรยำบรรณวชิ ำชพี ของตน ระเบยี บ ประเพณีในกำรทำงำน กฎหมำย หรือขดั ตอ่ ผลประโยชน์ของบรษิ ัทฯ 3.8.5 พนกั งำนตอ้ งไม่แจ้งขอ้ ควำมเทจ็ หรอื ลำป่วยเท็จต่อผู้บังคับบัญชำหรอื บรษิ ทั ฯ 3.8.6 พนกั งำนต้องยนิ ยอมให้ยำมรักษำกำรณ์ของบรษิ ทั ฯ ตรวจในกรณีทเี่ กิด ควำมสงสยั วำ่ จะมสี ่งิ ของทผ่ี ิดกฎหมำย หรอื ได้มำจำกกำรกระทำผิด กฎหมำย หรืออำวธุ อยใู่ นตัวพนักงำน 3.8.7 พนักงำนตอ้ งไมป่ กปิด หรอื บดิ เบอื นควำมจรงิ เพือ่ ได้มำซึง่ ประโยชนข์ อง ตนและผู้อื่น 3.8.8 พนักงำนตอ้ งไม่แจง้ หรอื ให้ข้อควำมอันเปน็ เท็จต่อผูบ้ งั คับบัญชำ 3.8.9 พนกั งำนต้องรกั ษำไว้ซึ่งงำนในหน้ำทใี่ นลกั ษณะสรำ้ งเสริม หรือรักษำไว้ ซง่ึ ประสิทธิภำพในกำรปฏิบตั งิ ำน และไมจ่ งใจหรอื เจตนำปฏบิ ตั งิ ำนให้ ลำ่ ช้ำ 3.8.10 พนักงำนจะตอ้ งบรกิ ำรลกู ค้ำเต็มควำมสำมำรถ หรอื จะตอ้ งรกั ษำ ผลประโยชนข์ องบริษัทฯ อย่ำงสงู สุด
หมวด คู่มือพนกั งาน 3.9 ควำม รำยละเอยี ด ประพฤติ 3.9.1 พนกั งำนตอ้ งไมท่ ำกำรทะเลำะววิ ำท หรือใชก้ ำลงั ประทษุ ร้ำยซึง่ กันและ กันในบริเวณบริษทั ฯ ควำมในข้อน้หี มำยควำมรวมถึงสถำนทอ่ี ่ืน เมื่อ บรษิ ัทฯ จดั งำนหรอื มงี ำนนอกสถำนทบ่ี รษิ ทั ฯ หรือในขณะทำงำนนอก สถำนที่และรถรับ-ส่ง 3.9.2 พนกั งำนตอ้ งเป็นผูต้ รงตอ่ เวลำในกำรนัดหมำยอันเก่ียวกับกำรปฏบิ ัตงิ ำน 3.9.3 พนกั งำนต้องใชจ้ ำ่ ยเงนิ ทองทีเ่ หมำะสมกับสถำนภำพทำงกำรเงนิ ของตน โดยไมป่ ลอ่ ยใหต้ นเองมีหนีส้ นิ ลน้ พ้นตัว 3.9.4 พนักงำนตอ้ งไมพ่ กอำวุธ หรอื ครอบครองส่งิ ผดิ กฎหมำยเข้ำมำในบริษทั ฯ หรือในขณะปฏิบัตหิ น้ำท่ี 3.9.5 พนกั งำนต้องประพฤติตนใหอ้ ยใู่ นศลี ธรรมอนั ดี หรอื ไมป่ ระพฤติชั่วรำ้ ย อย่ำงรำ้ ยแรงทง้ั ในและนอกบริเวณบรษิ ทั ฯ 3.9.6 พนักงำนตอ้ งเชอ่ื ฟงั และปฏิบัติตำมคำส่ังอนั ชอบธรรมของผู้บงั คบั บญั ชำ หรอื บรษิ ทั ฯ ทั้งคำสง่ั ดว้ ยวำจำลำยลักษณ์อักษร และกำรสือ่ ข้อควำมอน่ื ๆ 3.9.7 พนกั งำนตอ้ งเปน็ ผ้มู สี ัมมำคำรวะ ไม่พูดจำไม่สภุ ำพ ก้ำวร้ำว หรือแสดง ข้อควำมหรือแสดงกิรยิ ำอำกำรเปน็ กำรส่อเสยี ด เหยยี ดหยำม ประณำม หรือ ดูหมนิ่ พนักงำนอื่น หรอื ผบู้ งั คับบญั ชำ 3.9.8 พนักงำนต้องไม่ยยุ ง สง่ เสรมิ หรอื สนบั สนุนใหเ้ กดิ กำรแตกแยกควำม สำมคั คี กำรทะเลำะวิวำท หรือกำรทำร้ำยร่ำงกำยในหมู่พนักงำนของ บรษิ ัทฯ หรอื ระหว่ำงพนักงำนของบรษิ ทั ฯ กบั บคุ คลภำยนอก 3.9.9 พนกั งำนต้องไม่กระทำกำรใด ๆ อันเปน็ กำรผดิ กฎหมำยที่มโี ทษทำงอำญำ โดยเจตนำถึงแมว้ ่ำจะไม่ถกู ดำเนนิ คดกี ต็ ำม เช่น เล่นกำรพนนั 3.9.10 พนักงำนต้องไมเ่ ลน่ กำรพนันในบรเิ วณบริษัทฯ หรอื ในบริเวณบำ้ นพักของ บรษิ ทั ฯ ไมว่ ำ่ จะเป็นเวลำทำงำนหรอื นอกเวลำทำงำนกต็ ำม หรอื ห้ำมเลน่ กำรพนันในขณะปฏบิ ตั หิ น้ำทไ่ี มว่ ่ำในหรอื นอกสถำนท่ีทำงำน หรือสง่ เสรมิ ให้มีกำรเลน่ กำรพนนั หรอื มีหน้สี ินจำกกำรเลน่ กำรพนนั หรอื ถกู จับกมุ เน่อื งจำกเลน่ กำรพนนั ในสถำนท่ีทำงำน 3.9.11 พนกั งำนตอ้ งไมก่ ระทำกำรลว่ งเกนิ ทำงเพศซง่ึ กันและกันในเวลำทำงำน หรอื ในสถำนทีท่ ำงำน หรือในบรเิ วณบำ้ นพกั ของบริษัทฯ หรือบนรถรับ – สง่ พนกั งำน
หมวด คมู่ ือพนกั งาน 4. บทลงโทษ รำยละเอียด วนิ ัยของพนักงำนตำมทรี่ ะบมุ ำน้ีพนกั งำนมหี น้ำทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ิตำมอยำ่ งเครง่ ครดั และอนโุ ลมบงั คับใช้ถึงบำ้ นพักหรือรถรับ - สง่ พนักงำนด้วย ถ้ำพนักงำนผ้ใู ดปฏบิ ตั ิ หรือละเว้นกำรปฏิบัติใด ๆ อันถอื ว่ำเป็นกำรฝ่ำฝนื วินัยดังกล่ำวจะต้องถกู พิจำรณำ ลงโทษทำงวนิ ยั ตำมลกั ษณะแห่งควำมผดิ หรอื ควำมหนักเบำของกำรกระทำผดิ หรือรำ้ ยแรงเกดิ ข้นึ กำรลงโทษจะเปน็ ไปตำมข้อหน่งึ ข้อใด หรอื หลำยข้อรวมกันก็ได้ ตำมบทลงโทษทำงวินยั บรษิ ทั ฯ กำหนดบทลงโทษทำงวินยั ไว้ 4 ประกำรดังนี้ 4.1 กำรตกั เตอื นด้วยวำจำ โดยบนั ทึกเป็นหนังสือไว้เป็นหลกั ฐำน 4.2 กำรตกั เตือนเปน็ หนงั สอื 4.3 พักงำนโดยไมจ่ ่ำยคำ่ จำ้ ง และไมจ่ ่ำยสวสั ดิกำร 4.4 กำรเลกิ จำ้ งโดยไม่จ่ำยค่ำชดเชย 5. กำรเลกิ จำ้ ง 5.1 ทจุ ริตตอ่ หนำ้ ทีห่ รอื กระทำควำมผดิ อำญำโดยเจตนำแก่บริษัทฯ โดยไมจ่ ำ่ ย 5.2 จงใจทำให้บรษิ ทั ฯ ได้รบั ควำมเสียหำย คำ่ ชดเชย ผู้มี 5.3 ประมำทเลินเลอ่ เป็นเหตุใหบ้ รษิ ทั ฯ ไดร้ บั ควำมเสียหำยอยำ่ งร้ำยแรง อำนำจลงโทษมี 5.4 ฝำ่ ฝืนขอ้ บงั คับเก่ียวกบั กำรทำงำน หรอื ระเบียบ หรือคำสง่ั ของบริษทั ฯ อนั หลักเกณฑใ์ นกำร พจิ ำรณำพนักงำน ชอบด้วย กฎหมำยและเปน็ ธรรมและบริษัทฯ ได้ตักเตอื นเปน็ หนงั สือแล้ว เวน้ ผกู้ ระทำผิด ดงั น้ี แต่กรณที ี่ร้ำยแรง นำยจ้ำงไมจ่ ำเป็นตอ้ งตักเตือน หนงั สือเตอื นให้มผี ลบังคบั ได้ไม่เกินหนึ่งปนี บั แต่วนั ที่ ลูกจ้ำงไดก้ ระทำผิด 5.5 ละทิ้งหน้ำที่เป็นเวลำสำมวนั ทำงำนติดตอ่ กนั ไม่วำ่ จะมีวันหยุดคนั่ หรือไม่ก็ ตำมโดยไมม่ เี หตอุ นั สมควร 5.6 ไดร้ ับโทษจำคกุ ตำมคำพพิ ำกษำถงึ ทีส่ ุดให้จำคกุ เว้นแตเ่ ป็นโทษสำหรบั ควำมผิดทไ่ี ด้กระทำโดยประมำทหรือควำมผิดลหุโทษ
คมู่ อื พนกั งาน หมวด รำยละเอยี ด 6. ในกรณีท่ี บริษัทฯ จะมคี ำสั่งพกั งำนระหว่ำงสอบสวนเปน็ หนงั สอื โดยระบสุ ำเหตุควำมผิด พนักงำนทำผิด และกำหนดระยะเวลำพกั งำนเพ่อื สอบสวนได้ไม่เกนิ เจ็ดวัน โดยจะแจ้งให้พนกั งำน วนิ ยั ทรำบก่อนพักงำนในระหวำ่ งกำรพกั งำน บริษัทฯ จะจ่ำยเงนิ ใหแ้ ก่พนกั งำนตำม อตั รำทกี่ ำหนดไว้ไม่นอ้ ยกวำ่ รอ้ ยละหำ้ สิบของค่ำจำ้ งในวันทำงำนเม่ือกำรสอบสวน เสร็จสิน้ แลว้ ปรำกฏว่ำพนักงำนไม่มีควำมผดิ บรษิ ทั ฯ จะจ่ำยคำ่ จำ้ งให้แก่พนกั งำน เท่ำกบั รอ้ ยละห้ำสบิ ของค่ำจ้ำงในวันทำงำนนับแต่วันที่พนักงำนถูกส่งั พกั งำนพรอ้ ม ด้วยดอกเบี้ยรอ้ ยละสิบหำ้ ตอ่ ปี ทำงบริษทั ฯ ขอสงวนสทิ ธทิ จี่ ะเปลย่ี นแปลง เพม่ิ เติม กฎระเบยี บขอ้ บังคบั ในกำรทำงำนของบรษิ ทั ฯ เพอื่ ควำมเหมำะสม ตำมสภำพของ สถำนกำรณ์ภำยหน้ำ โดยบริษัทฯ จะปฏิบัติใหถ้ กู ต้องตำมกฎหมำยแรงงำน 7.ผมู้ อี ำนำจ คือ กรรมกำรผู้จัดกำร หรอื ผ้บู ังคับบญั ชำแตล่ ะแผนกเป็นผ้ลู งโทษ หรอื บคุ คลท่ี พิจำรณำและ ได้รับกำรมอบหมำย ดำเนนิ กำรลงโทษ ทำงวินัย
คมู่ อื พนักงาน กำรรอ้ งทุกข์ 1. วตั ถปุ ระสงค์ บริษัทฯ กำหนดหลกั เกณฑ์กำรร้องทุกขโ์ ดยมีวตั ถปุ ระสงค์ดงั นี 1.1 เพอื่ เสริมสรำ้ งควำมสมั พันธ์อนั ดรี ะหวำ่ งบริษัทฯ กบั พนกั งำน 1.2 เพอ่ื ลดหรือขจดั ปัญหำขอ้ ขอ้ งใจอนั จะส่งผลกระทบตอ่ ขวัญและกำลังใจของพนกั งำน 1.3 เพือ่ ให้มีกำรวนิ ิจฉัยกำรลงโทษทำงวินยั อยำ่ งเท่ียงธรรมและถกู ต้อง 2. ระเบียบปฏบิ ัติวำ่ ด้วยกำรร้องทกุ ข์ 2.1 ขอบเขตและควำมหมำยของข้อร้องทกุ ข์ บรษิ ทั ฯ มีควำมปรำรถนำที่จะให้กำรทำงำนของพนักงำนเป็นไปด้วยควำมเข้ำใจท่ีดีระหว่ำง บริษัทฯ กบั พนกั งำนอนั จะยงั ประโยชนส์ ุขด้วยกนั ทงั้ สองฝ่ำย ดงั น้นั ในกรณีทพี่ นักงำนมปี ัญหำอย่ำง ใดอย่ำงหน่งึ ซ่ึงเป็นผลมำจำกกำรทำงำนหรอื สภำพกำรทำงำนหรอื ไม่ได้รบั ควำมเปน็ ธรรมในเร่ือง ใด ๆ พนักงำนมสี ทิ ธิท่ีจะยนื่ คำร้องทุกข์เป็นกำรส่วนตัวได้ 2.2 วิธีกำรและขั้นตอนกำรร้องทุกข์ พนักงำนทต่ี อ้ งกำรยืน่ คำรอ้ งทุกข์ ใหด้ ำเนนิ กำรดงั ต่อไปน้ี 2.2.1 ให้พนกั งำนยืน่ คำร้องทุกขเ์ ป็นหนังสอื ระบุถึงสำเหตุ ระบถุ งึ วิธกี ำรแก้ไขคำร้อง ทกุ ขแ์ ละลงลำยมือช่อื ด้วยตนเอง ยนื่ ต่อผ้บู ังคับบญั ชำภำยใน 7 วนั นบั แต่วนั ท่ี มขี ้อร้องทกุ ขเ์ กิดข้ึน 2.2.2 พนักงำนผู้มขี อ้ ร้องทุกข์จะตอ้ งเปน็ ผยู้ ่ืนข้อร้องทุกขด์ ้วยตนเอง ท้ังนบ้ี ริษัทฯ จะ ไมร่ ับพิจำรณำในกรณีท่พี นกั งำนผู้อน่ื เปน็ ผู้ย่ืนร้องทกุ ขแ์ ทน 2.3 กำรสอบสวนและกำรพจิ ำรณำข้อร้องทุกข์ 2.3.1 เมอื่ ผบู้ งั คับบัญชำระดับสูงท่ีไดร้ บั คำรอ้ งทุกข์จำกพนกั งำนแล้ว จะดำเนินกำร หำทำงยุติและชีแ้ จงด้วยวำจำ หรอื อำจตอบเปน็ หนงั สอื แก่พนักงำนผยู้ ่นื คำร้อง ทกุ ข์ภำยใน 14 วันทำงำน นับแต่วันทไี่ ดร้ บั คำรอ้ งทุกขน์ ั้น 2.3.2 กรณีพนกั งำนผูย้ ืน่ คำรอ้ งทุกข์ ไมไ่ ด้รับคำตอบจำกผูบ้ ังคบั บญั ชำระดบั สงู ตำมข้อ 2.3.1 ภำยในกำหนดเวลำดังกล่ำว หรือไดร้ ับคำตอบแล้วแตย่ งั ไม่เปน็ ท่ี นำ่ พอใจให้พนักงำนยน่ื อุทธรณ์ร้องทกุ ขต์ ่อ ผูบ้ งั คับบญั ชำระดบั บริหำรอกี ครัง้ ภำยใน 7 วนั นบั ต้งั แต่วนั ที่ไดร้ บั ทรำบผล ตำมขอ้ 2.3.1 โดย ผู้บงั คบั บัญชำระดับบรหิ ำรทไ่ี ด้รับคำอทุ ธรณ์รอ้ งทุกข์ ดังกล่ำวจะวนิ จิ ฉยั และแจ้งผลใหพ้ นักงำนทรำบ ภำยใน 14 วันทำงำน นบั แต่วันที่ไดย้ ื่นอุทธรณร์ อ้ งทุกขแ์ ละผลกำรวินจิ ฉัยของ ผบู้ งั คบั บัญชำระดับบริหำรถือวำ่ เปน็ อันส้ินสดุ
Search