Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E.Book สมุนไพรพื้นบ้านw

E.Book สมุนไพรพื้นบ้านw

Published by werapong pattawee, 2018-10-27 00:34:42

Description: E.Book สมุนไพรพื้นบ้านw

Search

Read the Text Version

คํานํา พืชสมุนไพร เปนสิ่งท่ีอยูคูคนไทยมานับพันป แตเมื่อการแพทยแผนปจจุบันเริ่มเขามามีบทบาทในบานเรา สรรพคุณและคุณคาของสมุนไพรอันเปนส่ิงท่ีเรียกไดวาภูมิปญญาโบราณก็เร่ิมถูกบดบงั ไปเรอื่ ยๆ และถกู ทอดท้งิ ไปในทสี่ ดุ ความจรงิ คนสวนใหญก็พอรูๆ กันวา สมุนไพรไทยเปนสิ่งที่มีคุณคาใชประโยชนไดจริง และใชไดอยางกวางขวาง แตเปนเพราะวาเราใชวิธีรักษาโรคแผนใหมม านานมากจนวชิ าแพทยแผนโบราณทีม่ ีสมุนไพรเปนยาหลักถูกลืมจนตอไมติด เร่ืองเหลานี้จึงเปนเร่ืองที่ผูจัดทําสนใจที่จะศึกษาถึง\" เรื่องสมุนไพรพื้นบาน\" ประกอบกับภาครัฐเร่ิมกลับมาเห็นคุณคา ของสมุนไพรพ้ืนบานอกี ครั้ง โดยผจู ัดทาํ ไดนํามาสรา งในรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส(E-Book) เพื่อใหเกิดความสะดวกในการนํามาใชสอนนักเรียน ตลอดจนนักเรียนหรือผูที่สนใจสามารถเขา ไปอานหาความรแู ละฝก การอานออกเขยี นไดอานคลอ งเขยี นคลองอกี ทางหน่ึง ผจู ดั ทาํ ขอขอบคุณผมู สี วนเก่ยี วขอ งทกุ ทา นในการจัดทาํ หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส (E-Book)เลมน้ีใหสําเร็จลุลวงดวยดี และหวังวาจะเปนประโยชนตอการเรียนการสอน ตลอดจนเกิดประโยชนตอ ผสู นใจพชื สมนุ ไพรพน้ื บา นสืบไป

สารบญั หนา 1สมุนไพรพ้นื บาน 1 ประวตั คิ วามเปนมาของสมนุ ไพร 2 3  ประวัติของการใชสมุนไพร 3  ประโยชนของสมุนไพร 4 สรรพคุณสมุนไพรพน้ื บาน 5  ตะไคร 6  ขงิ 7  บวั บก 8  ขา 9  กระชาย 10  มะกรูด 11  วานหางจระเข 12  กานพลู 13  กลวยนํ้าวา 14  กระเทียม 15  ข้ีเหลก็ 16  คูณ 17  ชมุ เหด็ เทศ 18  มะขาม 19  แมงลกั 20  ไพล 21  เทียนบาน 22  กะเพรา 23  ยอ 24  ฟกทอง 25  มะเกลือ 26  เลบ็ มอื นาง 27  ฟาทะลายโจร 28  กระเจีย๊ บแดง 29  หญาหนวดแมว  หญา คา  ออยแดง

 สรรพคุณสมนุ ไพรพนื้ บาน (ตอ) หนา  ขลู 30  สับปะรด 31  สะแก 32  พลู 33  ทองพันชงั่ 34  มะหาด 35  พญาปลอ งทอง 36  มะนาว 37  มะแวงเครอื 38  มะแวงตน 39  แหว หมู 40  เรว 41  ดปี ลี 42  นอยหนา 43  ยา นาง 44  ปลาไหลเผอื ก 45  บอระเพ็ด 46  มงั คุด 47  กระวาน 48 49บรรณานุกรม

~1~ สมุนไพรพื้นบา นประวตั คิ วามเปน มาสมนุ ไพรคืออะไร คําวา สมุนไพร ตามพระราชบัญญัตหิ มายความถึง ยาที่ไดจ ากพืช สัตว และแร ซ่ึงยังมิไดมีการผสมปรุงหรือแปรสภาพ (ยกเวนการทําใหแหง) เชน พืชก็ยังคงเปนสวนของราก ลําตน ใบดอก ผล ฯลฯ ยังไมไดผานข้ันตอนการแปรรูปใดๆ เชน การห่ัน การบด การกล่ัน การสกัดแยกรวมทงั้ การผสมกบั สารอนื่ ๆ แตใ นทางการคา สมุนไพรมักจะถูกดัดแปลงในรูปแบบ ตางๆ เชน ถูกหั่นเปนชิ้นเล็กลง บดใหเปนผง อัดใหเปนแทง หรือปอกเปลือกออก เปนตน เม่ือพูดถึงสมุนไพรคนท่ัวๆ ไปมักจะนึกถึงเฉพาะพืชท่ีนํามาใชประโยชนในทางยา ท้ังน้ีเพราะ สัตว และแรมีการใชนอ ย จะใชเ ฉพาะในโรคบางชนิดเทาน้ันประวตั ิของการใชส มุนไพร สมุนไพร คือ ของขวัญท่ีธรรมชาติมอบใหกับมวลมนุษยชาติ มนุษยเรารูจักใชสมุนไพรในดา นการบาํ บัดรกั ษาโรค นับแตย คุ นแี อนเดอรทัลในประเทศอริ ักปจ จุบนั ท่ีหลมุ ฝงศพพบวามีการใชสมนุ ไพรหลายพันปมาแลวที่ชาวอินเดียแดงในเม็กซิโก ใชตนตะบองเพชร(Peyate) เปนยาฆาเชื้อและรักษาบาดแผล ปจจุบันพบวา ตะบองเพชรมีฤทธ์ิกลอมประสาทประมาณ 4,000 ปมาแลว ท่ีชาวสุเมเรยี นไดเขามาต้ั งรกราก ณ บริเวณแมนํ้าไทกริสและยูเฟรติสปจจุบัน คือ ประเทศอิรัก ใชสมุนไพร เชน ฝน ชะเอม ไทม และมัสตารด และตอมาชาวบาบิโลเนียน ใชสมุนไพรเพ่ิมเติมจากชาวสเุ มเรยี น ไดแ กใ บมะขามแขก หญา ฝรน่ั ลกู ผักชี อบเชย และกระเทียม ในยุคตอมาอียิปตโบราณมี อิมโฮเทป แพทยผูมีช่ือเสียงซึ่งตอมาไดรับการยกยองใหเปนเทพเจาแหงการรักษาโรค ของอียิปต มีตําราสมุนไพรที่เกาแก คือ Papytus Ebers ซ่ึงเขียนเม่ือ 1,600 ป กอนคริสตศักราช ซ่ึงคนพบโดยนักอียิปตวิทยาชาวเยอรมันนี ช่ือ Georg Ebers ในตําราน้ีไดกลาวถึงตําราสมุนไพรมากกวา 800 ตํารับ และสมุนไพรมากกวา 700 ชนิด เชน วานหางจระเข เวอรมวูด(warmwood) เปปเปอรมินต เฮนเบน(henbane) มดยอบ, hempdagbane ละหงุ mandrake เปน ตน รูปแบบในการเตรยี มยาในสมยั น้ัน ไดแก การตม การชง ทําเปนผง กล่ันเปนเมด็ ทําเปนยาพอก เปน ข้ผี งึ้ นอกจากนี้ยังพบวาชาติตางๆ ในแถบยุโรปและแอฟริกา มีหลักฐานการใชสมุนไพรตามลาํ ดับกอนหลงั ของการเริม่ ใชสมุนไพร คือ หลังจากสมุนไพรไดเจริญรุงเรืองในอียิปตแลว ก็ไดมีการสืบทอดกันมา เชน กรีก โรมัน อาหรับ อิรัก เยอรมัน โปรตุเกส สวีเดน และโปแลนดสวนในแถบเอเซีย ตามบนั ทกึ ประวัติศาสตรพบวามีการใชสมุนไพรท่ีอินเดียกอน แลวสืบทอดมาที่จีน มะละกา และประเทศไทย

~2~ประโยชนข องพชื สมุนไพร 1. สามารถรักษาโรคบางชนดิ ได โดยไมต อ งใชยาแผนปจจบุ ัน ซึ่งบางชนิดอาจมีราคาแพง และตองเสยี คา ใชจา ยมาก อกี ทัง้ อาจหาซ้อื ไดย ากในทองถิน่ นนั้ 2. ใหผลการรกั ษาไดดีใกลเ คยี งกบั ยาแผนปจ จุบัน และใหความปลอดภยั แกผูใชม ากกวาแผน ปจ จบุ นั 3. สามารถหาไดงายในทองถ่ินเพราะสว นใหญไดจ ากพชื ซง่ึ มีอยทู ว่ั ไปทงั้ ในเมอื งและ ชนบท มรี าคาถกู สามารถประหยดั คาใชจา ยในการซ้อื ยาแผนปจจบุ ัน ทีต่ องสัง่ ซื้อจากตา ง ประเทศเปนการลดการขาดดลุ ทางการคา 4. ใชเปนยาบํารุงรักษาใหรางกายมสี ขุ ภาพแข็งแรง 5. ใชเปน อาหารและปลกู เปนพืชผักสวนครัวได เชน กะเพรา โหระพา ขงิ ขา ตาํ ลึง 6. ใชในการถนอมอาหารเชน ลกู จนั ทร ดอกจนั ทรแ ละกานพลู 7. ใชปรุงแตง กลิ่น สี รส ของอาหาร เชน ลูกจนั ทร ใชปรงุ แตง กลิน่ อาหารพวก ขนมปง เนย ไสก รอก แฮม เบคอน 8. สามารถปลูกเปน ไมประดบั อาคารสถานที่ตาง ๆ ใหสวยงาม เชน คูน ชมุ เหด็ เทศ 9. ใชปรงุ เปน เครอ่ื งสําอางเพ่ือเสรมิ ความงาม เชน วา นหางจระเข ประคาํ ดีควาย 10. ใชเ ปน ยาฆาแมลงในสวนผัก, ผลไม เชน สะเดา ตะไคร หอม ยาสบู 11. เปน พชื ท่สี ามารถสงออกทํารายไดใหก บั ประเทศ เชน กระวาน ขมิน้ ชนั เรว 12. เปน การอนุรักษม รดกไทยใหประชาชนในแตล ะทอ งถนิ่ รูจักชว ยตนเองในการ นําพืช สมุนไพรในทอ งถนิ่ ของตนมาใชใหเกดิ ประโยชนตามแบบแผนโบราณ 13. ทําใหค นเห็นคุณคาและกลับมาดําเนินชวี ิตใกลช ดิ ธรรมชาตยิ ง่ิ ขึ้น 14. ทําใหเกดิ ความภมู ใิ จในวัฒนธรรม และคุณคาของความเปน ไทย

~3~สรรพคุณสมุนไพรพนื้ บา นตะไครชื่อวทิ ยาศาสตร Cymbopogon citratus Stapf.วงศ GRAMINEAEชอื่ อื่นๆภาคเหนือ : จะไค (Cha-khai) จะไค (Cha-khai)ภาคใต : ไคร (Khrai)ชวา : ซีเร (Sere)ถ่ินกําเนดิ อนิ โดนเี ซีย ศรีลังกา พมา อนิ เดีย อเมรกิ าใต ไทยรปู ลักษณะ : ไมลม ลกุ ทมี ีอายุไดห ลายป ชอบดนิ รว นซุย ปลกู ได ตลอดป ใบสีเขียวยาวแหลม ดอกฟสู ขี าว หวั โตขน้ึ จากดินเปนกอๆ กลิน่ หอมฉนุ คอนขางรอนการปลูก : ไถพรวนดินและตากดนิ ไวประมาณ 7 - 10 วัน ยอ ยดนิ ใหล ะเอยี ด ใสป ยุ คอกหรือปุยหมักคลุกเคลา ใหเขา กับดินขดุ หลมุ ปลกุ ระยะ 30 x 30 เซนติเมตร กอนนําตะไครไปปลกู นําพนั ธุท่เี ตรียมไวต ัดใบออก ใหเหลือตนยาว ประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร มาแชนา้ํ ประมาณ 5 - 7 วนัเพอ่ื ใหรากงอก รากที่แกเ ต็มท่ีจะมสี เี หลอื งเขม นําไปปลุกในแปลงวางตน พนั ธุ ใหเอียง 45 องศาไปดา นใดดานหนง่ึ แลวกลบดิน จากนน้ั รดนํ้าใหชมุ หลงั ปลกู ไดป ระมาณ 30 วนั ก็ควรใสปุยสตู ร 15 - 15 - 15 หรอื 46 - 0 - 0 อตั รา 50 กิโลกรมั /ไรสรรพคณุ และสวนทีน่ ํามาใชเ ปนยานํ้ามันจากใบและตน – แตง กล่นิ อาหาร เคร่ืองด่มื สบูลําตนแกหรือเหงา – แกอ าการทองอดื ทอ งเฟอ ขบั ปส สาวะ แกนิ่ว ขับประจาํ เดอื น

~4~ขงิชอ่ื วิทยาศาสตร : Zingiber officinale Roscoe.ชื่อวงศ : ZINGIBERACEAEชอ่ื พนื้ เมือง: ขงิ แกลง, ขิงแดง (จนั ทรบุรี) ขิงเผือก (เชียงใหม) สะเอ (แมฮองสอน) ขิงบา น ขิงแครงขงิ ปา ขงิ เขา ขงิ ดอกเดียว (ภาคกลาง) เกีย (จีนแตจิว๋ )ลักษณะท่วั ไป : ไมล มลกุ สงู 0.3-1 เมตร มีเหงาใตด นิ เปลือกนอกสีนํ้าตาลแกมเหลือง เน้ือในสีนวลแกมเขยี ว มกี ลนิ่ เฉพาะ แตกสาขา คลา ยนว้ิ มอื ใบเด่ยี ว เรยี งสลับ รปู ขอบขนาน แกมใบหอกกวาง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. ดอกชอ แทงออกจากเหงา กลีบดอกสเี หลอื งแกมเขียว ใบประดบั สเี ขยี วออ น ผลแหง มี 3 พสู รรพคณุ เหงา แกท้งั สดและแหงใชเปน ยาขับลม ชว ยใหเจรญิอาหาร แกอ าเจียน แกไอ ขบั เสมหะและขับเหงอ่ื ผงขงิ แหง มีฤทธ์ขิ บั น้ําดี ชวยยอยไขมนั ลดการบบี ตัวของลาํ ไส บรรเทาอาการปวดทองเกรง

~5~บวั บกชอ่ื วิทยาศาสตร : Centella asiatica Urbanวงศ : Umbelliferaeชอ่ื สามัญ : Asiatic Pennywort/Tiger Herbalชอ่ื อนื่ : ผักแวน ผกั หนอกรูปลกั ษณะ : ไมล มลุก อายุหลายป เลอ้ื ยแผไปตามพ้นื ดนิ ชอบทชี่ ้นื แฉะ แตกรากฝอยตามขอ ไหลท่แี ผไ ปจะงอกใบจากขอ ชูขึ้น 3-5 ใบ ใบเดย่ี ว เรียงสลับ รูปไต เสน ผาศนู ยก ลาง 2-5 ซม. ขอบใบหยัก กานใบยาว ดอกชอ ออกทซ่ี อกใบ ขนาดเลก็ 2-3 ดอก กลบี ดอกสีมวง ผลแหง แตกไดสรรพคณุ และสว นที่นํามาใชเ ปนยาใบสด - ใชเปน ยาภายนอกรักษาแผลเปอ ย แผลไฟไหมน าํ้ รอนลวก โดยใชใ บสด 1 กาํ มือ ลา งใหสะอาด ตาํ ละเอยี ด คน้ั เอาน้ําทาบริเวณแผลบอย ๆ ใชกากพอกดว ยก็ได แผลจะสนทิ และเกดิ แผลเปนชนดิ นนู (keloid) นอ ยลง สารทอ่ี อกฤทธ์ิคอืกรด madecassic, กรด asiatic และ asiaticoside ซง่ึ ชวยสมานแผลและเรง การสรางเน้อื เยอื่ระงับการเจรญิ เติบโตของเชอ้ื แบคทเี รยี ที่ทาํ ใหเกดิ หนองและลดการอกั เสบ มีรายงานการคนพบฤทธิฆ์ าเชอ้ื รา อันเปนสาเหตขุ องโรคกลาก ปจจุบนั มีการพฒั นายาเตรียมชนดิ ครมี ใหทารักษาแผลอกั เสบจากการผา ตัด นํ้าตม ใบสด - ดม่ื ลดไข รกั ษาโรคปากเปอย ปากเหม็น เจ็บคอ รอนในกระหายน้ํา ขบั ปสสาวะ แกทอ งเสีย

~6~ขาชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Languas galaga (Linn). Stuntzชือ่ วงศ: ZINGIBERACEAEชื่อพน้ื เมือง: ขา ขา ใหญ ขาหลวง ขา หยวก (ภาคเหนือ) กฎุ กกโรหนิ ี เสะเออเคย (แมฮ อ งสอน)สะเชย (กะเหรยี่ ง-แมฮอ งสอน)ลกั ษณะทั่วไป : ไมล ม ลกุ สูง 1.5-2 เมตร เหงา มขี อ และปลอ งชัดเจน ใบเดยี่ ใบสีเขียวออ นสลับกันรูปรางรยี าว ปลายแหลม ดอกออกเปนชอ ที่นอ ดอกยอยขนาดเลก็ กลบี ดอกสีขาว โคนติดกนั เปนหลอดส้นั ๆ ปลายแยกเปน 3 กลบี กลีบใหญที่สดุ มรี ้ิวสแี ดง ใบประดบั รูปไข ผลแหง แตกได รูปกลมสรรพคณุ เหงา สดตาํ ผสมกบั เหลา โรง ใชทารักษาโรคผิวหนังทเี่ กดิ จากเชื้อรา เชน กลากเกลื้อน เหงา ออ นตม เอานํ้าดมื่ บรรเทาอาการทองอืด ทองเฟอ และขับลม ขาไมม ีฤทธิก์ อกลายพันธุและไมเ ปนพิษ

~7~กระชายช่ือวทิ ยาศาสตร : Boesenbergia rotunda (Linn.) Mansf.ชอื่ วงศ : ZINGIBERACEAEชื่อพื้นเมือง: ขิง กระชาย กะชาย วานพระอาทิตย (กรุงเทพฯ) กระแอม ระแอน (ภาคเหนือ) ขิงทราย (มหาสารคาม) จ๊ีปู ซีฟู (ฉาน-แมฮองสอน) เปาะสี่ เปาซอเราะ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน)ลักษณะทั่วไป : ไมล ม ลุก ไมม ลี ําตน บนดนิ มีเหงา ใตดนิ ซึ่งแตกรากออกไป เปน กระจุกจํานวนมากอวบน้ํา ตรงกลางพองกวางกวาสวนหัวและทาย ใบเดี่ยว เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปขอบขนานแกมรูปไข ตรงกลางดานในของกานใบมีรองลึก ดอกชอ ออกแทรกอยูระหวางกาบใบที่โคนตน กลีบดอกสีขาวหรอื ชมพอู อ น ใบประดับรูปใบหอก สีมวงแดง ดอกยอยบานครั้งละ 1 ดอก ผลของกระชายเปน ผลแหงสรรพคณุ เหงา ใชแ กโ รคในปาก ขบั ปส สาวะ รักษาโรคบิด แกปวดมวนทองขบั ระดูขาว

~8~มะกรูดชื่อวทิ ยาศาสตร Citrus hystrix DC.ช่ือวงศ Rutaceacชอ่ื สามญั Leech Lime, Mauritius Papeda, Kaffir Lime, Porcupine Orangeชอ่ื ทองถ่ินภาคเหนือ เรียก มะขูด, มะขนุภาคใต เรยี ก สม กรูด, สมมวั่ ผีเขมร เรยี ก โกรย เขียดกะเหรี่ยง-แมฮอ งสอน เรียก มะขูลักษณะทวั่ ไป : มะกรดู เปนไมยนื ตน ขนาดเล็ก แตกก่งิ กาน ลําตน และก่งิ มีหนามแข็ง ใบ เปนใบประกอบทีม่ ีใบยอยใบเดยี ว สเี ขยี วหนา มีลกั ษณะคอดกิว่ ทก่ี ลางใบเปน ตอนๆ มกี านแผออกใหญเทากบั แผน ใบ ทาํ ใหเห็นใบเปน 2 ตอน ใบสเี ขยี วแกคอ นขางหนา มกี ลนิ่ หอมมากเพราะมตี อ มน้ํามนั อยู ดอก ออกเปนกระจกุ 3–5 ดอก กลบี ดอกสีขาว รว งงาย ผล มีหลายแบบแลวแตพ ันธผุ ลเลก็ เทามะนาว ผิวขรุขระนอยกวา และไมมจี ุกที่หัวการปลูก มะกรูดปลูกไดด ใี นดนิ ทุกชนิด ขยายพันธโุ ดยการเพาะเมลด็สรรพคุณทางยา :ผวิ ผลสดและผลแหง รสปรา หอมรอน สรรพคุณแกล มหนา มืด แกว งิ เวียน บํารงุหวั ใจ ขับลมลําไส ขบั ระดูผล รสเปรีย้ ว มสี รรพคุณเปนยาขบั เสมหะ แกไ อ แกนํา้ ลายเหนยี ว ฟอกโลหติ ใชส ระผมทําใหผ มดกดาํ ขจดั รังแคราก รสเยน็ จืด แกพิษฝภายใน แกเสมหะ แกล มจุกเสยี ดน้าํ มะกรดู รสเปร้ยี ว กดั เสมหะ ใชดองยามีสรรพคุณเปน ยาฟอกโลหิตสาํ หรับสตรีใบ รสปรา หอม แกไอ แกอาเจียนเปน โลหติ แกชํ้าใน และดับกลนิ่ คาว

~9~วานหา งจระเขชือ่ วทิ ยาศาสตร : Aloe barbadensis Mill.ชือ่ วงศ: ALOACEAEชื่อพื้นเมอื ง: วานไฟไหม (ภาคเหนอื ) หางตะเข (ภาคกลาง)ลักษณะท่วั ไป : ไมล มลกุ อายหุ ลายป สูง 0.5-1 เมตร ขอและปลอ งส้นั ใบเด่ยี ว เรียงรอบตนกวา ง 5-12 ซม. ยาว 0.3-0.8 เมตร อวบนํา้ มาก สีเขียวออนหรอื สีเขยี วเขม ภายในมีวนุ ใส ใตผ ิวสีเขยี วมนี า้ํ ยางสีเหลือง ใบออนมปี ระสีขาว ดอกชอออกจากกลางตน ดอกยอย เปน หลอดหอยลง สีสม บานจากลา งขึ้นบน ผลแหง แตกไดสรรพคุณวนุ สดภายในใบทฝี่ านออกใชปดพอกรักษาแผลสดแผลเร้อื รงั แผลไฟไหมนาํ้ รอ นลวก แผลไหมเ กรียม กนิ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร และใชเปนสว นผสมในเคร่ืองสําอาง น้าํ ยางสีเหลอื งจากใบเค่ียวใหแหง เรียกวา ยาดาํ เปนยาระบายชนิดเพม่ิการบีบตวั ของลําไสใหญ

~ 10 ~กานพลูชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Eugenia caryophyllum Bullock & Harrisonวงศ : Myrtaceaeชื่อสามญั : Cloveลกั ษณะ : ไมยืนตน สูง 5-10 เมตร ใบเด่ยี ว เรยี งตรงขา ม รูปวงรหี รอื รูปใบหอก กวาง 2.5-4 ซม.ยาว 6-10 ซม. ขอบเปน คลื่น ใบออ นสีแดงหรอื นาํ้ ตาลแดง เนื้อใบบางคอนขางเหนียว ผวิ มัน ดอกชอ ออกท่ีซอกใบ กลีบดอกสขี าวและรว งงา ย กลบี เลยี้ งและฐานดอกสีแดงหนาแขง็ ผลเปน ผลสดรปู ไขประโยชนทางสมุนไพร : ตํารายาไทย ใชดอกตมู แหง แกปวดฟน โดยใชดอกแชเหลาเอาสาํ ลชี บุ อดุรฟู น และใชข นาด 5-8 ดอก ชงน้ําเดอื ด ด่มื เฉพาะสว นนา้ํ หรอื ใชเคย้ี วแกทอ งเสีย ขบั ลม แกทอ งอืดเฟอ นอกจากนใี้ ชผสมในยาอมบว นปากดับกล่ินปาก พบวาในน้ํามันหอมรเหยท่ีกลั่นจากดอกมีสาร eugenol ซ่ึงมฤี ทธเ์ิ ปนยาชาเฉพาะที่ จงึ ใชแ กป วดฟน และมีฤทธล์ิ ดการบีบตวั ของลาํ ไส ทําใหเกิดอาการปวดทอ งลดลง ชวยขับนาํ้ ดี ลดอาการจกุ เสียดทีเ่ กดิ จากการยอยไมสมบูรณและสามารถฆา เชื้อแบคทีเรียหลายชนดิ เชน เชอื้ โรคไทฟอยด บดิ ชนิดไมม ตี วั เชอ้ื หนองเปน ตนนอกจากนยี้ ังกระตุนใหม กี ารหล่ังเมือก และลดการเปนกรดในกระเพาะอาหารดว ย

~ 11 ~กลว ยนํ้าวาชื่อวิทยาศาสตร : Musa sapientum L.]วงศ : Musaceaeชื่อสามญั ; Bananaลกั ษณะ : ไมลมลุก สงู 2-4.5 เมตร มีลําตน ใตดนิ ลําตน เหนือดนิ เกดิ จากกาบใบหมุ ซอ นกัน ใบเด่ียว เรียงสลับซอนกนั รอบตนที่ปลายยอด รปู ขอบขนาน กวาง 25-40 ซม. ยาว 1-2 เมตร ผิวใบเรียบมัน ทอ งใบสอี อ นกวา มนี วล ดอก ชอ เรยี กวา หัวปลอี อกที่ปลายยอด ใบประดับหุมชอดอกสีแดงหรือมว ง กลบี ดอกสขี าว บาง ผล เปน ผลสดประโยชนทางสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชผลดบิ ซง่ึ มีสารแทนนนิ มาก รักษาอาการทองเสียและบดิโดยกนิ ครงั้ ละครง่ึ หรอื หน่ึงผล มีรายงานวา มีฤทธ์ิปองกนั การเกดิ แผลในกระเพาะอาหารของหนูขาวท่ถี ูกกระตนุ ดว ยยาแอสไพริน เช่ือวาฤทธิ์ดงั กลา วเกดิ จากการถกู กระตนุ ผนงั กระเพาะอาหารใหห ลัง่ สารเมอื กออกมามากข้ึน จงึ นาํ มาทดลองรักษาโรคกระเพาะอาหารของคน โดยใชกลว ยดิบหนั่ เปนแวน ตากแหงบดเปนผง กินวันละ 4 ครัง้ ๆ ละ 1-2 ชอนแกง กอนอาหารและกอนนอนอาจทาํ ใหเ กิดอาการทอ งอืด ซ่ึงปองกันไดโ ดยกนิ รวมกับยาขบั ลม เชน ขิง

~ 12 ~กระเทียมชอื่ วิทยาศาสตร : Allium sativum L.วงศ : Alliaceaeชอื่ สามัญ : Common Garlic , Allium ,Garlic ,ชอ่ื อน่ื : กระเทียม (ภาคกลาง) หอมเทยี ม (ภาคเหนือ) หอมขาว (ภาคอีสาน) เทียม, หอมเทยี ม(ภาคใต)ลักษณะ : ไมพุม สงู 2-4 เมตร กง่ิ ออ นมีหนาม ใบประกอบชนดิ มีใบยอยใบเดียว เรียงสลับ รปู ไขรปู วงรีหรอื รูปไขแกมขอบขนานกวาง 3-5 ซม. ยาว 4-8 ซม. เน้อื ใบมีจดุ นํา้ มนั กระจาย กานใบมีครีบเลก็ ๆ ดอกเดย่ี วหรือชอ ออกที่ปลายกิ่งและทซี่ อกใบ กลบี ดอกสขี าว กลิ่นหอม รวงงาย ผลเปน ผลสด กลมเกลี้ยง ฉ่าํ นํ้าประโยชนทางสมุนไพร : ตํารายาไทยใชน ํ้ามะนาวและผลดองแหง เปน ยาขบั เสมหะแกไอ แกโ รคเลือดออกตามไรฟน เพราะมวี ิตามินซี นํ้ามะนาวเปนกระสายยาสําหรบั สมุนไพรท่ีใชข บั เสมหะเชนดปี ลกี นิ รวมกับยาขับลม เชน ขงิ

~ 13 ~ขี้เหล็กชอ่ื วิทยาศาสตร : Cassia siamea Britt.วงศ : Leguminosaeช่ือสามญั : Cassod Tree / Thai Copper Pod ชอื่ อนื่ ขี้เหล็กแกน ข้ีเหล็กบาน ขีเ้ หล็กหลวงขเี้ หลก็ ใหญล กั ษณะ : ไมย ืนตน สูง 10-15 เมตร ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับใบยอ ยรูปขอบขนาน กวา งประมาณ 1.5 ซม. ยาว 4 ซม. ใบออ นมขี นสนี ้ําตาลแกมเขียว ดอกชอ ออกทป่ี ลายก่งิกลบี ดอกสเี หลอื ง ผลเปน ฝกแบนยาวและหนาประโยชนท างสมุนไพร : ตํารายาไทยใชดอกเปนยานอนหลับ ลดความดันโลหิตดอกตมู และใบออ นเปนยาระบาย ใบแกร ะดูขาว แกน่ิว ขับปสสาวะ แกนแกไ ข ทําใหนอนหลับ รักษากามโรค ใบออ นและแกน มีสารกลมุ แอนทราควิโนนหลายชนดิ จงึ มฤี ทธเิ์ ปน ยาระบายใชใบออ นครัง้ ละ 2-3 กาํ มือตม กบั น้ํา 1-1.5 ถว ย เตมิ เกลอื เลก็ นอ ย ด่ืมกอ นอาหารเชาคร้ังเดยี ว นอกจากนี้ในใบออนและดอกตมู ยังพบสารซึ่งมฤี ทธิ์กดประสาทสวนกลางทําใหนอนหลบั โดยใชวธิ ดี องเหลาด่ืมกอ นนอน

~ 14 ~คูณชอ่ื วิทยาศาสตร : Cassia fistula L.วงศ : Leguminosaeชื่อสามญั : Golden Shower Tree/ Purging Cassiaชื่ออ่นื : ราชพฤกษ ลมแลงลักษณะ : ไมย ืนตน สูง 5-15 เมตร ใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบยอ ยรูปไขห รอื รปู วงรีกวาง 4-8 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอกชอ ออกท่ีปลายก่ิง หอ ยเปนโคมระยา กลีบดอกสเี หลือง ผลเปนฝกกลม สีน้าํ ตาลเขม หรอื ดํา เปลือกแข็ง ผวิ เรียบ ภายในมีผนงั กัน้ เปนหอง แตละหองมีเมล็ด 1 เมล็ด หมุ ดว ยเนือ้ สีดําเหนยี วประโยชนทางสมุนไพร : ตํารายาไทยใชเน้ือหมุ เมลด็ แกท องผกู ขับเสมหะ ดอกแกไ ข เปน ยาระบาย แกนขบั พยาธไิ สเดอื น พบวาเนื้อหมุ เมล็ดมสี ารกลมุ แอนทราควโิ นน จงึ มสี รรพคณุ เปนยาระบาย โดยนาํ เนื้อหมุ เมล็ดซ่งึ มสี ีดาํ เหนยี ว ขนาดกอนเทาหัวแมม อื (ประมาณ 4 กรัม) ตมกับน้าํใสเ กลือเล็กนอ ย ดื่มกอ นนํ้า ดืม่ กอ นนอน มขี อ ควรระวังเชนเดยี วกบั ชุมเหด็ เทศ

~ 15 ~ชุมเห็ดเทศชือ่ วทิ ยาศาสตร : Senna alata L.วงศ : Leguminosaeชื่อสามัญ Ringworm Bushชอ่ื อื่น : ขี้คาก ลับมนี หลวง หมากกะลิงเทศ ชุมเหด็ ใหญลักษณะ : ไมพมุ สงู 1 - 3 เมตร แตกกงิ่ ออกดส นขาง ในแนวขนานกับพ้นื ใบประกอบ แบบขนนกเรยี งสลับ ใบยอยรูปขอบขนาน รปู วงรแี กมขอบขนาน หรือรูปไขกลบั กวาง 3-7 ซม. ยาว 6-15 ซม. หูใบเปนรปู สามเหลีย่ ม ดอกชอ ออกทีซ่ อกใบตอนปลายก่งิ กลีบดอกสเี หลืองทอง ใบประดับ สนี าํ้ ตาลแกมเหลืองหุมดอกยอ ยเหน็ ชัดเจน ผลเปน ฝก มคี รบี 4 ครบี เมล็ดแบน รปูสามเหล่ียมประโยชนท างสมุนไพร : รสเบ่ือเอียน ใบตาํ ทาแกก ลากเกลือ้ น โรคผวิ หนงั ดอกและใบตมรับประทานแกอ าการทอ งผูก มสี าร แอนทราควิโนน กลยั โคซายด หลายชนิด ไดแก emodin,aloe - emodin และ rhein ใชเ ปนยาระบายกระตุนลาํ ไสใ หญใหบ บี ตวั การทดลองในสัตว และคน พบวา ใบแกม ีฤทธิ์ นอยกวาใบออ น นอกจากนี้นํ้าจากใบ ยังมฤี ทธิ์ฆาเชื้อแบคทเี รียดว ย

~ 16 ~มะขามช่ือวิทยาศาสตร : Tamarindus indica L.วงศ : Leguminosaeช่ือสามญั : Tamarindช่อื อนื่ : Tamarindลกั ษณะ : มะขามเปน ไมย ืนตนขนาดกลางจนถงึ ขนาดใหญแตกกง่ิ กานสาขามาก เปลอื กตน ขรขุ ระและหนา สนี ํ้าตาลออน ใบ เปน ใบประกอบ ใบเล็กออกตามกิ่งกา นใบเปนคู ใบยอ ยเปนรปู ขอบขนาน ปลายไบและโคนใบมน ดอก ออกเปนชอ เลก็ ๆ ตามปลายกิง่ หนึ่งชอ มี 10-15 ดอก ดอกยอ ยขนาดเล็ก กลบี ดอกสีเหลืองและมจี ดุ ประสแี ดงอยกู ลางดอก ผล เปน ฝก ยาว รปู รางยาวหรือโคง ยาว 3-20 ซม. ฝก ออ นมเี ปลือกสเี ขยี วอมเทา สีนํ้าตาลเกรียม เนอ้ื ในตดิ กับเปลอื ก เมอ่ื แกฝ กเปลีย่ นเปนเปลือกแข็งกรอบหกั งาย สีน้ําตาล เนอื้ ในกลายเปน สีนํา้ ตาลหุมเมล็ด เนือ้ มรี สเปรย้ี วและหวานประโยชนทางสมุนไพร : สรรพคณุ ทางยา· ยาระบาย แกอาการทองผกู ใชม ะขามเปย กรสเปร้ียว 10–20 ฝก (หนกั 70–150 กรัม) จิม้ เกลอืรับประทาน แลวดืม่ น้ําตามมากๆ หรอื ตมนํา้ ใสเ กลอื เล็กนอ ยดื่มเปนน้ํามะขาม· ขับพยาธไิ สเดือน นาํ เอาเมลด็ แกม าควั่ แลวกะเทาะเปลือกออก เอาเนอ้ื ในเมล็ดไปแชนํ้าเกลอื จนนุม รับประทานครัง้ ละ 20-30 เม็ด· ขับเสมหะ ใชเ นอื้ ในฝกแกห รือมะขามเปยกจิ้มเกลือรบั ประทานพอสมควรคุณคาทางโภชนาการ ยอดออนและฝก ออ นมีวิตามิน เอ มาก มะขามเปยกรสเปรี้ยว ทําใหช ุมคอลดความรอ นของรา งกายไดด ี เน้อื ในฝก มะขามที่แกจัด เรียกวา \"มะขามเปย ก\" ประกอบดว ยกรดอนิ ทรียห ลายตวั เชน กรดทารททารร ิค กรดซติ ริค เปน ตน ทําใหออกฤทธ์ิ ระบายและลดความรอนของรา งกายลงได แพทยไ ทยเชอ่ื วา รสเปร้ียวนี้จะกดั เสมหะใหละลายไดด ว ย

~ 17 ~แมงลักชื่อวทิ ยาศาสตร : Ocimum basilicum L.f. var. citratum Back.วงศ : Labiataeชอ่ื สามัญ : Hairy Basilชื่ออ่นื : กอมกอ ขาว มังลักลกั ษณะ : แมงลักมลี กั ษณะทรงตน ใบ ดอก และผลคลา ยโหระพา ตางกนั ที่กล่ิน ใบสีเขยี วออนกวา กลีบดอกสีขาวและใบประดับสีเขยี วประโยชนท างสมนุ ไพร : ตํารายาไทยมกั เรยี กผลแมงลกั วา เม็ดแมงลัก ใชเปน ยาระบายชนิดเพม่ิกาก เพราะเปลือกผลมีสารเมือกซ่ึงสามารถพองตัวในนา้ํ ได 45 เทา เหมาะสําหรบั ผูทไ่ี มช อบกนิอาหารที่มกี ากเชน ผัก ผลไม ใชผ ลแมงลัก 1-2 ชอนชา แชน ้าํ 1 แกว จนพองตัวเตม็ ที่ กินกอ นนอน ถาผลแมงลักพองตัวไมเ ต็มท่ีจะทาํ ใหทองอดื และอจุ จาระแข็ง จากการทดลองพบวา แมงลกัทาํ ใหจํานวนครงั้ ในการถา ยและปริมาณอจุ จาระเพ่มิ ขน้ึ รวมท้ังทําใหอ จุ จาระออนตวั กวาปกตินอกจากนีใ้ บและตนสดมฤี ทธข์ิ ับลม เนื่องจากมีน้ํามนั หอมระเหย

~ 18 ~ไพลชอ่ื วิทยาศาสตร : Zingiber purpureum Roscoeวงศ : Zingiberaceaeชอ่ื อืน่ : ปูลอย ปูเลย วานไฟลักษณะ : ไมล ม ลกุ สูง 0.7-1.5 เมตร มเี หงาใตด ิน เปลอื กนอกสีน้าํ ตาลแกมเหลอื ง เน้ือในสเี หลืองแกมเขยี ว มกี ลน่ิ เฉพาะ แทงหนอ หรือลําตนเทียมข้นึ เปนกอประกอบดวยกาบหรือโคน ใบหมุ ซอนกัน ใบ เดีย่ ว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมใบหอก กวาง 3.5-5.5 ซม. ยาว 18-35 ซม. ดอก ชอแทงจากเหงาใตดิน กลบี ดอกสีนวล ใบประดบั สีมวง ผล เปนผลแหง รปู กลมประโยชนทางสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชเหงา เปนยาขับลม ขับประจําเดอื น มฤี ทธิ์ระบายออ น ๆแกบิด สมานลาํ ไส ยาภายนอกใชเ หงาสดฝนทาแกเ คลด็ ยอก ฟกบวม เสนตงึ เมอ่ื ยขบ เหนบ็ ชาสมานแผล จากการวิจัยพบวาในเหงา มีน้ํามนั หอมระเหยซง่ึ มคี ุณสมบตั ลิ ดอาการอักเสบและบวมจงึ มกี ารผลติ ยาขีผ้ ้ึงผสมน้ํามันไพล เพ่ือใชเปนยาทาแกอ าการเคลด็ ขดั ยอก น้ํามันไพลผสมแอลกอฮอลส ามารถทากนั ยงุ ได นอกจากนี้พบวาในเหงา มีสาร 4-(4-hydroxy-1-butenyl)veratrole ซงึ่ มีฤทธข์ิ ยายหลอดลม ไดท ดลองใชผงไพล กับผปู วยเด็กท่ีเปนหดื สรุปวาใหผ ลดีทั้งในรายทมี่ อี าการหอบหืดเฉยี บพลันและเรอ้ื รงั

~ 19 ~เทียนบานชอ่ื วิทยาศาสตร : Impatiens balsamina L.วงศ : Balsaminaceaeชือ่ สามญั : Garden Balsamชือ่ อ่ืน : เทียนดอก เทียนสวนลักษณะ : พรรณไมพ วกคลมุ ดิน ลําตนจะอุมนํา้ ลําตน จะไมต ้ังตรงขนึ้ ไป จะเอยี งเล็กนอย เปราะงา ย ใบมลี ักษณะมนรี ปลายแหลม ดอกนนั้ จะมีหลายสี เขน สีชมพู สีแดง สม และขาว เปน ดอกเดี่ยว จะออกติดกันชอ หนึง่ อาจะจะมี 2-3 ดอก กลีบดอกจะซอน ๆ กันเปน วงกลม มีกลีบเลยี้ ง 3 กลบี กลบี ดอก 5 กลบี กลีบดา นลางงอเปราะ มจี ะงอยยื่นออกมาเปน หลอดเลก็ -ยาวปลายโคง ขึน้ ขนาดดอก 3-6 ซม.ประโยชนท างสมุนไพร : ใชร ักษาฝ แผลพพุ อง ใชใบสดและดอกสดประมาณ 1 กํามือ ตาํ ละเอียดพอกฝ หรอื คนั้ น้ําทาบริเวณท่เี ปน ฝและแผลพุพองวันละ 3 ครั้ง (สีจากน้าํ คนั้ จะติดอยนู าน จึงควรระวังการเปรอะเปอ นเสื้อผาและรา งกายสวนอ่ืน ๆ )

~ 20 ~กะเพราชื่อวิทยาศาสตร : Ocimum sanctum L.วงศ : Labiataeชอื่ อ่นื : กอมกอ กอมกอ ดง กะเพราขาว กะเพราแดงลักษณะ : กะเพรามี 3 พนั ธุ คือ กะเพราแดง กะเพราขาวและกะเพราลูกผสมระหวา งกะเพราแดงและกะเพราขาว มีลักษณะท่ัวไปคลายโหระพา ตา งกันท่กี ลิ่นและกิ่งกานซึง่ มขี นปกคลุมมากกวาใบกะเพราขาวสเี ขียวออ น สวนใบกะเพราแดงสีเขียวแกมมว งแดง ดอกยอยสีชมพูแกมมวง ดอกกะเพราแดงสเี ขมกวากะเพราขาวประโยชนทางสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชใบหรือท้งั ตน เปน ยาขับลมแกปวดทอง ทอ งเสีย และคล่นื ไสอาเจียน นิยมใชกะเพราแดงมากกวา กะเพราขาว โดยใชยอดสด 1 กํามือ ตม พอเดอื ด ดื่มเฉพาะสว นนํา้ พบวา ฤทธ์ิขบั ลมเกดิ จากนา้ํ มันหอมระเหย การทดลองในสตั ว แสดงวาน้ําสกดั ท้ังตน มฤี ทธิ์ลดการบีบตัวของลาํ ไส สารสกัดแอลกอฮอลส ามารถรกั ษาแผลในกระเพาะอาหารสาร eugenol ในใบมฤี ทธ์ิขับนํ้าดี ชวยยอยไขมนั และลดอาการจกุ เสยี ด

~ 21 ~ยอช่ือวทิ ยาศาสตร : Morinda citrifolia L.วงศ : Rubiaceaeชอ่ื สามัญ : Indian Mulberryชื่ออื่น : มะตาเสอื ยอบานลกั ษณะ : ไมย ืนตน สูง 2-6 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงขา ม รปู วงรี กวาง 8-15 ซม. ยาว 10-20 ซม.หใู บอยรู ะหวางโคนกา นใบ ดอกชอ ออกที่ซอกใบ ฐานดอกอดั กันแนน เปนรูปทรงกลม กลบี ดอกสีขาว ผลเปน ผลสด เชือ่ มตดิ กันเปนผลรวม ผวิ เปน ตมุ พองประโยชนท างสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชผลสดดิบหรือหาม ฝานเปน ช้ินบาง ยางหรือค่วั ไฟออ น ๆใหเหลอื ง ตมหรอื ชงกับน้ํา ด่ืมแกคล่ืนไสอ าเจียน

~ 22 ~ฟกทองชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Cucurbita moschata Decne.วงศ : Cucurbitaceaeชือ่ สามัญ : Pumpkinชอ่ื อน่ื : หมากอึ (ภาคอีสาน) มะฟก แกว ฟกแกว (ภาคเหนือ) มะน้าํ แกว หมกั อื้อ (เลย) หมากฟกเหลอื ง (แมฮ อ งสอน) น้ําเตา ภาคใตลกั ษณะ : เปนพืชลมลุก มีเถายาวเลอ้ื ยปกคลุมดิน ลําตน มีลกั ษณะกลมหรอื เปนเหลย่ี มมน ผิวเปนรอ งตามความยาว มขี นออน ๆ มีหนวดสาํ หรบั ยึด เกาะยดึ บริเวณขอ ใบเปนใบเดีย่ ว มีขนาดใหญออกเรียงสลับกัน โคนใบเวาคลา ยรปู หวั ใจ ขอบใบหยกั เปนเหลี่ยม 5 เหล่ียม มีขนทง้ั 2 ดา นของตวั ใบดอกเปน ดอกเด่ยี วสีเหลอื งมีขนาดใหญ ลกั ษณะคลายระฆงั หรอื กระดิ่งออกบรเิ วณงา มใบผลมีขนาดใหญ มีลักษณะเปนพเู ล็ก ๆ โดยรอบเปลือกนอกขรุขระและแข็ง มีสเี ขียวและจะเปลยี่ นเปนสเี ขียวออ นและ สเี หลืองเขม และสเี หลอื งตามลําดบั เนื้อภายในมีสีเหลืองอมเขยี ว สีเหลือง และสีสม เมลด็ มีจํานวนมากซงึ่ อยูตรงกลางผลระหวางเน้ือฟู ๆ มีรูปรางคลายไข แบน มีขอบนนู อยโู ดยรอบประโยชนทางสมุนไพร : เนอื้ ฟก ทองประกอบดว ยแปง โปรตนี ไขมนั ฟอสฟอรัส แคลเซยี ม เหล็กและ สารเบตา - แคโรทีน ซงึ่ เปน สารทร่ี า งกายนําไปสรา งวิตามิน เอ เมลด็ มฟี อสฟอรสั ในปรมิ าณสงู รวมทั้งแปง โปรตนี และนา้ํ ประมาณรอยละ 40 สวนเมลด็ แหงมสี ารควิ เคอรบิทนี(Cucurbitine) เปนสารสําคญั ซ่ึงมีฤทธ์ฆิ าพยาธไิ ดผ ลดี นอกจากน้ัน ฟกทองสามารถกระตุนการหลัง่ อนิ ซูลิน ซ่งึ ชว ยปอ งกันโรคเบาหวาน ความดันโลหติ ควบคมุ ระดับน้ําตาลในเลอื ด บํารงุนัยนตา ตับและไต เมล็ดใชเ ปนยาขบั พยาธิตวั ตืด ปองกันการเกิดนิว่ ในกระเพาะปส สาวะ และชว ยดบั พิษปอดบวม รากชว ยแกพษิ แมลงสตั วก ัดตอ ย ยางชว ยแกพษิ ผืน่ คนั เรมิ และงูสวดั ออกฤทธิ์คอื asperuloside

~ 23 ~มะเกลอืช่ือวทิ ยาศาสตร : Diospyros mollis Griff.วงศ : Ebenaceaeช่ือสามัญ : Ebony treeชื่ออื่น : ผีเผา (ฉาน-ภาคเหนอื ) มักเกลอื (เขมร-ตราด)ลักษณะ : ไมต นขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ สูง 10-30 เมตร เรือนยอดเปนพมุ กลม ผวิ เปลอื กเปนรอยแตกสะเก็ดเล็กๆ สดี ํา เปลอื กในสีเหลือง กระพี้สขี าว กิ่งออ นมขี นนมุ ขึ้นประปราย ใบ เปน ใบเดี่ยวขนาดเลก็ รูปไขหรอื รีเรยี งตัวแบบสลบั ดอก ออกเปนชอ ตามซอกใบ ดอกแยกเพศตา งตนดอกตัวผูม ขี นาดเล็ก สเี หลืองออ น หนงึ่ ชอ มี 3 ดอก ผิวเกลี้ยง ผลออ นสีเขยี ว ผลแกสดี าํ ผลแกจัดจะแหง มีกลบี เล้ยี งตดิ บนผล 4 กลบี ผลแกร าวเดอื นมถิ ุนายน-สงิ หาคม เมลด็ แบน สีเหลอื ง 4-5 เมล็ด ขนาดกวา ง 0.5-0.7 ซม. ยาว 1-2 ซม. ขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ดประโยชนทางสมุนไพร : ผลดบิ สด-ใชเปน ยาถายพยาธิไดหลายชนดิ ถายพยาธิปากขอไดด ที ส่ี ดุเดก็ อายุ 10 ปใช 10 ผล ผูท่อี ายมุ ากกวา 10 ป ใหเพ่ิมจํานวนขึน้ 1 ผลตอ 1 ป แตสูงสดุ ไมเกิน 25 ผล คอื ผทู อี่ ายุ 25 ปข ้นึ ไปกิน 25 ผลเทา นน้ั ลา งใหสะอาด ตาํ พอแหลก กรองเอาเฉพาะนํา้ ผสมหวั กะทิ 2 ชอนชาตอ มะเกลอื 1 ผล กนิ คร้ังเดียวใหห มดตอนเชา มดื กอนอาหาร 3 ชวั่ โมงหลังจากนี้ 3 ช่วั โมง ถาไมถ า ยใหกนิ ยาระบายดเี กลอื โดยใชผงดีเกลอื 2 ชอ นโตะ ละลายนา้ํประมาณครึ่งแกว เพือ่ ถายพยาธิ และตัวยาทเี่ หลือออกมา สารท่ีมฤี ทธิค์ ือ diospyroldiglucosideขอ ควรระวัง 1: ผูทีห่ ามใชมะเกลือไดแก เดก็ อายตุ ํ่ากวา 10 ป หญิงมีครรภ หรอื หลงัคลอดไมเ กิน 6 สัปดาห ผูทีเ่ ปน โรคกระเพาะอาหาร หรอื มอี าการปวดทอง ถายอุจจาระผิดปกติบอยๆ และผทู ก่ี าํ ลังเปน ไข ในการเตรยี มยาตอ งใชผ ลดิบสด เตรียมแลว กนิ ทันที ไมค วรเตรียมยาครงั้ ละมากๆ ใชเ ครอ่ื งบดไฟฟา จะทาํ ใหละเอียดมาก มตี วั ยาออกมามากเกินไปขอ ควรระวงั 2: เคยมรี ายงานวา ถากนิ ยามะเกลือขนาดสงู กวาท่ีระบุไว หรือเตรียมไวน าน สารสาํ คญั จะเปล่ียนเปน สารพิษชื่อ diospyrol ทาํ ใหจ อรับภาพ และประสาทตาอักเสบ อาจตาบอดไดประโยชนด านอืน่ ๆ เนอ้ื ไมใชท ําเฟอรน ิเจอรป ระดับมุก ผล ใหสีดาํ ใชยอ มผา และแพรได

~ 24 ~เล็บมือนางช่ือวิทยาศาสตร : Quisqualis indica L.วงศ : Combretaceaeช่อื สามัญ : Rangoon Creeperชอื่ อื่น : จะมง่ั จามัง่ มะจีม่ังลักษณะ : ไมเ ถาเนื้อแขง็ ตนแกมกั มีกลิน่ ทเี่ ปล่ียนเปนหนาม ใบเดยี่ ว เรียงตรงขาม รปู วงรี หรือรปูไขแ กมขอบขนาน กวาง 5-8 ซม. ยาว 10-16 ซม. ดอกชอ ออกทีป่ ลายกิง่ และซอกใบบรเิ วณปลายก่งิ กลบี ดอกสแี ดงโคนกลบี เลยี้ งเปนหลอดเรียวยาว สีเขียว ผลเปน ผลแหง รปู กระสวย มเี ปลือกแข็งสนี ้าํ ตาลเขม มสี นั ตามยาว 5 สนัประโยชนทางสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชเนอ้ื ในเมล็ดแหง เปนยาขับพยาธิไสเดือน สําหรับเด็กกินคร้ังละ 2-3 เมล็ด และผใู หญครั้งละ 4-5 เมล็ด โดยนาํ มาปน เปนผง ผสมกับนํ้าผง้ึ ปน เปน ยาลูกกลอน หรือตม เอาน้าํ ด่ืม หรือทอดกับไขก นิ ก็ได สารทม่ี ีฤทธิข์ ับพยาธิไดแกก รด quisqualic ซ่ึงเปน กรดอะมิโนชนิดหนึ่ง

~ 25 ~ฟา ทะลายโจรชือ่ วทิ ยาศาสตร : Andrographis paniculata (Burm.) Wall. ex Neesวงศ : Acanthaceaeช่อื อ่นื : คีปงฮี (จนี ) ฟาทะลายโจร หญา กนั งู นา้ํ ลายพังพอนลักษณะ : ไมล มลกุ สูง30-60 ซม.ทงั้ ตน มรี สขม ลําตนเปนส่ีเหล่ียม แตกก่ิงออกเปน พมุ เลก็ ใบเดีย่ ว เรยี งตรงขาม รูปไขหรือรูปใบหอก กวา ง 2-3 ซม. ยาว4-8 ซม. สเี ขยี วเขมเปน มนั ดอกชอออกทีป่ ลายกิง่ และซอกใบ ดอกยอ ยขนาดเล็กกลีบดอกสีขาว โคนกลีบดอกติดกัน ปลายแยกออกเปน 2 ปาก ปากบนมี 3 กลบี มเี สนสีแดงเขม พาดตามยาว ปากลางมี 2 กลีบ ผลเปน ฝก สีเขียวอมน้าํ ตาล ปลายแหลม เมื่อผลแกจ ะแตกเปน สองซกี ดีดเมล็ดออกมาประโยชนทางสมนุ ไพร : ชาวจนี ใชฟ าทะลายเปน ยามาแตโ บราณ และมาเปนทนี่ ิยมใชใ นปะเทศไทยเม่ือไมน านมานี้ โดยใชเ ฉพาะใบหรอื ท้ังตน บนดินซึ่งเกบ็ กอนทจ่ี ะมดี อกเปน ยาแกเจ็บคอ แกทองเสีย แกไ ข เปนยาขมเจรญิ อาหาร การศึกษาฤทธล์ิ ดไขในสัตวท ดลองพบวาสารสกดัแอลกอฮอลมแี นวโนมลดไขได รายงานการใชร กั ษาโรคอุจจาระรวงและบดิ ไมมตี วั แสดงวาฟาทะลายมปี ระสิทธิภาพในการรักษาเทา กับเตตราซยั คลินแตในการรกั ษาอาการเจบ็ คอนั้นมรี ายงานท้ังท่ไี ดผ ลและไมไดผลขนาดท่ีใชค อื พืชสด 1-3 กาํ มอื ตม น้าํ ดมื่ กอ นอาหารวนั ละ 3 คร้งั หรือใชพืชแหง บดเปน ผงละเอียดปนเปน ยาลูกกลอนขนาดเสน ผาศูนยก ลางประมาณ 0.8 ซม. กินครัง้ละ 3-6 เม็ด วันละ 3-4 ครั้ง กอ นอาหารและกอนนอน สาํ หรับผงฟา ทะลายที่บรรจุแคปซูล ๆละ 500 มิลลกิ รัม ใหก ินครง้ั ละ 2 เมด็ วนั ละ 2 คร้ัง กอนอาหารเชาและเย็น อาการขางเคยี งที่อาจพบคอื คลนื่ ไส

~ 26 ~กระเจยี๊ บแดงชื่อวิทยาศาสตร : Hibiscus sabdariffa L.วงศ : Malvaceaeชื่อสามัญ : Roselleชือ่ อืน่ : กระเจี๊ยบ กระเจ๊ียบเปร้ีย ผกั เกง็ เค็ง สม เก็งเค็ง สมตะเลงเครงลักษณะ : ไมพ มุ สงู 50-180 ซม. มีหลายพันธุ ลาํ ตนสีมวงแดง ใบเดยี่ ว รปู ฝามือ 3 หรือ 5 แฉกกวา งและยาวใกลเคยี งกนั 8-15 ซม. ดอกเด่ียว ออกทีซ่ อกใบ กลบี ดอกสีชมพูหรือเหลอื งบรเิ วณกลางดอกสมี วงแดง เกสรตัวผเู ช่อื มกนั เปนหลอด ผลเปนผลแหง แตกได มกี ลบี เลีย้ งสีแดงฉาํ่ นาํ้หุมไวประโยชนท างสมุนไพร : ตํารายาไทยใชใบและยอดออนซึง่ มรี สเปร้ียวแกไอ เมลด็ บํารุงธาตุ ขับปส สาวะ มรี ายงานการทดลองในผูปวยโรคน่ิวในทอไต ซงึ่ ด่ืมยาชงกลบี เลย้ี งแหงของผล 3 กรัมในน้ํา 300ซซี ี วันละ 3 คร้ัง ทําใหถายปสสาวะสะดวกขึน้ บางรายน่วิ หลดุ ไดเอง นอกจากนีท้ ําใหผปู วยกระเพาะปส สาวะอักเสบมีอาการปวดแสบเวลาปสสาวะนอ ยลง

~ 27 ~หญาหนวดแมวชอื่ วิทยาศาสตร : Orthosiphon grandiflorus Boldingวงศ : Labiataeชอ่ื สามัญ : Cat's Whiskerชอื่ อนื่ : พยบั เมฆลักษณะ : ไมพุม สูง 0.5-1 เมตร กง่ิ และกานส่ีเหล่ียมสีมวงแดง ใบ เดย่ี ว เรียงตรงขา ม รูปไขแ กมสี่เหลยี่ มขา วหลามตัด กวาง 2-4 ซม. ยาว 4-7 ซม. ขอบใบหยักฟน เลื่อย ดอก ชอ ออกท่ีปลายกิ่งมี 2 พนั ธุค อื พันธดุ อกสีขาวและพนั ธุดอกสมี ว งนํ้าเงิน เกสรตัวผูยืน่ พนกลีบดอกออกมายาวมากผล เปนผลแหง ไมแตก รูปรขี นาดเลก็ประโยชนท างสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชท้งั ตน เปนยาขับปสสาวะ แกโ รคปวดตามสันหลงั และบนั้เอว ใบเปนยารกั ษาโรคเบาหวานและลดความดันโลหติ มีการทดลองใชใบแหงเปนยาขบั ปสสาวะขบั กรดยรู คิ ซ่ึงเปน สาเหตขุ องโรคเกาดและรกั ษาโรคนิว่ ในไตกบั ผูปวยโรงพยาบาลรามาธบิ ดี โดยใชใบแหงประมาณ 4 กรัม ชงกบั น้าํ เดอื ด 750 ซีซี ดม่ื ตางนาํ้ ตลอดวนั ไดผลเปนทีน่ า พอใจของแพทย พบวาในใบมีเกลือโปแตสเซียมสงู ผปู วยโรคหัวใจไมควรใช

~ 28 ~หญาคาช่ือวทิ ยาศาสตร : Imperata cylindrica Beauv.วงศ : Gramineaeชื่อสามัญ :ลกั ษณะ : ไมล ม ลุก สูง 0.3-0.9 เมตร มีเหงาใตดิน รูปรา งยาวและแขง็ ใบ เดี่ยว แทงออกจากเหงา กวาง 1-2 ซม. ยาวไดถ ึง 1 เมตรขอบใบคม ดอก ชอ แทงออกจากเหงา ดอกยอ ยอยรู วมกนัแนน สเี งินอมเทาจาง ผล เปน ผลแหง ไมแ ตกประโยชนทางสมุนไพร : ตํารายาไทยใชรากและเหงา เปนยาขบั ปสสาวะ แกอ าการกระเพาะปส สาวะอักเสบ ปส สาวะแดง บํารุงไต ขบั ระดขู าว มีการศึกษาฤทธิข์ บั ปสสาวะในสตั วท ดลองพบวา ไดผลเฉพาะนา้ํ ตมสวนราก

~ 29 ~ออ ยแดงช่อื วิทยาศาสตร : Saccharum officinarum L.วงศ : Gramineaeชอื่ สามญั : Sugar-caneชื่ออ่ืน : ออ ย ออ ยขม ออ ยดําลกั ษณะ :ไมล มลุก สูง 2-5 เมตร ลําตน สมี วงแดง มีไขสขี าวปกคลุม ไมแตกกง่ิ กาน ใบเด่ียว เรียงสลับกวา ง 2.5-5 ซม. ยาว 0.5-1 เมตร ดอกชอ ออกท่ีปลายยอด สขี าว ผลเปน ผลแหง ขนาดเล็ก ออ ยมหี ลายพันธุ แตกตา งกนั ท่คี วามสงู ความยาวของขอ และสขี องลาํ ตนประโยชนทางสมุนไพร : ตํารายาไทยใชลําตนเปน ยาขับปส สาวะ โดยใชล ําตน สด 70-90 กรมั หรือแหง 30-40 กรมั ห่นั เปน ช้ิน ตม นา้ํ แบงด่ืม วันละ 2 ครัง้ กอ นอาหาร แกไตพิการ หนองในและขับนวิ่ แพทยพ ้ืนบานใชข ับเสมหะ มรี ายงานวา ออยแดงมีฤทธ์ขิ บั ปสสาวะในสตั วท ดลอง

~ 30 ~ขลูช่อื วิทยาศาสตร : Pluchea indica Lessวงศ : Compositaeชอื่ สามัญ : Indian Marsh Fleabaneชอ่ื อนื่ : ขลู หนวดง่วั หนงดงว้ิ หนวดงัว หนวดวัวลักษณะ : ไมพมุ สงู 1-2.5 เมตร ชอบขนึ้ ในทช่ี ื้นแฉะ ใบเดยี่ ว เรยี งสลับ รูปไขกลับ กวาง 1-5 ซม.ยาว 2.5-10 ซม. ขอบใบหยักซฟ่ี นหาง ๆ ดอกชอ ออกทยี่ อดและซอกฟน กลีบดอกสมี วง ผลเปนผลแหง ไมแ ตกประโยชนทางสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชทงั้ ตน ตม กนิ เปน ยาขับปสสาวะ แกเบาหวาน ตม นา้ํ อาบแกผื่นคัน น้าํ คนั้ ใบสดรกั ษาริดสดี วงทวาร การทดลองในสตั วและคนปกติ พบวายาชงทงั้ ตนมีฤทธิ์ขับปสสาวะมากวายาขับปสสาวะแผนปจ จุบนั (hydrochlorothiazide) และมขี อ ดคี อื สญู เสยี เกลือแรนอยกวา

~ 31 ~สับปะรดชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Ananas comosus Merr.วงศ : Bromeliaceaeชอ่ื สามัญ : Pineappleช่ืออ่นื : ขนนุ ทอง ยานดั ยานนัด บอ นดั มะขะนดั มะนดั ลิงทอง หมากเกง็ลกั ษณะ : ไมลมลกุ อายหุ ลายป สูง 90-100 ซม. มลี าํ ตน อยูใ ตด ิน ใบ เดี่ยว เรียงสลับซอนกันถม่ี ากรอบตน กวาง 6.5 ซม. ยาวไดถงึ 1 เมตร ไมมีกา นใบ ดอก ชอ ออกจากกลางตน มีดอกยอ ยจาํ นวนมาก ผล เปน ผลรวม รูปทรงกระบอก มใี บเปนกระจุกที่ปลายผลประโยชนท างสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชเนอ้ื ผลเปนยาแกไอขบั เสมหะ เหงาเปนยาขบั ปส สาวะ แกน่วิ พบวาลาํ ตน และผลมีเอนไซมย อยโปรตนี ช่อื bromelain ใชเปน ยาลดการอกั เสบและบวมจากการถูกกระแทกบาดแผล หรือการผาตัด โดยผลิตเปน ยาเม็ดชอ่ื Ananase Forte Tablet

~ 32 ~สะแกช่ือวทิ ยาศาสตร : Combretum quadrangulare Kurzวงศ : Combretaceaeชอ่ื สามัญ :ชื่ออน่ื : แก ขอนแข จองแข แพง สะแกลกั ษณะ : ไมย นื ตน สงู 5-10 เมตร กิง่ ออนเปนรปู เหลีย่ ม ใบเดย่ี ว เรยี งตรงขาม รูปวงรี หรอื รูปไขกลับ กวาง 3-8 ซม. ยาว 6-15 ซม. ดอกชอ ออกทีซ่ อกใบ และปลาดยอด ดอกยอยมีขนาดเลก็กลีบดอกสขี าว ผลแหง มี 4 ครบี เมลด็ สนี า้ํ ตาลแดง รปู กระสวย มี 4 สนั ตามยาวประโยชนทางสมุนไพร : เมลด็ แก- ใชขบั พยาธไิ สเ ดอื น และพยาธิเสน ดายในเด็ก โดยใชขนาด 1 ชอ นคาว หรือ 3 กรัม ตําผสมกบั ไขทอดกนิ ครัง้ เดียว ขณะทองวา ง

~ 33 ~พลูชอื่ วทิ ยาศาสตร : Piper betle L.วงศ : Piperaceaeชื่อสามญั : Betel Vineลกั ษณะ :ไมเถาเนอ้ื แขง็ รากฝอยออกบรเิ วณขอใชย ึดเกาะ ขอโปงนนู ใบ เดย่ี ว เรียงสลับ รูปหวั ใจ กวาง 8-12 ซม. ยาว 12-16 ซม. มกี ลิ่นเฉพาะและมรี สเผด็ ดอก ชอ ออกท่ีซอกใบ ดอกยอ ยขนาดเล็กอัดแนนเปนรูปทรงกระบอก แยกเพศ สขี าว ผล เปน ผลสด กลมเลก็ เบียดอยบู นแกน พลมู ีหลายพันธุเชน พลเู หลือง พลูทองหลางประโยชนท างสมนุ ไพร :ตํารายาไทยใชน ้ําคัน้ ใบสดกินเปน ยาขับลมและทาแกลมพิษ โดยใช 3-4 ใบ ขย้ีหรอื ตําใหล ะเอยี ดผสมเหลา โรงเล็กนอย ทาบริเวณท่ีเปน ใบมีน้าํ มันหอมระเหย ประกอบดว ยสาร chavicol และ eugenol ซ่งึ มีฤทธทิ์ ําใหชาเฉพาะที่ สามารถบรรเทาอาการคนั และฆา เช้อื โรคบางชนดิ ดว ย จึงมกี ารพฒั นาตาํ รับยาขี้ผึง้ ผสมสารสกัดใบพลขู ้ึนเพ่อื ใชเปนยาทารักษาโรคผวิ หนังบางชนิด

~ 34 ~ทองพันชั่งชื่อวทิ ยาศาสตร : Rhinacanthus nasutus Kurzวงศ : Acanthaceaeช่อื อืน่ : ทองคนั ชัง่ หญามันไกลกั ษณะ : ไมพมุ สูง 1-2 เมตร ก่งิ ออ นมกั เปนสนั สี่เหล่ยี ม ใบเดี่ยวเรียงตรงขามรูปไขห รือรปู วงรีกวาง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. ดอกชอ ออกท่ซี อกใบกลีบดอกสขี าว โดคนกลบี ตดิ กนั เปน หลอดปลายแยกเปน 2 ปาก ปากลางมีจดุ ประสีมว งแดง ผลเปนผลแหง แตกไดประโยชนท างสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชใบสดและรากโขลกละเอยี ด แชเ หลา โรง 1 สัปดาหเ อานาํ้ทาแกกลากเกล้อื น สารสําคัญคอื rhinacanthin และ oxymethylanthraquinone

~ 35 ~มะหาดช่ือวิทยาศาสตร : Artocarpus lakoocha Roxb.วงศ : Moraceaeช่ืออื่น : หาด ขุนปา มะหาดใบใหญลกั ษณะ : ไมย ืนตน สงู ประมาณ 30 เมตร ทรงพมุ แผก วา ง ใบ ดี่ยว เรียงสลับ รปู ขอบขนานหรือรปู วงรี กวาง 8-10 ซม. ยาว 10-20 ซม. หลังใบเปนมนั สีเขยี วเขม ทอ งใบสาก ดอก ชอ ออกท่ีซอกใบ คอ นขา งกลม กานสน้ั แยกเพศ อยูบนตน เดียวกัน ผล เปน ผลรวม สีเหลือง ผิวขรขุ ระ มีขนนุมประโยชนท างสมุนไพร : ตํารายาไทยใชปวกหาดเปน ยาถา ยพยาธิเสน ดาย พยาธิไสเดือนและพยาธิตัวตืดสาํ หรับเด็ก สารทอี่ อกฤทธคิ์ อื 2, 4, 3, 5- tetrahydroxystillbene จากการศกึ ษาไมพบความเปน พษิ ขนาดทใ่ี ชคือ ผงปวกหาด 3 กรมั ละลายนาํ้ เยน็ ดืม่ ตอนเชา มดื หลงั จากนนั้ประมาณ 2 ช่วั โมงใหก นิ ยาถาย (ดีเกลอื ) นอกจากน้ียงั ใชละลายนํ้าทาแกค ัน “ปวกหาด” เตรยี มโดยการเคย่ี วเน้ือไมก บั น้ํา กรองเนอื้ ไมอ อก บีบน้ําออกใหแหง จะไดผงสีนวลจับกนั เปนกอน ยางไฟจนเหลอื ง เรยี กกอนน้ีไดว า ปวกหาด

~ 36 ~พญาปลองทองชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Clinacantus nutans (Burm.) Lindauวงศ : Acanthaceaeชื่ออ่นื : ผักมนั ไก ผักล้นิ เขียด พญาปลองคํา พญาปลองดํา พญายอ เสลดพังพอน เสลดพังพอนตวัเมียลกั ษณะ : ไมพุมรอเล้ือย สงู 1-3 เมตร ใบเด่ียว เรยี งตรงขา ม รูปใบหอก กวาง 1-3 ซม. ยาว 4-12 ซม. สีเขียวเขม ดอกชอ ออกเปนกะจุกท่ีปลายก่ิง กลบี ดอกสีแดงสม โคนกลบี สเี ขยี ว ตดิ กนัเปนหลอดยาว ปลายแยกเปน 2 ปาก ไมคอยออกดอก ผลเปนผลแหง แตกไดประโยชนทางสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชใบสดรกั ษาแผลไฟไหมนํา้ รอนลวก แมลงกัดตอ ย ผน่ื คนัโดยนาํ ใบสด 5-10 ใบ ตําหรอื ขยี้ทา การทดลองในสัตวพบวา สารสกดั ใบสดดวย n-butanol สามารถลดการอกั เสบได มีการเตรียมเปนทิงเจอรเพ่ือใชทารักษาอาการอกั เสบจากเริมในปาก โดยใชใ บสด 1 กก. ปน ละเอียด เติมแอลกอฮอล 70% 1 ลติ ร หมัก 7 วนั กรอง ระเหยบนเครอ่ื งอังไอนาํ้ ใหปรมิ าตรลดลงครงึ่ หนง่ึ เติมกลีเซอรนี เทาตวั

~ 37 ~มะนาวชอ่ื วิทยาศาสตร : Citrus aurantifolia Swing.วงศ : Rutaceaeชอ่ื สามญั : Common Limeช่ืออืน่ : สม มะนาว มะลิว (ภาคเหนอื )ลกั ษณะ : ไมพมุ สูง 2-4 เมตร กง่ิ ออนมีหนาม ใบประกอบชนดิ มใี บยอ ยใบเดียว เรียงสลบั รูปไขรูปวงรหี รือรปู ไขแกมขอบขนานกวาง 3-5 ซม. ยาว 4-8 ซม. เนื้อใบมีจุดน้าํ มันกระจาย กานใบมีครบี เลก็ ๆ ดอกเด่ยี วหรือชอ ออกท่ีปลายกิง่ และที่ซอกใบ กลบี ดอกสีขาว กล่ินหอม รวงงาย ผลเปน ผลสด กลมเกล้ียง ฉํ่านาํ้ประโยชนทางสมุนไพร : รายาไทยใชน ํา้ มะนาวและผลดองแหงเปนยาขับเสมหะแกไ อ แกโ รคเลือดออกตามไรฟน เพราะมีวติ ามินซี น้ํามะนาวเปนกระสายยาสําหรับสมนุ ไพรท่ีใชขบั เสมหะเชนดปี ลี

~ 38 ~มะแวงเครอืชอื่ วทิ ยาศาสตร : Solanum trilobatum L.วงศ : Solanaceaeช่อื อน่ื : แขวง เคยีลักษณะ : ไมเลือ้ ย มหี นามตามก่งิ กาน ใบเดี่ยว เรยี งสลบั รูปไขกวาง 4-5 ซม. ยาว 5-8 ซม. ขอบใบเวา มหี นามตามเสน ใบ ดอกชอ ออกท่ปี ลายกิง่ และซอกใบ กลีบดอกสีมวง ผลเปนผลสด รปูกลม ผลดบิ สีเขยี วมีลายตามยาว เมอื่ สุกสแี ดงประโยชนทางสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชผลสดแกไ อขบั เสมหะ โดยใชขนาด 4-10 ผล โขลกพอแหลกคั้นเอานาํ้ ใสเกลอื เล็กนอย จิบบอ ยๆ หรือเค้ียวกลืนเฉพาะน้ําจนหมดรสขมเฝอน มะแวงเครอื เปนสว นผสมหลกั ในยาประสะมะแวง เชนกนั นอกจากนีใ้ ชขบั ปสสาวะแกไขแ ละเปนยาขมเจริญอาหารดว ย

~ 39 ~มะแวงตนชื่อวทิ ยาศาสตร : Solanum indicum L.วงศ : Solanaceaeช่ืออน่ื :ลักษณะ : ไมพ มุ สงู 1-1.5 เมตร ลําตน มีขนนมุ ใบเด่ยี ว เรยี งสลับรปู ไขหรือรูปขอบขนานกวาง 4-10 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบเวา ผวิ ใบมขี นนุมท้งั สองดา น ดอกชอ ออกตามกิ่งหรือที่ซอกใบ กลีบดอกสมี ว ง ผลเปนผลสด รูปกลม ผลดิบสีเขยี วออน ไมมีลาย เมือ่ สุกสสี มประโยชนท างสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชผลสดแกไอขบั เสมหะ รักษาเบาหวาน ขับปส สาวะ มีการทดลองในสัตว พบวา นํ้าสกดั ผลมีฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือด แตมีฤทธนิ์ อยและระยะเวลาการออกฤทธ์ิส้ัน พบสเตดรอยดป ริมาณคอ นขา งสงู จึงไมค วรใชติดตอกนั เปนเวลานาน มะแวง ตนเปน สวนผสมหลัก ในยาประสะมะแวง ซึ่งองคการเภสชั กรรมผลติ ขึน้ ตามตาํ รับยาสามัญประจําบา นแผนโบราณ

~ 40 ~แหวหมูช่ือวิทยาศาสตร : Cyperus rotundus L.วงศ : Cyperacearชอ่ื สามัญ : Nutgrassชื่ออืน่ : หญาขนหมูลกั ษณะ : ไมล ม ลุก อายหุ ลายป สงู 20-40 ซม. มลี ําตนใตด ินเปนหวั คลายหัวแหว ไทย แตกแขนงลําตนเปน เสนแขง็ เหนียวอยใู ตด นิ และงอกเปนหัวใหมได ใบเดย่ี ว จํานวนมาก แทงออกจากหวักวา ง 2-6 มม. ยาว 5-20 ซม. ดอกชอ คลายดอกหญา สนี ้ําตาลแดง แตกแขนงเปน 4-10 กิ่ง กา นชอ ดอกเปน สามเหลี่ยมตรง ผลเปนผลแหงประโยชนทางสมุนไพร : ตํารายาไทยใชห ัวใตด ินเปน ยาบาํ รุงหัวใจ ขบั เหงือ่ และขบั ปส สาวะ การทดลองในสัตวพ บฤทธิ์ขับปสสาวะ ลดไข ลดความดันโลหิตและลดการอกั เสบ ซ่ึงเชอื่ วาเกดิ จาก a-cyperone นอกจากน้พี บฤทธ์ยิ บั ยง้ั การเจริญเตบิ โตของเชอ้ื มาลาเรียชนิดฟล ซิพารมั ในหลอดทดลองดว ย

~ 41 ~เรวช่ือวทิ ยาศาสตร : Amomum xanthioides Wall.วงศ : Zingiberaceaeชื่อสามญั : Bustard cardamom, Tavoy cardamomชื่ออื่น : หมากแหนง (สระบุรี) หมากเนิง (อสี าน) มะอี้ หมากอ้ี มะหมากอ้ี (เชียงใหม) หนอเนง(ชัยภมู )ิลักษณะ :เรว เปน พืชลมลุก มีเหงาหรือลาํ ตนอยใู นดิน จัดเปนพชื สกุลเดียวกบั กระวาน ขา ขงิ ใบมีลักษณะยาวเรียว ปลายใบแหลมและหอ ยโคงลง กานใบมีขนาดส้นั ออกดอกเปน ชอจากยอดที่แทงขน้ึ มาจากเหงา ดอกมสี ีขาวกา นชอดอกสัน้ ผลมขี นสีแดงปกคลุม เมล็ดมสี นี ํา้ ตาล เรวมีหลายชนิด เชนเรว หอม เรวชา ง เรวกอ ซึง่ เรวเหลานี้มีลักษณะตน แตกตางกนั ไปประโยชนท างสมนุ ไพร :น้าํ มนั หอมระเหยในเมล็ดเรว มีฤทธิ์เปนยาขบั ลม ชวยแกอ าการทองอืดทองเฟอ แนน จุกเสยี ด โดยใชเมลด็ ประมาณ 3 กรมั บดใหเปนผงรับประทานวันละ 3 ครงั้ และชว ยขับเสมหะ แกคลนื่ เหยี นอาเจยี นไดด อี กี ดวย

~ 42 ~ดปี ลีชอ่ื วิทยาศาสตร : Piper chaba Huntวงศ : Piperaceaeช่ือสามญั : Long Pepperลักษณะ : ไมเถารากฝอยออกบริเวณขอเพื่อใชยึดเกาะ ใบ เดยี่ วรปู ไขแกมขอบขนาน กวา ง 3-5 ซม. ยาว 7-10 ซม. สเี ขียวเขมเปน มนั ดอก ชอ ออกทซ่ี อกใบ ดอกยอ ยอัดกันแนน แยกเพศ ผลเปน ผลสด มสี ีเขยี ว เม่ือสุกจะเปล่ียนเปน สแี ดง รสเผด็ รอ นประโยชนท างสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชผลแกจดั แตย งั ไมสุกตากแหง เปน ยาขับลม บาํ รุงธาตุ แกทอ งเสีย ขบั รกหลงั คลอด โดยใชผ ล 1 กาํ มือ (ประมาณ 10-15 ผล) ตม เอาน้ําด่ืม นอกจากนใ้ี ชเปน ยาแกไอ โดยเอาผลแหงคร่งึ ผลฝนกบั มะนาวแทรกเกลอื ใชก วาดคอหรอื จิบบอ ยๆ ฤทธิ์ขบั ลมและแกไ อ เกิดจากนาํ้ มนั หอมระเหยและสาร piperine พบวา สารสกดั เมทานอลมีผลยับยง้ั การบีบตัวของลําไสเ ลก็ และสารสกัดปโตรเลียมอีเธอร ทําใหสตั วท ดลองแทง จงึ ควรระวงั การใชในสตรีมีครรภ

~ 43 ~นอยหนาชือ่ วทิ ยาศาสตร : Annona squamosa L.วงศ : Annonaceaeชอ่ื สามัญ : Sugar Appleชอื่ อื่น : นอยแน นะนอแน หมักเขยี บลกั ษณะ : ไมยนื ตน สงู 3-5 เมตร ใบเดี่ยว เรยี งสลับ รปู ใบหอกหรอื รปู ใบหอกแกมขอบขนานกวา ง 3-6 ซม. ยาว 7-13 ซม. ดอกเดยี่ ว ออกท่ซี อกใบ หอยลง กลีบดอกสเี หลืองแกมเขียว 6 กลีบเรียง 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ หนาอวบนํ้า มีเกสรตัวผแู ละรังไขจาํ นวนมาก ผลเปนผลกลุม คอนขา งกลมประโยชนทางสมนุ ไพร : ตํารายาไทยใชใบสดและเมล็ดฆาเหา โดยใชเมลด็ ประมาณ 10 เมล็ดหรอื ใบสดประมาณ 1 กาํ มอื (15 กรมั ) ตาํ ใหละเอยี ด ผสมกับนํ้ามันมะพราวพอแฉะ ขยใ้ี หท ่ัวศีรษะ ใชผา คลุมโพกไวป ระมาณ 10 นาทีถงึ คร่งึ ชัว่ โมง ใชห วสี างเหาออก สระผมใหส ะอาด (ระวังอยา ใหเขา ตา เพราะจะทําใหต าอักเสบและแสบได) มีรายงานยืนยนั วานํา้ ยาที่ค้นั จากเมลด็ บดกับนํา้ มันมะพรา วในอตั ราสวน 1:2 สามารถฆาเหาไดด ที ี่สดุ คือฆาไดถ ึง 98% ใน 2 ช่วั โมง ใชรักษาหิด กลากและเกลื้อนดว ย

~ 44 ~ยานางชื่อวิทยาศาสตร : Tiliacora triandra Dielsวงศ : Menisspermaceaeลกั ษณะ : ไมเ ถา ใบเดย่ี ว เรียงสลับ รูปไขแกมใบหอก กวาง 2-4 ซม. ยาว 5-12 ซม. ดอกชอ ออกตามเถาและทซ่ี อกใบ แยกเพศอยคู นละตน ไมมกี ลบี ดอก ผลเปนผลกลมุ ผลยอย รปู วงรปี ระโยชนทางสมนุ ไพร :ตาํ รายาไทยใชร ากตม กับนาํ้ ดื่มเปนยาแกไขท กุ ชนิด การทดลองพบวา สารสกัดรากมฤี ทธิ์ตา นเชอื้มาลาเรยี ชนดิ ฟล ซพิ ารัมในหลอดทดลอง

~ 45 ~ปลาไหลเผือกชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Eurycoma longifolia Jackวงศ : Simaroubaceaeชื่ออ่นื : กรุงบาดาล คะนาง ชะนาง ตรึงบาดาล ตงุ สอ แฮพนั ชน้ั เพยี ก หยกิ บอถอง หยกิ ไมถ งึเอียนดอน ไหลเผือกลกั ษณะ : ไมย นื คน สูง 4-6 เมตร ลําตน ตรง ไมคอยแตกกิง่ กาน ใบประกอบแบบขนนก เรยี งสลับ ออกเปนกระจกุ บรเิ วณปลายก่ิง ใบยอ ยรูปไขแกมวงรี กวาง 2-3 ซม.ยาว 5-7 ซม. สีเขยี วเขม ยอดและใบออนมขี นสีนํา้ ตาลแดง ดอกชอ ออกท่ซี อกใบ ดอกยอ ยขนาดเล็ก กลบี ดอกสมี วงแดง ผลเปนผลสด รปู ยาวรปี ระโยชนทางสมุนไพร : ตํารายาไทยใชรากเปน ยาแกไ ขท กุ ชนิดรวมท้ังไขจบั ส่นั พบวาสารทีอ่ อกฤทธ์ิเปนสารท่ีมีรสขมไดแ ก eurycomalactoneeurycomanol และ eurycomanone สารทงั้ สามมฤี ทธิ์ยบั ยง้ั การเจริญเติบโตของเช้อื มาเลเรยีชนิดฟล ซพิ ารมั ในหลอดทดลองได จดั เปน สมุนไพรที่มศี ักยภาพ ควรศกึ ษาวิจยั ตอ ไป

~ 46 ~บอระเพด็ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Tinospora crispa ( L.) Miers ex Hook.f. & Thomsวงศ : Menisspermaceaeชื่ออน่ื : เครือเขาฮอ จงุ จงิ เจตมูลหนาม เจตมูลยาน เถาหัวดว น หางหนูลักษณะ : ไมเถาเลื้อยพัน มีลกั ษณะคลายชิงชา มาก ตางกันที่เถามีขนาดใหญก วา มีปมุ ปมมากกวามรี สขมกวาและไมม ีปมุ ใกลฐ านใบประโยชนทางสมุนไพร : ตํารายาไทยใชเถาเปนยาแกไข ขบั เหง่ือ แกกระหายน้ํา แกร อ นใน โดยนําเถาสดขนาดยาว 2 คบื ครึ่ง (30-40 กรัม) ตมค้นั เอาน้ําด่ืม หรือตม เคยี่ วกับนา้ํ 3 สว นจนเหลือ 1 สวน ดม่ื กอนอาหารวันละ 2 คร้ังเชาเย็น หรือเมอ่ื มีไข นอกจากนีใ้ ชเ ปนยาขมเจริญอาหารดวย ปจ จบุ ันองคก ารเภสัชกรรมผลิตทิงเจอรบอระเพ็ด เพ่อื ใชแทน Tincture Gentian ซึ่งเปนสว นผสมของยาธาตุท่ตี อ งนาํ เขา จากตางประเทศ การทดลองในสัตวพ บวา นา้ํ สกดั เถาสามารถลดไขได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook