87 แผนที่สังเขปของลกู เสือ “แผนท่ีสังเขป” คือ แผนทหี่ รอื รปู ภาพแผนท่ี หรือเส้นทางในการเดินทางแสดง รายละเอียดต่าง ๆ ตามความต้องการ แผนท่ีสังเขปน้ีจะให้ความละเอียดถูกต้องพอประมาณ เท่าน้ัน แผนท่ีสังเขปของลูกเสือ จะแสดงลักษณะภูมิประเทศท่ีเด่นชัดท่ีอยู่บริเวณ ใกลเ้ คยี งกับเสน้ ทาง สงิ่ จาเปน็ ในการทาแผนทีส่ ังเขป คือ ต้องใช้เข็มทิศเป็น และรู้ระยะก้าวของตน โดยทั่วไปคนปกติจะมีความยาว 1 ก้าวเท่ากับ 75 เซนติเมตร เดินได้นาทีละ 116 ก้าว เดินได้ ชัว่ โมงละ 4 กโิ ลเมตรโดยประมาณ 1.2 ความหมาย และความสาคญั ของเข็มทศิ ความหมายของเข็มทิศ เข็มทิศ คอื เครื่องมอื สาหรับใชห้ าทิศทางหรือบอกทิศทางในแผนที่ ความสาคัญของเข็มทศิ เข็มทิศ มีความสาคัญในการบอกทิศที่สาคัญทั้ง 4 ทิศ คือ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก หรืออาจจะบอกรายละเอียดเป็น 8 ทิศ 16 ทิศ หรือ 32 ทิศ ก็ได้ ในกรณีการเดินทางไกลของลูกเสือ เข็มทิศเป็นอุปกรณ์ท่ีสาคัญในการบอกทิศทางไปสู่ จดุ หมายปลายทาง หากกรณีหลงป่าหรอื หลงทาง ลกู เสือสามารถแจง้ พิกดั ใหผ้ ู้ชว่ ยเหลอื ได้ กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 1 แผนที่ - เข็มทิศ (ใหผ้ ้เู รียนไปทากจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 1 ท่ีสมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวิชา) เรอ่ื งท่ี 2 วิธกี ารใชแ้ ผนที่ – เข็มทิศ 2.1 วิธกี ารใชแ้ ผนที่ วางแผนท่ใี นแนวราบบนพน้ื ท่ีไดร้ ะดบั ทศิ เหนือของแผนทช่ี ไ้ี ปทางทิศเหนอื จัดให้แนวต่าง ๆ ในแผนท่ขี นานกับแนวทเ่ี ป็นจรงิ ในภมู ปิ ระเทศทกุ แนว 2.2 วิธกี ารใช้เขม็ ทิศ เข็มทิศมีหลายชนิด เช่น เข็มทิศตลับธรรมดา เข็มทิศข้อมือ เข็มทิศแบบ เลนซาตกิ (Lensatic) และเขม็ ทิศแบบซิลวา (Silva)
88 เขม็ ทศิ ทใ่ี ชใ้ นทางการลกู เสอื คือ เข็มทศิ แบบซิลวา ของสวเี ดน เป็นเข็มทศิ และไม้โปรแทรกเตอร์รวมอยู่ด้วยกัน ทั่วโลกนิยมใช้มาก ใช้ประกอบแผนท่ีและหาทิศทางได้ดี เหมาะสมกบั ลกู เสอื เพราะใช้งา่ ยและสะดวก ส่วนประกอบของเข็มทิศแบบซลิ วา 1. แผน่ ฐานทาด้วยวัสดุโปร่งใส 2. ท่ีขอบฐานมีมาตราส่วนเป็นน้ิว หรือเซนตเิ มตร 3. มีลูกศรชีท้ ิศทางท่จี ะไป 4. เลนสข์ ยาย 5. ตลับเข็มทิศเป็นวงกลมหมุนไปมาได้ บนกรอบหน้าปัดของตลับเข็มทิศ แบ่งมมุ ออกเป็น 360 องศา 6. ภายในตลบั เข็มทิศตรงกลางมีเข็มแม่เหล็กสีแดง ซ่ึงจะช้ีไปทางทิศเหนือ เสมอ 7. ตาแหน่งสาหรบั ต้ังมมุ และอ่านคา่ ของมุมอยตู่ รงปลายลกู ศรช้ีทิศทาง การใช้เข็มทศิ ซิลวา 1. กรณีทราบค่าหรือบอกมุมอะซิมุทมาให้และต้องการรู้ว่าจะต้องเดินไปทางทิศใด สมมตวิ ่า บอกมุมอะซิมุทมาให้ 60 องศา ให้ปฏบิ ัติดังน้ี (1) วางเข็มทิศบนฝ่ามือหรือสมุดปกแข็ง ในแนวระดับ หันลูกศรชี้ทิศทางออกนอกตัว โดยให้เข็ม แม่เหล็กแกวง่ ไปมาไดอ้ สิ ระ (2) หมุนกรอบหน้าปัดของตลับเข็มทิศ ให้เลข 60 อยู่ตรงตาแหน่งสาหรับต้ังมุม (ปลายลูกศร ชี้ทิศทาง) (3) หมุนตัวจนกว่าเข็มแม่เหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศตรงกับอักษร N บนกรอบหน้าปัด ดังรูป (4) ดูลูกศรช้ีทิศทางว่าช้ีไปทางทิศใดก็เดินไปตามทิศทางนั้น ซึ่งเป็นมุม 60 องศา ในการเดินไปตามทิศทางท่ีลูกศรช้ีไปน้ันให้มองหาจุดเด่นในภูมิประเทศที่อยู่ตรงทิศทาง ทล่ี ูกศรชไ้ี ป เชน่ ต้นไม้ ก้อนหิน โบสถ์ เสาร้ัว ฯลฯ เป็นหลกั แล้วเดนิ ตรงไปยังสิง่ นั้น
89 การจบั เข็มทิศ ลูกศรกา้ งปลา การกาหนดเปา้ หมายและหามุม ปลายเขม็ ชต้ี ัว N (N หมายถงึ ทศิ เหนือ) เขม็ แมเ่ หล็ก หมุนแกว่งตัวไปรอบ ๆ ภายในตลับวงกลมเมื่อ เข็มแมเ่ หลก็ หมุนไปทับลูกศรก้างปลาจงึ จะสามารถอ่าน คา่ มมุ ได้ ขนั้ ตอนท่ี 1 ข้ันตอนที่ 2 เล็งลกู ศรช้ีทางไปท่ีเป้าหมายท่สี ามารถ ใช้ปลายน้วิ มือจบั เลนสก์ ลม หมุนให้เขม็ แมเ่ หล็กทับ มองเหน็ ได้งา่ ย เข็มก้างปลา คา่ มุมอ่านได้ เทา่ กับ 220องศา
90 การอ่านรายละเอยี ดของเขม็ ทศิ ซลิ วา ตาแหน่งท่ี 1 เขม็ ลกู ศรช้ที าง ตาแหนง่ ที่ 2 เลนสข์ ยาย ตาแหน่งที่ 3 หนา้ ปัดวงกลม แบ่งมุมออกเปน็ 360o ข้อควรระวงั ในการใช้เข็มทิศซลิ วา ควรจบั ถือด้วยความระมัดระวงั ไมค่ วรอ่านเขม็ ทศิ ใกล้กับส่ิงทเ่ี ปน็ แม่เหลก็ หรอื วงจรไฟฟา้ ควรคานึงถงึ ระยะความปลอดภยั โดยประมาณ ดังน้ี สายไฟแรงสูง 50 หลา สายโทรศพั ท์ โทรเลข 10 หลา รถยนต์ 20 หลา วัสดทุ เ่ี ปน็ แร่เหลก็ 5 หลา การใช้แผนที่และเข็มทิศเดนิ ทางไกล 1. ยกเขม็ ทศิ ให้ไดร้ ะดบั 2. ปรับมุมอะซิมทุ ใหเ้ ทา่ กับมุมที่กาหนดในแผนที่ 3. เล็งตามแนวลกู ศรชท้ี ศิ ทาง เป็นเส้นทางท่ีจะเดนิ ไป 4. เดนิ ไปเทา่ กบั ระยะทางทก่ี าหนดในแผนที่
91 การใชเ้ ขม็ ทศิ ในทก่ี ลางแจง้ การหาทิศ วางเข็มทิศในแนวระนาบ ปลายเขม็ ทิศข้างหนึง่ จะชไี้ ปทางทิศเหนอื ค่อย ๆ หมุน หน้าปัดของเข็มทิศให้ตาแหน่งตัวเลขหรืออักษรท่ีบอกทิศเหนือบนหน้าปัดตรงกับปลายเหนือ ของเข็มทิศเมื่อปรับเข็มตรงกับทิศเหนือแล้วจะสามารถอ่านทิศต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องจาก หน้าปดั เขม็ ทศิ ลูกเสือสามารถนาเข็มทิศไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ได้ เช่น การเดินทางไกล การสารวจปา่ การผจญภัย การสารวจและการเยือนสถานที่ เปน็ ต้น เมื่อเร่มิ ออกเดนิ ทางลกู เสือควรหาทศิ ท่จี ะมุ่งหน้าไปให้ทราบก่อนว่าเป็นทศิ ใด เม่ือเกิดหลงทิศหรอื หลงทางจะสามารถหาทศิ ทางต่าง ๆ จากเข็มทศิ ได้ ตวั อย่าง กรณบี อกมมุ อะซมิ ุทมาใหแ้ ละต้องการรู้ว่าจะตอ้ งเดนิ ทางไปทิศทางใด สมมติว่ามมุ อะซิมทุ 60 องศา 1. วางเข็มทิศในแนวระดับให้เขม็ แม่เหล็กหมุนไปมาไดอ้ สิ ระ 2. หมุนกรอบหนา้ ปดั ของตลับเข็มทิศให้เลข 60 อยูต่ รงขดี ตาแหนง่ ตง้ั มุม 3. หันตัวเข็มทิศท้ังฐานไปจนกว่าเข็มแม่เหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศช้ีตรงกับ อักษร N บนกรอบหนา้ ปัด ทบั สนทิ กบั เคร่ืองหมายหวั ลกู ศรทีพ่ มิ พ์ไว้ 4. เม่ือลูกศรชที้ ิศทางช้ไี ปทศิ ใด ให้เดินไปตามทิศทางน้ัน โดยเล็งหาจุดเด่นท่ีอยู่ ในแนวลูกศรชที้ ิศทางเปน็ หลกั แลว้ เดินตรงไปยงั สิ่งนน้ั กรณีทจ่ี ะหาคา่ ของมุมอะซมิ ทุ จากตาบลทเี่ รายืนอยู่ ไปยงั ตาบลทีเ่ ราจะเดนิ ทางไป 1. วางเข็มทิศในแนวระดับให้เข็มแม่เหล็กหมนุ ไปมาไดอ้ สิ ระ 2. หันลูกศรช้ที ิศทางไปยังจุดหรือตาแหนง่ ทเี่ ราจะเดนิ ทางไป 3. หมุนกรอบหน้าปัดเข็มทิศไปจนกว่าอักษร N บนกรอบหน้าปัดอยู่ตรงปลาย เขม็ แม่เหลก็ สแี ดงในตลบั เขม็ ทิศ
92 4. ตัวเลขบนกรอบหน้าปัดจะอยู่ตรงขีดตาแหน่งสาหรับตั้งมุมและอ่านค่ามุม คือ ค่าของมุมทีเ่ ราต้องการทราบ การวัดทศิ ทางบนแผนทีโ่ ดยการใชเ้ ข็มทศิ 1. อันดับแรกต้องวางแผนทีใ่ ห้ถกู ทิศ 2. ใช้ดินสอลากเส้นตรงจากจุดที่เราอยู่บนแผนท่ี (จุด A) ไปยังจุดที่จะต้องเดินทางไป (คือจุด B) 3. วางขอบฐานด้านยาวของเข็มทิศขนานพอดีกับเส้นตรงที่ใช้ดินสอลากไว้ (แนวเส้น A - B) โดยใหล้ ูกศรช้ที ิศทางชไี้ ปทางจดุ B ดว้ ย 4. หมุนตัวเรือนเข็มทิศบนเข็มทิศไปจนกว่าปลายเข็มแม่เหล็กสีแดงตรงกับตัวอักษร N บนกรอบตัวเรือนเข็มทศิ 5. ตัวเลขท่ีอยตู่ รงขดี ตาแหนง่ ต้ังมมุ และอา่ นคา่ มมุ คือมุมทเี่ ราจะต้องเดนิ ทางไป (ในภาพคอื มุม 60 องศา) ขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ ขม็ ทศิ 1. จับถอื ดว้ ยความระมัดระวัง เพราะหน้าปดั และเข็มบอบบาง อ่อนไหวง่าย 2. อย่าให้ตก แรงกระเทอื นทาให้เสียได้ 3. ไมค่ วรอา่ นเข็มทิศใกล้ส่งิ ทเี่ ปน็ แม่เหลก็ หรือวงจรไฟฟา้ 4. อย่าให้เปียกน้าจนขน้ึ สนมิ 5. อย่าให้ใกลค้ วามรอ้ นเขม็ ทศิ จะบิดงอ กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 2 วธิ กี ารใชแ้ ผนที่ - เข็มทศิ (ให้ผู้เรยี นไปทากจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 2 ที่สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวิชา)
93 เรื่องท่ี 3 การใช้ Google Map การใช้ Google map เปน็ บริการเกย่ี วกับแผนท่ี ผ่านเว็บบราวเซอร์ของบริษัท Google ซึ่งสามารถเปิดผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ทโฟน ท่ีเช่ือมต่อกับระบบ อินเทอร์เน็ต Google Map เป็นแผนที่ที่ผู้ใช้สามารถซูมเข้า - ออกเพ่ือดูรายละเอียดได้ สามารถ ค้นหาชื่อ สถานท่ี ถนน ตาบล อาเภอ จังหวัดได้ ช่วยอานวยความสะดวกในการเดินทาง สามารถ มองไดห้ ลายมุมมอง เช่น - มุมมอง Map ดูในลกั ษณะแผนที่ทวั่ ไป - มุมมอง Satellite ดูในลักษณะแผนทีด่ าวเทียม ดูท่ีต้ังของสถานท่ตี ่าง ๆ จาก ภาพถ่ายทางอากาศ - มมุ มอง Hybrid ดูในลักษณะผสมระหว่างมุมมอง Maps และ Satellite - มุมมอง Terrain ดใู นลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ - มุมมอง Earth ดแู บบลกู โลก วิธคี น้ หาเป้าหมายท่ีกาหนดจาก Google Map ขน้ั ตอนการใช้งาน 1. สามารถเข้าใชง้ านได้จากหน้าแรกของ Google.com โดยคลิกทีแ่ ผนท่ี ดงั รูป
94 2. เม่ือเข้าสู่แผนท่ี Google map แล้วสามารถค้นหาพื้นท่ีที่ต้องการจากชื่อ สามัญหรอื ช่ือทีร่ ู้จักกนั โดยทัว่ ไปได้ทเี่ ครื่องมือคน้ หาของ Google map 3. หรอื สามารถค้นหาได้โดยการขยาย ย่อ และเลือ่ นแผนทไี่ ปยงั พ้นื ท่ที ตี่ ้องการ
95 4. และเมื่อค้นพบจดุ ทต่ี ้องการทราบพิกัดแล้ว ให้คลิกขวายังจดุ น้ันและเลือกใช้ คาสง่ั “นีค่ ืออะไร” 5. พกิ ัดของจุดนั้นจะปรากฏออกมาดงั ภาพ กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 3 การใช้ Google Map (ใหผ้ ้เู รียนไปทากิจกรรมท้ายเรื่องที่ 3 ท่สี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า)
96 เร่ืองที่ 4 เงือ่ นเชอื กและการผกู แนน่ 4.1 ความหมายของเงื่อนเชือกและการผกู แน่น เงื่อนเชือก หมายถึง การนาเชือกมาผูกกันเป็นเงื่อน เป็นปม สาหรับต่อเชือก เข้าด้วยกัน หรือทาเป็นบ่วง สาหรับคล้องหรือสวมกับเสา หรือใช้ผูกกับวัตถุ สาหรับผูกให้แน่น ใช้ร้งั ให้ตงึ ไม่หลุดง่าย แต่สามารถแกป้ มไดง้ า่ ย การผูกแน่น หมายถึง การผูกวัตถุให้ติดแน่นเข้าด้วยกัน โดยใช้เชือกหรือ วัสดคุ ลา้ ยเชอื ก ซง่ึ มปี ระโยชนต์ อ่ ลูกเสือเปน็ อย่างมากในการเขา้ คา่ ยพกั แรมหรือเดนิ ทางไกล 4.2 ความสาคัญของเงอื่ นเชือกและการผกู แน่น กจิ กรรมลูกเสือ เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ต้องการให้ลูกเสือรู้จักใช้วัสดุท่ีมีอยู่ตาม ธรรมชาติ เพ่อื การดารงความเปน็ อยูอ่ ยา่ งอสิ ระและพ่งึ พาตนเองให้มากทสี่ ุด การผกู เงอ่ื นเชือก เป็นศาสตร์และศิลป์อย่างหน่ึงที่ลูกเสือจาเป็นต้องเรียนรู้ เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมในการอยู่ค่ายพักแรม การสร้างฐานกิจกรรมผจญภัย การต้ังค่ายพักแรม รวมทัง้ การใช้งานเงอ่ื นในการช่วยผเู้ จบ็ ป่วยได้ 4.3 การผูกเงอ่ื นเชอื กและการผูกแน่น การเรียนรู้เรื่องการผูกเง่ือนเชือกและการผูกแน่น จะต้องจดจา ทาให้ได้ ผิดพลาดไป หลุด หรือขาด ก็จะเป็นอันตรายต่อชีวิตและส่ิงของเสียหาย ขอแนะนาให้ทุกคน ที่ต้องการนาไปใช้ต้องหม่ันฝึกฝน ศึกษาหาความรู้ ผูกให้เป็น นาไปใช้งานให้ได้ถึงคราวจาเป็น จะไดใ้ ช้ให้เกดิ ประโยชน์ วิธกี ารผูกเงือ่ นเชือกแบ่งออกเป็นลักษณะการใช้งานได้ 3 หมวด 10 เงื่อน ดงั นี้ 1. หมวดต่อเชือก สาหรับการต่อเชือกเพ่ือต้องการให้ความยาวของเชือก เพ่ิมขึ้น แต่เนื่องจากเชือกในการกู้ภัยน้ันมีลักษณะและขนาดท่ีแตกต่างกัน จึงจาเป็นต้องมี วิธีการผกู เงื่อนทแี่ ตกตา่ งกนั จานวน 3 เงอ่ื น ดงั นี้ 1.1 เงอ่ื นพิรอด (Reef Knot หรือ Square Knot) 1.2 เง่อื นขัดสมาธิ (Sheet Bend) 1.3 เง่อื นประมง (Fisherman’s Knot) 2. หมวดผูกแน่น ฉุดลาก ร้ัง สาหรับการผูกวัสดุที่ต้องการจะเคล่ือนย้าย หรือยึดตรึงอยู่กับที่ แต่เนื่องจากวัสดุท่ีต้องการจะผูกนั้นมีลักษณะรูปทรงและขนาดท่ีแตกต่างกัน จงึ จาเปน็ ตอ้ งมีวิธีการผกู เงือ่ นท่ีแตกตา่ งกนั จานวน 3 เงื่อน ดังน้ี
97 2.1 เงื่อนผกู ร่น (Sheep Shank) 2.2 เงอื่ นตะกรุดเบ็ด (Clove Hitch) 2.3 เงือ่ นผกู ซงุ (Timber Hitch) 3. หมวดช่วยชีวิต สาหรบั การชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยในกรณีต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับ สถานที่และสถานการณ์ จงึ ตอ้ งมีวธิ กี ารผูกเงื่อนใหเ้ หมาะสมกบั งาน จานวน 4 เงอ่ื น ดงั นี้ 3.1 เงื่อนเก้าอี้ (Fireman’s Chair Knot) 3.2 เงื่อนบว่ งสายธนู (Bowline Bend) 3.3 เง่อื นขโมย (Knot Steal) 3.4 เงอ่ื นบันไดปม (Ladder knot) การผกู เงื่อนเชือก การผูกเง่ือนท่สี าคัญและควรเรียนรู้ มดี ังนี้ เงื่อนพิรอด เป็นเงื่อนสัญลักษณ์ในเครื่องหมายลูกเสือโลก แสดงถึงความเป็น พน่ี อ้ งกนั ของขบวนการลกู เสอื ทว่ั โลก และแทนความสามคั คขี องลกู เสอื มขี ัน้ ตอนการผกู ดงั นี้ ขั้นท่ี 1 ปลายเชอื กด้านซ้ายทับดา้ นขวา ขัน้ ท่ี 2 - 3 ออ้ มปลายเชือกดา้ นซ้ายลงใต้เสน้ เชือกดา้ นขวาให้ปลายเชอื กตัง้ ข้นึ แล้วรวบปลายเชือกเข้าหากนั โดยใหด้ า้ นขวาทบั ด้านซา้ ย
98 ขัน้ ท่ี 4 ย้อมปลายเชอื กขวามือลอดใต้เสน้ ซา้ ยมือ จัดเง่ือนให้เรียบร้อย ประโยชน์ 1) ใชต้ ่อเชอื ก 2 เส้น มขี นาดเทา่ กันเหนียวเทา่ กัน 2) ใช้ผกู ปลายเชือกเส้นเดียวกนั เพอ่ื ผกู มัดหอ่ สง่ิ ของและวตั ถุต่าง ๆ 3) ใช้ผูกเชือกรองเทา้ (ผกู เงื่อนพิรอดกระตกุ ปลาย 2 ขา้ ง) 4) ใช้ผูกโบ ผูกชายผ้าพันแผล (Bandage) ผูกชายผ้าทาสลิงคล้องคอ ใช้ผูก ปลายเชือกกากบาทญี่ปนุ่ 5) ใช้ต่อผ้าเพ่ือให้ได้ความยาวตามต้องการ ควรเป็นผ้าเหนียว ในกรณีที่ไม่มีเชือก เชน่ ต่อผ้าปูทนี่ อน เพ่อื ใชช้ ว่ ยคนในยามฉุกเฉนิ เม่ือเวลาเกดิ เพลิงไหม้ ใช้ช่วยคนท่ีติดอยู่บนที่สูง โดยใชผ้ า้ พนั คอลูกเสอื ต่อกัน เงอ่ื นขัดสมาธิ ขั้นท่ี 1 งอเชือกเส้นใหญ่ใหเ้ ป็นบ่วง สอดปลายเส้นเลก็ เข้าในบว่ งโดยสอดจาก ขา้ งลา่ ง ข้นั ท่ี 2 มว้ นเสน้ เล็กลงออ้ มด้านหลงั เส้นใหญ่ท้งั คู่
99 ขัน้ ท่ี 3 จบั ปลายเส้นเลก็ ข้ึนไปลอดเส้นตัวเองเป็นการขดั ไว้ จดั เงอ่ื นให้แนน่ และ เรียบรอ้ ย ประโยชน์ 1) ใชต้ ่อเชือกที่มีขนาดเดียวกัน หรอื ขนาดตา่ งกัน (เส้นเลก็ พนั ขัดเส้นใหญ่) 2) ใช้ต่อเชือกอ่อนกับเชือกแข็ง (เอาเส้นอ่อนพันขัดเส้นแข็ง) ต่อเชือกท่ีมี ลักษณะคอ่ นขา้ งแข็ง เช่น เถาวลั ย์ 3) ใชต้ ่อด้าย ต่อเส้นด้ายเส้นไหมทอผา้ (Weaver’s Knot) 4) ใช้ผกู กบั ขอ หรือบ่วง (Becket Hitches) 5) ใช้ Bending the Sheet หรือ Controlling Rope ที่ปราศจากมุมของใบเรือ สาหรับเรอื เล็ก ๆ เงื่อนกระหวดั ไม้ ข้นั ที่ 1 อ้อมปลายเชือกไปคลอ้ งหลกั หรือราวหรือบ่วง ใหป้ ลายเชอื กอยู่ขา้ งบน เสน้ เชอื ก ขั้นที่ 2 สอดปลายเชอื กลอดใต้เชือกเขา้ ไป
100 ข้นั ที่ 3 ออ้ มปลายเชือกข้ามเสน้ ทีเ่ ป็นบว่ งและเสน้ ทีเ่ ป็นตวั เชอื ก ข้ันท่ี 4 สอดปลายเชือกลอดใตต้ วั เชือก เลยขา้ มไปเสน้ บว่ งจดั เงือ่ นใหเ้ รยี บรอ้ ย ประโยชน์ 1) ใช้ลา่ มสตั ว์เลยี้ งไวก้ ับหลัก 2) ใช้ผกู เรือแพ 3) เปน็ เงือ่ นผกู ง่ายแกง้ ่าย
101 เงอื่ นบว่ งสายธนู ข้นั ท่ี 1 ขดเชือกใหเ้ ปน็ บว่ งคล้ายเลข 6 ถือไวด้ ว้ ยมือซา้ ย ขน้ั ท่ี 2 มือขวาจับปลายเชือกสอดเข้าไปในบว่ ง (สอดจากดา้ นลา่ ง) ขั้นท่ี 3 จับปลายเชือกอ้อมหลังตัวเลข 6 แล้วสอดปลายลงในบ่วงหัวเลข 6 จัดเงอื่ นให้แนน่ และเรียบร้อย ประโยชน์ 1) ทาบ่วงคล้องกับวัตถุหรือเสาหลัก เช่น ผูกเรือแพไว้กับหลัก ทาให้เรือแพ ขึน้ ลงตามนา้ ได้ 2) ใช้ทาบ่วงผูกสัตว์ เช่น วัว ควาย ไว้กับหลักหรือต้นไม้ ทาให้สัตว์เดินหมุนได้ รอบ ๆ หลกั หรือต้นไม้ เชือกไมพ่ นั หรือรดั คอสัตว์
102 ไปส่ทู ส่ี ูง 3) ใช้แทนเงอื่ นเกา้ อส้ี าหรับให้คนน่ัง หรอื คล้องคนหย่อนลงไปในทีต่ า่ หรือดงึ ขึ้น 4) ใช้คลอ้ งเพอื่ โก่งคนั ธนู 5) ใช้ทาบ่วงต่อเชือกเพื่อการลากโยงของหนกั ๆ หรือใชท้ าบ่วงบาศก์ เง่ือนตะกรดุ เบด็ ขัน้ ท่ี 1 พกั เชือกใหเ้ ปน็ บ่วงสลับกนั รปู ก. ขั้นท่ี 2 เลอ่ื นบ่วงให้เข้าไปซ้อน (รปู ก.) จนทนั กันเป็นบ่วงเดียวกัน (รูป ข.) รปู ข. ขั้นที่ 3 นาบว่ งจากข้ันท่ี 2 ข. สวมลงในเสาแลว้ ดึงปลายเชือกจัดเง่ือนใหแ้ น่น
103 ประโยชน์ 1) ใชผ้ ูกเชือกกบั เสาหรือสิ่งอ่ืน ๆ จะให้ความปลอดภัยมาก ถา้ ผูกกลาง ๆ ของ เชือก ถา้ ใช้ปลายเชือกผกู อาจไมแ่ น่น กระตกุ บอ่ ย ๆ จะหลดุ ปมเชือกจะคลาย 2) ใช้ทาบันไดเชือก บันไดลิง 3) ใชใ้ นการผกู เงอื่ นตา่ ง ๆ ทีผ่ ูกกับหลักหรอื วตั ถุ 4) ใช้ในการผกู เง่ือนกระหวัดไม้ 5) ใชใ้ นการผูกเงอ่ื นแนน่ เชน่ ผูกประกบ ผกู กากบาท 6) ใชใ้ นการผกู ปากถุงขยะ เงื่อนประมง ข้ันที่ 1 ให้ปลายเชอื กซ้อนกนั ดังรูป ข้นั ที่ 2 ผูกปลายเชือก ก. รอบตัวเชือก A ด้วยผกู ขดั ช้นั เดยี วธรรมดา ขน้ั ท่ี 3 ผูกปลายเชือก ข. รอบตวั เชือก B
104 ขน้ั ที่ 4 ดงึ เส้นเชือก A , B ใหป้ มเงื่อนเข้าไปชนกนั ประโยชน์ 1) ใช้ต่อเชือกทมี่ ีขนาดเล็ก (gut) หรอื ด้ายเบ็ด (fishing line) ต่อเอ็น (leader) 2) ใชต้ อ่ เชอื ก 2 เสน้ ทีม่ ขี นาดเดียวกนั 3) ผูกคอขวดแยม ใช้สาหรับเปน็ ทถ่ี อื ห้ิว และผูกคอขวดตา่ ง ๆ ทีป่ ากขวดมขี อบ 4) ใช้ลากจงู ต่อเชือกขนาดใหญใ่ ชล้ ากจูง 5) ใชต้ อ่ เชอื กดา้ ยทอ สายเบ็ด ใช้ตอ่ เชือกกันเปน็ เกลียว 6) ผูกสายไฟทากบั ระเบิด เง่ือนผกู ซุง ขัน้ ท่ี 1 สอดเชอื กใหค้ ล้องรอบตน้ ซงุ หรอื เสา ขนั้ ที่ 2 งอปลายเชอื กคลอ้ งตวั เชอื ก
105 ขน้ั ที่ 3 พันปลายเชือกรอบเส้นตัวเอง 3 - 5 รอบ ดึงตัวเชอื ก A ให้เงอื่ นแน่น ผูกกอ้ นหนิ ประโยชน์ 1) ใช้ผูกกับวัตถุท่อนยาว ๆ เช่น ต้นซุง วัตถุทรงกระบอก เสา เพ่ือการลากโยง 2) ใชเ้ ปน็ เงือ่ นเร่มิ ต้นในการผูกทแยง 3) ใชผ้ ูกล่ามสัตว์ เรือ แพ ไว้กับท่าหรือเสา 4) เปน็ เชือกแก้ง่าย เม่อื เชอื กหย่อน เงอื่ นผูกรั้ง ขั้นท่ี 1 นาเชอื กคล้องกบั หลงั เสาหรอื บ่วง ขน้ั ที่ 2 ใช้ปลายเชือกพันเชอื กเส้นยาว โดยพันปลายเกลียว ประมาณ 3 - 4 เกลียว พนั ลงมาทางด้านเป็นหว่ ง ขั้นที่ 3 ดึงปลายเชือกขึ้นไปด้านบน แล้วพันกับเชือกเส้นยาวด้านบนเพ่ือกัน ไมใ่ ห้เกลียวเชอื กหลุด ประโยชน์ 1) ใช้ผูกสายเตน็ ท์ ยดึ เสาธงเพื่อกนั ล้ม ใช้รั้งตน้ ไม้ 2) เป็นเงื่อนเลือ่ นใหต้ ึงและหย่อนตามต้องการได้
106 เงอื่ นปมตาไก่ วิธีผูก เอาตัวเชือกทาเป็นบ่วงทับปลาย แล้วอ้อมเชือก a อ้อมออกมาทับบ่วง สอดปลาย เข้าในบ่วง ดงึ ปลาย a จะเกดิ ปม ประโยชน์ 1) ใชผ้ ูกปลายเชอื กให้เปน็ ปม ถา้ ตอ้ งการปมใหญ่ ให้ขมวดหลายคร้ัง 2) ใชผ้ กู แทนการพันหวั เชือกชว่ั คราว การผกู แน่น มี 3 ประเภท คอื 1. ผกู ประกบ 2. ผกู ทแยง 3. ผูกกากบาท การผูกประกบ มหี ลายชนิด เช่น ผกู ประกบสอง ผูกประกบสาม ผกู ประกบส่ี ผกู ประกบ 2 ใชส้ าหรบั ตอ่ ไม้ หรือเสา 2 ตน้ เข้าดว้ ยกนั
107 โดยเอาไม้ท่ีจะต่อมาวางซ้อนขนานกันตรง ปลายท่ีจะต่อ การวางซ้อนต้องซ้อนกันประมาณ 1 ของ 4 ความยาวของไม้หรือเสา เอาเชือกผูกตะกรุดเบ็ดกับไม้ ท่ีเป็นหลัก หรืออันใดอันหน่ึง แล้วเอาปลายเชือกบิด พันกัน(แต่งงานกัน) แล้วพันรอบไม้ทั้ง 2 อัน ให้เชือก เรียงกัน ความหนาของเชือกที่พันมีขนาดกว้างเท่ากับ ความกว้างของไม้ 2 อันรวมกัน เอาปลายเชือกพัน หักคอไก่ (พันรอบเส้นเชือกระหว่างไม้ 2 - 3 รอบ ดงึ ให้แน่น แล้วผกู ตะกรดุ เบ็ดบนไมท้ ี่ตอ่ หรอื บนต้นไม้ อีกต้นหนงึ่ ทไี่ ม่ใชอ่ ันเรม่ิ ตน้ ผกู ) ประโยชน์ 1) ใช้ตอ่ ไม้หลาย ๆ ท่อนเข้าด้วยกันใหย้ าว หรอื ใช้มัดไมเ้ ขา้ ดว้ ยกัน 2) ตอ่ ความยาวของไม้เพ่อื งานกอ่ สรา้ ง ผกู ประกบ 3 มี 3 วิธี วิธีที่ 1 ผูกตะกรุดเบ็ดทเ่ี สาอนั กลาง เอาปลายเชอื กบดิ คว่นั เขา้ ดว้ ยกันแลว้ พนั รอบเสา ท้ัง 3 ตน้ ใหพ้ นั รอบเสาหรอื หลกั มคี วามกวา้ งของเชือกพันอยา่ งนอ้ ยเท่ากบั เส้นผ่าศูนยก์ ลาง ของเสาหรือหลกั แลว้ ลงท้ายดว้ ยผกู ตะกรุดเบ็ดที่เสาอนั ริม ก่อนผกู ตะกรดุ เบด็ หักคอไก่ รดั เชือกระหวา่ งเสาหรอื ไม้หลักใหแ้ นน่ เสียกอ่ น วิธีท่ี 2 โดยวิธีพันรอบเสาสลับเป็นเลข 8 โดยเร่ิมผูกตะกรุดเบ็ดท่ีเสาต้นริมใด ริมหน่ึง แล้วเอาปลายเชือกพันแต่งงานกัน โดยเอาเชือกพันรอบสามท้ัง 3 ต้น เม่ือพันได้กว้างพอ หักคอไกร่ ะหว่างเสา รัดจนแน่นดีแล้ว จึงผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดท่ีหลักต้นริมอีกต้นหน่ึงคนละด้าน กบั ต้นแรก
108 ประโยชนข์ องผูกประกบ 1) ใชต้ อ่ เสา หรือต่อไม้ให้ยาว 2) ทาเสาธงลอย 3) ตอ่ ประกอบ 3 เพ่อื ทาขาต้งั ผูกประกบสามแบบพันหวั เชือก (Sailmaker’s Lashing) ผกู ประกบสามแบบพนั หัวเชอื กกนั ลยุ่ จะผูกประกบ 4 ได้ วิธีที่ 3 ประโยชน์ 1) ทาขาตัง้ วางอา่ งน้าล้างมือล้างหนา้ 2) ใช้ทาสามเสา้ ในงานก่อสร้าง
109 ผูกทแยง วธิ ีผกู เอาเชือกพันรอบไม้เสาท้ัง 2 ต้น ตรงระหว่างมุมตรงข้ามด้วยเง่ือนผูกซุง เอาปลาย เชือกบิดพันกับตัวเชือกแล้วพันรอบไม้เสาท้ัง 2 ต้น ตามมุมทแยงน้ัน (มุมตรงข้ามคู่แรก) 3 รอบ แล้วพันเปล่ียนมุมตรงข้ามคู่ท่ี 2 อีก 3 รอบ แล้วพันหักคอไก่ (พันรอบเชือกระหว่าง ไม้เสา) สัก 2 - 3 รอบ แล้วเอาปลายเชือกผูกตะกรุดเบ็ดที่ไม้เสาต้นใดต้นหน่ึง เก็บปลายเชือก ผกู ตะกรุดทไ่ี มเ้ สาตน้ ใดต้นหน่งึ เกบ็ ปลายเชอื กใหเ้ รียบร้อย ประโยชน์ 1) ใช้ในงานก่อสรา้ ง 2) ใช้ผกู เสาหรือไม้ค้ายนั เพื่อป้องกันเสาลม้ ผกู ทแยงฟลิ ิปปนิ ส์ (Filipino Diagonal Lashing)
110 ชาวเกาะฟิลปิ ปินสน์ ิยมผูกวิธนี ้ี ใช้ก่อสรา้ งทอ่ี ยอู่ าศัยตามปา่ ชนบทไกล ๆ บา้ นเรอื น มกั ทาดว้ ยไมไ้ ผ่ วิธีผูก ใช้เชือกทบ 2 เอาบ่วงพันรอบหลักทั้ง 2 ตรงมุมตรงข้ามคู่แรก (คู่ใดคู่หน่ึง) เอาเชือกสอดเขา้ ในบ่วง (ดังรปู ที่ 1) จบั ตัวเชอื กดึงให้เชือกรัดไม้ท้ัง 2 ให้แน่น แล้วดึงเชือกย้อน บ่วงพันรอบมุมตรงข้าม 2 รอบ (เส้นคู่) แล้วเปลี่ยนพันมุมตรงข้ามคู่ 2 อีก 2 รอบ แยกปลาย เชือกออกพนั หกั คอไก่ 2 รอบ ดงึ ใหแ้ น่น เอาปลายเชอื กผกู เงอื่ นพริ อด ประโยชน์ เช่นเดยี วกับผูกทแยงอ่นื ๆ ผกู กากบาท วิธีผกู เร่ิมผูกตะกรุดเบ็ดท่ีไม้อันตั้ง (รูปท่ี 1) หรือจะผูกอันขวางก่อนก็ได้ เอาปลาย เชือกที่ผูกตะกรุดเบ็ด บิดไขว้กับตัวเชือก แล้วดึงเชือกพันอ้อมใต้ไม้อันขวางทางซ้าย (ขวาก็ได้) ของไม้อันตั้ง อ้อมไปทางหลังไม้อันขวาง ดึงเชือกขึ้นข้างบนทางซ้ายของไม้อันตั้ง ดึงเชือกอ้อมมา ทางด้านหน้าไม้อันตั้งไปทางขวาบนของไม้อันขวาง แล้วอ้อมเชือกไปทางด้านหลังไม้อันขวาง ดึงเชือกลงใต้ไม้อันขวางทางขวาไม้อันต้ัง ดึงออกมาทางด้านหน้าไม้อันตั้งพันอ้อมมาทางซ้าย
111 แล้วเร่ิมพันจากซ้ายไปใหม่ ทุกรอบท่ีพันต้องเรียงเชือกให้เรียบร้อย พันเชือกวนไปสัก 3 รอบ แล้วหักคอไก่ 2 - 3 รอบ เอาปลายเชือกผูกตะกรุดเบ็ดท่ีไม้อันขวาง (ผูกตะกรุดเบ็ดคนละอันกับ ขนึ้ ตน้ ผกู ) ประโยชน์ 1. ใชใ้ นการกอ่ สรา้ ง ทานั่งรา้ นทาสีอาคาร 2. ใช้ในงานสรา้ งค่ายพกั แรม อปุ กรณ์การพักแรม การผูกกากบาทแบบกลิ เวลล์ (Gelwell Scaffold Lashing) การผกู กากบาทแบบกลิ เวลล์ วิธผี ูกเชน่ เดยี วกบั ผกู กากบาท แตต่ อ้ งพันหักคอไก่ ทุกรอบที่พัน พันและหกั คอไก่ประมาณ 3 รอบ แล้วจบลงดว้ ยผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดเช่นเดยี วกัน ประโยชน์ 1) ใช้ในการก่อสร้างน่ังร้าน 2) ใชใ้ นการสรา้ งค่ายพกั แรม 3) สรา้ งรั้ว ทาคอกสัตว์ กากบาทญ่ีปุ่น
112 เป็นวิธีผูกกากบาทอีกวิธีหน่ึง เช่นเดียวกับกากบาทของ Thurman แต่ผูกได้ไวกว่า จึงตง้ั ชือ่ ตามสถานท่อี บรมลกู เสือ วิธีผูก เอาเชือกท่ีจะผูกทบเข้าด้วยกัน คล้องเสาต้นต้ัง (ดังรูป 1) ดึงปลายเชือก ที่ทบกัน พันพาดบนเสาตน้ ขวางทางด้านบนซ้าย ดึงอ้อมลงมาให้เสาอันขวางทางซ้ายของอันต้ัง ดึงอ้อมขึ้นด้านหน้าเสาอันตั้ง ทาเช่นเดียวกัน Square Lashing แต่พันพร้อมกันทีละ 2 ชาย เมือ่ พนั ได้ความกว้างตามตอ้ งการแลว้ แยกปลายเชอื กออกจากกัน หักคอไก่ 2 - 3 รอบ ผูกด้วย เง่อื นพิรอด (ดงั รูป 6,7) ประโยชน์ 1) ใช้ในการกอ่ สรา้ ง 2) ทาร้านทาสี 3) สร้างค่ายพักแรม ทาคอกสตั ว์ กากบาทขันชะเนาะ (Tourniquet Lashing) เรียกว่า กากบาทไทย ก็ได้ เพราะการทาน่ังร้านหรือผูกมัด ไทยเรานิยมทาแบบนี้ เพราะรวดเร็ว และแกไ้ ดไ้ ว วิธที า วางไม้ทาบเป็นมุมฉาก เช่นเดียวกับผูกกากบาท เอาเชือกทาเป็นบ่วงคล้อง ทแยงมุมกัน เอาไม้เล็ก ๆ แข็งและเหนียวสอดเข้าไปในบ่วง แล้วหมุนไม้อันเล็ก ขันเชือกให้บิด เป็นเกลียวแบบขันชะเนาะจนเชือกรัดไม้ท้ัง 2 อันแน่น หมุนไม้อันเล็กท่ีขันชะเนาะให้ทาบ ขนานกบั ไมอ้ ันตงั้ หรืออนั ขวางกไ็ ด้ แลว้ เอาเชือกเลก็ ๆ มดั ตดิ กับไม้เสาอนั ใดอันหนึง่
113 ประโยชน์ 1) ใชท้ าน่ังร้าน ในงานก่อสรา้ ง ทาสี 2) ใชส้ ร้างค่ายพักชว่ั คราว วธิ ีการเกบ็ เชอื ก มีข้นั ตอนการปฏบิ ัติ ดงั นี้ ขั้นท่ี 1 แบ่งเชือกออกเป็น 8 ส่วน ใช้มือซ้ายจับ เชือกแล้วทบเชือก 3 ครั้ง โดยแต่ละครั้งให้เชือกยาวเท่ากับ 1 ใน 8 ส่วน เชอื กทเี่ หลอื อีก 5 ใน 8 สว่ น ปลอ่ ยไว้สาหรับพนั ขั้นท่ี 2 เอาเชือกท่ีเหลือ 5 ใน 8 ส่วน พันรอบ เชือกทที่ บไว้ โดยเรมิ่ พันถัดจากปลายบ่วง (ข) เข้ามาประมาณ 1 น้ิว เมอ่ื พนั จบเหลือปลายเชอื กใหส้ อดปลายเชือกนน้ั เข้าในบว่ ง ขั้นที่ 3 ดึงบ่วง (ข) เพื่อรั้งบ่วง (ก) ให้รัดปลาย เชือกที่สอดไว้จนแน่นเปน็ อันเสร็จ การรักษาเชอื ก มแี นวทางในการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1) ระวงั รกั ษาเชือกใหแ้ หง้ เสมอ อย่าใหเ้ ปยี กชื้น เพอ่ื ป้องกันเชอ้ื รา 2) การเก็บเชือก ควรขดเก็บเป็นวง มัดให้เรียบร้อย เก็บให้ห่างไกลจากมด แมลง หนู หรอื สตั ว์อืน่ ๆ และควรแขวนไว้ ไมค่ วรวางไว้กบั พน้ื 3) อย่าใหเ้ ชือกผกู รง้ั เหนี่ยว ยึดหรอื ลาก ฉดุ ของหนักเกนิ กาลงั เชือก 4) ขณะใช้งาน อยา่ ใหเ้ ชอื กลากครดู หรือเสียดสีกับของแข็ง จะทาให้เกลียวของ เชอื กสกึ กร่อนและขาดง่าย 5) ก่อนเอาเชือกผูกมัดกับต้นไม้ ก่ิงไม้หรือของแข็ง ควรเอากระสอบพันรอบ ต้นไมห้ รือกง่ิ ไมก้ อ่ น และเชือกทใี่ ช้งานเสร็จแลว้ จะต้องระวงั รักษา ดงั นี้ (1) เชือกท่ีเลอะโคลนเลนหรือถูกน้าเค็ม เม่ือเสร็จงานแล้ว ต้องชาระล้าง ดว้ ยน้าจดื ใหส้ ะอาด แลว้ ผ่งึ ใหแ้ หง้ ขดมัดเกบ็ ไว้กับขอหรอื บนทแี่ ขวน (2) เชือกลวดเมื่อเสร็จงาน ต้องรีบทาความสะอาด ล้างด้วยน้าจืด เช็ดให้แห้ง แลว้ ผ่ึงแดดจนแห้งสนทิ แล้วเอานา้ มันจาระบี หรือยากนั สนมิ ชโลมทาให้ทั่ว จงึ เกบ็ ใหเ้ รียบรอ้ ย (3) ปลายเชือกทถ่ี ูกตัด จะต้องเอาเชอื กเล็ก ๆ พนั หัวเชือกเพื่อปอ้ งกันเชอื ก คลายเกลียว กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 4 เงื่อนเชือก และการผกู แน่น (ให้ผ้เู รียนไปทากิจกรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 4 ที่สมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา)
114 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 10 ความปลอดภยั ในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลูกเสือ สาระสาคญั ลูกเสือมีหลากหลายกิจกรรม ทั้งกิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมผจญภัย กิจกรรม บุกเบิก การสร้างส่ิงต่าง ๆ สาหรับการปีน การข้าม และต้องใช้ท้ังกาลังกาย กาลังความคิด เพื่อแก้ปัญหา และตัดสินใจ เพ่ือให้ตนเองและผู้ท่ีจะตามมาภายหลังมีความสะดวก สบาย และปลอดภยั ลูกเสือ กศน. ควรฝึกทักษะที่จาเป็นในการป้องกันภัยอันตรายที่จะเกิดข้ึน ต่อตนเองและผู้อื่น ทั้งน้ี รวมถึงการสร้างความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในลักษณะ ของการเตรียมความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ การต้ังสติ และการติดต่อหาความช่วยเหลือ จากบุคคลอ่นื ทมี่ ีความสามารถ เชน่ หน่วยกู้ชพี หรือหนว่ ยแพทยฉ์ ุกเฉนิ ตัวชว้ี ัด 1. บอกความหมาย และความสาคัญของความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วม กจิ กรรมลูกเสือ 2. บอกหลกั การ วิธกี ารเฝา้ ระวังเบื้องต้นในการเข้าร่วมกจิ กรรมลกู เสือ 3. อธบิ ายสถานการณ์หรือโอกาสท่จี ะเกดิ ความไมป่ ลอดภัยในการเขา้ ร่วม กจิ กรรมลูกเสือ ขอบขา่ ยเนือ้ หา เรอ่ื งท่ี 1 ความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลกู เสอื 1.1 ความหมายของความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลกู เสอื 1.2 ความสาคญั ของความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสือ เรอ่ื งท่ี 2 หลกั การ วิธีการในการเฝ้าระวังเบื้องตน้ ในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ เร่อื งที่ 3 การช่วยเหลอื เมอ่ื เกิดเหตุความไมป่ ลอดภัยในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ลกู เสอื เร่อื งที่ 4 การปฏิบตั ิตนตามหลักความปลอดภัย
115 เวลาทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษา 6 ชว่ั โมง ส่อื การเรียนรู้ 1. ชุดวิชาลูกเสือ กศน. รหสั รายวชิ า สค22021 2. สมดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรียนร้ปู ระกอบชุดวิชา 3. สอื่ เสรมิ การเรยี นรู้อ่ืน ๆ
116 เร่อื งท่ี 1 ความปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมลกู เสอื 1.1 ความหมายของความปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมลกู เสือ ความปลอดภัย หมายถึง การท่ีร่างกายปราศจากอุบัติภัย อยู่ในสภาวะท่ี ปราศจากอันตราย หรือสภาวะท่ีปราศจากการบาดเจ็บ เจ็บปวด เจ็บป่วย จะมากหรือน้อย ข้นึ อย่กู ับการปฏิบัติหรือการกระทาของตนเอง 1.2 ความสาคัญของความปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลกู เสือ ความปลอดภยั ช่วยใหเ้ กิดความระมัดระวังในการป้องกนั ตนเอง และผู้อืน่ ใหพ้ ้น จากภัยอันตราย หรือการเสียชีวิต โดยการให้คาแนะนาในการใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ และสิ่งอานวย ความสะดวกต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ และปลอดภยั กิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 1 ความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสอื (ให้ผ้เู รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 1 ท่สี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วชิ า) เรอ่ื งที่ 2 หลกั การ วิธีการในการเฝา้ ระวังเบอื้ งต้นในการเข้าร่วมกจิ กรรมลกู เสือ ลูกเสือตอ้ งตระหนักในความสาคญั และมีจิตสานึกต่อความปลอดภัยในการร่วม กิจกรรมทอี่ าจเกิดอุบัตเิ หตุ เนื่องจาก 1. ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการร่วมกิจกรรมนั้น ๆ ลูกเสือต้องทาความเข้าใจ ในกฎ กติกา ของกิจกรรมนัน้ ๆ อย่างถ่องแท้ และปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครดั 2. ขาดประสบการณ์ และขาดความชานาญ ลูกเสือต้องขวนขวายในการหา ประสบการณ์ และความรู้ ทักษะท่ีจาเปน็ ตอ่ การร่วมกจิ กรรมนน้ั ๆ 3.ขาดความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจ ลูกเสือต้องเตรียมความพร้อม ทางด้านร่างกายและจิตใจกอ่ น 4. ขาดการตรวจสอบความสมบรู ณ์ ความแขง็ แรงของอุปกรณ์ท่ีใช้ในแต่ละกิจกรรม ลกู เสอื ตอ้ งตรวจสอบอุปกรณ์ที่ใชใ้ นแตล่ ะกิจกรรมใหม้ ีสภาพแข็งแรง พร้อมใชง้ านอยเู่ สมอ การเฝ้าระวังเบ้ืองต้นในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ เป็นการฝึกตนเองของ ลูกเสือให้ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ และภัยอันตรายต่าง ๆ เป็นวิธีการในการเตรียมความพร้อม ของลกู เสอื ทงั้ ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ ดังน้ี ด้านร่างกาย ลูกเสือต้องเตรียมร่างกายให้พร้อม โดยออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และหาเวลาพักผ่อนใหเ้ พียงพอ เพอ่ื สุขภาพและรา่ งกายจะไดแ้ ข็งแรงอย่ตู ลอดเวลา
117 ด้านจิตใจ ลูกเสือต้องทาจิตใจให้สบาย ๆ สร้างความรู้สึกท่ีสนุกสนานกับกิจกรรม ตา่ ง ๆ มีความร่าเรงิ พร้อมรับการฝึกฝน ปฏิบัติด้วยตนเอง หรือช่วยผู้อื่น หาวิธีหลีกเล่ียงอุบัติเหตุ อันจะเกิดข้นึ ได้ในขณะปฏบิ ัตกิ ิจกรรมลกู เสอื กิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 2 หลกั การ วิธกี ารเฝ้าระวงั เบ้ืองต้นในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลกู เสือ (ให้ผู้เรียนไปทากิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 2 ทีส่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องที่ 3 การช่วยเหลอื เมอ่ื เกดิ เหตุความไม่ปลอดภยั ในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสอื การเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสอื อาจมีความไม่ปลอดภัยในด้านร่างกายข้ึนได้ ลูกเสือ จงึ มีความจาเปน็ ต้องเรียนรู้ถึงสาเหตุท่ที าใหเ้ กดิ ความไม่ปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ และวิธกี ารสรา้ งความปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลกู เสอื ดังน้ี 1. สาเหตุที่ทาใหเ้ กิดความไม่ปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรม มี 3 ประการ คอื 1.1 สาเหตทุ ่ีเกิดจากมนษุ ย์ มีดังนี้ 1) ผู้ปฏิบัติกิจกรรม มีความประมาทโดยคิดว่าไม่เป็นไร ลองผิดลองถูก หรือรู้เท่าไมถ่ งึ การณ์ 2) ผูป้ ฏิบัติกิจกรรม มีความเชื่อใจ ไว้วางใจผู้ใดผู้หนึ่งท่ีได้รับมอบหมาย ให้ดาเนนิ การ และไมม่ กี ารตรวจสอบก่อน จงึ อาจทาให้มขี ้อผดิ พลาดได้ 3) ผู้ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมมีสขุ ภาพไม่แข็งแรง หรือมีโรคประจาตัว แต่เข้าร่วม กจิ กรรมบางอยา่ งทอี่ าจทาใหเ้ กิดอบุ ัตเิ หตุได้ 4) ผูป้ ฏบิ ตั ิกิจกรรมแตง่ กายไม่เหมาะสมในการเขา้ รว่ มบางกจิ กรรม 5) ผู้ปฏิบัติกิจกรรมขาดการประเมินตนเอง หรือบางครั้งประเมินตนเอง ผิดพลาด โดยคิดว่าตนเองสามารถปฏิบัติกิจกรรมน้ันได้ และบางคร้ังผู้ปฏิบัติเกิดความคึกคะนอง กล่ันแกลง้ และหยอกลอ้ กัน 6) ผปู้ ฏิบัตกิ ิจกรรม ขาดระเบยี บวินัย ไมเ่ ช่ือฟังผบู้ ังคับบญั ชา 1.2 สาเหตุที่เกดิ จากเครือ่ งมอื หรืออุปกรณ์ มีดงั นี้ 1) ขาดเคร่ืองมือ และอุปกรณ์ในการช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุความไม่ ปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมท่ีเหมาะสม หรืออุปกรณ์บางชนิดเสื่อมสภาพไม่เหมาะที่จะ นามาใช้งาน
118 2) ขาดความรู้ในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์แต่ละประเภท หรือใช้ เครอ่ื งมือ และอปุ กรณ์ที่ใชผ้ ดิ ประเภท 3) ขาดทักษะ ความชานาญ ในการใชเ้ คร่ืองมือ และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ 4) ขาดการตรวจสอบความสมบรู ณ์ ความแข็งแรงของอุปกรณใ์ นฐาน โดยละเอียด และขาดการบารุงรกั ษาทเี่ หมาะสม 1.3 สาเหตุทเ่ี กิดจากภยั ธรรมชาติ มดี ังนี้ 1) ภัยทางน้า อาจเกิดความไม่ปลอดภัยในขณะท่ีปฏิบัติกิจกรรมได้ เช่น นา้ หลาก น้าไหลเช่ยี ว เปน็ ต้น 2) ภัยทางบก อาจเกิดความไม่ปลอดภัยในขณะปฏิบัติกิจกรรมได้ เช่น การสรา้ งสะพานดว้ ยเชอื กทไี่ ปผกู กบั ต้นไม้ ทาให้ตน้ ไม้อาจหกั เป็นตน้ 3) ภยั ทางอากาศ อาจเกิดความไม่ปลอดภัยขณะปฏิบัติกิจกรรมได้ เช่น เกดิ มีพายุ ลมแรง เปน็ ต้น 2. การสร้างความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ คือ วิธีการป้องกัน กอ่ นจดั สร้างอุปกรณ์ และก่อนเข้าร่วมกิจกรรม โดยมีอุปกรณ์ป้องกัน หรือสร้างอุปกรณ์ท่ีใช้ใน กิจกรรมให้ปลอดภัย โดยให้ความรู้ มีมาตรการบังคับ ควบคุมการใช้อุปกรณ์ให้ถูกกับกิจกรรม จะช่วยสร้างความปลอดภัยให้กับลูกเสือในการปฏิบัติกิจกรรม เช่น กิจกรรมบุกเบิก กิจกรรม ผจญภยั และกิจกรรมเดนิ ทางไกล ดงั น้ี 2.1 กิจกรรมบุกเบิก 1) ลกู เสอื ต้องเตรียมความพร้อมทางรา่ งกายและจติ ใจ 2) ลูกเสือต้องมีระเบียบวินัย เชื่อฟังและปฏิบัติตามคาแนะนาของ ผ้กู ากับลกู เสอื 3) ลูกเสอื ต้องตรวจเชค็ อปุ กรณ์ในฐานบกุ เบกิ อย่างสม่าเสมอ 4) ลูกเสอื ตอ้ ง ไมก่ ลน่ั แกล้งเพ่อื นขณะทากิจกรรม 5) ลกู เสอื ตอ้ งเตรยี มพรอ้ มทางด้านความรู้ ศึกษากิจกรรม และทาความ เขา้ ใจกอ่ นเข้ารว่ มกจิ กรรม 2.2 กจิ กรรมผจญภัย 1) ลกู เสือตอ้ งการเตรยี มความพร้อมทางร่างกายและจติ ใจ 2) ลูกเสือต้องมีระเบียบวินัย เชื่อฟังและปฏิบัติตามคาแนะนาของ ผู้กากับลูกเสอื
119 3) ลกู เสือต้องตรวจเช็คอุปกรณ์ในฐานบกุ เบกิ อยา่ งสม่าเสมอ 4) ลูกเสอื ตอ้ งไม่กลนั่ แกลง้ เพอ่ื นขณะทากิจกรรม 5) ลกู เสือต้องเตรยี มพรอ้ มทางดา้ นความรู้ ศกึ ษากจิ กรรม และทาความเข้าใจ ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม 2.3 กจิ กรรมเดนิ ทางไกล 1) ก่อนที่จะกาหนดเส้นทางการเดินทางไกล ลูกเสือต้องสารวจเส้นทาง หากจาเป็นต้องขออนุญาต ควรขอจากเจ้าของสถานที่น้ัน ๆ และศึกษาประเพณีวัฒนธรรมใน ทอ้ งถ่ินนนั้ ตามสมควร 2) ในการกาหนดเส้นทางเดิน ลูกเสือควรเล่ียงการเดินตามถนนใหญ่ท่ีมี การจราจรคบั ค่ัง เพื่อปอ้ งกันการเกิดอุบัตเิ หตุ 3) ในระหว่างการเดินทางไกล ลูกเสือไม่ควรแข่งขันหรือแทรกกันเดิน ระหวา่ งหมู่ 4) ในระหว่างการเดินทางไกล ลูกเสือควรออกเดินทางเป็นหมู่ และต้อง ปฏิบัตติ ามกฎระเบยี บของลูกเสือ และกฎจราจรอย่างเคร่งครัด เพ่ือความปลอดภัย กจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 3 การชว่ ยเหลอื เมอ่ื เกดิ เหตคุ วามไมป่ ลอดภยั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรม (ใหผ้ ู้เรียนไปทากิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 3 ทีส่ มุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวิชา) เร่อื งท่ี 4 การปฏิบตั ติ นตามหลักความปลอดภยั ลกู เสอื ต้องปฏิบัติตนตามหลักความปลอดภัย ดังน้ี ด้านร่างกาย ต้องเตรียมความพร้อมของร่างกาย การออกกาลังกาย รักษาร่างกาย ไมใ่ ห้เจบ็ ป่วย พรอ้ มปฏบิ ัติกิจกรรมต่าง ๆ ได้ ด้านจิตใจ ควรศึกษาหาความรู้ในกิจกรรมลูกเสือโดยเฉพาะลูกเสือ กศน.เป็นการ เตรยี มความพรอ้ มดา้ นหนงึ่ ในการปฏิบตั ิตนเองและพร้อมชว่ ยเหลือผ้อู นื่ ไดต้ ามความเหมาะสม ลูกเสือต้องทาความเข้าใจในความหมายของคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ เพ่ือนามาใช้ในการอยู่ร่วมกันท้ังเวลาพบกลุ่มและการเข้าค่ายพักแรมร่วมกัน วิเคราะห์ สถานการณ์ความปลอดภัย ความไม่ปลอดภัยและความเสี่ยง วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย และนา ขอ้ บกพรอ่ งหรือชอ่ งทางท่จี ะป้องกันไว้เบอื้ งตน้ เป็นมาตรการในการอยู่ร่วมกันและการเข้าร่วม กจิ กรรม ดงั นี้
120 1. นาขอ้ มลู จากการวเิ คราะหจ์ ากกฎของลกู เสือ มาระดมพลงั สมองเปรียบเทียบ กับฐานการเรียนรู้และฐานกิจกรรมท่ีสร้างข้ึนในค่ายพักแรม และสรุปความเส่ียงเพ่ือป้องกัน ไม่ให้เกดิ เหตหุ รือภัยต่าง ๆ ไวล้ ่วงหน้า 2. นาเสนอผลการจัดทามาตรการในการอยู่ร่วมกัน ท้ังการพบกลุ่มและการอยู่ คา่ ยพักแรม เพอื่ กาหนดมาตรการให้ใช้ร่วมกันอย่างเหมาะสม 3. ทดลองนาข้อบกพร่องของกระบวนการผลิตท่ีมีความเสี่ยงในการปฏิบัติ มานาเสนอและแสดงบทบาทสมมุติ (Role play) เพื่อฝึกปฏิบัติ เป็นการเตรียมความพร้อม เพอ่ื เตรยี มการก่อนผลิตส่ือหรือสร้างค่ายกจิ กรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 4 การปฏบิ ตั ติ นตามหลักความปลอดภยั (ให้ผู้เรียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 4 ทสี่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวชิ า)
121 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 11 การปฐมพยาบาล สาระสาคญั การปฐมพยาบาล เป็นการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ หรือผู้ท่ีได้รับ บาดเจ็บเบื้องต้น โดยใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่พึงหาได้ในบริเวณนั้น เพ่ือช่วยบรรเทาอาการ และ ช่วยให้ผู้บาดเจ็บได้รับอันตรายน้อยลง ก่อนนาส่งโรงพยาบาล เพื่อรับการรักษาในโอกาสต่อไป ดังนั้น ผู้ให้การช่วยเหลือต้องมีความรู้ ความสามารถ ให้การช่วยเหลือ เพ่ือป้องกันการเกิด ภาวะแทรกซ้อน หรือเกิดอาการทรดุ ลงถงึ ขั้นอันตรายถึงแก่ชีวิต การปฐมพยาบาลผู้ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ ทางน้า ตกจากท่ีสูง หกล้ม ท่ีมีอาการกระดูกหัก ข้อเคล็ด ข้อเคล่ือน ผู้ให้การช่วยเหลือควรมีความรู้ ความสามารถ เก่ยี วกบั การเขา้ เฝือก มดั เฝอื ก การพันด้วยผา้ การใช้ผ้าสามเหลี่ยม และการเคลือ่ นยา้ ยผ้ปู ่วย การปฐมพยาบาล ผู้มีภาวการณ์เป็นลม ลมชัก ลมแดด หรือ หมดสติ ผู้ให้ การช่วยเหลือ ควรมีความรู้ ความสามารถ เกี่ยวกับการประเมินอาการเบื้องต้น หรือตัดสินใจ ใชว้ ธิ ีการช่วยชวี ิตข้ันพ้ืนฐานอย่างถูกวิธี ถูกต้อง และรวดเร็ว เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน หรือเกดิ อาการทรดุ ลงถึงขัน้ อนั ตรายถงึ แก่ชวี ติ ตัวช้วี ัด 1. อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของการปฐมพยาบาล 2. อธิบายวิธกี ารปฐมพยาบาลกรณตี า่ ง ๆ อยา่ งนอ้ ย 3 วิธี 3. อธบิ ายการวัดสญั ญาณชพี และการประเมนิ เบ้ืองตน้ 4. สาธิตวธิ ีการช่วยชีวิตขน้ั พนื้ ฐาน ขอบข่ายเน้อื หา เรอ่ื งที่ 1 การปฐมพยาบาล 1.1 ความหมายของการปฐมพยาบาล 1.2 ความสาคัญของการปฐมพยาบาล 1.3 หลักการของการปฐมพยาบาล
122 เรอื่ งที่ 2 วธิ กี ารปฐมพยาบาลกรณีต่าง ๆ 2.1 อุบตั ิเหตุ 2.2 ภาวะการเจบ็ ปว่ ยโดยปัจจบุ นั 2.3 พษิ แมลงสัตว์กัดต่อย 2.4 ถกู ทารา้ ย เรื่องท่ี 3 การวัดสญั ญาณชีพและการประเมินเบ้อื งต้น 3.1 การวัดสญั ญาณชพี 3.2 การประเมนิ เบือ้ งตน้ เรื่องที่ 4 วิธกี ารชว่ ยชวี ติ ข้ันพืน้ ฐาน เวลาทใี่ ช้ในการศกึ ษา 12 ชวั่ โมง ส่อื การเรียนรู้ 1. ชดุ วชิ าลกู เสือ กศน. รหสั รายวิชา สค22021 2. สมุดบันทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู้ ระกอบชดุ วชิ า 3. สอื่ เสริมการเรยี นรูอ้ ื่น ๆ
123 เร่ืองท่ี 1 การปฐมพยาบาล 1.1 ความหมายของการปฐมพยาบาล การบาดเจ็บหรือเกดิ การเจ็บป่วย ยอ่ มเกิดขนึ้ ไดท้ ุกเวลา โดยเฉพาะอุบตั เิ หตุ การชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั ถา้ ผู้ใหก้ ารช่วยเหลือรหู้ ลักการ First Aid หรอื ทเี่ รียกวา่ การปฐมพยาบาล สามารถช่วยชีวิตผู้ป่วย ช่วยบรรเทาความเจ็บปวด ป้องกันอาการของโรคทรุดลง ป้องกันไม่ให้ เกิดความพกิ าร หรอื โรคแทรกซ้อนตามมา การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเบื้องต้น โดยใช้ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ท่ีพอจะหาได้ในบริเวณนั้น เพื่อช่วยบรรเทาอาการและช่วยให้ผู้บาดเจ็บ ไดร้ ับอนั ตรายนอ้ ยลงก่อนจะส่งโรงพยาบาล เพอื่ ให้แพทย์ทาการรกั ษา 1.2 ความสาคญั ของการปฐมพยาบาล ในช่วงชีวติ ของมนษุ ย์ทุกคน อาจมีช่วงที่ได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยได้ทุกเวลา และสถานท่ี โดยเฉพาะอุบัติเหตุ การปฐมพยาบาลต้องกระทาอย่างรวดเร็วและถูกต้อง ดังน้ัน จึงไม่จาเป็นว่าผู้ให้การปฐมพยาบาลจะต้องเป็นแพทย์หรือพยาบาลเท่าน้ัน เมื่อมีการบาดเจ็บ เกิดขึน้ ผู้ให้การช่วยเหลอื สามารถใหก้ ารช่วยเหลอื เพื่อบรรเทาความเจบ็ ป่วย ความสาคญั ของการปฐมพยาบาล มดี งั นี้ 1. เพอื่ ช่วยเหลอื ผบู้ าดเจบ็ 2. เพื่อป้องกนั และลดความพิการที่อาจจะเกิดข้นึ 3. เพอื่ บรรเทาความเจ็บปวดและปอ้ งกันอนั ตราย 1.3 หลกั การของการปฐมพยาบาล 1) การมอง สารวจความปลอดภัย รวมทั้งสารวจระบบสาคัญของร่างกาย อยา่ งรวดเร็ว และวางแผนให้การชว่ ยเหลอื อยา่ งมีสติ ไมต่ ืน่ เตน้ ตกใจ 2) ห้ามเคลอ่ื นยา้ ย หรอื ไม่ควรเคลือ่ นยา้ ยผ้บู าดเจ็บจนกว่าจะแน่ใจว่าเคลื่อนย้าย ได้อย่างรวดเร็ว ยกเว้นกรณีท่ีเกิดการบาดเจ็บในสถานท่ีท่ีไม่สะดวกต่อการปฐมพยาบาลหรือ อาจเกดิ อนั ตรายมากขึน้ ทงั้ ผบู้ าดเจ็บและผชู้ ่วยเหลอื จาเป็นตอ้ งเคล่ือนย้ายไปทที่ ี่ปลอดภัยกอ่ น 3) ช่วยเหลือด้วยความนุ่มนวลและระมัดระวัง ให้การช่วยเหลือตามลาดับ ความสาคญั ของการมีชีวติ หรอื ตามความรนุ แรงทผี่ ูบ้ าดเจ็บไดร้ บั ดงั นี้ (1) กลุ่มอาการช่วยเหลือด่วน ได้แก่ หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น หมดสติ และเสยี เลือด
124 (2)-กลุ่มอาการช่วยเหลือรอง ได้แก่ ความเจ็บปวด การบาดเจ็บของ กระดกู และข้อ อัมพาต กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 1 การปฐมพยาบาล (ให้ผู้เรยี นไปทากิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 1 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า) เรอื่ งที่ 2 วธิ กี ารปฐมพยาบาลกรณตี า่ ง ๆ 2.1 วธิ ีการปฐมพยาบาลกรณีอบุ ตั ิเหตุ อุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยมิได้วางแผนไว้ล่วงหน้า ซึ่งก่อให้ เกิดการบาดเจ็บ พิการ และ/หรือทาให้ทรัพย์สินได้รับความเสียหาย นอกจากน้ีความหมายในเชิง วิศวกรรมความปลอดภัย น้ัน อุบัติเหตุ ยังมีความหมายครอบคลุมถึงเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นแล้ว มีผลกระทบกระเทือนต่อกระบวนการผิดปกติ ทาให้เกิดความล่าช้า หยุดชะงัก หรือเสียเวลา แม้จะไม่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ หรือพิการก็ตาม เช่น อุบัติเหตุทางรถยนต์ หรือทางถนน อุบัติเหตุ ทางน้า อุบัตเิ หตุทว่ั ไป เปน็ ต้น อุบัตเิ หตุทางรถยนต์ หรอื ทางถนน อุบัติเหตุทางถนนเป็นสาเหตุสาคัญที่คร่าชีวิตคนไทย ซ่ึงการช่วยเหลือ ผู้ประสบเหตุอย่างถูกวิธีจะช่วยลดการบาดเจ็บรุนแรงและเสียชีวิตได้ เพราะบ่อยครั้งท่ีผู้เข้า ช่วยเหลือได้รับอันตรายจากอุบัติเหตุซ้าซ้อน จึงมีข้อแนะนาท่ีควรปฏิบัติในการช่วยเหลือ ผู้ประสบอบุ ัติเหตุทางถนนอยา่ งถกู วิธี ดังน้ี 1. ประเมินสถานการณ์ จากสภาพแวดล้อมและสภาพการจราจรของจุด เกิดเหตุ โดยเฉพาะในช่วงเวลากลางคืนหรือทัศนวิสัยไม่ดี ควรเพ่ิมความระมัดระวังเป็นพิเศษ เพ่ือป้องกันอบุ ัตเิ หตุซา้ ซ้อน 2. ส่งสัญญาณเตือนให้ผู้ร่วมใช้เส้นทางเพ่ิมความระมัดระวัง โดยเปิด สัญญาณไฟฉุกเฉนิ ของรถคันทเี่ กิดเหตุ นาก่ิงไม้ ปา้ ยสามเหล่ยี ม หรือกรวยสะท้อนแสงมาวางไว้ ด้านหลงั รถห่างจากจุดเกดิ เหตใุ นระยะไม่ต่ากวา่ 50 เมตร 3. โทรศัพทแ์ จ้งหนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง เช่น ตารวจ หน่วยแพทย์ฉุกเฉิน พร้อมให้ ข้อมลู จดุ เกดิ เหตุ จานวนและอาการของผูบ้ าดเจ็บ เพ่ือเจ้าหน้าท่ีจะได้วางแผนให้การช่วยเหลือ ผู้ประสบเหตุไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
125 4. ช่วยเหลือผู้ท่ีมีอาการรุนแรงเป็นลาดับแรก โดยเฉพาะผู้ที่หมดสติ หยุดหายใจ-หัวใจหยุดเต้นและเสียเลือดมาก กรณีผู้ประสบเหตุบาดเจ็บเล็กน้อยให้ปฐมพยาบาล เบอ้ื งต้นตามอาการ 5. หากไม่มีทักษะการช่วยเหลือ ห้ามเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุด้วยตนเอง ควรรอใหท้ ีมแพทย์ฉุกเฉินมาช่วยเหลือ และนาส่งสถานพยาบาล จะช่วยลดการบาดเจ็บรุนแรง ทท่ี าใหผ้ ู้ประสบเหตพุ ิการหรือเสยี ชวี ิต การช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุอย่างถูกวิธีจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการได้รับ อันตราย และทาให้ผู้ประสบเหตุได้รับการดูแลอย่างปลอดภัย จึงช่วยลดอัตราการบาดเจ็บ รุนแรงและเสียชีวิตจากการช่วยเหลอื ไม่ถกู วธิ ี อบุ ัติเหตทุ างนา้ อุบัติเหตุทางน้าอาจเกิดจากสาเหตุท่ีสาคัญ 2 ประการ คือ ตัวบุคคล และ สภาพแวดล้อม ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ของอุบัติเหตุทางน้า มักเกิดจากความประมาท และ การกระทาท่ไี ม่ปลอดภัยของผขู้ บั เรอื และผู้โดยสาร อย่างไรกต็ าม กรณีทีเ่ กดิ อุบัตเิ หตทุ างน้า ส่วนใหญ่ผูท้ ป่ี ระสบเหตทุ ีจ่ ะได้รับ อนั ตราย คอื ผู้ท่อี ยู่ในสภาวะจมน้า และขาดอากาศหายใจ ในทน่ี ี้จึงยกตัวอย่างวิธีการปฐมพยาบาล กรณจี มนา้ ดงั น้ี การจมน้า การจมน้าทาให้เกิดอันตรายจากการขาดออกซิเจนไปเลี้ยงสมองการช่วยชีวิต และการกฟู้ น้ื คนื ชพี จงึ เปน็ ปจั จยั สาคัญท่ีทาให้รอดชวี ิต ขั้นตอนการปฐมพยาบาล มีดังนี้ 1. จดั ให้นอนตะแคงก่งึ ควา่ รบี ตรวจสอบการหายใจ 2. ถ้าไม่มกี ารหายใจใหช้ ่วยก้ชู ีพทันที 3. ให้ความอบอุ่นกับร่างกายผู้จมน้า โดยถอดเส้ือผ้าท่ีเปียกน้าออกและใช้ ผ้าแหง้ คลมุ ตวั ไว้ 4. นาสง่ สถานพยาบาล ข้อควรระวัง 1. กรณีผู้จมน้ามีประวัติการจมน้า เนื่องจากการกระโดดน้าหรือเล่นกระดาน- โต้คล่ืน การช่วยเหลือต้องระวังเรื่องกระดูกหัก โดยเฉพาะการเคลื่อนย้ายผู้จมน้า โดยเมื่อนา
126 ผู้จมน้าข้ึนถึงน้าต้ืนพอที่ผู้ช่วยเหลือจะยืนได้สะดวกแล้ว ให้ใช้ไม้กระดานแข็งสอดใต้น้ารองรับตัว ผจู้ มนา้ ใช้ผ้ารดั ตวั ผู้จมน้าใหต้ ดิ กับไม้ไว้ 2. ไม่ควรเสียเวลากับการพยายามเอาน้าออกจากปอดหรือกระเพาะอาหาร 3. หากไม่สามารถนาผู้จมน้าข้ึนจากน้าได้โดยเร็วอาจเป่าปากบนผิวน้าโดย หลกี เล่ียงการเปา่ ปากใต้น้า และห้ามนวดหนา้ อกระหว่างอย่ใู นนา้ อุบัติเหตทุ ่ัวไป (ตกจากทสี่ ูง หกลม้ ไฟไหม/้ น้ารอ้ นลวก) อุบัติเหตุทั่วไป เป็นส่ิงที่เกิดข้ึนได้ ทุกท่ี ทุกเวลา และเกิดได้กับบุคคลทุกเพศ และทกุ วัย เชน่ การตกจากทส่ี งู หกล้ม ไฟไหม้ น้าร้อนลวก เป็นต้น 1. การตกจากท่สี งู การตกจากที่สูง สามารถทาให้เกิดอันตรายได้รุนแรงมากน้อยต่าง ๆ กันไป เช่น ตกจากท่ีสูงมากอาจทาให้เสียชีวิต ทาให้กระดูกสันหลังหักกดไขสันหลังกลายเป็นอัมพาต อาจทาให้กระดูกส่วนต่าง ๆ หัก ในรายท่ีรุนแรง อาจเป็นกระดูกซี่โครงหักทาให้เกิดเลือดออกใน ช่องปอด และอาจทาให้อวัยวะภายในช่องท้องทีส่ าคญั แตกอนั ตรายถงึ ชวี ิตได้ ทง้ั นี้ การตกจากทสี่ งู ส่วนใหญจ่ ะสง่ ผลกอ่ ใหเ้ กดิ การบาดเจ็บของกลา้ มเน้ือ และกระดกู ดังน้ี 1.1 ข้อเคล็ด หมายถึง การท่ีข้อมีการเคล่ือนไหวมากเกินไป ทาให้เน้ือเยื่อ อ่อน ๆ และเอ็นรอบ ๆ ข้อ หรือกล้ามเนื้อ มีการชอกช้า ฉีกขาด หรือยึด เน่ืองจากข้อนั้นถูกบิด พลิก หรือแพลงไป ทาใหเ้ จบ็ ปวดมาก ขั้นตอนการช่วยเหลอื เบื้องต้น 1. ใหข้ ้อพักน่ิง ๆ 2. ควรยกมือหรือเท้าที่เคล็ดให้สูงข้ึน ถ้าเป็นข้อมือควรใช้ผ้า คลอ้ งแขนไว้ 3. ภายใน 24 ช่ัวโมงแรก ให้ประคบด้วยความเย็น เพ่ือให้เลือด ใตผ้ วิ หนงั หยุดไหล หลังจากน้ันใหป้ ระคบดว้ ยความรอ้ น 4. พนั ดว้ ยผ้า 5. ภายใน 7 วัน หากอาการไมด่ ีขน้ึ ให้รบี นาสง่ โรงพยาบาล เพือ่ ตรวจใหแ้ นน่ อนว่าไม่มีกระดกู หกั ร่วมดว้ ย
127 1.2 ข้อเคล่ือน หมายถึง ส่วนของข้อต่อบริเวณปลายกระดูกเคล่ือนหรือ หลุดออกจากกัน เกิดจากการถูกกระชากอย่างแรง หรือมีโรคท่ีข้ออยู่ก่อนแล้ว เช่น วัณโรค ทขี่ อ้ สะโพก ขนั้ ตอนการช่วยเหลือเบื้องตน้ 1. ให้ขอ้ พกั นิง่ อย่าพยายามดงึ กลับเข้าท่ี 2. ประคบด้วยความเย็น 3. เขา้ เฝือกช่วั คราว หรอื ใชผ้ า้ พัน 4. รบี นาสง่ โรงพยาบาล ควรงดอาหาร น้า และยาทุกชนดิ 1.3 กระดูกหัก หมายถึง ภาวะที่กระดูกได้รับแรงกระแทกมากเกินไป ส่งผลให้กระดูกไม่สามารถรองรับน้าหนักจากแรงกระแทกได้ ก่อให้เกิดอาการ ปวด บวม ร้อน บริเวณท่ีหัก ถ้าจับกระดูกน้ันโยกหรือบิดเล็กน้อยจะมีเสียงดังกรอบแกรบ เน่ืองจากปลายกระดูก ทห่ี กั น้ันเสียดสีกัน การเคลอ่ื นไหวผิดปกตอิ าจมบี าดแผลและพบปลายกระดูกโผลอ่ อกมาเหน็ ได้ ขนั้ ตอนการช่วยเหลือเบ้ืองต้น การหักของกระดูกชิ้นสาคัญ เช่น กระดูกเชิงกราน กะโหลกศีรษะ ขากรรไกร คอ และกระดูกสันหลัง ต้องการการดูแลรักษาที่ถูกต้อง เพราะการหักของกระดูก เหล่าน้ีจะทาอันตรายอย่างรุนแรงต่อเนื้อเยื่อใกล้เคียงกะโหลกศีรษะแตก และสันหลังหักเป็น อันตรายมากท่ีสุด เพราะว่าเน้ือสมองและไขสันหลังถูกทาลาย ทั้งน้ี เมื่อมีภาวะกระดูกแตกหัก ในบริเวณกระดูกที่มีลักษณะเป็นแท่งยาว ผู้ปฐมพยาบาลต้องจัดให้มีการเข้าเฝือก ซึ่งการ เข้าเฝือก หมายถึง การใช้วัสดุต่าง ๆ พยุง หรือห่อหุ้มอวัยวะท่ีกระดูกหักให้อยู่น่ิง ซ่ึงมี ประโยชน์ช่วยให้บริเวณที่บาดเจ็บอยู่น่ิง เป็นการบรรเทาความเจ็บปวดและป้องกันอันตราย เพ่ิมมากขน้ึ การปฐมพยาบาลกระดูกหัก ต้องพยายามตรึงกระดูกส่วนที่หักให้ อยกู่ บั ท่ี โดยใชว้ ัสดุท่ีหาง่าย เช่น ไม้ หรือกระดาษหนังสือพิมพ์พับให้หนา รวมท้ังผ้า และเชือก สาหรบั พันรดั ดว้ ย กระดูกโผล่ออกมานอกเน้ือ ห้ามดันกลับเข้าไปเป็นอันขาด ถ้ามี เลอื ดออกใหท้ าการห้ามเลือด และปดิ แผลกอ่ นทาการเข้าเฝือกชัว่ คราว
128 การตรวจบริเวณที่หัก ต้องทาด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทาให้ ปลายกระดูกทห่ี ักเคลอ่ื นมาเกยกัน หรือทะลุออกมานอกผวิ หนัง การถอดเส้ือผ้าผู้บาดเจ็บ ควรใช้วิธีตัดตามตะเข็บอย่าพยายามให้ ผบู้ าดเจบ็ ถอดเอง เพราะจะทาให้เจ็บปวดเพม่ิ ขนึ้ หลกั การเข้าเฝือกช่วั คราว 1. วัสดุท่ีใชด้ ามตอ้ งยาวกว่าอวัยวะส่วนท่หี กั 2. ไม่วางเฝือกลงบนบริเวณที่กระดูกหักโดยตรง ควรมีสิ่งอ่ืนรอง เช่น ผ้าวางก่อนตลอดแนวเฝือก เพื่อไม่ให้เฝือกกดลงบริเวณผิวหนังโดยตรง ซ่ึงทาให้เจ็บปวด และเกิดเปน็ แผลจากเฝือกกดได้ 3. มัดเฝือกกับอวัยวะท่ีหักให้แน่นพอควร ถ้ารัดแน่นจนเกินไปจะกด ผิวหนงั จนทาให้การไหลเวยี นของเลือดไมส่ ะดวกเป็นอันตรายได้ . 2. การหกล้ม การหกลม้ เป็นอาการหรือพฤติกรรมท่ีรู้จักกันท่ัวไป ซึ่งหมายถึง การที่เกิด การเปลีย่ นท่าโดยไม่ต้ังใจ และเป็นผลใหร้ า่ งกายทรุด หรือลงนอนกับพื้น หรือ ปะทะส่ิงของต่าง ๆ เชน่ โตะ๊ เตยี ง ท้ังน้ี การหกล้มอาจส่งผลทาให้เกิดการบาดเจ็บท่ีรุนแรงแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับสภาพร่างกาย และสิ่งแวดล้อมในขณะที่เกิดเหตุ เช่น เกิดแผลเปิด บาดแผลปิด และ การบาดเจ็บในลักษณะฟกช้า ไมม่ ีเลอื ดออก เป็นตน้ มวี ธิ กี ารปฐมพยาบาล ดังนี้ บาดแผล รอยฉีกขาดรอยแตกแยกของผิวหนัง หรือเย่ือบุส่วนที่ลึกกว่า ช้นั ผิวหนงั ถกู ทาลาย ทาให้อวัยวะนนั้ แยกจากกันดว้ ยสาเหตุตา่ ง ๆ บาดแผลแบง่ ออกเป็น 2 ชนิด
129 1. บาดแผลเปิด คือ บาดแผลที่ผิวหนังฉีกขาดจนเห็นเน้ือข้างใน เช่น แผลถลอก แผลที่เกิดจากการเจาะ การแทง การกระแทก แผลถูกของมีคมบาด แผลฉีกขาด เนื่องจากวตั ถุมีคมอาจลึกลงไปถึงเนอื้ เย่ือ เส้นเอน็ ทาใหเ้ สยี เลือดมาก แขนขาขาดจากอุบัติเหตุ ถูกสัตวด์ รุ ้ายกัด หรอื ถกู ยิง เป็นต้น ซง่ึ บาดแผลบางอยา่ งอาจทาให้เสียเลือดมาก และอาจทาให้ เสียชวี ิตได้ การปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้นสาหรบั บาดแผลท่ีมีเลือดออกก็คือ การห้ามเลือด โดยหลกี เล่ยี งการสมั ผัสกับเลือดของคนเจ็บโดยตรง แต่หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ให้รีบล้างมือด้วยสบู่ รวมท้ังบริเวณท่ีเป้ือนเลือดให้เร็วท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ ไม่ควรถอดหรือเปล่ียนเส้ือผ้าของคนเจ็บ แมว้ ่าจะเปอ้ื นเลือดจนชุม่ แลว้ เพราะอาจยิง่ ทาใหเ้ ลอื ดออกมาก หากสามารถทาได้ ควรทาความสะอาดแผลก่อนเพื่อป้องกันการติดเช้ือ โดยล้างแผลด้วยน้าสะอาด แล้วใช้ผ้าก๊อซหรือผ้าสะอาดวางไว้ตรงบาดแผล ยกเว้นเมื่อเกิด บาดแผลท่ีดวงตา เพราะอาจมีส่ิงแปลกปลอมทาให้ดวงตาได้รับบาดเจ็บมากขึ้น แล้วใช้ผ้า สะอาดพันปิดแผลไว้ อย่าให้แน่นจนชา หากไม่มีผ้าพันแผล สามารถดัดแปลงส่ิงของใกล้ตัวมา ใชไ้ ด้ เชน่ ผา้ เช็ดหน้า ชายเสอื้ ชายกระโปรง หรือเนคไท แผลทีแ่ ขนหรอื ขาให้ยกสูง จะชว่ ยใหเ้ ลอื ดไหลช้าลง ปกติเลือดจะหยดุ ไหล ภายในเวลาประมาณ 15 นาที หากเลือดไหลไม่หยุด ให้กดเส้นเลือดแดงใหญ่ที่ไปเลี้ยงแขนขา โดยกดบริเวณเหนือบาดแผล ถ้าเลือดออกท่ีแขนให้กดแขนด้านใน ช่วงระหว่างข้อศอกและ หวั ไหล่ ถ้าเลือดออกท่ีขาใหก้ ดท่ีหนา้ ขาบริเวณขาหนีบ การห้ามเลือดโดยการกดเส้นเลือดแดงใหญ่ ควรทาก็ต่อเมื่อใช้วิธีการ ห้ามเลือดโดยการกดบาดแผลหรือใช้ผ้าพันแผลแล้วไม่ได้ผล เพราะจะทาให้อวัยวะท่ีต่ากว่า จุดกดขาดเลือดไปเล้ียง หากกดนาน ๆ กล้ามเน้ืออาจตายได้ จึงไม่ควรกดเส้นเลือดแดงใหญ่ เกินกวา่ คร้งั ละ 15 นาที สาหรับบาดแผลที่ศีรษะ ไม่ควรใช้น้าล้างแผล เพราะจะทาให้ปิดขวาง ทางออกของแรงดันภายใน และสมองอาจติดเช้ือโรคท่ีอยู่ในน้าได้ หากมีเลือดไหลออกจากปาก จมูก หรอื หู อยา่ พยายามห้ามเลือด เพราะจะปิดกน้ั ทางออกของแรงดนั ในสมองเชน่ กนั การทาความสะอาดบาดแผลเลก็ น้อย วิธกี ารปฐมพยาบาลบาดแผลเล็กน้อย ทาได้โดยล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง ก่อนท่จี ะทาแผล ใช้น้าสะอาดล้างแผล ใช้สบู่อ่อน ๆ ล้างผิวหนังที่อยู่รอบ ๆ บาดแผล แล้วล้าง ด้วยน้าสะอาดอีกคร้ัง หลีกเลี่ยงการกระทบบาดแผลโดยตรง ใช้ผ้าก๊อซหรือผ้าสะอาดซับแผล
130 ให้แห้ง แล้วใส่ยาสาหรับแผลสด เช่น โพวิโดนไอโอดีน ซึ่งจะช่วยลดการติดเชื้อได้ จากนั้นปิดแผล ด้วยผ้าพนั แผล 2. บาดแผลปิด คือ บาดแผลท่ีไม่มีรอยแผลให้เห็นบนผิวหนังภายนอก อาจเห็นเพียงแค่รอยเขียวช้า แต่บางกรณีเน้ือเย่ือภายในอาจถูกกระแทกอย่างแรง ทาให้เลือด ตกใน บางคร้ังอวัยวะภายในได้รับความเสียหายมาก เช่น ม้ามแตก ตับแตก หรือเลือดค่ัง ในสมอง ระยะแรกอาจไม่แสดงอาการใด ๆ แต่เม่ือเวลาผ่านไปคนเจ็บอาจอาเจียน เลือดออกปาก หรอื จมกู หนาวสั่น ตวั ซีด เจบ็ ปวดรุนแรง หมดสติ และอาจเสยี ชีวติ เนอื่ งจากเสยี เลอื ดมาก แผลฟกซา้ ไม่มีเลอื ดออก บาดแผลฟกซ้าจะไม่มีเลือดออกมาภายนอก แต่เกิดอาการบวม ผิวเปล่ียนสี และมีรอยฟกซ้า ซึ่งเกิดจากเส้นเลือดบริเวณน้ันแตกแต่ผิวหนังไม่ฉีกขาด จึงทาให้ เลือดซึมอยูใ่ ตผ้ วิ หนัง ระยะแรกจะมีสีแดงแล้วเปล่ียนเปน็ สมี ่วงคลา้ ในเวลาตอ่ มา คนส่วนใหญ่มักไม่ใส่ใจกับแผลฟกซ้า แต่ความจริงแล้วแผลฟกซ้าก็มี วิธีการดูแลที่ถูกต้องเช่นกัน ก่อนอื่นให้ตรวจดูว่าไม่มีบาดแผล หรืออาการอื่น ๆ หรือกระดูกหัก ร่วมด้วย ให้คนเจ็บนั่งในท่าที่สบาย แล้วประคบแผลด้วยถุงน้าแข็งหรือถุงน้าเย็น เพื่อลดอาการ บวม หากเป็นแผลท่ีแขนให้ใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องแขนให้อยู่กับท่ี หากเป็นแผลท่ีขาให้นอนหนุนขา ใหส้ งู หากเปน็ ทล่ี าตัวให้นอนตะแคงหนนุ หมอนท่ีศีรษะและไหล่ 3. ไฟไหม้น้ารอ้ นลวก บาดแผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก โดยมากมักจะมีสาเหตุจากอุบัติเหตุ ความประมาท ขาดความระมัดระวัง แผลไหม้จะทาให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย ตั้งแต่เล็กน้อยไป จนถงึ เสยี ชวี ิตได้ การชว่ ยเหลอื อยา่ งถกู ตอ้ งจะชว่ ยลดความรุนแรงได้ ข้ันตอนการชว่ ยเหลอื เบื้องตน้ หลักการปฐมพยาบาลไฟไหมน้ า้ ร้อนลวกให้ดับไฟโดยใช้น้าราด หรอื ใชผ้ ้าหนา ๆ คลมุ ตัว ถอดเส้อื ผา้ ท่ไี หม้ไฟหรือถกู นา้ ร้อน พร้อมถอดเครือ่ งประดบั ที่อมความร้อน ออกใหห้ มด เมอ่ื เกิดแผลไหม้ นา้ ร้อนลวกให้ปฐมพยาบาลตามลักษณะของแผล ดงั นี้ 1. เฉพาะชัน้ ผิวหนัง (1) ระบายความร้อนออกจากแผล โดยใช้ผ้าชุบน้าประคบบริเวณ บาดแผล แช่ลงในน้าหรือเปิดให้น้าไหลผ่านบริเวณบาดแผลตลอดเวลา นานประมาณ 10 นาที ซงึ่ จะชว่ ยบรรเทาความเจบ็ ปวดได้
131 (2) ทาดว้ ยยาทาแผลไหม้ (3) ห้ามเจาะถงุ น้าหรือตดั หนังส่วนที่พองออก (4) ปิดดว้ ยผ้าสะอาด เพอ่ื ป้องกนั การติดเช้อื (5) ถ้าแผลไหม้บริเวณกว้าง หรอื อวัยวะท่ีสาคัญตอ้ งรีบนาส่งโรงพยาบาล 2. ลึกถงึ เนื้อเย่ือใต้ผิวหนงั (1) ไมต่ ้องระบายความร้อนออกจากบาดแผล เพราะจะทาให้แผล ตดิ เช้อื มากขึ้น (2) หา้ มใส่ยาใด ๆ ท้ังส้นิ ลงในบาดแผล (3) ใช้ผ้าสะอาดหอ่ ตวั ผบู้ าดเจบ็ เพ่ือป้องกันสิ่งสกปรกให้ความอบอุ่น และรบี นาสง่ โรงพยาบาล 2.2 ภาวะการเจบ็ ป่วยโดยปัจจุบนั 2.2.1 การเป็นลม การเป็นลม เป็นอาการหมดสติเพียงชั่วคราว เน่ืองจากเลือดไปเล้ียง สมองไม่พอ สาเหตุ และลักษณะอาการของคนเป็นลมท่ีพบบ่อย เช่น หิว เหนื่อย เครียด ตกใจ กังวลใจ กลัว เสียเลือดมาก มีอาการวิงเวียนศีรษะ ตาพร่า หน้ามืด ใจสั่น มือเท้าไม่มีแรง หน้าซีด เหงอ่ื ออก ตัวเย็น ชีพจรเบา เรว็ ข้ันตอนการชว่ ยเหลือเบอ้ื งต้น 1) พาเข้าทรี่ ่ม ท่ีอากาศถ่ายเทสะดวก 2) นอนราบไม่หนุนหมอน หรือยกปลายเท้าให้สูงเล็กนอ้ ย
132 3) คลายเสือ้ ผา้ ให้หลวม 4) พดั หรอื ใช้ผา้ ชบุ น้าเช็ดเหงอื่ ตามหนา้ มอื และเท้า 5) ให้ดมแอมโมเนยี 6) ถา้ ร้สู ึกตัวดี ให้ดื่มนา้ 7) ถ้าอาการไม่ดีขึน้ นาสง่ ต่อแพทย์ 2.2.2 ลมชกั ลมชัก อาการชักของผู้ป่วย บางรายอาจชักด้วยอาการเหม่อลอย เร่ิมกระตุก ท่าทางแปลก ๆ ผิดปกติ ตาเหลือก อาจจะเริ่มทาท่าเหมือนเคี้ยวอะไรอยู่ หรือบางคน อาจจะเรม่ิ ตน้ ดว้ ยอาการสบั สน มนึ งง พดู จาวกวนกอ่ นก็ได้ กอ่ นทจ่ี ะเร่มิ มอี าการชัก ข้ันตอนการช่วยเหลือเบ้ืองตน้ 1. สังเกตว่าผู้ป่วยมีสติสัมปชัญญะหรือไม่ ส่วนใหญ่ยังไม่ถึงกับข้ันสลบ แต่จะควบคุมตัวเองไม่ได้เมื่อผู้ป่วยเร่ิมมีอาการชัก แล้วลงไปกองกับพ้ืน พยายามพาเขามาอยู่ ในท่ีโลง่ ๆ ปลอดภัย ไม่มีสงิ่ ของใด ๆ รอบตวั 2. คลายกระดุม เนคไทท่ีคอเส้ือ คลายกระดุม เข็มขัดที่กางเกงหรือ กระโปรง ถอดแวน่ ตา นาหมอน หรือเส้ือพับหนา ๆ มารองไว้ท่ีศีรษะ 3. จับผปู้ ว่ ยนอนตะแคง 4. ไมง่ ้างปาก ไม่งัดปากด้วยชอ้ น ไมย่ น่ื อะไรให้ผู้ป่วยกัด ไม่ยัดปากด้วย สง่ิ ของตา่ ง ๆ เดด็ ขาด ไมก่ ดทอ้ ง ไม่ถ่างขา ไมท่ าอะไรทง้ั นั้น 5. จับเวลา ตามปกติผู้ป่วยลมชักจะมีอาการสงบลงได้เองเมื่อผ่านไป 2 – 3 นาที หากมีอาการชักเกิน 5 นาที ควรรีบส่งแพทย์ (หรือโทรศัพท์แจ้งสายด่วน 1669 บริการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ) 6. อย่าลืมอธิบายผู้คนรอบข้างด้วยว่าเกิดอะไรขึ้น และขอความ ช่วยเหลือเท่าท่ีจาเป็น เช่น อย่ามุงผู้ป่วยใกล้ ๆ หรือช่วยเรียกรถพยาบาลกรณีที่ผู้ป่วยชักเกิน 5 นาที หรอื มีอาการบาดเจบ็ ในกรณที ีผ่ ้ปู ่วยลมชักมีอาการกัดลิ้นตัวเอง ไม่ต้องตกใจ โดยส่วนใหญ่แล้ว จะไม่ได้กัดลิ้นตัวเองจนขาดหรือมีบาดแผลใหญ่มากนัก อาจจะมีความเป็นไปได้ท่ีเผลอกัดล้ิน ตัวเองจนได้รับบาดแผลมีเลือดออก แต่ไม่ได้เป็นอันตรายถึงชีวิตมากเท่ากับการยัดส่ิงต่าง ๆ เข้าไปในปากของผู้ป่วย ด้วยหวังว่าจะให้กัดแทนลิ้น เพราะมีหลายคร้ังท่ีส่ิงของเหล่านั้นทาให้
133 ผู้ป่วยมีอาการบาดเจ็บหนักกว่าเดิม แผลที่กัดล้ินใหญ่กว่าเดิม หรือพลัดหลุดเข้าไปติดใน หลอดลม หลอดอาหาร 2.2.3 การเปน็ ลมแดด การเป็นลมแดด เกิดจากการท่ีร่างกายไม่สามารถปรับตัวกับความร้อน ทเ่ี กดิ ข้ึน จนเกดิ ภาวะวกิ ฤตในภาวะปกติร่างกายจะมีระบบการปรับสมดุลความร้อน เม่ือความร้อน ในร่างกายเพ่ิมข้ึน อาการสาคัญ ได้แก่ ตัวร้อน อุณหภูมิร่างกาย 41 องศาเซลเซียส หน้าแดง ไมม่ ีเหง่ือ มีอาการเพอ้ ความดนั ลดลง กระสบั กระสา่ ย มนึ งง สับสน ชกั เกร็ง หมดสติ โดยกลไก การทางานของร่างกาย จะมีการปรับตัวโดยส่งน้า หรือเลือดไปเล้ียงอวัยวะภายใน เช่น สมอง ตับ กล้ามเน้ือ ทาให้ผิวหนังขาดเลือดและน้าไปเลี้ยง จึงไม่สามารถระบายความร้อนออกจาก รา่ งกายได้ ข้นั ตอนการช่วยเหลือเบือ้ งตน้ นาผทู้ ม่ี ีอาการเข้าในท่ีร่ม นอนราบ ยกเท้าสูง เพ่ือเพ่ิมการไหลเวียนเลือด ถอดเส้ือผา้ ใชผ้ า้ ชบุ นา้ ประคบบรเิ วณใบหน้า ข้อพับ ขาหนีบ เช็ดตัวเพื่อระบายความร้อน และ ถา้ ร้สู ึกตวั ดใี ห้ค่อย ๆ จิบนา้ เย็น เพอื่ ลดอณุ หภูมริ ่างกายใหเ้ รว็ ท่ีสุด และรีบนาสง่ โรงพยาบาล 2.2.4 เลือดกาเดาไหล สาเหตุ มาจากการกระทบกระแทก การเป็นหวัด การสั่งน้ามูก การติดเชอ้ื ในชอ่ งจมกู หรอื ความหนาวเย็นของอากาศ ขั้นตอนการช่วยเหลือเบ้อื งต้น 1. ใหผ้ ู้ป่วยนงั่ นิ่ง ๆ เอนตวั ไปข้างหนา้ เลก็ นอ้ ย 2. ใช้มือบีบปลายจมูก และให้หายใจทางปากโดยบีบปลายจมูกไว้ 10 นาที ให้คลายมือออกถ้าเลือดยังไหลต่อให้บีบต่ออีก 10 นาที ถ้าเลือดไม่หยุดใน 20 นาที ให้รีบนาส่งโรงพยาบาล 3. ถ้ามีเลือดออกมาก ให้ผู้ป่วยบ้วนเลือดหรือน้าลายลงในอ่าง หรือ ภาชนะที่รองรับ 4. เมื่อเลอื ดหยุดแล้ว ใช้ผ้าสะอาดเชด็ บริเวณจมูกและปาก ขอ้ ห้าม หา้ มสง่ั นา้ มกู หรอื ลว้ งแคะ ขย้ีจมกู เพราะจะทาใหอ้ าการแย่ลง
134 2.2.5 การหมดสติ การหมดสติ เป็นภาวะท่ีร่างกายไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น สาเหตุเนื่องจากสมองได้รับการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ ซ่ึงเป็นบริเวณท่ีมีเส้นเลือดใกล้ ผิวช้ันนอก ทาให้เลือดไหลออกมาก แต่มีบางกรณีไม่มีเลือดไหลออกมาภายนอก ทาให้ผู้บาดเจ็บ หมดสติ หากไม่ได้รับการช่วยเหลืออาจทาให้เสียชีวิต-จึงต้องประเมินสถานการณ์และการบาดเจ็บ เพ่ือใหก้ ารช่วยเหลือเบ้อื งตน้ และนาสง่ โรงพยาบาลเพ่อื รับการรกั ษา ข้ันตอนการชว่ ยเหลือผูห้ มดสติ 1. สารวจสถานการณ์ บริเวณที่เกิดเหตุอย่างรวดเร็ว ถ้าสถานการณ์ ปลอดภัยให้ตะโกนเรียกผหู้ มดสติ 2. หากไม่มีการตอบสนอง ใช้มือท้ัง 2 ข้าง ตบไหล่เรียก พร้อมสังเกต การตอบสนอง (การลืมตา ขยับตัว และพูด) และดูการเคลื่อนไหวของทรวงอก หน้าท้อง ถ้าพบว่ายังหายใจอยู่ให้รีบให้การช่วยเหลือ และขอความช่วยเหลือ โดยการโทรศัพท์แจ้งสายด่วน รถพยาบาล 1669 แต่หากไม่ตอบสนอง หน้าอกหน้าท้องไม่กระเพ่ือมขึ้นลง แสดงว่า หมดสติ และไมห่ ายใจ ตอ้ งชว่ ยเหลือโดยการปม้ั หัวใจ และการผายปอด 2.3 พิษแมลงสัตว์กัดต่อย 2.3.1 สนุ ัข/แมว โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้า เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่เกิดจาก เช้ือเรบีส์ไวรัส โรคนี้เกิดได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด ดังนั้น เม่ือถูกสุนัขกัดจะต้องปฏิบัติ ตามขนั้ ตอน ดงั นี้ 1.-ชาระล้างบาดแผล ด้วยการฟอกแผลด้วยน้าสะอาดและสบู่หลายคร้ัง ให้สะอาดโดยการถูเบา ๆ เท่านั้น หากแผลลึกให้ล้างจนถึงก้นแผล แล้วซับแผลให้แห้งด้วยผ้าก๊อซ หรือผ้าท่ีสะอาด (ในกรณีน้าลายสุนัขเข้าตา ให้ใชน้ ้าสะอาดล้างตาเท่าน้ัน แตล่ า้ งหลาย ๆ ครง้ั ) 2. พบแพทย์เพื่อดูแลแผล และฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า หรือโรคกลัวน้า-ข้อสังเกต สาหรับสัตว์ที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้า จะมีพฤติกรรมเปล่ียนแปลงไปจากเดิม เช่น สตั วท์ ่ีมีนสิ ัยดุร้ายจะกลายเป็นสัตวท์ เ่ี ช่อื ง สัตวท์ เ่ี ชอื่ งจะกลายเป็นสัตว์ดุร้าย ต่ืนเต้น กระวน กระวาย สดุ ท้ายจะเปน็ อมั พาต และตายในที่สุด
135 2.3.2 งมู ีพิษ/งไู มม่ พี ิษ พิษจากการถูกงูกัดงูในประเทศไทยแบ่งเป็นงูมีพิษ และไม่มีพิษ ซ่ึงจะมีลักษณะบาดแผลต่างกันคืองูพิษมีเขี้ยวอยู่ด้านหน้าของขากรรไกรบน และมีฟัน ส่วนงู ไมม่ ีพิษมีแตร่ อยฟันไม่มีรอยเข้ยี ว ขน้ั ตอนการช่วยเหลือเบือ้ งต้น การปฐมพยาบาล เป็นสิ่งที่ต้องกระทาหลังถูกงูกัดทันทีก่อนท่ีจะ นาสง่ โรงพยาบาล การปฐมพยาบาลผทู้ ีถ่ กู งกู ัด มดี งั นี้ 1. รีบนาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล ระหว่างนาส่งอาจใช้เชือก ผ้า หรือ สายยางรดั แขนหรือขาระหวา่ งแผลงกู ดั กบั หวั ใจเหนอื รอยเข้ียว ประมาณ 2 - 4 น้ิว เพ่ือป้องกัน พิษงูซึมเข้าร่างกายโดยเร็ว ในปัจจุบันนักวิชาการบางท่านไม่แนะนาให้รีบทาการใช้เชือกรัดและ ขันชะเนาะ เนื่องจากอาจทาให้เกิดผลเสีย คือ การช่วยเหลือล่าช้าขึ้น และเสี่ยงต่อการขาดเลือด บริเวณแขนหรือขา ทาให้พิษทาลายเนื้อเยื่อมากขึ้น ดังน้ัน ถ้ารัดควรคานึงถึงความเสี่ยงของ การรดั ด้วย โดยคลายเชอื กทุก ๆ 15 นาที นานครัง้ ละ 30 - 60 วินาที จนกว่าจะถึงโรงพยาบาล ในกรณีท่ีถูกงูไม่มีพิษกัด ไม่ควรรัด เพราะจะทาให้แผลที่บวมอยู่แล้ว เสี่ยงต่อการเกิดเน้ือตาย และการบวมอาจกดเบยี ดเสน้ ประสาทและเส้นเลือดได้ 2. ควรล้างบาดแผลให้สะอาด อย่าใช้ไฟหรือเหล็กร้อนจ้ีท่ีแผลงูกัด และอย่าใช้มีดกรีดแผลเป็นอันขาด เพราะอาจทาให้เลือดออกมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิง ถ้าถูกงู ท่ีมีพิษกัด หรืออาจตัดถูกเส้นเอ็นหรือเส้นประสาท รวมท้ังอาจทาให้เกิดการติดเช้ือได้ รวมท้ัง ไม่แนะนาให้ใช้ปากดูดพิษจากแผลงูกัด เพราะพิษอาจเข้าทางเย่ือบุปากได้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้ามีบาดแผล ถา้ รู้สกึ ปวดแผลใหร้ บั ประทานพาราเซตามอล ห้ามให้แอสไพริน เพราะอาจทาให้ เลือดออกงา่ ยขน้ึ 3. เคลอ่ื นไหวแขน หรอื ขาสว่ นท่ถี ูกงูกัดให้น้อยท่ีสุด ควรจัดตาแหน่ง ของส่วนที่ถูกงูกัดให้อยู่ในระดับต่ากว่าหัวใจ เช่น ห้อยมือหรือเท้าส่วนที่ถูกงูกัดลงต่าระหว่าง เดินทางไปยังสถานพยาบาลอย่าให้ผู้ป่วยเดิน หรือขยับส่วนที่ถูกกัด เนื่องจากการขยับตัวจะ ทาใหก้ ล้ามเนอื้ มกี ารยดื และหดตวั พษิ งเู ขา้ สกู่ ระแสเลือดเรว็ ขึ้น 4.-ควรตรวจสอบว่างูอะไรกัด และถ้าเป็นไปได้ควรจับหรือตีงูท่ีกัด และ นาส่งไปยังสถานพยาบาลด้วย 5.-อย่าให้ผู้ป่วยดื่มแอลกอฮอล์ หรือยาดองเหล้า หรือรับประทานยา กระตนุ้ ประสาท รวมท้ัง ชากาแฟ
136 6.-ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจจากงูท่ีมีพิษต่อประสาท ให้ทาการเป่าปาก ชว่ ยหายใจไปตลอดทางจนกวา่ จะถงึ สถานพยาบาลทใ่ี กล้บ้านที่สดุ ขอ้ หา้ ม หา้ มรบั ประทานยาและเครื่องดมื่ กระตุ้นหัวใจ ขอ้ สังเกต ปลอบโยนให้กาลังใจ อย่าให้ต่ืนเต้น ตกใจ ซึ่งจะทาให้หัวใจสูบฉีด โลหติ มากย่ิงขน้ึ พิษงูแพรก่ ระจายได้เร็วขนึ้ ควรนางทู ี่กดั ไปพบแพทย์ เพ่ือสะดวกต่อการวินิจฉัย และรักษา 2.3.3 แมงปอ่ ง/ตะขาบ ผู้ที่ถูกแมงป่องต่อย หรือตะขาบกัด เม่ือถูกแมงป่องต่อยจะมีอาการ ปวดแสบปวดร้อนอย่างรุนแรงบริเวณท่ีถูกต่อย สาหรับผู้ที่ถูกตะขาบกัด เขี้ยวตะขาบจะฝังลง ในเน้อื ทาให้มองเห็นเป็น 2 จุด อยู่ด้านข้าง เมื่อถูกตะขาบกัดจะมีอาการบวมแดงและปวด บางราย อาจมีไข้ ปวดศรี ษะ คลน่ื ไส้ อาเจียน ข้ันตอนการช่วยเหลอื เบ้ืองต้น 1.-ใชส้ ายรดั หรอื ขันชะเนาะเหนือบริเวณท่ีถูกกัด หรือเหนือบาดแผล เพ่ือป้องกันมิใหพ้ ิษแพร่กระจายออกไป 2. พยายามทาให้เลือดไหลออกจากบาดแผลให้มากท่ีสุด อาจทาได้ หลายวิธี เช่น เอามือบีบ เอาวัตถุที่มีรูกดให้แผลอยู่ตรงกลางรูพอดี เลือดจะได้พาเอาพิษออกมา ด้วย 3. ใชแ้ อมโมเนยี หอมหรอื ทิงเจอรไ์ อโอดีน ทาบรเิ วณแผลใหท้ ่ัว 4.-ถ้ามีอาการบวมอักเสบและปวดมาก ให้ใช้ก้อนน้าแข็งประคบ บริเวณแผล เพ่อื ช่วยบรรเทาอาการความเจบ็ ปวดดว้ ย 5. ถ้าอาการยังไม่ทุเลาลง ต้องนาตัวส่งโรงพยาบาล เพ่ือให้แพทย์ตรวจ รักษาต่อไป 2.3.4 ผึง้ ตอ่ แตน ผึ้ง ต่อ แตน แมลงเหล่านี้มีพิษต่อคน เม่ือถูกแมลงเหล่าน้ีต่อย โดยเฉพาะผึ้งมันฝังเหล็กในเข้าไปในบริเวณท่ีต่อย และปล่อยสารพิษจากต่อมพิษออกมา ผู้ถูก แมลงต่อยส่วนมากมีอาการเฉพาะท่ี คือ บริเวณท่ีถูกต่อยจะ ปวด บวม แดง แสบ ร้อน แต่บางคน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197