Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3การพัฒนาแบบฝึ-กทักษะการระบายสี-บท1-5 ๒๕๖๓...

3การพัฒนาแบบฝึ-กทักษะการระบายสี-บท1-5 ๒๕๖๓...

Published by นางขจีจิต สมมาศ, 2021-08-22 15:05:01

Description: 3การพัฒนาแบบฝึ-กทักษะการระบายสี-บท1-5 ๒๕๖๓...

Search

Read the Text Version

1

การพฒั นาแบบฝึกทกั ษะการระบายสี โดยยดึ หลกั “ศาสตรพ์ ระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ รายวชิ าทศั นศลิ ป์ รหสั วิชา ศ ๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี ๒ ประจาปกี ารศกึ ษา 25๖๓ ผวู้ ิจัย นางขจจี ติ สมมาศ โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสมทุ รสงคราม 2

ชือ่ เร่อื ง การพัฒนาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยดึ หลัก “ศาสตรพ์ ระราชา” ผูว้ จิ ยั กลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ รายวชิ าทศั นศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตาแหนง่ นางขจจี ิต สมมาศ สถานท่ี ครูผสู้ อน สงั กดั โรงเรียนเมอื งสมุทรสงคราม ตาบลแมก่ ลอง อาเภอเมือง จงั หวดั สมทุ รสงคราม ที่ปรึกษา สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสมทุ รสงคราม ครูจิตรลดา อน้ วงษา บทคดั ยอ่ การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”เป็นการจัดการ เรยี นรู้ทเ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็ สาคญั และเปน็ เสมือนสะพานเชอ่ื มตอ่ ระหว่างห้องเรยี นกบั โลกภายนอก เพ่ือฝึกให้ผู้เรียน ได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด กระบวนการทางานและทักษะทางสังคม ซ่ึงเป็นองค์ประกอบของคน อย่างสมบูรณ์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จึงต้องมีการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน โดยมีความมุ่งหมายเพ่ือศึกษาคุณภาพของแบบฝึกทักษะการระบายสี กลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เพื่อ เปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ท่ใี ช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ระหว่างก่อนและหลังการใช้นวัตกรรม เพื่อศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์ พระราชา”กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ รายวิชาทศั นศิลป์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 กลุ่มประชากรท่ใี ช้ในการศกึ ษา ค้นคว้าครั้งน้ี ได้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 256๓ โรงเรียนเมือง สมุทรสงคราม สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม จานวน ๑๑ คน เคร่ืองมือที่ใช้ใน การศึกษาค้นคว้าคร้ังน้ี ได้แก่ แบบฝึกทักษะการระบายสีจานวน 16 แบบฝึก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนจานวน 1 ฉบับ จานวน 30 ข้อแบบประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน แบบสอบถามวัดความพึง พอใจทม่ี ตี อ่ การเรยี นของนักเรียน ผลการศกึ ษาค้นควา้ ปรากฏดังน้ี 1. แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ทศั นศิลป์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ท่ีผู้ศึกษาค้นคว้าพัฒนาขน้ึ มีประสิทธภิ าพเท่ากับ82.97/81.50 ซ่ึง สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตงั้ ไว้ 2. ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชาทัศนศลิ ป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 มีค่าเท่ากบั 0.0178979 แสดงวา่ ผู้เรยี นท่ีเรยี นดว้ ย แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดบั .05 3

3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ียรวม 4.00 โดยมีค่า S.D. เทา่ กบั 0.69 สรุปได้ว่าแบบฝึกทักษะการระบายสีโดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 เป็นแบบฝึกทักษะการระบายสี ท่ีน้อมนา “ศาสตร์พระราชา” มาปรบั ใช้สูก่ ารปฏบิ ัติท่ียั่งยืน เน้นสรา้ งเด็กรุ่นใหม่ใหร้ ับฟัง สัมผัส เห็น แล้ววิเคราะห์ แก้ปญั หาเป็น พร้อมเสริม การคิดวิเคราะห์นอกตารา เพื่อเป็นการก้าวตามรอยพระราชา สานต่อที่พ่อทา โดยเป็นการจัดการเรียนรู้ให้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม แสดงถึงความจงรักภักดี ต่อพระบาทสมเด็จพระ บรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และแสดงปณิธานในการทาความดี ตามรอย เบื้องพระยุคลบาท เพื่อสานต่อการทาดีตามแนวทางที่พระองคพ์ ระราชทานไว้ ทั้งยังเปน็ การถ่ายทอดความคิด และจินตนาการในการรว่ มสร้างความดีความงดงามแก่สงั คมและประเทศชาติ ผ่านผลงานศิลปกรรมต่างๆ อันจะ ช่วยย้าเตอื นให้พสกนกิ รชาวไทยร่วมถวายความจงรักภักดี สานต่อโครงการและงานต่างๆ ของพอ่ แหง่ แผน่ ดนิ ได้ อยา่ งสมบรณู ์และย่ังยืนสืบไปได้ 4

สารบัญ บทท่ี หนา้ 1 บทนา 1 ภูมิหลงั 1 ความมุ่งหมายของการศึกษาคน้ คว้า 4 ความสาคัญของการศึกษาคน้ ควา้ 4 ขอบเขตของการศึกษาค้นควา้ 4 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 4 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง 6 ๑. หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐานพุทธศกั ราช 25๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 6 ๒. การจัดการเรียนรกู้ ล่มุ สาระการเรยี นรู้ 8 ๓. สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ สาระทัศนศิลป์ 8 ๔. ศิลปะกบั ศาสตรพ์ ระราชา 10 ๕. การสรา้ งแบบฝกึ ทกั ษะการระบายสี ๑๑ ๖. ดชั นปี ระสิทธิผล 13 ๗. ความพงึ พอใจในการเรยี นรู้ 14 3 วิธดี าเนินการศกึ ษาคน้ ควา้ 16 ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง 16 เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ 16 การสร้างและการหาคุณภาพของเครื่องมอื 16 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 23 การวิเคราะหข์ ้อมลู 23 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 24 5

บทที่ หนา้ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 27 สัญลักษณ์ท่ีใชใ้ นการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู 27 ลาดับข้ันในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 28 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 32 5 สรปุ ผลอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 32 ความมุ่งหมายของการศกึ ษาคน้ ควา้ 32 สรุปผล 32 อภิปรายผล 34 ขอ้ เสนอแนะ 35 39 บรรณานุกรม ภาคผนวก 6

บทที่ 1 บทนา ภูมหิ ลงั พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดาริ ดา้ นการศึกษาวา่ การศึกษามีความสาคัญอย่างมากต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ เพราะการศกึ ษาทาให้มนุษย์มี ความพรอ้ ม ในการดาเนนิ ชวี ิตและความมน่ั คงในการประกอบอาชพี การงาน นอกจากนั้นพระราชดารัส พระราช จริยาวัตร งานและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สะท้อนให้ประจักษ์ชัดถึงพระอัจฉริยะด้านการศึกษา เรียนร้ทู รงลงมอื ปฏิบตั ิด้วยพระองค์เองจนเกิดผลสาเร็จ ยังความปราบปลม้ื ประทับใจแก่พสกนกิ รชาวไทยทั้งปวง พระองคจ์ งึ ทรงเป็นแบบอยา่ งการศึกษา การเรยี นรู้ และการฝึกฝนปฏบิ ตั ิ การศึกษาเรียนรู้และการปฏิบัติงานให้ประสบความสาเร็จ ตามรอยพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร คือการศึกษาแนวพระราชดาริ พระราชดารัส พระ ราชจริยาวัตร พระบรมราโชวาทงานและโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ เพื่อเป็นพ้ืนฐานท่ีแสดงใหเ้ หน็ ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นความสาคัญของการศึกษาอย่างไร ทรงเรียนรู้อย่างไร ทรงปฏิบัติด้วย ความเพยี รพยายามอยา่ งไร ดงั พระบรมราโชวาทตอ่ ไปนี้ พระบรมราโชวาทท่ีพระราชทานในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สาเร็จการศึกษาจากมหาวทิ ยาลัย ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ เม่ือวันที่ 25 มิถนุ ายน 2523 ตอนหนึ่งทก่ี ลา่ วถงึ วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาวา่ “วัตถุประสงค์ของการศึกษานั้นคืออะไร กล่าวโดยรวบยอด ก็คือการทาให้บุคคลมีปัจจัยหรืออุปกรณ์ สาหรับชีวิตอย่างครบถ้วนเพียงพอ ทั้งในส่วนวิชาความรู้ ส่วนความคิดวินิจฉัย ส่วนจิตใจและคุณธรรม ความประพฤติ ส่วนความขยันอดทนและความสามารถในอันท่ีจะนาความรู้ ความคิดไปใช้ปฏิบัติงานด้วยตนเอง ให้ไดจ้ ริงๆ เพ่ือสามารถดารงชีพอยู่ได้ด้วยความสุข ความเจริญม่ันคงและสร้างสรรค์ ประโยชนใ์ ห้แก่สงั คมและ บ้านเมอื งไดต้ ามควรแก่ฐานะด้วย (สานักราชเลขาธกิ าร, 2531, หน้า 171) พระบรมราโชวาทดังกล่าว แสดง ใหเ้ ห็นแนวพระราชดาริ เรอ่ื งการเตรยี มความพร้อมสาหรบั การดาเนินชีวิต ทรงพระราชทานแนวพระราชดารวิ ่า ผลอันพึงประสงค์ของการศึกษาท่ีจะมีผลต่อผู้ได้รับการศึกษาน้ันประกอบด้วย 2 ส่วน คือ การได้รับความรู้ ด้านวิทยาการและการฝึกฝนอบรมความคิดและจิตใจ ดังพระบรมราโชวาทท่ีพระราชทาน เม่ือวันท่ี 14 กุมภาพันธ์ 2517 ในพิธีพระราชทานประกาศนียบัตรและรางวัลแก่นักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ความตอน หน่ึงว่า “… ผลอันพึงประสงค์ของการศึกษา กล่าวสั้นแต่โดยเน้ือแท้มีสองสถาน สถานหนึ่ง คือ ความรู้แจ้งใน วิทยาการซ่ึงเป็นปัจจัยสาคัญอย่างย่ิง สาหรับนาไปทากิจการงาน สร้างตัว สร้างความเจริญก้าวหน้า ให้แก่บ้านเมือง แก่ส่วนรวมและแก่มนุษยชาติ อีกสถานหนึ่งได้แก่ ความคิดจิตใจที่ฝึกฝนกล่อมเกลา แล้วอยา่ งถูกตอ้ งให้คลอ่ งแคลว่ และสจุ รติ ยุติธรรม...” (เรืองวิทย์ ลม่ิ ปนาท, 2539, หนา้ 24) จากผลอันพึงประสงค์ของการศึกษาดังกล่าว จะเห็นได้ว่านอกจากให้ความรู้อันเป็นวิชาการ ซึ่งมีหลายสาขา หลายวิชาท่ีจะเป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพในอนาคตแล้ว แนวพระราชดาริท่ีทรงมี ต่อฝึกอบรมความคิดและจิตใจขอพสกนิกรน้ัน เป็นส่ิงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสาคัญ อย่างมาก เพราะการฝึกอบรมจะทาให้คนเราได้รับการศึกษาท่ีสมบูรณ์เป็นประโยชน์อย่างแท้จริง เพราะเป็น คุณสมบัติพ้ืนฐาน ที่จาเป็นสาหรับมนุษย์ทุกคน ท่ีมีอยู่ในตัวเอง การฝึกฝนอบรมด้านจิตใจเป็นองค์ประกอบ ท่ีสาคัญของการศึกษาท่ีสาคัญ ได้แก่ ความร้จู ักผิดชอบช่วั ดี ความละลายช่ัวกลัวบาป ความซ่ือสัตย์สุจรติ ทงั้ ใน 7

ความคิดและการกระทา ความไม่เห็นแก่ตัว ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น ความไม่มักง่ายหยาบคาย และความขยันหมั่นเพียร (สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครู, 2539, หน้า 24-25) พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงเน้นว่าการศึกษามีบทบาทพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ทรงให้ ความสาคญั แก่การพัฒนาคน ซึ่งเป็นทรัพยากรท่ีมีคา่ สงู สุดในการพฒั นาประเทศ เป็นผมู้ ีความรู้ คู่คณุ ธรรมและ สามารถนาหลักวิชาการมาใช้อย่างมเี หตุผล สอดคล้องกบั ภูมิสังคมไทยและบรบิ ทของประเทศ พระราชดาริและ พระราชกรณีกจิ ด้านการศกึ ษาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นพื้นฐานสาคัญในการพัฒนาคนท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดาเนินการ มาตั้งแต่แรกเริ่มจนถึงปัจจุบัน เป็นไปในระดับกว้าง เป็นการจัดการศึกษาที่ครอบคลุมประชาชนทุกระดับและ เป็นไปในระดับลึก คือ การจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของกลุ่มประชากรที่มีสตปิ ัญญาและศักยภาพ ในระดับท่ีต่างกัน สามารถต่อยอดความรู้มาใช้ในการพัฒนาประเทศได้ พระราชปณิธานและพระราชดาริ ด้านการศึกษา รวมทั้งพระราชกรณีกิจของพระองค์ในการสร้างคน ซึ่งพสกนิกรได้เห็นเป็นที่ประจักษ์ ในพระปรีชาญาณและสายพระเนตรอันยาวไกล ส่งผลใหป้ วงชนชาวไทยมคี วามรม่ เย็นเป็นสุขท่ัวหน้ากันจวบจน ปัจจบุ ัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นศิลปินผู้เยี่ยมยอด นักกีฬาผู้ยิ่งยง นายช่างผู้สามารถและ นักพัฒนาท่ีช่วยให้เกษตรกรในชาติอยู่ดีกินดี (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2550 : 129- 134 ) ทรงศึกษาฝึกฝนท้ังความเป็นศิลปนิ และวชิ าช่างมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ สมเดจ็ พระเจ้าพี่นางเธอเจา้ ฟ้า กลั ยา-ณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ ทรงพระนิพนธ์ไว้ในหนังสอื เจา้ นายเล็กๆ-ยุวกษัตรยิ ว์ ่า “ เมอื่ ปี 2474 พระองค์เลก็ เข้าเรยี นอนุบาลทค่ี รูพิเศษภาษาองั กฤษของขา้ พเจา้ เปิดสอนที่บ้าน...นักเรียนชน้ั นไ้ี มไ่ ด้เรียน หนังสือแต่จะวาดรูประบายสีรูปตัดกระดาษหัดใช้กาว ฯลฯ ” เม่ือเสด็จไปประทับและทรงศึกษาท่ีประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ ก็สนพระราชหฤทัยในการสอนวาดภาพของครูมาตั้งแต่ชั้นประถมต้น ต่อมาพระบาทสมเด็จ- พระเจ้าอยู่หัว ทรงศึกษางานศิลปะด้านจิตรกรรมจากตาราต่างๆ ด้วยพระองค์เอง ทรงฝึกเขียนและทดลอง วาดภาพลักษณะต่างๆ หลังจากเสด็จข้ึนครองราชย์ ทรงเริ่มวาดภาพอย่างจริงจังในช่วง พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2510 ทรงเริ่มต้นวาดภาพทิวทัศน์ ด้วยสีน้าเป็นภาพ “ไฟไหม้กรงุ เทพฯ” แลว้ ทรงเปลยี่ นมาใช้สีน้ามันวาดภาพ จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ มีท้ังภาพเหมือนภาพธรรมชาติ ภาพนามธรรม ภาพชีวิตและภาพจินตนาการ เช่น ภาพท่ีพระราชทานช่ือว่า “เงา” “ยุแหย่” “ไฟไหม้ป่า” “ดินน้าลมไฟ” “วัฏฏะ” “อ่อนโยน” “บุคลิกซ้อน” ไดท้ รงวาดภาพไวถ้ ึงร้อยกวา่ ภาพ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ไดพ้ ระราชทานภาพเขยี นฝีพระหัตถ์ ร่วมแสดง ในงานศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 14 -16 ร่วมกับจิตรกรอื่นๆ และได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเปิดงาน ตลอดจนพระราชทานรางวลั แกศ่ ลิ ปนิ ดว้ ยพระองคเ์ อง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้เชิญบรรดาจิตรกรไทยมาเฝ้าฯ ร่วมสังสรรค์ด้วยเป็นคร้ังคราว พระราชทานเลี้ยงอาหารบ้าง มาร่วมวาดภาพ แข่งขันกันบ้าง ระหว่างท่ีทรงร่วมวาดภาพ ก็ทรงแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและทอดพระเนตรวิธีการทางานของ ศิลปิน แต่ละคน เม่ือทรงวาดภาพจะทรงใช้วิธีการของพระองค์เอง คร้ันหมดเวลาในการวาดภาพ จะทรงพระ ดาเนินทอดพระเนตรภาพแต่ละภาพ แล้วทรงขอเก็บผลงานต่างๆ ของศิลปินไว้ท้ังหมด พระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยูห่ ัวทรงเปน็ องค์อุปถัมภก ผู้ทรงสร้างสรรคเ์ ผยแพรง่ านศลิ ปะและทรงเป็นผู้นาศิลปินสมัยใหมด่ ว้ ยพระองค์ เองไดพ้ ระราชทานพระราชดารัส ถงึ คุณค่าของงานศิลปะและประโยชน์ของการเผยแพร่ผลงานศิลปะในพิธเี ปิด งานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งท่ี 13 ความตอนหนึ่งว่า “ งานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ นอกจากจะมี วัตถุประสงค์เพื่อการส่งเสริมอัจฉริยภาพของศิลปินแล้ว ยังสร้างเกียรติให้แก่ชาติและอานวยประโยชน์แก่ ประชาชน โดยส่วนรวม ให้มีโอกาสใฝ่ใจในสิ่งที่สวยงาม เจริญตา และเจริญใจ เป็นผลให้เกิดนิสัยรักความ 8

ประณีต วิจิตรบรรจง มีความรู้สึกละเอียดอ่อน เกิดความคิดในทางที่ดีงาม เป็นการยกระดับทางจิตใจของ ประชาชนในชาติ ใหส้ ูงขึน้ ...” ศลิ ปะเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ม่งุ เนน้ การสง่ เสริมใหม้ ีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ มจี นิ ตนาการทางศลิ ปะ ช่นื ชมความงามสุนทรียภาพ ความมคี ุณค่า ซง่ึ มีผลตอ่ คณุ ภาพชีวติ มนุษย์ ดงั นน้ั กิจกรรมศิลปะ สามารถนาไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรียนโดยตรง ท้ังด้านร่างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ตลอดจนนาไปสู่การพัฒนา ส่งิ แวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อม่ันในตนเอง และแสดงออกในเชิงสรา้ งสรรค์ พัฒนากระบวนการรับรู้ ทางศิลปะ การเห็นภาพรวม การสังเกตรายละเอียด สามารถค้นพบศักยภาพของตนเอง มีความรับผิดชอบ มรี ะเบียบวินยั สามารถทางานรว่ มกับผูอ้ ่นื ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ (กรมวชิ าการกระทรวงศึกษาธิการ. 2545:1) ศิลปะเป็นความเฉลียวฉลาดของมนุษย์ที่จะสร้างสิ่งซึ่งเจริญหู เจริญตา เจริญใจ เช่น ความสวยงาม ความเพียบพร้อม เสียงท่ีไพเราะ คาพดู ท่ีน่าช่ืนชมยินดี ท่ีก่อให้เกิดความพึงพอใจและความสุขใจ บางคร้ังพาให้ หลงใหล เคลิบเคล้ิม และชักจูงให้เกิดศรัทธาได้ง่าย การสร้างงานศิลปะ แสดงถึงคุณสมบัติพิเศษของมนุษย์ อนั ได้แก่ ความคดิ สรา้ งสรรค์ แรงบันดาลใจ และจนิ ตนาการ ซง่ึ เป็นพลังสาคัญที่ผลกั ดนั ใหเ้ รากา้ วข้ามขดี จากัด ของตนเอง โดยใช้ศักยภาพท่ีซ่อนอยภู่ ายใน สร้างส่ิงท่ีน่าอศั จรรย์ใจให้ปรากฏขึ้นมากมายเหลือคณานับ ศิลปะ จึงมีความหมายมากกว่าการสร้างส่ิงสวยงาม หรือความพึงพอใจเท่าน้ัน แต่กระบวนการสร้างงานศิลปะนั้น ยงั มีมิตทิ ่ีลึกซึ้ง ทีจ่ ะหล่อเลี้ยงธรรมชาติพิเศษของความคดิ จิตใจมนุษย์ ในการสะท้อนไปที่คณุ ภาพภายในของตน อย่างแยบคาย หากกระบวนการสร้างงานศิลปะน้ัน เป็นไปด้วยความประณีต พินิจ พิจารณา ใคร่ครวญ อย่างละเอียด จนเกิดการสังเกตเห็นความเป็นไปที่แตกตา่ งระหว่างการอยู่กับปัจจบุ ัน ท่ีเป็นปกติกบั การคาดค้ัน อยากได้ผลสาเร็จความกล้าท่ีจะทดลอง ความไม่ลังเลสงสัย ในการกระทาของตนเอง ความอดทนที่จะทาใหม่ เมื่อผิดพลาด จนในที่สุดความคิดสร้างสรรค์จึงผุดข้ึนอย่างแนบเนียน ในภาวะที่สมดุลซึ่งแตกต่างโดยส้ินเชิง กับภาวะท่ีป่ันป่วนและมืดทึบ การทางานศิลปะด้วยท่าทีดังกล่าวจึงเป็นการกระทาด้วยปัญญาที่แฝงกุศโลบาย ในการฝึกตน จากภายในให้เกิดความสมดุลทั้งความคิดจิตใจ การกระทาด้วยแรงบันดาลใจที่มั่นคง จนสามารถ ปลดปลอ่ ยความคดิ สร้างสรรคใ์ ห้เกดิ ข้นึ อยา่ งพอเหมาะพอดี (ประภาภทั รนิยม. 2550 : คานา) การจัดการเรียนรู้ศิลปะ มุ่งส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยให้รู้จักแสวงหา ความรู้และประสบการณ์ จากแหล่งการเรียนรู้และห้องสมุด เพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ อย่างเพียงพอ และเกิดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ท้ังในห้องเรียน นอกห้องเรียน และนอกสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกคนได้เรียนรู้ สามารถคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิจารณ์ แก้ปัญหา และทาส่ิงท่ีแตกต่างให้ดีขึ้น (กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ. 2545 :129) การจัดการเรียนรู้ ศิลปะโดยให้ความสาคัญในคุณค่าของกระบวนการทางานศิลปะ จะช่วยฝึกหัดทักษะมือ ตา สัมพันธ์พัฒนา ความคิดโดยเฉพาะดา้ นมติ สิ ัมพนั ธ์ กระตุ้นฉนั ทะในการเรยี นรแู้ ละขดั เกลา สรา้ งเสริมลักษณะนิสยั ที่ดงี าม ให้แก่ เดก็ ๆไดแ้ ก่ ความวริ ิยะอตุ สาหะ มีสมาธิในการทางาน ดูแลตนเองเปน็ ทั้งด้านอารมณ์และบคุ ลิกภาพ มีทศั นคติท่ี ดีงามต่อชีวติ และสรรพสิ่งรอบตัว ไปจนถึงการเปน็ เครือ่ งมือในการภาวนา ส่วนผลงานทางศิลปะนั้นเปน็ เสมือน เคร่ืองช่วยสร้างฉันทะ และทัศนคติที่ดีต่อตนเอง ซ่ึงจะช่วยสร้างความม่ันใจในการทางานอื่นๆ อย่างมีคุณภาพ ต่อไป ดังน้ันจุดมุ่งหมายในการเรียนการสอนศิลปะแก่เด็ก โดยเฉพาะในระดับประถมศึกษา จึงไม่ใช่การสร้าง ศิลปินหรือมุ่งสร้างงานท่ีเป็นเลิศ แต่เป็นการสร้างคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังผู้เรียนและผู้สอน ผ่านทั้ง กระบวนการทางานศิลปะ และงานศลิ ปะรอบๆ ตัวนนั่ เอง ( ฝา่ ยตาราโรงเรยี นรุ่งอรณุ . 2550 : 1 ) ในการทาวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้จัดทาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม เพ่ือน้อมเกลา้ ฯ ถวายบงั คม ชนื่ ชมสดดุ พี ระเกียรตคิ ุณพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดช 9

มหาราช บรมนาถบพิตรตามหลัก คาสอนและพระราชจริยวตั รเหล่านั้น ซึ่งไม่เคยจางหายไปจากใจของคนไทย ทั้งปวง การปฏิบัติตามแนวทาง แห่งศาสตร์พระราชา จึงเป็นปฏิบัติบูชา ที่จะช่วยให้บ้านเมืองมีความ เจริญกา้ วหน้า มีความมน่ั คง ผาสกุ และยง่ั ยืนต่อไปในภายภาคหนา้ ความมุ่งหมายของการศกึ ษาคน้ คว้า 1. เพื่อศึกษาคุณภาพของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ของกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ศิลปะ รายวชิ าทัศนศลิ ป์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน ท่ีใช้แบบฝึกทักษะการระบายสีโดย ยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศลิ ป์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ระหว่าง ก่อนและหลังการใช้นวตั กรรม 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียน ด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตรพ์ ระราชา” ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ รายวิชาทศั นศลิ ป์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ความสาคญั ของการศกึ ษาค้นคว้า ผลของการศึกษาค้นคว้าครั้งน้ีจะทาให้ได้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ท่ีมีประสิทธิภาพ ได้แนวทางสาหรับ ครูผู้สอนและผู้ท่ีสนใจในการวางแผนพัฒนาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”ของ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 และทราบความพึงพอใจของนักเรียนที่มี ต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสีโดย ยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ าทศั นศลิ ป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ขอบเขตของการศกึ ษาค้นควา้ การศกึ ษาค้นควา้ ครงั้ นไี้ ดก้ าหนดขอบเขตในการศึกษาคน้ ควา้ ดงั น้ี 1. กลุ่มประชากรที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา 256๔ จานวน ๑๑ คน 2. เนอ้ื หาที่ใช้ในการทดลองครั้งน้ี เก่ียวกบั การพัฒนาทักษะการระบายสีโดย ยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” จานวน 16 แบบฝึก 3. ระยะเวลาในการศกึ ษาค้นคว้าเร่มิ ศึกษาคน้ ควา้ ตั้งแตว่ ันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ – ๒ มีนาคม 256๔ นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 1. การพัฒนาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ าทศั นศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 หมายถงึ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนไดล้ งมือ ปฏิบัติงานท้ังกระบวนการกลุ่มและด้วยตนเอง ใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรู้ท่ีดีและมีประสิทธภิ าพ โดยใช้ แบบฝกึ ทกั ษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตรพ์ ระราชา” 2. แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”หมายถึง แบบฝึกทักษะการระบายสี ท่ถี ่ายทอดเรอ่ื งราวด้านทัศนศิลป์ เก่ียวกับหลกั การทรงงานเพ่ือการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เรียกว่า “ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา” 10

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นที่ประจักษ์ชัด ตอ่ นานาอารยประเทศ ไมเ่ ฉพาะแค่ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และ เกษตรทฤษฎีใหม่ 3. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ หมายถึง คุณภาพจากการพัฒนาการเรียนรู้ จากการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน เร่ือง การพัฒนาทักษะระบายสีภาพ โดยใช้แบบฝึกการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ท่ีทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถบรรลุตามเกณฑ์ 80/80 80 แรก หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้จากการ ทาแบบฝกึ หัดการระบายสี โดยยดึ หลัก “ศาสตร์พระราชา” 80 หลัง หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลังเรยี น 4. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หมายถึง นักเรียนโรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 256๓ จานวน ๑๑ คน 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนท่ีนักเรียนทาได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทผี่ ศู้ กึ ษาค้นควา้ สรา้ งข้ึน เปน็ การทดสอบหลังเรยี น 6. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง แบบวัดความสามารถของนักเรียน ในการเรียน เร่ือง การพัฒนาทักษะการระบายสี โดยใช้แบบฝึกการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ทีผ่ ู้วจิ ยั ได้สร้างข้ึน 7. ความพึงพอใจต่อการพัฒนาทักษะการระบายสี โดยใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 หมายถึง อารมณ์ทา่ ที ความรูส้ กึ ชอบ/ไม่ชอบ ของผู้เรียนทม่ี ีตอ่ การจดั การเรยี นรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการระบาย สี โดยยดึ หลัก “ศาสตร์พระราชา” กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ รายวิชาทศั นศลิ ป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ในด้านเน้อื หาวิธสี อน กจิ กรรมและคณุ ประโยชน์ท่ไี ด้รบั 8. แบบประเมินพฤติกรรมระหวา่ งเรียน หมายถึง แบบประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน ท่ีผู้ศึกษาค้นคว้า สร้างขึ้น เพื่อประเมนิ พฤตกิ รรมระหวา่ งเรยี น ของนกั เรียนตามสภาพจริง โดยประเมนิ ท้ังรายบคุ คลและ รายกล่มุ 9. ดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้ หมายถึง ตัวเลขที่แสดงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยการเปรียบเทียบคะแนนที่เพิ่มขึ้น จากคะแนนทดสอบก่อนเรียนกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบ หลงั เรียน และคะแนนเต็มหรอื คะแนนสูงสดุ กบั คะแนนท่ีไดจ้ ากการทดสอบกอ่ นเรียน 11

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้อง การพัฒนาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรสงคราม ผศู้ กึ ษาคน้ คว้าได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่เี กยี่ วขอ้ งดงั น้ี 1. หลักสูตรการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานพุทธศักราช 25๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 2. การจัดการเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ 3. ศลิ ปะกับศาสตรพ์ ระราชา 4. การสรา้ งแบบฝึกทักษะการระบายสี 5. ดัชนีประสิทธผิ ล ( Effectiveness Index) 6. ความพงึ พอใจในการเรียนรู้ 7. งานวจิ ัยท่เี กยี่ วขอ้ ง 7.1งานวจิ ัยในประเทศ 7.2งานวจิ ัยตา่ งประเทศ 1. หลักสูตรการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานพุทธศักราช 25๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ม่งุ พัฒนาผู้เรียนทุกคน ซงึ่ เป็นกาลัง ของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมี ความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสานึกใน ความเปน็ พลเมืองไทยและเปน็ พลโลก ยึดมน่ั ในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ัง เจตคติ ที่จาเป็นต่อ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ บนพื้นฐานความเช่ือวา่ ทกุ คนสามารถเรยี นรูแ้ ละพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน มหี ลักการท่ีสาคญั ดังนี้ ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรู้เป็น เป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มคี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และ คุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย ควบคูก่ ับความเป็นสากล ๒. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาเพอื่ ปวงชน ทปี่ ระชาชนทกุ คนมโี อกาสได้รับการศึกษา อย่างเสมอภาคและมี คุณภาพ ๓. เปน็ หลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สงั คมมสี ่วนร่วมในการ จดั การศึกษาให้ สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถนิ่ ๔. เปน็ หลักสูตรการศึกษาทมี่ โี ครงสร้างยึดหยุ่นทงั้ ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและ การจดั การเรยี นรู้ ๕. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ๖. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษา สาหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั ครอบคลุมทกุ กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ 12

จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มงุ่ พฒั นาผู้เรียนให้เปน็ คนดี มีปัญญา มี ความสุข มีศักยภาพใน การศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพือ่ ใหเ้ กิด กบั ผู้เรยี น เมอื่ จบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ดังนี้ ๑. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพ่ี งึ ประสงค์ เหน็ คณุ ค่าของตนเอง มีวินัย และปฏบิ ตั ติ นตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนบั ถอื ยดึ หลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคิด การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะชีวติ ๓. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มีสขุ นสิ ยั และรักการออกกาลังกาย ๔. มีความรักชาติ มจี ิตสานึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยึดมนั่ ในวถิ ชี วี ติ และการปกครองตาม ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ๕. มีจิตสานกึ ในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย การอนุรกั ษ์และพัฒนา สง่ิ แวดล้อม มจี ติ สาธารณะที่ม่งุ ทาประโยชน์และสรา้ งสิ่งที่ดงี ามในสงั คม และอยู่ร่วมกันใน สงั คมอย่างมีความสุข โครงสรา้ ง เพ่ือให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ จึงได้กาหนดโครงสร้าง ของหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐานดงั น้ี ระดับช่วงช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 1- 3 กาหนดหลกั สตู รเป็น 4 ชว่ งชน้ั ตามระดับพัฒนาการของผเู้ รียน ชว่ งชนั้ ท่ี 1 ช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 1- 3 ชว่ งชน้ั ท่ี 2 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4- 6 ช่วงชน้ั ท่ี 3 ชั้น มัธยมศึกษาปที ่ี 1- 3 ช่วงชั้นท่ี 4 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4- 6 สาระการเรยี นรู้ การพัฒนาผูเ้ รียนให้เกดิ ความสมดุล ตอ้ งคานงึ ถงึ หลกั พฒั นาการทางสมองและ พหปุ ญั ญา หลกั สูตร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน จงึ กาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วทิ ยาศาสตร์ ๔. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕. สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๖. ศิลปะ ๗. การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘. ภาษาตา่ งประเทศ ในแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรไู้ ด้กาหนดมาตรฐานการเรยี นรู้เปน็ เปา้ หมายสาคัญ ของการพฒั นาคณุ ภาพ ผเู้ รียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุส่ิงท่ีผู้เรียนพงึ รู้และปฏบิ ัติได้ และ มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์อย่างไร เมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษาท้ัง ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทง้ั เปน็ เคร่อื งมอื ในการตรวจสอบเพ่ือการประกันคณุ ภาพการศึกษาโดยใชร้ ะบบการประเมิน คุณภาพภายใน 13

และการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึงการทดสอบระดับเขตพ้ืนท่ี การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกล่าว เป็นส่ิงสาคัญที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี ุณภาพ ตามท่ีมาตรฐานการเรยี นรู้กาหนดเพียงใด การจดั การเรียนรกู้ ล่มุ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ช่ืนชมความงามสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ สามารถ นาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนโดยตรง ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ตลอดจนนาไปสู่ การพัฒ นาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเช่ือมั่นในตนเอง และแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ พฒั นากระบวนการรับรูท้ างศิลปะ การเหน็ ภาพรวม การสงั เกตรายละเอียด สามารถค้นพบศักยภาพของตนเอง อันเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อหรอื ประกอบอาชพี ไดด้ ้วยความรับผิดชอบ มีระเบียบวินยั สามารถทางานรว่ มกัน ได้อย่างมีความสุข (กรมวิชาการ. 25๕๑ : 1) ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 25๕๑ ได้ กาหนดให้ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน ของหลักสูตร กลุ่มสาระ การเรียนรศู้ ิลปะ สาระทศั นศลิ ป์ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี คณุ ภาพของผู้เรยี น เม่ือจบการศึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช่วงชั้นท่ี 1 (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1–3) ผู้เรียนจะมี คณุ ภาพดังน้ี (กรมวิชาการ. 25๕๑ : 3) - สรา้ งและนาเสนอผลงานศลิ ปะ จากจนิ ตนาการ ความคิดสรา้ งสรรค์ เล่าเก่ยี วกบั ผลงานของตน ใหผ้ ู้อนื่ รับรู้ โดยใชศ้ ัพทเ์ บอื้ งตน้ เกี่ยวกับศลิ ปะได้ - รบั รทู้ างศิลปะ ไดแ้ ก่ ทัศนธาตุ เล่าให้ผอู้ นื่ รบั รูโ้ ดยใช้ศพั ทเ์ บ้ืองต้นทเ่ี ก่ียวกับศลิ ปะได้ - ระบุสิ่งแวดลอ้ มหรอื เง่ือนไขทีท่ าใหเ้ กิดผลงานศิลปะได้ - ใชค้ วามรทู้ างศลิ ปะสาขาต่างๆ ในการเรยี นรู้กล่มุ สาระอ่นื ๆ - สนใจในการปฏิบัติงานศิลปะ พึงพอใจ สนุกเพลิดเพลิน รับผิดชอบการทางานร่วมกับผู้อื่น อยา่ งมีความสุข - สังเกต รับรู้ สนใจ ธรรมชาติส่ิงแวดล้อมงานศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ประเพณี ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๓. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ รายวชิ าทัศนศิลป์ มาตรฐานการเรียนรชู้ ่วงช้นั สาระที่ 1 ทศั นศลิ ป์ ( ชว่ งชนั้ ที่ 1 ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1-3 ) มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทศั นศิลปต์ ามจินตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ 14

วิจารณ์คุณคา่ งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความร้สู ึก ความคิดต่องานศิลปะอยา่ งอิสระช่นื ชม และ ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างทศั นศลิ ป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ งานทัศนศิลปท์ เ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล ตารางท่ี 1 มาตรฐานการเรียนรชู้ ว่ งชัน้ สาระที่ 1 ทศั นศิลป์ มาตรฐานการเรียนรูช้ ว่ งชัน้ ท่ี 1 - 2 สาระทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ป.1-3 ป.4-6 มาตรฐานศ 1.1 1. สื่อความคิดจินตนาการความรู้สึก 1. สื่ อ ค ว า ม คิ ด จิ น ต น า ก า ร สร้างสรรค์งาน ทั ศน ศิลป์ ความประทับใจด้วยวิธีการต่างๆ ความรู้สึก ความประทั บ ใจ ตามจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ อย่างสนุกสนานเพลดิ เพลนิ ดว้ ยวิธีการต่างๆอยา่ งม่นั ใจ วจิ ารณ์ คณุ คา่ งานทัศนศิลป์ 2. สังเกตรับรู้ส่ิงที่อยู่รอบตัวทัศนธาตุ 2. สาร ว จ ท ด ล อ งส ร้างส ร ร ค์ ถ่ายทอดความรู้สึกความคิด ต่องาน ศิลป ะอย่างอิสระ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์ โด ย ใ ช้ ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์ คิ ด ริ เร่ิ ม ชื่ น ช ม แ ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ในชวี ิตประจาวัน วิธกี ารตา่ งๆตามความสนใจ สร้างสรรค์ ใช้ทัศนธาตุ โดยใช้ 3. ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทากิจกรรม เทคนคิ วิธกี ารใหมๆ่ ในการสร้าง ทัศนศิลป์อย่างปลอดภัย และ งานทัศนศิลปต์ ามความสนใจ มีความรับผิดชอบ 3. เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทา 4. แสดงออกถึงความรู้สึกในการรับรู้ กิจกรรมทัศนศิลป์ ได้อย่าง ความงาม 5. แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับลักษณะ เหมาะสมปลอดภัยและมีความ รบั ผดิ ชอบ ใน ธ ร ร ม ช า ติ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ผ ล ง า น ทัศนศลิ ป์ของตนเองและผู้อื่น 4. แสดงออกถึงความรู้สึกในการ 6. นาความรู้และวิธีการทางการ รับรู้ความงามด้วยวิธีการต่างๆ ตามความสนใจ ทั ศ น ศิ ลป์ ไป ใช้กั บ ก ลุ่ม ส าร ะ การเรียนรู้อื่นๆ และชีวิตประจาวนั 5. แสดงความคิดเห็ น อ ธิบาย ความหมายของงานทัศนศิลป์ ทั ศ น ธ า ตุ แ ล ะ ค ว า ม ง า ม ข อ ง ศิลปะ 6. น าค ว าม รู้แ ละ วิ ธี ก าร ท าง ทั ศ น ศิ ล ป์ ไ ป ใช้ กั บ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ อื่ น ๆ แ ล ะ ชวี ติ ประจาวนั 15

มาตรฐานศ 1.2 1. รู้ความเป็นมาของส่ิงที่อยู่รอบตัว 1. ความเป็นมาและความสาคัญ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั งานทัศนศิลป์ ของศิลปะในท้องถิน่ และศิลปะ ทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์และ วั ฒ น ธ ร ร ม เห็ น คุ ณ ค่ า 2. สนใจงานทัศนศิลป์อันเป็นมรดก 2. พึ ง พ อ ใจ แ ล ะ ย อ ม รั บ ใน ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์ ท่ี เป็ น ม ร ด ก ท างวัฒ น ธ รรมป ระเพ ณี แล ะ ภูมิปัญญาของการสร้างงาน ทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญ า ท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและ ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ทั ศ น ศิ ล ป์ ก า ร สื บ ท อ ด สากล การทางานศิลปะที่เก่ียวข้อง กั บ วั ฒ น ธ ร ร ม ป ร ะ เพ ณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญา ไทยและสากล สรุปได้ว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการ ช่ืนชมความงาม สุนทรียภาพ ความมีคุณค่า สามารถนาไปพัฒนาตนเอง ท้ังยังส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความเช่ือมั่น เปิดโอกาสแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์อย่างอิสระ และเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทย และสากล สามารถทางานรว่ มกับผ้อู ืน่ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ๔. ศิลปะกบั ศาสตร์พระราชา ศาสตร์พระราชา หมายถึง พระราชดาริ (King Initiate) พระราชดารัส พระบรมราโชวาท ท่ีได้มีการ นาไปปฏิบัติ โดยมีการประยุกต์ร่วมกับวิชาการด้านต่างๆ ท่ีมีลักษณะเป็นองค์รวม นามาใช้รวมกับภูมิปัญญา ท้องถ่ิน(บรรพบุรุษท่านทาไว้ดีแล้ว) และได้นาไปสู่การทดลองปฏิบัติหลายครั้ง จนได้รับความผลสาเร็จ ตามพระราชประสงค์ สามารถนาไปใช้แก้ไขปัญหาด้านต่างๆ ได้ เช่น โครงการพระราชดาริ และสรุปข้ึนเป็น หลักการ กรอบในการปฏิบัติงาน(หลักการทรงงาน) และทฤษฎีใหม่ด้านต่างๆ ตลอดจนแนวทางการพัฒนา ที่เกิดเป็นรูปธรรม จนเป็นท่ีประจักษ์แก่สาธารณะ ท้ังน้ีจากการศึกษาในเบ้ืองต้นพบว่า ศาสตร์พระราชา มอี ยู่ดว้ ยกัน ๓ ดา้ น ด้านการพัฒนามนุษย์ ด้านการพัฒนาและบริหาร ดา้ นการอนุรกั ษ์และฟ้นื ฟู ( ทมี่ า ; จาก ภาพสุดท้ายในหนังสอื พระราชนพิ นธพ์ ระมหาชนก ) การนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาท่ีย่ังยืนท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา เป็นการทาให้นักเรียนรู้เท่าทัน การเปล่ียนแปลงของสังคมในยคุ ประเทศไทย ๔.๐ และการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา เช่น การปลกู ฝังนิสยั รัก การอ่าน (การอ่านหนังสือควรฝึกนักเรียนให้อ่านข้อความยาว ๆ เพราะจะทาให้เข้าถึงทัศนคติและความคิดของ ผู้เขยี น ได้ดีกว่าการอ่านขอ้ ความสั้นๆ) ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนไดเ้ รยี นรู้สิ่งที่อยู่รอบตัวดว้ ยตนเอง เพื่อส่งเสรมิ ทักษะ กระบวนการคิดวิเคราะห์ที่อยู่นอกตาราเรียน ซ่ึงสอดคล้องกับนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ท่ีส่งเสริมให้ นกั เรียนไดเ้ รียนร้ผู ่านการปฏิบัติ (Active Learning) ผู้วิจัยได้ศึกษาและบูรณาการ หลักศาสตร์พระราชาและแนวคิดการเรียนรู้แบบ Active learning ทมี่ ุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการเรยี นรู้ ดว้ ยการลงมือปฏิบัติ การคดิ เกีย่ วกับสง่ิ ที่ได้เรียนรู้ ผ่านการฟังและพูด การอ่าน การเขียน และการสะท้อนความคิดจากประสบการณ์ การทากจิ กรรมต่าง ๆ ท่ีหลากหลายท้ังกลมุ่ ใหญ่ และกลุ่มย่อย และการเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาทักษะการระบายสี ตามจินตนาการ ของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนมีความรักสถาบันหลักของชาติ และยึดหลักการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ดว้ ย “ศาสตร์พระราชา” 16

๕. การสร้างแบบฝกึ ทักษะการระบายสี หลักจิตวิทยาท่ีเกี่ยวข้องกับการสรา้ งแบบฝึกหัด การสร้างแบบฝึกอาศัยพ้ืนฐานทางจิตวิทยา ทฤษฎี และจิตวิทยาการเรยี นรู้ ทเ่ี ปน็ พืน้ ฐานในการสร้างแบบฝกึ ท่ีสาคัญ ได้แก่ ทฤษฎกี ารเชื่อมโยง ทฤษฎีการฝึกสมอง และทฤษฎกี ารเสริมแรง ทฤษฎีการเชื่อมโยง (Connectioned theory) ทฤษฎีการเช่ือมโยง (Connectioned theory) ของธอร์นไดค์ (Thorndike) เป็นการเช่ือมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองของผู้เรียนในแต่ละชั้น อยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยอาศยั กฎการเรยี นรู้ 3 กฎ คือ 1. กฎแห่งความพร้อม ( Law of readiness ) กฎนี้กล่าวถึงสภาพความพร้อมของผู้เรียนท้ังทางด้าน ร่างกายและจิตใจ ถ้าร่างกายเกิดความพร้อมแล้ว ได้กระทาย่อม เกิดความพึงพอใจ แต่ถ้ายัง ไม่พรอ้ มท่จี ะทา แล้วถูกบังคบั ให้กระทา จะทาให้เกิดความไมพ่ งึ พอใจ 2. กฎแห่งการฝกึ หดั (Law of exercise) กฎนก้ี ล่าวถึงการสร้างความมัน่ คงของการเชื่อมโยง ระหวา่ ง สิ่งเร้ากับการตอบสนองที่ถูกต้อง โดยการฝึกหัดกระทาซ้าบ่อยๆ ย่อมทาให้เกิดการเรียนรู้ได้นาน และคงทนถาวร 3. กฎแห่งความพอใจ (Law of effect) กฎนี้กล่าวถึงผลท่ีไดร้ ับเมื่อแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้แล้วว่า ถา้ ได้รับผลท่ีพงึ พอใจ ย่อมอยากจะเรยี นรู้อีกตอ่ ไป แต่ถา้ ได้รับผลท่ีไม่พงึ พอใจ ก็ไมอ่ ยากจะเรียนรู้ หรือเกิดความเบอื่ หนา่ ย ทฤษฎกี ารฝกึ สมอง (Mental discipline) เป็นทฤษฎีถา่ ยโยงความรูส้ กึ ที่เก่าแก่ท่ีสุด จะเน้นการเรียน โดยการฝึกสมอง เพราะเชื่อว่าการฝึกสอนให้ผู้เรียนจดจา ฝึกคิดหาเหตุผล โดยสอนให้เข้าใจและฝึกฝนมากๆ จนเกิดเปน็ ทักษะและความคงทนในการเฉลยี วฉลาด สามารถเรียนร้ไู ด้อย่างประสิทธภิ าพ ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement theory) ของสกินเนอร์ (Skinner)ซ่ึงเขาเชื่อว่า การเรียนรู้ เป็นกิริยาสะท้อน หลังจากเกิดกระบวนการส่ิงเร้าและตอบสนอง ซงึ่ อาจเป็นการเสรมิ แรงแบบอุปนัย คือ ได้รับ ความพอใจท่ีมีความหวังหรือเป็นแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ หนังสือเรียนซึ่งบรรจุเนื้อหาที่เข้าใจ เช่น บทเพลง บทร้อยกรอง กิจกรรมท่ีสนุกสนานบันเทิง เป็นต้น การเสริมแรงจึงเป็นทฤษฎีที่ประยุกต์ใช้ในวิชาศิลปะ วรรณกรรมและการบันเทงิ ไดอ้ ย่างดี การสร้างแบบฝึกหดั ความหมายของแบบฝึก นักการศกึ ษาหลายทา่ นไดใ้ หค้ วามหมายของแบบฝึกทีค่ ล้ายคลงึ กนั เชน่ อจั ฉราชีวพันธ์ ( 2532 : 26 ) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกสรุปได้วา่ แบบฝึก หมายถงึ สิ่งที่สรา้ งข้ึน เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ ตามแนวหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการและเสริมเติมเน้ือหาบางส่วน ช่วยใหน้ กั เรียนหาความรู้ไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งแม่นยา ถูกต้อง และคล่องแคล่ว ละเอยี ด คชวัฒน์ ( 2537 : 15 ) ไดใ้ ห้ความหมายของแบบฝึกสรุปไดว้ า่ แบบฝึก หมายถงึ ส่ือการสอน หรือสง่ิ ทส่ี รา้ งขึ้นเพอ่ื เสริมสร้างและพฒั นาใหน้ กั เรยี นไดฝ้ ึกฝนจนมีประสบการณ์ สมาน จันทะดี ( 2546 : 149 ) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึก หมายถึง ส่ือการ เรียนรู้ประเภทหน่ึงที่ใช้ฝึกทักษะให้กับผู้เรียน อาจจะเป็นฝึกทักษะการคิด การแก้ปัญหา การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์หรือการฝึกปฏิบตั ิเรอื่ งใดเรื่องหนง่ึ เพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามชานาญการหรอื เช่ียวชาญในเร่ืองนัน้ ๆ ได้ดยี ง่ิ ขนึ้ 17

กล่าวโดยสรุป แบบฝึก หมายถึง เครือ่ งมือหรอื ส่ือการเรียนรู้ประเภทหนึ่ง ที่สรา้ งขึ้นเพื่อพัฒนาทักษะ ทางด้านการคิดการวิเคราะห์ การแก้ปัญหา หรือการฝึกปฏิบัติในเรื่องใดเร่ืองหน่ึงเพื่อพัฒนาผู้เรียน ใหม้ คี วามชานาญการหรือเช่ยี วชาญในเรื่องนน้ั ๆไดด้ ยี ง่ิ ข้ึน ความสาคัญของแบบฝกึ แบบฝึกมคี วามสาคัญอยา่ งยง่ิ ตอ่ การจดั การเรียนการสอนดังท่มี า สวิมล รักบ้านเกิด ( 2526 : 27 ) กล่าวว่า “แบบฝึกนอกจากจะเป็นเคร่อื งมือสาคญั ต่อการฝึกทักษะ ทางภาษาของนักเรยี นแลว้ ยงั มีประโยชนส์ าหรับครู คอื ช่วยให้ครทู ราบพฒั นาการของทักษะนั้นๆ ของนักเรียน เห็นข้อบกพร่องในการเรียน ซ่ึงจะได้แก้ไขข้อบกพร่องได้ทันท่วงที เป็นการให้นักเรียนประสบผลสาเร็จ ในการเรียน” มะลิ ศรีชู ( 2535 : 24 ) เสนอความคิดทานองเดียวกันว่า “แบบฝึกเป็นส่ือการสอนที่มีคุณภาพ สามารถนามาพัฒนาทักษะการเขียนคาของนักเรียนได้เป็นอย่างดี แบบฝึกให้ประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการ สอน หลายประการ คือ เป็นเคร่ืองช่วยการเรียนรู้ทักษะต่างๆ ของนักเรียน ช่วยให้ครูและนักเรียนทราบ ความกา้ วหน้าหรือข้อบกพร่องทเี่ กิดขึน้ กบั นักเรียน แบบฝึกจึงเป็นเครื่องช่วยใหน้ ักเรียนประสบผลสาเรจ็ ในการ เรียน” สมาน จันทะดี ( 2546 : 150 ) กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกสรุปได้ว่า “แบบฝึกเป็นกิจกรรม พฒั นาผู้เรียนที่สาคัญของกลุ่มวิชาทักษะ เป็นกจิ กรรมการเรียนรู้ทเ่ี น้นความแตกต่างระหวา่ งบุคคล แบบฝึกเชิง พัฒนาจะสามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างลึกซึ้ง มีความชานาญการหรือเชี่ยวชาญในเร่ืองน้ันๆ ได้เป็นอย่างดี” กล่าวโดยสรุป แบบฝึกเป็นสื่อการสอนที่มีความสาคัญต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มคี วามสอดคล้องเหมาะสมกับธรรมชาติกลุ่มวิชาทักษะ กลุม่ วิชาการงาน รวมทั้งกลุ่มสาระวชิ าทเ่ี น้นการเรียนรู้ ด้วยการปฏิบัติจริง เช่น ศิลปศึกษา แบบฝึกเป็นเคร่ืองมือช่วยให้ครูและนักเรียนทราบความก้าวหน้า หรือข้อบกพร่องในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และสามารถแก้ไขได้ทันท่วงที ทาให้นักเรียน ประสบผลสาเร็จในการเรียน ลกั ษณะของแบบฝึกทดี่ ี แบบฝกึ ที่ดผี ู้สร้างควรคานงึ ถึงองคป์ ระกอบหลายอย่างดังที่ จนั ทรา ดา่ นคงรักษ์ ( 2546: 5 ) กล่าวถึงหลักในการจดั ทาแบบฝึกสาหรบั นักเรียนสรุปไดว้ ่า 1. แบบฝึกต้องใช้ภาษาง่ายๆ 2. เน้ือหาเหมาะสมกับวัยและความสามารถของนกั เรยี น 3. มกี จิ กรรมทีห่ ลากหลายนา่ สนใจ 4. ส่วนประกอบตา่ งๆ ของแบบฝกึ ต้องชดั เจน พัชรี จาปา ( 2544 : 7 ) ไดก้ ล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกที่ดคี วรมลี ักษณะดังนี้ 1. ใชห้ ลกั จติ วทิ ยา 2. ควรมหี ลายรูปแบบเพ่อื เร้าความสนใจของนักเรยี น 3. แบบฝกึ แต่ละชดุ ควรมีเวลาสนั้ ๆ 4. ควรเรียงจากง่ายไปหายาก 5. ควรมีการประเมนิ ผลขณะฝึกเพือ่ ประเมินความชานาญในทักษะนน้ั ๆ สมาน จนั ทะดี ( 2546 : 150 ) ไดก้ ล่าวถงึ ลักษณะที่ดีของแบบฝึกดังนี้ 18

1. สอดคลอ้ งกบั วิชาทเี่ รยี น 2. เหมาะสมกับวยั ของผู้เรยี น 3. ทา้ ทายใหผ้ ู้เรียนได้แสดงความรคู้ วามสามารถได้อย่างเต็มท่ี 4. พัฒนาผู้เรียนได้ดีขึ้นเกง่ ข้นึ ชานาญและเช่ียวชาญมากข้ึน 5. มคี าช้แี จงหรือข้อเสนอแนะในการฝกึ ชัดเจน ตลอดทัง้ คาสั่งและวิธีการฝกึ 6. มลี าดบั ขน้ั ตอนการฝกึ จากงา่ ยไปยากหลากหลาย 7. มุง่ พฒั นาผเู้ รียนไปตรงตามจดุ มุ่งหมายทต่ี ้องการ กล่าวโดยสรุป แบบฝึกหัดท่ีดีควรเป็นแบบฝึกท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติของวิชา มีคาชี้แจง คาสั่ง วิธีการฝกึ หรอื ขอ้ เสนอแนะในการฝกึ ทช่ี ัดเจน มีรูปแบบของกิจกรรมทหี่ ลากหลาย เรยี งจากงา่ ยไปหายาก เนือ้ หา เหมาะสมกับวัย ท้าทายให้ผู้เรียนได้แสดงความรู้ ความสามารถอย่างเต็มท่ี ควรมีการประเมินผลขณะฝึก เพอื่ พฒั นาผูเ้ รยี นไดด้ ีขน้ึ เก่งข้ึนชานาญและเชย่ี วชาญมากขน้ึ ประโยชนข์ องแบบฝกึ วนิดา สุขวนชิ ( ม.ป.ป.: 36 ) ไดก้ ล่าวถึงประโยชน์ของการใชแ้ บบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึกเป็นเคร่ืองช่วย ใหน้ ักเรียนไดฝ้ ึกทกั ษะในการใชภ้ าษาได้ดขี ้ึน และแบบฝึกชว่ ยให้นกั เรียนสามารถทบทวนความรู้ไดด้ ้วยตนเอง ยพุ า ย้มิ พงษ์ ( 2522 : 15 ) ไดก้ ล่าวถึงประโยชนข์ องแบบฝึกไว้ดงั นี้ 1. เป็นส่วนเพม่ิ เตมิ หรือเสริมหนงั สือเรยี นในการเรียนทกั ษะ 2. ชว่ ยเสริมทักษะให้ดีข้ึน 3. ชว่ ยในเร่อื งความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล 4. การใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ ช่วยใหค้ รูมองเหน็ จุดเด่นจดุ บกพรอ่ งของนักเรียนไดช้ ัดเจน 5. แบบฝึกท่ีจดั พมิ พ์ไว้เรยี บรอ้ ยจะช่วยใหค้ รูประหยดั แรงงานและเวลาท่ีจดั เตรียมสรา้ งแบบฝกึ รชั นี ศรีไพรวรรณ ( 2517 : 189 ) ไดก้ ลา่ วถงึ ประโยชน์ของแบบฝึกว่า 1. ทาให้เข้าใจบทเรยี นดขี ้ึน 2. ทาให้ครทู ราบความเขา้ ใจของนกั เรียนทม่ี ตี ่อบทเรียน 3. ฝึกให้เดก็ มีความเชื่อมัน่ และสามารถประเมนิ ผลงานตนเองได้ 4. ฝกึ ให้เด็กทางานตามลาพงั โดยมคี วามรับผิดชอบตอ่ งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย กล่าวโดยสรปุ แบบฝึกมีประโยชน์ คือ เป็นเครื่องชว่ ยให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ ทาให้เข้าใจบทเรยี นดีขึ้น ช่วยให้นกั เรียนสามารถทบทวนความรู้ได้ดว้ ยตนเอง มคี วามเช่ือม่นั และสามารถประเมนิ ผลงานตนเองได้ ช่วยให้ ครูมองเห็นจดุ เด่น จดุ บกพร่องของนักเรยี นไดช้ ัดเจน แบบฝกึ ทจ่ี ัดพิมพ์ไว้เรยี บร้อยจะชว่ ยให้ครปู ระหยัดแรงงาน และเวลาที่จัดเตรียมสร้างแบบฝึก ๖. ดชั นปี ระสิทธิผล (Effectiveness Index) เมื่อมีการประเมินส่ือการสอนท่ีผลิตข้ึนมาเรามักจะดูถึงประสิทธิผลทางด้านการสอนและการวัด ประเมินผลทางส่ือน้ันตามปกติ แล้วจะเป็นการประเมินความแตกต่างของค่าคะแนนใน 2 ลักษณะ คือ ความแตกต่างของคะแนนการทดสอบก่อนเรียน และคะแนนการทดสอบหลังเรียน หรือเป็นการทดสอบ ความแตกต่างเกี่ยวกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ในทางปฏิบัติ ส่วนมาก จะเน้นที่ผลของความแตกต่างทางสถิติ แต่ในบางกรณี การเปรียบเทียบเพียง 2 ลักษณะก็อาจจะยังไม่เพียงพอ 19

เช่น ในกรณีของการทดลองใช้สื่อในการเรียนการสอนครั้งปรากฏว่ากลุ่มท่ี 1 การทดสอบก่อนเรียนได้คะแนน 18% การทดสอบหลังเรียนได้คะแนน 67% และกลุ่มท่ี 2 การทดสอบก่อนเรียนได้คะแนน 27% การทดสอบ หลังเรียนได้คะแนน 74% ซ่ึงเมื่อนาผลการวิเคราะห์ทางสถิติท้ัง 2 กลุ่ม แต่เมื่อเปรียบเทียบคะแนนทดสอบ หลังเรียนระหว่างกลุ่มท้ังสอง ปรากฏว่าไม่มีความแตกต่างกัน ซึ่งไม่สามารถระบุได้ว่า เกิดขึ้นเพราะตัวแปร ทดลอง (Treatment) นั้นหรือไม่ เน่ืองจากการทดสอบทั้งสองกรณีนั้น มีคะแนนพื้นฐาน(คะแนนทดสอบ กอ่ นเรียน) แตกต่างกัน ซ่ึงจะสง่ ผลถึงคะแนนการทดสอบหลงั เรียน ที่จะเพิม่ ขนึ้ ได้สูงสดุ ของแตล่ ะกรณี ดัชนีประสิทธิผล ( Effectiveness Index) ซึ่งคานวณได้จากการหาความแตกต่างของการทดสอบ ก่อนการทดลอง และการทดสอบหลังการทดลอง ด้วยคะแนนสูงสุดที่สามารถทาเพิ่มข้ึนได้ Hovland เสนอว่า ค่าความสมั พันธ์ของการทดลอง จะสามารถกระทาได้อย่างถูกต้อง แน่นอน คานึงถึงความแตกต่างของคะแนน พื้นฐาน (คะแนนทดสอบก่อนเรียน) และคะแนนท่ีสามารถทาได้สูงสุด ดัชนีประสิทธิผลจะเป็นตัวชี้ถึงขอบเขต และประสิทธิภาพสูงสุดของส่ือเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมน่ันเอง (เผชิญ กิจระ การดัชนีประสิทธิผล Effectiveness Index) ในสารศกึ ษาศาสตร์ 2546 : หนา้ 3-4) ดัชนปี ระสิทธผิ ล มีรปู แบบในการหาค่า ดงั นี้ ผลรวมคะแนนทดสอบหลงั เรยี น - ผลรวมคะแนนทดสอบกอ่ นเรยี น ดัชนี = (จานวนนักเรียน x คะแนนเต็ม) – ผลรวมคะแนนทดสอบกอ่ นเรยี น E.I. = p2–p1 100 – p1 เม่ือ P1 = คะแนนทดสอบกอ่ นเรียน P2 = คะแนนทดสอบหลงั เรียน ๗. ความพงึ พอใจในการเรยี นรู้ ความหมายของความพงึ พอใจ กติ มิ า ปรีดีดิลก ( 2529:321) ให้ความหมายไว้ว่า ความพงึ พอใจ หมายถึง ความรูส้ ึกทีช่ อบหรือพอใจ ทมี่ ตี อ่ องค์ประกอบและสิ่งจูงใจในดา้ นตา่ งๆ ของงานและผู้ปฏิบัติงานน้ัน ไดร้ ับการตอบสนองตามความต้องการ ของเขาได้ พนิ คงพูล ( 2529:389) ไดส้ รุปความหมายของความพึงพอใจในการปฏิบัติ คือ ความรู้สกึ ชอบ ยินดี เต็มใจหรือเจตคติที่ดีของบุคคลที่มีต่องานที่เขาปฏิบัติ ความพึงพอใจเกิดจากการได้รับการตอบสนอง ความต้องการทัง้ ดา้ นวัตถแุ ละจิตใจ ศลใจ วิบูลกิจ ( 2534:42) ได้ให้ความหมายไว้วา่ ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพอารมณ์บุคคลท่ีมีต่อ องคป์ ระกอบของงานและสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ทสี่ ามารถตอบสนองต่อความตอ้ งการของบคุ คลนัน้ ๆ มอร์ส ( Morse.1955:42) อ้างอิงมาจากประเทืองจันทไทย. 2545:56) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ความพึงพอใจ หมายถงึ ทุกส่ิงทุกอย่างทสี่ ามารถถอดความเครียดของผู้ทางานให้ลดน้อยลง ถ้าเกิดความเครียด มากจะทาให้เกิดความไม่พอใจในการทางาน และความเครียดน้ีมีผลมาจากความต้องการของมนุษย์ เมื่อมนุษย์ 20

มีความต้องการมาก จะเกิดปฏิกิริยาเรียกร้องหาวิธีตอบสนอง ความเครียดก็จะลดน้อยลงหรือหมดไป ความพึงพอใจก็จะมากข้นึ จากความหมายของความพึงพอใจสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบ หรือเจตคติที่ดี ของบุคคลที่มีต่อการท่ีปฏิบัติในเชิงบวก ดังน้ันความพึงพอใจในการเรียนรู้ จึงหมายถึงความรู้สึกพอใจชอบใจ ในการร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน และต้องการดาเนินกิจกรรมนั้นๆ จนบรรลุผลสาเร็จ ในการจัดการเรียนการสอน การทาให้ผเู้ รยี นเกิดความพอใจในการเรยี น จึงเปน็ องค์ประกอบสาคัญทท่ี าให้ผู้เรยี น เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การท่ีบุคคลจะเรียนรู้หรือมีพัฒนาการ และความเจริญงอกงามนั้น บุคคลจะต้องอยู่ในสภาวะพึงพอใจ สุขใจ เป็นเบื้องต้น นั่นคือบุคคลต้องได้รับการจูงใจทั้งในลักษณะนามธรรม และรูปธรรม แนวความคดิ ทเ่ี ก่ยี วกับความพงึ พอใจ ในการปฏิบัติงานใดๆ ก็ตามการท่ีผู้ปฏิบัติงานจะเกิดความพึงใจต่อการทางานน้ัน มากหรือน้อย ข้ึนอยู่กับสิ่งจูงใจในงานที่มีอยู่ การสร้างสิ่งจูงใจหรือแรงกระตุ้นให้เกิดกับผู้ปฏิบัติงาน จึงเป็นสิ่งจาเป็น เพ่ือปฏิบัติงานนั้นๆ เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ท่วี างไว้ มีนักศกึ ษาในสาขาต่างๆ ทาการศกึ ษาค้นคว้าและต้ังทฤษฎี เก่ยี วกับการจงู ใจให้เกิดความพงึ พอใจในการทางานดังน้ี สก๊อตต์ ( Scott: 124 : อ้างอิงมาจากถนอมจิตอวงพิพัฒน์. 2546 : 56) ได้เสนอแนวคิดในเรื่องการ จงู ใจให้เกิดความพงึ พอใจทจี่ ะใหผ้ ลเชงิ ปฏบิ ัตมิ ีลักษณะดังน้ี 1. งานควรมสี ่วนสมั พันธก์ บั ความปรารถนาสว่ นตวั งานนน้ั จะมีความหมายสาหรบั ผู้ทา 2. งานนน้ั มกี ารวางแผนและวดั ความสาเรจ็ ไดโ้ ดยใช้ระบบการทางานและการควบคุมท่มี ี ประสิทธิภาพ 3. เพื่อใหไ้ ด้ผลในการสรา้ งส่งิ จูงใจภายในเป้าหมายของงานจะตอ้ งมีลักษณะดังน้ี 3.1คนทางานมสี ่วนในการตัง้ เป้าหมาย 3.2ผูป้ ฏบิ ัตไิ ด้รบั ทราบผลสาเร็จในการทางานโดยตรง 3.3งานน้ันสามารถทาใหส้ าเรจ็ ได้ เม่ือนาแนวคดิ น้มี าประยุกต์กับการใช้จัดกจิ กรรมการเรียนการสอน นักเรียนมสี ว่ นรว่ มในการเลอื กเรยี น ตามความสนใจ และมีโอกาสร่วมกันตั้งจุดประสงค์หรือความมุ่งหมายในการทากิจกรรม ได้เลือกวิธีแสวงหา ความรดู้ ว้ ยวิธีที่ผูเ้ รยี นถนัดและสามารถค้นหาคาตอบได้ ในการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ความพึงพอใจเป็นสิ่งสาคัญที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียนทางาน ท่ีได้รับมอบหมาย หรือต้องการปฏิบัติให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ครูผู้สอนควรคานึงถึงความพอใจในการเรียน การทาใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดความพงึ พอใจ ในการเรยี นรู้หรอื การปฏิบตั งิ านมแี นวคิดพนื้ ฐานท่ตี ่างกนั 2 ลักษณะ คอื 1. ความพึงพอใจนาไปสู่การทางานการตอบสนองความต้องการผู้ปฏิบัติงานจนเกิดความพอใจจะ ทาให้เกิดแรงจูงใจในการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการทางานที่สูงกว่าผูท้ ไี่ มไ่ ดร้ บั การตอบสนอง จากแนวคิดดังกล่าว ครูผู้สอนท่ีต้องการให้กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง บรรลุ ผลสาเร็จ จึงต้องคานึงถึงการจัดบรรยากาศและสถานการณ์ รวมท้ังส่ืออุปกรณ์การเรียนการสอนท่ีเอื้ออานวย ต่อการเรยี น เพ่ือตอบสนองความพึงพอใจของผ้เู รียน ให้มีแรงจูงใจในการทากจิ กรรม จนบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ ของหลกั สตู ร 21

2. ผลการปฏิบัติงานนาไปสู่ความพึงพ อใจความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจและ ผลการปฏบิ ัติงานถูกเชอื่ มโยงดว้ ยปัจจยั อืน่ ๆ ผลการปฏิบัติงานที่ดี จะนาไปสผู่ ลตอบแทนท่เี หมาะสม ซึ่งในท่ีสุด จะนาไปสู่การตอบสนองความพึงพอใจการปฏิบัติงาน ย่อมได้รับการตอบสนองในรูปรางวัลหรือตอบแทน ซึ่งแบ่งออกเป็นผลตอบแทนภายใน (Intrinsic Rewards) และผลตอบแทนภายนอก (Extrinsic Rewards) โดยผ่านการรับรู้เก่ียวกับความยุติธรรมของผลตอบแทน ซึ่งตัวบ่งช้ีปริมาณของผลตอบแทนท่ีผู้ปฏิบัติงานได้รับ นั่นคือความพึงพอใจในงานของผู้ปฏิบัติงาน จะถูกกาหนดโดยแตกต่างระหว่างผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริง และการรับรู้เรื่องเกี่ยวกับความยุติธรรมของผลตอบแทนที่รบั รู้แล้วความพึงพอใจย่อมเกิดขึ้น (สมยศ นาวีการ. 2544 : 119) จากแนวคิดพ้ืนฐานดังกล่าว เม่ือนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลตอบแทนเป็นผล ด้านความรู้สึกของผู้เรียนท่ีเกิดแก่ตัวผู้เรียน เช่น ความสาเร็จที่เกิดข้ึนเมื่อสามารถเอาชนะความยุ่งยากต่างๆ และสามารถดาเนินงานภายใต้ความยุ่งยากท้ังหลายได้สาเร็จ ทาให้เกิดความภาคภูมิใจ ความมั่นใจ ตลอดจน ไดร้ ับการยกย่องชมเชยจากครผู ู้สอน พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง หรือแม้แตก่ ารใหค้ ะแนนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในระดับ ทีน่ ่าพอใจ สรุปได้ว่าความพึงพอใจในการเรียนและผลการเรียนจะมีความสัมพันธ์กันในด้านร่างกายและจิตใจ ซ่ึงเป็นส่วนสาคัญที่จะทาให้เกิดความสมบูรณ์ของชีวิตมากน้อยเพียงใด นั่นคือสิ่งท่ีครูผู้สอนจะคานึง ถึงองค์ประกอบต่างๆ ในการเสริมสรา้ งความพงึ พอใจในการเรยี นรู้ใหก้ บั ผู้เรยี น 22

บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการศึกษาค้นคว้า การศึกษาค้นคว้าคร้ังนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒ นาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนเมือง สมุทรสงคราม สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม ซ่ึงผู้ศึกษาค้นคว้าได้ดาเนินการศึกษา คน้ คว้าตามข้ันตอนดังตอ่ ไปนี้ 1. ความมุง่ หมายของการศกึ ษาคน้ คว้า 2. กลุ่มประชากร 3. เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการศึกษาค้นควา้ 4. การจดั ทาและศึกษาคุณภาพของเคร่ืองมอื ที่ใช้ในการศกึ ษาคน้ คว้า 5. วิธดี าเนนิ การศึกษาค้นคว้า 6. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 7. สถติ ิที่ใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ความมุ่งหมายของการศกึ ษาค้นคว้า 1. เพือ่ ศกึ ษาคุณภาพของแบบฝึกทักษะการระบายสีโดยยดึ หลัก “ศาสตรพ์ ระราชา” 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนท่ีใช้แบบฝึกทักษะการระบายสีโดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ของกลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะสาระทัศนศิลป์ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ระหว่าง กอ่ นและหลงั การใชน้ วัตกรรม 3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสีโดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลมุ่ ประชากร กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 256๓ โรงเรยี นเมอื งสมทุ รสงคราม จานวน ๓๙ คน เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการศึกษาคน้ ควา้ มี 4 ชนิด ประกอบด้วย 1. แบบฝกึ ทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กล่มุ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ สาระทัศนศิลป์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 จานวน 16 แบบฝึก 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง การเขียนภาพระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 1 ฉบับ มี 30 ข้อ 3. แบบประเมินพฤติกรรมระหวา่ งเรยี น 4. แบบสอบถามวดั ความพงึ พอใจ 23

การจัดทาและศึกษาคุณภาพของเครื่องมือท่ใี ช้ในการศกึ ษาคน้ ควา้ การจัดทาและศึกษาคณุ ภาพของเครอ่ื งมือท่ีใช้ในการศกึ ษาค้นควา้ มีลาดับขนั้ ตอนดงั น้ี การจัดทาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 มีลาดบั ขน้ั ตอน ดังน้ี 1. ศึกษาหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 25๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ซ่ึงเป็น หลักสูตรแกนกลาง เก่ียวกับหลกั การ จุดมุง่ หมาย โครงสร้างเวลาเรียน แนวดาเนนิ การจัดการเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผลการศกึ ษา (กรมวิชาการ. 25๕๑ : 1-34) หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ ซง่ึ เปน็ คู่มือการจดั การ เรียนรู้ศลิ ปศึกษาจุดมุ่งหมายสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ คาอธิบายรายวิชา การวัดและประเมินผลและแหล่ง การเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ (กรมวชิ าการ. 25๕๑ : 1-144) 2. ศึกษาวิธีการหลักการหลักทฤษฎีและเทคนิคการสร้างแบบฝึกหัด จากตัวอย่างแบบฝึกเสริม ทักษะครูในโรงเรียน 3. ศกึ ษาหลกั แนวคดิ แนวทาง ของศาสตรพ์ ระราชา 4. จดั ทาแบบฝึกทักษะแบบฝึกทกั ษะการระบายสี โดยยดึ หลกั “ศาสตร์พระราชา” ของกลมุ่ สาระ การเรียนรู้ศลิ ปะ สาระทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 เป็นแบบฝึกที่ผู้ศึกษาได้พัฒนาข้ึน โดยยึดจุดประสงค์ สาระสาคัญ หลักการ เนื้อหา การจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 25๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) 5. นาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” เสนอผู้เช่ียวชาญ เพอ่ื ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ของโครงสรา้ งและเนอื้ หา ซง่ึ ผูเ้ ชีย่ วชาญเปน็ ครูในโรงเรียนเมืองสมทุ รสงคราม 6. นาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พ ระราชา” ไปใช้กับผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม จานวน ๑๑ คน เพ่ือศึกษาความเหมาะสมของเนื้อหา กิจกรรม การประเมิน และระยะเวลาการใช้แบบฝึก เพอ่ื นามาพฒั นาปรบั ปรุง 7. ศึกษาคุณภาพของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” โดยให้ ครูผเู้ ชยี่ วชาญ ประเมินไดค้ ะแนนเฉลย่ี 4.25 ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั มาก แบบแผนการดาเนนิ การทดลอง ผศู้ ึกษาคน้ คว้าไดด้ าเนนิ การศึกษาค้นคว้า โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบ One Group , Pre-test Post-test Design (พวงรัตน์ทวรี ัตน.์ 2536: 65) ดังแสดงในตาราง ตาราง 2 แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design กลุ่ม Pre-test Treatment Post-test ประชากร T1 T2 T1 หมายถึง ทดสอบก่อนการทดลองหรอื ทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) หมายถึง การพัฒนาแผนการจัดการเรยี นรู้ ทดสอบหลังการเรียนหรอื ทดสอบหลังเรยี น (Post-test) T2 หมายถงึ 24

การจัดทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 1 ฉบับ จานวน 30 ขอ้ มีขนั้ ตอน ดงั นี้ 1. ศึกษาหลักสตู รการวัดและประเมนิ ผลศกึ ษา เนอ้ื หาเก่ยี วกบั หลกั “ศาสตรพ์ ระราชา” 2. วิเคราะห์หลกั สูตร วเิ คราะห์เนอื้ หา แผนการจัดการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ในเรื่องท่สี อน 3. จัดทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 1 ฉบับ จานวน 30 ขอ้ 4. นาแบบทดสอบไปให้ครูผู้เช่ียวชาญตรวจสอบความเหมาะสมของคาถามและตัวเลือกแล้วนามา หาค่าดชั นีความสอดคล้อง (IOC) ได้ค่าเฉลยี่ เท่ากบั 0.945 5. นาแบบทดสอบมาใช้กับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม จานวน 11 คนแล้วนามาหาค่าความยากง่าย (P) ได้ค่าเฉล่ียเท่ากับ 0.65 และหาค่าอานาจจาแนก (r) ได้ คา่ เฉล่ียเทา่ กบั 0.303 6. นาแบบทดสอบมาหาค่าความยากง่าย (P) และค่าอานาจจาแนก (r) ของข้อสอบเป็นรายข้อ แล้วนาไปหาค่าความเช่ือม่ัน โดยใช้สูตรสัมประสิทธิอัลฟ่า ตามวิธีของCronbach (บุญชมศรี สะอาด. 2545 : 99) ได้คา่ ความเชือ่ มัน่ 0.86 การสร้างแบบประเมินพฤติกรรมระหวา่ งเรียน ผศู้ ึกษาค้นควา้ ดาเนนิ การพัฒนาและสรา้ งแบบประเมนิ พฤติกรรมระหว่างเรยี นตามลาดับขนั้ ตอน ดงั ต่อไปนี้ 1. ศึกษาวิธีการสร้างแบบสังเกต จากตาราการวัดผลการศึกษาของ สมนึก ภัททิยธนี (2541 : 31-42) และบุญชม ศรสี ะอาด (2545 : 74-78) จากเอกสาร การพัฒนาแผนการจัดการเรียนร้โู ดยโครงงาน ของ จารสั ลกั ษณ์ สรุ ะเสน (2547 : 337-349) 2. สร้างแบบประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียนของนักเรียนจานวน 10 ข้อ โดยใช้เกณฑ์กาหนด คะแนนของแบบประเมนิ เปน็ 3 ระดบั ได้แก่ 3 หมายถงึ ปฏิบตั ิไดด้ ี 2 หมายถงึ ปฏิบตั ไิ ดพ้ อใช้ 1 หมายถึง ปฏบิ ัติได้นอ้ ย 3. นาแบบประเมนิ พฤติกรรมระหว่างเรียนไปให้ครูผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน ตรวจสอบความเหมาะสม ของแบบประเมิน แลว้ นามาปรับปรงุ แก้ไข 4. จัดพิมพแ์ บบประเมนิ พฤตกิ รรมระหวา่ งเรียน เป็นฉบบั จริงเพ่ือนาไปใช้เก็บขอ้ มลู ตอ่ ไป การสร้างแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ ต่อการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 1 ฉบับ จานวน 10 ข้อ มขี ้ันตอนการสร้าง ดังนี้ 1. ศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการประเมินวัดความพึงพอใจ จากเอกสารการวัดผล การศึกษา 2. กาหนดพฤติกรรมที่ต้องการวัด ให้ครอบคลุมต่อความรู้สึกพึงพอใจต่อการเรียน ด้วยแบบฝึก ทักษะการระบายสี โดยยึดหลกั “ศาสตรพ์ ระราชา”กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ สาระทัศนศิลป์ ชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 3 โดยอาศยั หลักการวัดความพึงพอใจ ตามวิธีของลิเคริ ท์ (Likert) มีอยู่ 5 ระดับ คือ 25

5 พงึ พอใจมากทีส่ ดุ 4 พงึ พอใจมาก 3 พึงพอใจปานกลาง 2 พึงพอใจนอ้ ย 1 พงึ พอใจน้อยท่สี ุด 3. สร้างแบบสอบถามวัดความพึงพอใจท่ีมีต่อการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 10 ขอ้ 4. นาแบบสอบถามวัดความพึงพอใจเสนอต่อครูผู้เช่ียวชาญ เพื่อพิจารณาตรวจสอบ ความเหมาะสมของภาษา ข้อคาถาม และความเที่ยงตรง (Valid) ของแบบสอบถาม แล้วนาไปปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอแนะ 5. นาแบบสอบถามวัดความพึงพอใจท่ีปรับปรุงแก้ไขแล้ว จัดพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ เพ่ือนาไปใช้ ในสถานการณ์จริงตอ่ ไป การศกึ ษาประสิทธภิ าพของนวัตกรรม การศึกษาค้นคว้าคร้ังน้ี ได้ดาเนินการสอนในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 256๓ ตัง้ แต่วันที่ ๓ ธันวาคม 256๓ ถึงวันท่ี ๒ มีนาคม 256๔ ใช้เวลาในการทดลองสอน ๑๒ ช่ัวโมง จานวน ๑๒ สัปดาห์ ผู้ศึกษาค้นคว้า ทดลองสอนดว้ ยตนเองโดยดาเนนิ การ ดังนี้ 1. ขั้นเตรียม ผ้ศู กึ ษาคน้ ควา้ ไดเ้ ตรยี มการก่อนทาการทดลองสอน ดังนี้ 1.1ปฐมนิเทศชแี้ จงขอ้ ตกลงในการเรยี นการสอน 1.2แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น ๓ กลุ่มๆละ ๓-๔ คน เป็นนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน ให้แต่ละกลุ่มเลือกประธานกลุ่ม กรรมการกลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม แล้วประชุมช้ีแจง บทบาทหนา้ ทข่ี องประธานกรรมการและเลขานกุ าร 1.3ช้แี จงการจดั การเรียนรูโ้ ดยใหน้ ักเรียนเข้าใจ 2. ขั้นดาเนนิ การทดลอง 2.1ทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน (Pre-test) ด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใชแ้ บบทดสอบทีผ่ ศู้ กึ ษาค้นควา้ สร้างข้ึนจานวน 30 ข้อ 2.2ดาเนนิ การสอนด้วยแบบฝึกทกั ษะการระบายสี โดยยึดหลกั “ศาสตร์พระราชา”กลมุ่ สาระ การเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ าทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะท่ผี ู้ศกึ ษา ค้นคว้าสร้างข้ึนจานวน 16 แบบฝึก ใช้เวลาทาการสอน ๑๒ ช่ัวโมง มีการประเมิน พฤติกรรมระหว่างเรียน และการตรวจผลงาน ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในแต่ละแบบฝกึ 2.3ทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นหลังเรียน (Post-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนชดุ เดยี วกบั ท่ีใช้ทดสอบก่อนเรียน 2.4สอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียน ท่ีมีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ 26

ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้แบบสอบถามวดั ความพึงพอใจของนักเรียนทผี่ ศู้ ึกษาค้นคว้า สร้างข้ึนจานวน 10 ข้อ 2.5หาประสทิ ธิภาพของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”กลุ่มสาระ การเรยี นรู้ศิลปะ รายวิชาทศั นศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2.6หาดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ รายวิชาทศั นศลิ ป์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 3. นาผลการใช้มาหาค่า E1/E2 โดยใช้เกณฑ์ 80/80 4. นวัตกรรมมปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ = 82.97/81.50 การวเิ คราะห์ผลการศึกษาค้นควา้ การศกึ ษาคน้ ควา้ ครั้งนี้ ผศู้ ึกษาคน้ คว้าได้วเิ คราะห์ขอ้ มูล โดยใชเ้ ครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. ศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการระบาย โดยยึดหลัก “ศาสตรพ์ ระราชา” โดยใช้สูตร การหาประสทิ ธภิ าพ E1/E2 โดยใช้เกณฑ์ 80/80 2. ศกึ ษาคุณภาพของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” โดยใช้ค่าเฉล่ีย ( ) ค่าการกระจายของคะแนน (S.D.) และเปรียบเทยี บกบั เกณฑ์เฉล่ีย 3. ศึกษาคุณภาพของแบบทดสอบโดยวิเคราะห์ค่าความยากง่าย ค่าอานาจจาแนก และค่า ความเชอ่ื มัน่ ของแบบทดสอบ 4. วิเคราะห์ผลการวิจัยโดยเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะ การระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” โดยใช้ค่าเฉล่ีย( ) ค่าการกระจายของคะแนน (S.D.) และ เปรยี บเทยี บกับเกณฑ์เฉลีย่ 5. วิเคราะห์ความพงึ พอใจของนกั เรยี นท่มี ีต่อการเรียนด้วยแบบฝกึ ทกั ษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ รายวชิ าทัศนศลิ ป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้ เกณฑก์ ารแปลความหมายดงั นี้ ระดับคณุ ภาพ ค่าเฉลี่ย แปลผล ระดับ 5 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอย่ใู นระดบั พอใจมากท่ีสุด ระดบั 4 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับพอใจมาก ระดับ 3 2.51 – 3.50 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับพอใจปานกลาง ระดับ 2 1.51 – 2.50 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั พอใจนอ้ ย ระดบั 1 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับพอใจนอ้ ยที่สุด สถติ ทิ ่ีใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู 1. สถิติพ้นื ฐาน 1.1ร้อยละ (Percentage) P = ×100 เมือ่ P แทน รอ้ ยละ แทน ความถีท่ ีต่ อ้ งการแปลงใหเ้ ป็นรอ้ ยละ f แทน จานวนความถท่ี ้ังหมด N 27

1.2คา่ เฉล่ีย (Arithmetic Mean) = เมอ่ื แทน คา่ เฉลยี่ x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่ม N แทน จานวนคะแนนในกลุม่ 1.3ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) S.D. = เม่ือ S.D. แทน ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละตวั N แทน จานวนคะแนนในกลุ่ม  แทน ผลรวม 2. คา่ ความยากง่าย (P) และค่าอานาจจาแนก (r) 2.1การหาคา่ ความยากงา่ ย (P) P= เมอ่ื P แทน ดชั นคี วามยากง่ายของขอ้ สอบ แทน จานวนคนท่ีตอบข้อสอบข้อนั้นได้ถกู R แทน จานวนคนที่ตอบข้อสอบทงั้ หมด N 2.2การหาคา่ อานาจจาแนก (r) r= เม่อื r แทน คา่ อานาจจาแนกของขอ้ สอบ แทน จานวนคนในกลมุ่ สงู ที่ตอบคาถามขอ้ น้ันไดถ้ กู Ru แทน จานวนคนในกลุ่มต่าท่ตี อบคาถามข้อนนั้ ถูก Rl N แทน จานวนคนทต่ี อบข้อสอบทงั้ หมด 28

การแปลความหมายคา่ อานาจจาแนก น้อยกวา่ .00 จาแนกผดิ พลาด 0.00 จาแนกไมไ่ ด้เลย 0.01 – 0.19 จาแนกได้เล็กนอ้ ย 0.20 – 0.79 จาแนกได้ดี 0.80 – 1.00 จาแนกได้ดมี าก การแปลความหมายค่าความยากงา่ ย .00 - .19 ขอ้ สอบยากมาก .20 - .39 ข้อสอบคอ่ นขา้ งยาก .40 - .59 ข้อสอบยากง่ายพอเหมาะ .60 - .79 ขอ้ สอบงา่ ย .80 - 1.00 ขอ้ สอบงา่ ยมาก 3. คา่ ดัชนีความสอดคล้อง ( IOC) IOC = เม่อื IOC แทน คา่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งข้อความกบั จดุ ประสงค์หรอื เกณฑ์ แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เหน็ ของผ้เู ชย่ี วชาญทั้งหมด N แทน จานวนผเู้ ชีย่ วชาญทั้งหมด เกณฑก์ ารคัดเลอื กข้อความ 1. ถ้าคา่ คะแนนต้งั แต่ 0.50 – 1.00 คัดเลือกไว้ใช้งาน 2. ถา้ คา่ คะแนนตา่ กวา่ 0.50 – 1.00 พิจารณาปรบั ปรุงหรอื ตดั ท้งิ 1. คา่ ความเชอ่ื ม่ันของแบบทดสอบโดยใช้สตู ร Kr21 = เมอ่ื แทน ความเช่อื มัน่ แทน จานวนขอ้ คาถาม แทน ค่าเฉล่ียของคะแนนทงั้ ฉบับ แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมท้ังฉบับ 2. สถติ ทิ ่ีใช้ในการทดสอบสมมติฐานใช้ t-test (Dependent Samples) t= 29

เม่ือ t แทน ค่าสถิตทิ ่จี ะใชเ้ ปรยี บเทยี บค่าวิกฤตเพ่อื ทราบความมีนยั สาคญั D แทน ความแตกตา่ งของคะแนนแตล่ ะคู่ N แทน จานวนคูค่ ะแนน แทน ผลรวมของคา่ D แทน ผลรวมของคา่ 3. หาค่าดัชนปี ระสิทธผิ ล (The Effectiveness Index) E.I. = E.I = 4. การศกึ ษาคณุ ภาพของนวัตกรรมโดยใช้เกณฑ์เฉล่ีย ระดับคณุ ภาพ ค่าเฉลย่ี แปลผล ระดับ 5 4.51 – 5.00 หมายถงึ มีความถูกต้องเหมาะสมในระดับมากที่สดุ ระดับ 4 3.51 – 4.50 หมายถงึ มีความถกู ต้องเหมาะสมในระดบั มาก ระดับ 3 2.51 – 3.50 หมายถงึ มีความถูกตอ้ งเหมาะสมในระดับปานกลาง ระดบั 2 1.51 – 2.50 หมายถึง มคี วามถูกต้องเหมาะสมในระดบั นอ้ ย ระดบั 1 1.00 – 1.50 หมายถงึ มคี วามถูกต้องเหมาะสมในระดบั น้อยท่ีสดุ 30

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาค้นคว้า ได้เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนเมือง สมุทรสงคราม สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสมุทรสงคราม ตามลาดบั ดังน้ี ตอนท่ี 1 คุณภาพของแบบฝกึ ทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตรพ์ ระราชา” กลุม่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาสมุทรสงคราม ตอนท่ี 2 ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม สานักงานเขต พ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรสงคราม ตอนที่ 3 ผลการใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศกึ ษาสมทุ รสงคราม ตอนที่ 4 ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมือง สมทุ รสงคราม สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรสงคราม ตอนที่ 1 คณุ ภาพของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยดึ หลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาสมทุ รสงคราม 31

ตารางที่ 3 ความสอดคล้องของนวัตกรรมกับจุดประสงค์ ในการจัดทาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลกั “ศาสตรพ์ ระราชา” กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ รายวชิ าทศั นศลิ ป์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ท่ี รายการ ค่าเฉล่ีย S.D. การแปลผล 1 สื่อ/นวตั กรรมการสอนทส่ี รา้ งขึ้นมีความทันสมัยและ 5.00 0.00 สอดคลอ้ งมากท่สี ดุ มีความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ 5.00 0.00 สอดคล้องมากท่สี ุด 4.67 0.58 สอดคล้องมากที่สุด 2 สื่อ/นวตั กรรมการสอนท่สี ร้างขนึ้ สอดคลอ้ งกบั 4.33 0.58 สอดคลอ้ งมาก วตั ถุประสงคแ์ ละกจิ กรรมการสอน 3.33 0.58 สอดคล้องปานกลาง 3 การจดั ทาส่ือ/นวัตกรรมการสอนสอดคลอ้ งกับปญั หา สามารถพัฒนาผู้เรยี นได้ 4.00 1.00 สอดคล้องมาก 4.00 0.00 สอดคล้องมาก 4 สอ่ื /นวตั กรรมการสอนมโี ครงสร้างองคป์ ระกอบ/เน้อื หา 3.67 0.58 สอดคล้องมาก ถกู ต้องตามหลักวชิ าการของผลิตส่ือประเภทน้ันๆ 5 สือ่ /นวตั กรรมการสอนผ่านการทดลองใช้และการหา ประสทิ ธิภาพหรอื ผา่ นการการตรวจสอบจาก ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 6 ผลการใช้ส่อื /นวตั กรรมการสอนเกิดประโยชนก์ บั ผเู้ รยี น อย่างแทจ้ รงิ 7 มกี ารเขียนสรุปรายงานผลการใชส้ อ่ื /นวตั กรรมทชี่ ดั เจน เชื่อถอื ได้ 8 สื่อ/นวัตกรรมการสอนเป็นทยี่ อมรบั อย่างกวา้ งขวางมี การเผยแพรแ่ ละเกิดประโยชนแ์ กว่ งการวชิ าชพี รวมเฉล่ยี 4.25 0.42 สอดคลอ้ งมาก จากตารางที่ 3 แสดงว่าแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระ การเรียนรู้ศลิ ปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 มีความสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ในการจัดทาแบบฝึก ทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 3 ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ียรวม 4.25 โดยมีผลการประเมินในระดับใกล้เคียงกันโดยมีค่า S.D. = 0.42 ปรากฏว่า ด้านส่ือ/นวัตกรรมการสอน ที่สร้างขึ้นมีความทันสมัย และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และสื่อ/นวัตกรรมการสอน ที่สร้างข้ึนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และกิจกรรมการสอนมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าด้านอื่น โดยมีผลการประเมินในระดบั มากทส่ี ุด มีค่าเฉลี่ย 5.00 โดยมีผลการประเมนิ ในระดับใกล้เคียงกนั โดยมีค่า S.D. = 0.00 ตอนท่ี 2 ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระ การเรยี นร้ศู ิลปะ รายวชิ าทศั นศลิ ป์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 256๓ โรงเรยี นเมืองสมทุ รสงคราม 32

ตาราง 4 คะแนนเฉลี่ยร้อยละที่ได้จากการตรวจแบบฝึก และการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตรพ์ ระราชา” กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศลิ ป์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ท่ี รายการ คะแนน คะแนน ค่าเฉลย่ี S.D. 1 คะแนนเฉลยี่ ท่ีได้จากแบบฝึกทักษะการระบายสี เตม็ ทไี่ ด้ ร้อยละ 8.06 110 83.81 76.19 2 คะแนนเฉล่ยี จากการประเมนิ พฤตกิ รรมระหวา่ งเรยี น 330 296.19 89.75 12.05 รวม 440 380 86.36 2.82 จากตาราง 4 แสดงว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ท่ีได้จากการตรวจแบบฝึก และการประเมินพฤติกรรม ระหว่างเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ของผู้เรียนเท่ากับ 380 จากคะแนนเต็ม 440 โดยคิดเป็นคะแนน เฉลยี่ ร้อยละ 86.36 ตารางท่ี 5 คะแนนเฉล่ียร้อยละของคะแนนสอบหลังการใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ รายวชิ าทศั นศิลป์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ท่ี รายการ คะแนน คะแนน ค่าเฉล่ีย S.D. เต็ม ที่ได้ รอ้ ยละ คะแนนทดสอบของผู้เรียนหลังการใช้แบบฝึก 1 ทักษะการระบายสีโดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” 330 269 81.50 2.46 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ัน ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 จากตารางท่ี 5 แสดงว่าผู้เรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉล่ียจากการทดสอบหลังการใช้โดยใช้แบบฝึก ทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 3 ของผู้เรียนเท่ากับ 269 คะแนน จากคะแนนเต็ม 330 คะแนน โดยคิดเป็นคะแนนเฉล่ีย รอ้ ยละ 81.50 E1 = 82.97 = 80/80 E2 = 81.50 = 82.97/81.50 เกณฑก์ าหนด E1/E2 ผลการทดลอง ผลการศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ าทัศนศลิ ป์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปรากฏว่า แบบฝึกทักษะการระบายสี โดย ยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด 80/80 โดยมีประสิทธิภาพ = 82.97/81.50 33

ตอนท่ี 3 ผลการใชแ้ บบฝึกทกั ษะการระบายสี โดยยึดหลกั “ศาสตรพ์ ระราชา” กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ รายวิชาทัศนศลิ ป์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 256๓ ตารางท่ี 6 การเปรียบเทียบค่าเฉล่ียของคะแนนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยดึ หลกั “ศาสตร์พระราชา” กล่มุ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ท่ี รายการ คะแนน ค่าเฉล่ีย S.D. ร้อยละ เตม็ 1 ก่อนการทดลอง คะแนนสอบ ตอนที่ 1 30 15.00 2.61 คะแนนสอบ ตอนที่ 2 10 7.36 1.21 คะแนนตรวจผลงาน 25 16.73 2.69 คะแนนประเมนิ พฤตกิ รรม 30 25.91 1.45 คะแนนรวม 95 65.00 0.77 2 หลงั การทดลอง 30 24.45 2.46 คะแนนสอบ ตอนที่ 1 10 9.36 0.81 25 21.82 1.25 คะแนนสอบ ตอนที่ 2 30 26.91 1.04 คะแนนตรวจผลงาน คะแนนรวม 95 82.54 0.74 คะแนนประเมินพฤติกรรม จากตารางท่ี 6 แสดงว่า ผู้เรียนท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการระบายสีโดยยึดหลัก “ศาสตร์ พระราชา”มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนและหลังการใช้นวัตกรรม แตกต่างกันโดย ผลหลังการใช้ นวัตกรรมสูงกว่าก่อนการใชน้ วัตกรรมอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05 ( เช่ือมน่ั ไดร้ อ้ ยละ 95 ) ดัชนีประสิทธผิ ลของการพัฒนาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”กลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะ สาระทศั นศลิ ป์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ดชั นปี ระสิทธิผล = = ๘๒.๕๔ - ๖๕.๐๐ (๑๑ x ๙๕) – ๖๕.๐๐ = ๑๗.๕๔ ๙๘๐ = 0.0178979 ดชั นีประสิทธิผล ของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 มีค่าเท่ากับ 0.0178979 แสดงว่า ผู้เรียนท่ีเรียนโดยใช้แบบ ฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนและหลังการใช้ 34

แผนการจดั การเรียนรู้ โดยแบบฝกึ ทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” แตกต่างกัน โดยผลหลัง การใช้สงู กว่ากอ่ นการใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิท่ี ระดบั .05 ( เชือ่ ม่นั ได้รอ้ ยละ 95 ) ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจของผู้เรยี นต่อการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทกั ษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์ พระราชา” กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ รายวิชาทศั นศลิ ป์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ตาราง 7 ผลการสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตรพ์ ระราชา” กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ รายวชิ าทัศนศิลป์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 ท่ี รายการ ค่าเฉลี่ย S.D. การแปลผล 1 ขา้ พเจา้ รู้สึกมีความสุขกับการเรียนโดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ 4.18 0.75 มีความพงึ พอใจมาก การระบายสี โดยยึดหลกั “ศาสตรพ์ ระราชา” 3.27 0.47 มคี วามพงึ พอใจปานกลาง 3.45 0.82 มีความพงึ พอใจปานกลาง 2 ข้าพเจ้ามีความรู้เร่ือง รูปร่าง รูปทรง พ้ืนผิวสี วงจรสี 4.18 0.75 มีความพงึ พอใจมาก แม่สี โทนสแี ละหลกั การจดั องค์ประกอบภาพมากขึน้ 4.09 0.54 มีความพึงพอใจมาก 4.55 0.52 มีความพึงพอใจมากทส่ี ุด 3 การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึด 4.18 0.87 มีความพงึ พอใจมาก หลัก “ศาสตรพ์ ระราชา” สามารถลงมือปฏบิ ัตจิ รงิ เกิด 4.00 0.63 มีความพึงพอใจมาก ทักษะนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ 4.36 0.67 มคี วามพงึ พอใจมาก 4 ข้าพเจ้ารู้สึกพอใจในงานท่ีช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ และไดใ้ ชค้ วามสามารถอย่างเตม็ ท่ี 3.73 0.90 มีความพึงพอใจปานกลาง 5 การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา”สอนให้ทางานเป็น ระบบขัน้ ตอนมากข้นึ 6 ผลการใช้ส่ือ/นวัตกรรมการสอนเกิดประโยชน์กับ ผู้เรยี นอย่างแทจ้ รงิ 7 ขา้ พเจ้าพอใจในการทาแบบฝึกทกั ษะการระบายสีภาพ โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” เพราะช่วยเพิ่ม ประสบการณแ์ ละช่วยพฒั นากระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ 8 ข้าพเจ้ารู้สึกพอใจในส่ือและแหล่งการเรียนรู้ท่ีมี อย่างพอเพียงในการจดั กิจกรรม 9 ขา้ พเจ้าพอใจที่การเรยี นโดยใช้แบบฝกึ ทักษะ การระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ส่งเสริม ให้เกิดความซาบซึ้ง เห็นคุณค่าและความจงรักภักดีต่อ สถาบนั ชาตศิ าสนาพระมหากษตั ริย์ 10 ขา้ พเจา้ พอใจในการนาเสนอผลงานและเผยแพรผ่ ลงาน โดยการจดั นิทรรศการ รวมเฉลยี่ 4.00 0.69 มคี วามพงึ พอใจมาก 35

จากตาราง 6 สรุปได้ว่า ผ้เู รียนมคี วามพึงพอใจต่อการเรียนดว้ ยแบบฝึกทกั ษะการระบายสี โดย ยดึ หลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ าทัศนศิลป์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ในระดับมาก ท่ีสุดโดยมีค่าเฉล่ียรวม 4.00 โดยมีผลการประเมินในระดับใกล้เคียงกันโดยมีค่า S.D. เท่ากับ 0.96 และเม่ือ พิจารณารายละเอียดแต่ละด้านปรากฏวา่ ข้อท่ี 6 ขา้ พเจ้ารสู้ กึ สนกุ กับการร่วมปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกล่มุ และไดช้ ว่ ยกัน ทางานเป็นกลุ่มในชั่วโมงศิลปะ มีคา่ เฉลยี่ สูงกว่าดา้ นอื่น โดยมีผลการประเมินในระดับมากที่สุดมีค่าเฉล่ีย 4.55 โดยมีผลการประเมนิ ในระดบั ใกล้เคยี งกนั โดยมีคา่ S.D. เท่ากับ 0.52 36

บทที่ 5 สรปุ ผลอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ ผู้ศึกษาค้นคว้า ได้สรุปผลและอภิปรายผล รวมท้ังให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาแบบฝึกทักษะ การระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ รายวิชาทศั นศลิ ป์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม สรุปผลการศึกษา ค้นคว้าตามลาดับ ดงั น้ี 1. ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นควา้ 2. วิธีดาเนนิ การศกึ ษาค้นควา้ 2.1กลมุ่ ประชากรทีใ่ ช้ในการศกึ ษา 2.2เนื้อหาทใ่ี ช้ในการศกึ ษาค้นควา้ 2.3ระยะเวลาท่ีใช้ในการศกึ ษาค้นควา้ 2.4เคร่ืองมือที่ใช้ในการศกึ ษาค้นควา้ 2.5วธิ ีดาเนนิ การศึกษาค้นคว้า 3. การวเิ คราะห์ข้อมลู 4. สรปุ ผลการศึกษา 5. อภปิ รายผล 6. ข้อเสนอแนะ ความมุ่งหมายของการศกึ ษาค้นคว้า 1. เพื่อศึกษาคุณภาพของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระ การเรียนรศู้ ิลปะ รายวิชาทัศนศลิ ป์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ทีม่ ีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนท่ีใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่าง ก่อนและหลงั การใชน้ วตั กรรม 3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตรพ์ ระราชา” กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ รายวิชาทัศนศลิ ป์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 วิธีดาเนนิ การศึกษาค้นควา้ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสมุทรสงคราม ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา 256๓ จานวน ๑๑ คน เน้ือหาทใี่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า ผู้วิจัยได้ศึกษาและบูรณาการ หลักศาสตร์พระราชาและแนวคิดการเรียนรู้แบบ Active learning ทมี่ ุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการเรียนรู้ ด้วยการลงมอื ปฏิบัติ การคิดเกีย่ วกับสง่ิ ที่ได้เรียนรู้ ผ่านการฟังและพูด การอา่ น การเขียน และการสะท้อนความคิดจากประสบการณ์ การทากจิ กรรมตา่ ง ๆ ที่หลากหลายท้ังกลุม่ ใหญ่ 37

และกลุ่มย่อย และการเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาทักษะการระบายสี ตามจินตนาการ ของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนมีความรักสถาบันหลักของชาติ และยึดหลักการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ดว้ ย “ศาสตร์พระราชา” ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการศกึ ษาค้นคว้า ผ้ศู ึกษาค้นควา้ ได้ดาเนินการทดลองสอนในภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา 256๓ ต้ังแต่วนั ที่ ๓ ธันวาคม 256๓ ถงึ วนั ท่ี ๒ มนี าคม 256๔ โดยใชเ้ วลาสอนทง้ั สิ้นรวม ๑๒ ชัว่ โมง เคร่อื งมือที่ใช้ในการศึกษาคน้ คว้า มี 4 ชนิดประกอบด้วย 1. แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทศั นศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 จานวน 16 แบบฝึก 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง การวาดภาพระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 1 ฉบับ จานวน 30 ข้อ 3. แบบประเมินพฤตกิ รรมระหวา่ งเรียน 4. แบบสอบถามวดั ความพึงพอใจ วิธีดาเนินการศึกษาคน้ ควา้ ครัง้ น้ีผูศ้ กึ ษาค้นคว้าเปน็ ผดู้ าเนนิ การสอนเอง ดังนี้ 1. ทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน (Pre-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน ที่ผู้ศึกษาค้นควา้ สร้างขึ้นจานวน 30 ข้อ ทาการทดสอบแล้วบันทึกผลของคะแนนไว้ เป็นคะแนน ก่อนเรียน 2. ดาเนินการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระ การเรียนรู้ศลิ ปะ รายวชิ าทัศนศิลป์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 ท่ีผู้ศึกษาค้นคว้าสรา้ งข้นึ จานวน 16 แบบฝึก ตั้งแต่ วันที่ ๓ ธันวาคม 256๓ ถึงวันที่ ๒ มีนาคม 256๔ โดยใช้เวลาสอนท้ังส้ินรวม ๑๒ ชั่วโมง ในระหว่างการ ทดลองพัฒนาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ได้ทาการสังเกตพฤติกรรมระหว่าง เรียนประเมนิ การทางานกลุ่มและบนั ทกึ คะแนนไวต้ ามกิจกรรมของแต่ละแบบฝกึ ทั้ง 16 แบบฝกึ 3. ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (Post-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนฉบับเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน ทาการทดสอบแล้วบันทึกผลของคะแนนสอบไว้เป็นคะแนน ทดสอบหลังเรียน 4. สอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ รายวชิ าทัศนศิลป์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 จานวน 10 ข้อ 5. นาผลทไี่ ดม้ าวิเคราะห์ทางสถติ ิ สรปุ ผลการศกึ ษา จากการศกึ ษาคน้ ควา้ การพัฒนาแบบฝกึ ทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระ การเรยี นร้ศู ลิ ปะ รายวิชาทศั นศลิ ป์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปรากฏผล ดังน้ี 38

1. แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้ศึกษาค้นควา้ พัฒนาข้ึนมีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.97/81.50 ซึ่ง สูงกวา่ เกณฑ์ 80/80 ท่ตี ง้ั ไว้ 2. ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 มีค่าเท่ากับ 0.0178979 แสดงว่าผู้เรียน ที่เรียน ด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ขน้ึ อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในระดับมาก โดยมีคา่ เฉล่ยี รวม 4.00 โดยมคี ่า S.D. เท่ากบั 0.69 อภปิ รายผล ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ศึกษาค้นคว้าการพัฒนาแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ รายวิชาทศั นศลิ ป์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 แล้วสามารถนามาอภิปรายผล ไดด้ ังนี้ 1. แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ าทัศนศลิ ป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าพัฒนาข้ึน มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.97/81.50 ซึ่ง สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ ทง้ั น้ีเนอื่ งจากว่าแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลกั “ศาสตรพ์ ระราชา” กลุ่ม สาระการเรียนร้ศู ิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ทีผ่ ู้ศึกษาค้นคว้าพฒั นาขน้ึ ได้ผ่านกระบวนการ ข้ันตอนในการจัดทาอย่างมีระบบและวธิ ีการท่ีเหมาะสม ศึกษาหลักสูตรคู่มือครู หนังสือเรยี น วิธีการหลักการ ทฤษฎี แล้วดาเนินการตามหลักการสร้างแบบฝึกทักษะ โดยสร้างตามข้ันตอนการสร้างแบบฝึกทักษะของ สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2538 : 14-15) และตามลักษณะแบบฝึกท่ีดี ซ่ึงได้กล่าว ว่าแบบฝึกท่ีดีเป็นเรื่องท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนท่ีเรียนมาแล้วอย่างเหมาะสมกับวัยหรือความสามารถ ควรเป็น แบบฝึกท่ี ควรกระตุ้นให้เด็กเกิดการตอบสนองท่ีพึงปรารถนา โดยนาหลักจิตวิทยาท่ีกล่าวว่า “สิ่งใดก็ตามท่ีมี การฝึกหัดหรือกระทาบ่อยๆยิ่งทาให้ผู้ฝึกคล่องแคล่วสามารถทาได้ดี” ความแตกต่างระหว่างบุคคลแต่ละคนมี ความรู้ ความถนัด ความสามารถและความสนใจท่ีแตกต่างกัน การสร้างแบบฝึกจึงพึงพิจารณาถึงความ เหมาะสม ไม่ยากหรอื ง่ายเกินไปและควรมีหลายแบบ การจูงใจ ผู้เรียนโดยจัดแบบฝึกจากง่ายไปหายาก เพ่ือ ดึงดูดความสนใจของผู้เรียน เป็นการกระตุ้นให้ติดตามต่อไป การใช้แบบฝึกหัดสั้นๆ จะช่วยไม่ให้ผู้เรียนเบื่อ หน่าย การเสริมแรงควรให้เด็กได้รับการเสริมแรงอย่างท่ัวถึง การสร้างแบบฝึกหัดให้น่าสนใจเหมาะสมกับวัย ความสามารถและความถนดั ของผเู้ รยี น เพือ่ ใหก้ ารเรยี นการสอนสนุกสนาน นักเรยี นมีความพอใจท่ีจะเรยี นและ ประสบความสาเร็จในการเรียนน้ันๆ กล่าวสรุปไว้ว่าขนาดหนังสือท่ีน่าสนใจควรมีขนาด 15 x 21 ซ.ม.เป็น หนังสือแนวตั้ง(up right) มีจานวนหน้า 22-30 หน้า และตัวอักษร 20 พอยท์ ดังน้ันแบบฝึกที่คานึงถึง จติ วทิ ยาของนักเรียน การสร้างแบบฝึกที่ดีรูปแบบตัวอักษรที่เหมาะสมกับวัย จึงทาให้นักเรียนเกิดความสนใจ และกระตอื รือรน้ ในการเรยี น 2. ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระ การเรยี นรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 มีค่าเท่ากับ 0.0178979 แสดงวา่ ผู้เรยี นที่เรียนด้วย แบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 (เช่ือม่ันได้ร้อยละ 95) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติด้วย 39

ตนเอง ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข มีความกระตือรือร้น รู้และเข้าใจกระบวนการกลุ่ม ซ่ึงกล่าวได้ว่าเป็นการจัด กจิ กรรมการเรียนรูท้ ยี่ ดึ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวม 4.00 โดยมีค่า S.D. เท่ากับ 0.69 สอดคล้องกับ ชูจิต วรเชษฐ์ (2548 : 86-87) พบว่านักเรียนมีเจตคติท่ีดีต่อกิจกรรมและแบบฝึกการอ่านเพ่ือการส่ือสาร จากเอกสารจริง อยู่ในระดับสูง การใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน ช่วยให้นักเรียนมีความสนใจ และสนุกสนาน ช่วยให้นักเรียนได้ประสบการณ์ในชีวิต และการวิจัยคร้ังน้ีได้พัฒนาขึ้นโดยยึดหลักการแนวคิดทฤษฏี ความคิดสร้างสรรค์ ยึดหลักจิตวิยา การเรียนรู้กิจกรรม เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนได้แสดงออก ได้คิดค้น หาคาตอบ และได้ฝึกปฏิบัติจริง นักเรยี นจึงมีความกระตือรือร้น ไม่เบื่อหน่ายต่อการเรียน ด้วยเหตุผลดังกล่าว จงึ ทาให้นักเรียนเกดิ ความพงึ พอใจในการเรยี นในระดับมากท่สี ดุ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยแบบฝึกทักษะการระบายสี โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 เป็นกิจกรรมท่ีทาให้ผู้เรียนเกิดความพึง พอใจในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการเรยี นรู้และต้องดาเนินกิจกรรมนั้นๆ จนบรรลุผลสาเรจ็ ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้ 1.1 การทาแบบฝึกทักษะ ครูควรชี้แจงเกี่ยวกับข้ันตอนในการทาแบบฝึกหัดทุกข้ันตอน พร้อมทั้ง อธิบายถึงประโยชน์ท่ีนักเรียนจะได้รับ ท้ังนี้เพราะการระบายสีภาพเป็นทักษะท่ีนักเรียนควรได้รับการฝึก จากการทาแบบฝกึ ให้มาก 1.2 แบบฝึกทักษะที่สร้างขึ้น สามารถนาไปใช้สอนซ่อมเสริมหรือนักเรียนฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ในเวลาวา่ งได้ 1.3 ครูสามารถสร้างแบบฝึกหัดเร่ืองอ่ืนๆ ได้โดยอาศัยแนวทางการสร้างจากแบบฝึกทักษะ การระบายสี โดยยดึ หลกั “ศาสตร์พระราชา” 1.4 ครูอาจนานวัตกรรมทางการศึกษาชนิดอื่นๆ เช่น บทเรียนสาเร็จรูป ชุดการสอน บทเรียน คอมพวิ เตอรม์ าสรา้ งเพ่อื ใช้ในการสอนได้ 1.5 การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ครูผสู้ อนจะต้องมีความรคู้ วามเขา้ ใจวิธีการสอน ดูแล ตดิ ตามผลงาน นักเรียนทุกข้ันตอน ให้กาลังใจนักเรียน และเสียสละเวลา เพื่อให้คาปรึกษา แนะนา อานวยความสะดวก ให้แกน่ กั เรยี น 1.6 ครูผู้สอนควรมีการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริงในการปฏิบตั กิ จิ กรรม 1.7 การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ควรมคี วามยดื หยุน่ ในเรือ่ งของเวลา 2. ข้อเสนอแนะสาหรบั การศกึ ษาค้นควา้ ครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาค้นคว้าหรือทาการวิจัยเกีย่ วกับการพัฒนาแบบฝึกในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ต่างๆ ใหม้ ากขน้ึ 2.2 ควรมีการศึกษาเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหวา่ งนักเรยี นที่ใช้แบบฝกึ กับนวัตกรรม ประเภทอ่ืนๆ หรอื ส่อื การสอนประเภทอน่ื ๆ เพือ่ หาแนวทางในการพฒั นาการศึกษาใหด้ ขี น้ึ 2.3 ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ใหม้ ากข้ึน 40

บรรณานกุ รม กรมวิชาการ. การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพรา้ ว, 2551. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและ พัสดุภณั ฑ์, 2551. เอกสารประกอบหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานพทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ค่มู ือการจัดการ เรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับสง่ สนิ คา้ และพัสดุภัณฑ์, 2551. คมขา แสนกล้า. การพฒั นาแผนการเรียนรู้โดยใชแ้ บบฝึกทักษะการอา่ นและการเขียนคาควบกล้า ปริญญา นพิ นธ์ กศม. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมติ ร, 2532. จรยิ า ทองหอม. การพัฒนาแผนการจดั การเรียนรโู้ ดยโครงงานเรื่อง...สรา้ งสรรค์งานศิลป์ : นวมนิ ทร์มหาราชา. กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ (ศ.13101) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบา้ นแพรกกลาง อาเภอถา้ พรรณราสานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษานครศรธี รรมราชเขต 2 : 2551. การพัฒนาแบบฝึกทักษะการระบายสี Long live the King. 61 จริยา ทองหอม โรงเรยี นวัดน้ารอบอาเภอ เมอื งสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 18/03/58 ชวาล แพรัตกุล. เทคนิคการเขียนข้อสอบ. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานชิ , 2520. ชาญวิทย์ เทียมบุญประเสรฐิ , วิธกี ารวิจัยทางพฤตกิ รรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์. สานักทดสอบทางการศึกษา และจิตวทิ ยามหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒประสานมิตร. 2525. ชจู ติ วรเชษฐ์. การพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ภาษาไทยเพื่อออกเสยี งคาควบกล้า ร ล ว ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 โดย ใชห้ นังสอื การอ่าน. วิทยานิพนธ์กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2548. ณัฐวฒั น์ ทองเกลยี ว. การสรา้ งหนังสอื และแบบฝึกทักษะประกอบการเรยี นภาษาไทยแบบม่งุ ประสบการณ์ภาษา เรือ่ งเท่ียวงานแห่เทยี นพรรษาจังหวัดอบุ ลราชธานชี ั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2.วิทยานพิ นธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2545. ถวลั ย์ มาศจรัส. การเขียนหนงั สือสง่ เสรมิ การอ่านและหนังสอื อ่านเพม่ิ เติม. พิมพ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : ตน้ อ้อ แกรมมี่, 2539. ทิศนา แขมมณี. การจดั การเรยี นการสอนโดยใช้นักเรยี นเปน็ สาคญั โมเดลซิปปา (CIPPA Model). จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั , 2545. นภดล จนั ทรเ์ พญ็ . การใช้ภาษาไทย. อุบลราชธานี : ภาควชิ าภาษาไทยคณะวชิ ามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ วทิ ยาลยั ครูอุบลราชธานี, 2531. นชุ นาฎ เทพพิทักษ์ศกั ดิ์. การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธดิ์ ้านการอา่ นเร็ววิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วย วธิ สี อนแบบกลุ่มเพอ่ื นช่วยเพอื่ นและวิธสี อนแบบปกติ. วทิ ยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, 2542. บันลอื พฤกษะวัน. วรรณกรรมสาหรบั เด็ก. กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2521.บา้ นแพรกกลาง, หลักสตู ร สถานศึกษา. นครศรธี รรมราช , 2546. บรู ชัย ศิริมหาสาคร. “หลักการเขยี นแผนการสอน” สารพฒั นาหลกั สตู ร. 15(124) : 32-35 ; มกราคม – มีนาคม, 2539. การพัฒนาแบบฝึกทักษะการระบายสี Long live the King. 62 41

ปฏิรปู การศกึ ษา, สานกั งาน. พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542. กรงุ เทพ :โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา ลาดพรา้ ว, 2543. ประเทนิ มหาขันธ์. การสอนอ่านเบือ้ งตน้ . กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พริ้นต้งิ เฮ้าส์, 2530. ประกายรตั น์สวุ รรณ. คู่มือการใช้โปรแกรม SPSS เวอร์ชัน 12 สาหรบั Window. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยเู คชั่น, 2548. ประภาพรรณ เสง็ วงศ์. การเขยี นรายงานการวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรม. เอกสารประกอบการอบรมการจัดทา รายงานผลงานทางวชิ าการคร้งั ที่ 11 จดั โดยสถาบันพฒั นาคณุ ภาพวิชาการ (พ.ว.) และชมรมครูมอื อาชีพ นครศรธี รรมราช : โรงแรมทวินโลตัสนครศรธี รรมราช, 10-11 ก.พ. 2550. ความรูป้ ระกอบการเขยี นรายงานการวจิ ัย. เอกสารประกอบการอบรมการจัดทารายงานผลงานทางวิชาการครั้งท่ี 11 จัดโดยสถาบันพัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พ.ว.) และชมรมครูมอื อาชพี นครศรีธรรมราช : โรงแรมทวนิ โลตัส นครศรีธรรมราช, 10-11 ก.พ. 2550. พชั รี จาปา, รายงานผลการใชแ้ บบฝึกการอ่านจบั ใจความกลุ่มทักษะภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ( เอกสาร อัดสาเนาประกอบการสัมมนาผลงานทางวชิ าการ ). นครศรธี รรมราช : 2546. การพัฒนาแบบฝึกทกั ษะการระบายสี Long live the King. 63 จรยิ า ทองหอม โรงเรียนวดั น้ารอบ อาเภอเมอื งสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 18/03/58 พรชุลี อาชวอารงุ . “การสอนโดยโครงงาน” วารสารวิชาการ. 2(3) : 22-23 ; มีนาคม, 2542. พกิ ุล มิแสน. การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธดิ์ ้านการอา่ นเพ่ือจับใจความวิชาภาษาไทยชั้น พทิ กั ษ์ พรมนิล. การพฒั นาบทเรยี นคอมพิวเตอร์กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยเร่ือง อักษรนา ชน้ั ประถมศึกษาปี ท่ี 4. การศกึ ษาคน้ คว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2547. พิศาล ศรคี า. รายงานการใชแ้ ผนการสอนและแบบฝึกวชิ าคอมพวิ เตอร์ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3-4. สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1, สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน. 2551( ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560). พุทธทาสภิกขุ. พระราชากาลังเพือ่ ความชนะอย่างสูงสดุ ทุกชนดิ . สุราษฎรธ์ านี : อษุ าการพมิ พ์, 2549. ภกั ดี ศรีทอง. การศกึ ษาผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบโครงงานวทิ ยาศาสตรท์ ีม่ ีต่อความพงึ พอใจในการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตรข์ องนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนบา้ นแพรกกลางสานกั งานเขตพื้นท่ี การศกึ ษานครศรีธรรมราชเขต 2 ปกี ารศึกษา 2549. นครศรธี รรมราช : 2550. ภญิ ญาพร นติ ยะประภา. การผลติ หนงั สอื สาหรับเด็ก. กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พรินต้ิงเฮ้าส์, 2547. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสรุ าษฎร์ธานี. คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์. โปรแกรมวชิ าศิลปกรรม นทิ รรศการศิลปะมนุษย์ 48 . สุราษฎรธ์ านี : ไอเดีย- มเี ดยี กรฟุ๊ , 2548 มาลสิ า เงียบกิ่ง. การพฒั นากิจกรรมโครงงานเพือ่ การเรยี นร้ภู าษาไทยเร่ืองพระมหาชนกฉบบั การต์ นู ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4. การศกึ ษาคน้ คว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2544. มติ รถาวร คาภษู า. การพัฒนาแบบฝกึ เสรมิ ทักษะภาษาไทยเร่ืองการอา่ นและสะกดคายากของหนังสือเรียน ภาษาไทยเล่ม 1 ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 2. การศกึ ษาค้นคว้าอสิ ระ กศ.ม.มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2545. มูลนิธิหอศิลปะแหง่ รชั กาลท่ี 9 และกองทุนสง่ เสรมิ งานวัฒนธรรม. นทิ รรศการเฉลมิ พระเกยี รตฯิ ศิลปะแห่งรชั กาลที่ 9. ศนู ยก์ ารประชมุ แห่งชาติสิรกิ ิต์กรุงเทพฯ : 2539. การพัฒนาแบบฝึกทกั ษะการระบายสี Long live the King. 64 42

จริยา ทองหอมโรงเรยี นวดั น้ารอบ อาเภอเมือง สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษานครศรีธรรมราชเขต 1 18/03/58 รศั มี อกุ ประโคน. การพฒั นาการจดั กิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยโครงงานเร่อื งรามเกียรติ์ตอน กมุ ภกรรณ ทดน้า. รายวชิ าภาษาไทยช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2, มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม :2547. รุจิร์ภู่สาระ. การเขียนแผนการเรียนรู้, กรงุ เทพฯ : บคุ๊ พรอยท์, 2545. เรงิ ชยั จงพพิ ัฒนสขุ . ค่มู ือผปู้ กครองและครู : การเรยี นการสอนตามพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานชิ , 2542. ละเอียด คชวัฒน์. การใชแ้ บบฝึกพฒั นาการเขียนกลอนสภุ าพของนกั เรยี นชัน้ มัธยม ศกึ ษาปที ่ี 1. กรุงเทพฯ : วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2537. ลดั ดา ภู่เกยี รติ. การสอนโดยการใชโ้ ครงงาน. เอกสารประกอบการประชมุ ปฏบิ ัติการการพัฒนา คุณภาพการเรยี นการสอนสาหรบั ครปู ระจาการเร่ืองนวตั กรรมเพ่ือการเรียนร้สู าหรับครูยุคใหม่ครง้ั ท่ี 1. นนทบรุ ี : มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมมาธิราช, 2542. เลิศ อานันทะ . ศิลปศึกษาชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3. ( ตวั อย่างหนังสือเรยี น ), กรุงเทพฯ : ว.พ., มปป. วรรณีนา สถิตย์. การพัฒนาแผนการสอนที่เน้นทกั ษะกระบวนการเรือ่ งงานประดษิ ฐจ์ ากวสั ดุ ธรรมชาตชิ ้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 กลมุ่ การงานพ้นื ฐานอาชพี . วทิ ยานิพนธก์ ศ.ม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัย มหาสารคาม, 2542. วนั ชัย พงษา. จดั การเรียนการสอนอย่างไรทาใหเ้ ด็กมปี ญั ญา. นครศรธี รรมราช : โรงพมิ พเ์ มด็ ทราย, 2544. วิมลรัตน์ สนุ ทรโรจน์. การเรยี นร้โู ดยโครงงาน. เอกสารประกอบการสอนวชิ า 0506703 พัฒนาการเรียนการสอน. มหาสารคาม : ภาควิชาหลักสูตรและการสอนคณะศกึ ษาศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2544. วิรุณ ตัง้ เจริญ. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูส้ าระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ : ทศั นศิลป์ 1 ช่วงช้ันท่ี 1. กรงุ เทพฯ : สถาบัน พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พ.ว.), 2545. กรงุ เทพฯ : สถาบนั พัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จากัด, 2545. สมานจันทะดี. การเขียนการพมิ พ์รายงาน. เอกสารทางวชิ าการและการอา้ งองิ . กรุงเทพฯ : สถาบนั พฒั นาความก้าวหน้า, 2546. สมเด็จพระนวมินทราชาธิราช. (หนงั สอื เฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ในโอกาสฉลองสริ ริ าช สมบตั ิ 60 ปี) กรงุ เทพมหานคร : สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา, 2550. สมั พันธ์ เพชรสมและคณะ. หนังสือเรียนศิลปะป.3 . กรุงเทพฯ : อักษรเจรญิ ทศั นอ์ จท. จากัด, 2548. สุชาติ เถาทอง. หนงั สือเรียนสาระการเรียนรูพ้ ้ืนฐานกล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะทศั นศิลป์ม.1. กรุงเทพฯ : อกั ษร เจริญ ทศั น์อจท. จากดั ,2546. สพุ ล วังสนิ ธ์ิ. “โครงงาน : การเรยี นร้สู ่ปู ี 2000, ” วารสารวิชาการ. 10(2) : 9-15 ; ตลุ าคม, 2543. สรุ พล ขันธศุภ. หนงั สืออา่ นประกอบอ้างอิงชุดศลิ ปะสาหรับเดก็ ประถมเรือ่ งการเขยี น ภาพระบายสี. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์บรรณกิจ , 2543. สุวิทย์ มลู คาและอรทยั มูลคา. 20 วิธกี ารเรยี นร.ู้ พิมพ์คร้งั ที่2. กรงุ เทพฯ : ภาพพิมพ์, 2545. สมนึก ภัททิยธนี. การวัดผลการศกึ ษา. ภาควชิ าวจิ ัยและพัฒนาการศึกษาคณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. พิมพค์ รัง้ ที่ 2. กาฬสินธุ์. : โรงพมิ พ์ประสานการพิมพ,์ 2541. สมศักด์ิ สินธุระเวชญ์และคณะ. หนังสอื เรยี นสมบรู ณ์แบบ สลน 1. ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 . กรงุ เทพฯ : วฒั นาพานชิ , 2543. 43

อจั ฉราชีวพันธ์. หลักภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพบ์ รรณกจิ , 2532. Gibson, Karen Marie. “ Facilitating Preservice Teachers in the Action Research Process : A Case Study,” Dissertation Abstracts International. 4(12) :61-12-A ; September, 2003. Loren Rodney Christopher. “ Facilitating Tescher-student Collab Oration and Student Decision-Making Opportunities in the Music Classroom : An Action Research Sutdy,” Dissertation Abstracts International. 64(03) : 839-A ; September, 2003. 44

ภาคผนวก 45

ตอนที่ ๑ แบบทดสอบแผนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ รายวชิ าทศั นศลิ ป์ รหสั วิชา ศ ๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 46

แผนการจดั การเรยี นรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 จานวน ๑๒ ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ รายวชิ าทัศนศลิ ป์ รหสั วิชา ศ ๑๓๑๐๑ เร่อื ง การพัฒนาทกั ษะการระบายสีภาพ โดยยดึ หลัก “ศาสตร์พระราชา” ************************************************* 1. สภาพปัจจุบันและปญั หาการเรียนการสอน จากการศึกษาสภาพปัญหาการเรียนการสอนการเขียนภาพระบายสีพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีความ สนใจในการเขียนภาพระบายสี แต่ขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ เพราะเป็นวัสดุส้ินเปลืองและมีราคาแพง ปัญหา ผลงานการเขียนภาพระบายสีของนักเรียนสกปรก นักเรียนระบายสีภาพเพียงบางส่วน ระบายสีไม่ท่ัวท้ังภาพ นกั เรยี นขดี ฆา่ สีไม่รูห้ ลกั การระบายสคี า่ น้าหนักของสี 2. วตั ถุประสงคก์ ารสอน/การจัดการเรยี นรู้ 2.1 เพื่อให้นกั เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั สีวงจรสแี สงเงานา้ หนักออ่ น-แก่ของสี 2.2 เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการระบายสภี าพของนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 ให้ละเอียดประณีตสวยงาม มากขน้ึ 3. ขอบเขตเน้อื หาสาระการเรียนรู้ 3.1 หลกั การระบายสี 3.2 สวี งจรสี 3.3 แสงเงานา้ หนักอ่อนแก่ของสี 4. ระยะเวลา ๓ ธ.ค. 256๓ – ๒ ม.ี ค. 256๔ 5. การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ 5.1 กรอบแนวคิดทฤษฎีในการจัดการเรียนการสอน กรอบแนวคิดทฤษฎีทน่ี ามาใชใ้ นการจัดการเรียน การสอน ไดแ้ ก่ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญและกระบวนการเรยี นรู้แบบบูรณาการ 5.2 วธิ ีการสอนชือ่ ว่ากระบวนการจดั การเรียนรูท้ เี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั มขี ้นั ตอนดงั นี้ 47

ลาดบั กจิ กรรม วนั /เดือน/ปี สื่อ/วสั ดุ/อปุ กรณ์ (คาบ) 1 วางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Plan)  แบบทดสอบก่อนเรยี น  การศกึ ษาและวเิ คราะห์ผู้เรียนเปน็ รายบุคคล ๓ ธ.ค. 256๓- และหลังเรยี น  การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ๔ ธ.ค. 256๓  แบบสังเกตพฤติกรรม 2 ดาเนนิ การจดั การเรียนรู้ (Do) ๔ ธ.ค. 256๓- นกั เรียน  การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑๘ ธ.ค. 256๓  การใช้ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ตามแผน - แบบฝกึ ทกั ษะการ ระบายสีโดยยึดหลกั “ศาสตร์พระราชา” สไี ม้ สเี ทยี น สชี อลก์ นา้ มนั ประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรู้ (Check) ๑๕ ก.พ. 256๔- - แบบบนั ทึกการตรวจ ๑๙ ก.พ. 256๔ ผลงานนักเรียน  การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง  การใช้เครอ่ื งมือและวิธีการวัดผลควบคู่กบั - แบบสังเกตพฤติกรรม ของผ้เู รยี น การจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ ต่ละคร้งั 4 ปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ (Action) ๒๒ ก.พ. 256๔- - บันทกึ ผลการจดั การ 5 รายงานผลการจดั การเรียนรู้ (Report) ๒๓ ก.พ. 256๔ เรียนรู้ ๒๕ ก.พ. 256๔- - รายงานผลการจดั การ ๒ มี.ค. 256๔ เรยี นรู้ 6. ส่ือ/วสั ดุ-อปุ กรณ์ 6.1 แบบฝกึ ทกั ษะการระบายสีภาพ โดยยดึ หลกั “ศาสตรพ์ ระราชา” 6.2 หนงั สือแบบเรยี นศิลปะ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 6.3 กระดาษวาดเขยี นหรือกระดาษร้อยปอนด์ A4 6.4 สีไม้สีเทยี น สีชอลก์ สนี า้ หรือสโี ปสเตอร์ 7. การวัดและประเมนิ ผล 7.1 เคร่อื งมอื ในการวดั และประเมินผล 7.1.1 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรียน 7.1.2 แบบสังเกตพฤตกิ รรมนักเรียน 7.1.3 แบบบนั ทึกการตรวจผลงานนักเรียน 48

7.1.4 แบบสอบถามวัดความพงึ พอใจ 7.2 วธิ ีการวดั และประเมินผล 7.2.1 การทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรียน 7.2.2 การสังเกตพฤติกรรมนักเรียน 7.2.3 การตรวจผลงานนักเรยี น 7.2.4 การสอบถามวัดความพึงพอใจ 8. ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั 8.1 นกั เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับสี วงจรสี แสงเงา และนา้ หนักออ่ นแกข่ องสี ผ่านเกณฑ์พอใช้ อย่างนอ้ ย 80 % 8.2 นกั เรียนมีทกั ษะ ความสามารถในการระบายสภี าพผ่านเกณฑพ์ อใช้ อย่างน้อย 80 % 9. สรุปผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 49

แบบประเมินความสอดคลอ้ งระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ( I.O.C ) ของแบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรียน โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะการระบายสี โดยยดึ หลัก “ศาสตร์พระราชา” *********************************** คาชแ้ี จง : โปรดอ่านแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น แลว้ ใส่เครือ่ งหมาย  ลงในชอ่ งระดบั ผลการ ประเมนิ ตามความคิดเห็นในแตล่ ะขอ้ ระดบั ผลการประเมนิ มี 3 ระดับ ดงั น้ี + 1 = สอดคลอ้ ง 0 = ไม่แนใ่ จ - 1 = ไม่สอดคลอ้ ง ระดับผลการประเมนิ ท่ี รายการประเมิน +1 0 -1 1. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ทศั นธาตุ ก. เสน้ ข. รูปรา่ งรูปทรง ค. หกเหล่ยี ม ง. พ้นื ผิว 2. เส้นตรงแนวตง้ั ใหค้ วามรสู้ ึกอยา่ งไร ก. มั่นคงแขง็ แรง ข. ไม่ม่นั คงรุนแรง ค. ออ่ นโยนรา่ เรงิ ง. เคลื่อนไหวไมส่ งบ 3. เสน้ โค้ง ให้ความร้สู ึกอยา่ งไร ก. มน่ั คงแข็งแรง ข. ไม่มั่นคงรุนแรง ค. อ่อนโยนนุ่มนวล ง. สับสนว่นุ วาย 4. ประสาทสมั ผัสท้งั ห้า เก่ียวข้องกบั ศิลปะอย่างไร ก. ใชส้ มั ผสั กบั ผลงานศิลปะ ข. ใชแ้ สดงความรู้สึกตอ่ งานศิลปะ ค. ใชส้ ร้างสรรค์ผลงานศลิ ปะ ง. ใชส้ ังเกตลักษณะของสงิ่ ต่างๆ 5. จากภาพ มีรปู ทรงอย่างไร ก. รปู ทรงสามเหลยี่ ม ข. รปู ทรงส่ีเหลย่ี ม ค. รปู ทรงกระบอก ง. รูปทรงกลม 6. จากภาพ มีรูปรา่ งอย่างไร ก. รูปวงกลม ข. รปู ส่เี หลีย่ ม ค. รูปสามเหลี่ยม ง. รูปรา่ งอสิ ระ 7. ข้อใด มรี ูปร่างอสิ ระ ก. สมดุ ข. หวี ค. ธนบตั ร ง. กระดานดา 50