Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 6 ชุดวิชาลูกเสือ กศน. สค22021

6 ชุดวิชาลูกเสือ กศน. สค22021

Published by nfe671501, 2020-06-30 04:21:12

Description: 6 ชุดวิชาลูกเสือ กศน. สค22021

Search

Read the Text Version

137 แพ้มากทาให้อาการหายใจลาบาก หัวใจเต้นผิดปกติ หอบ คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บหน้าอก มีไข้ และชกั ความรนุ แรงขึ้นอยกู่ ับภูมิไวของแตล่ ะคน และจานวนคร้งั ทถ่ี กู ต่อย ขัน้ ตอนการช่วยเหลอื เบอื้ งต้น 1) รีบเอาเหล็กในออกโดยระวังไม่ให้ถุงน้าพิษที่อยู่ในเหล็กในแตก อาจทาโดยใชใ้ บมดี ขูดออก หรือใช้สก๊อตเทปปดิ ทาบบรเิ วณท่ีถกู ต่อย แลว้ ดงึ ออกเหล็กในจะติด ออกมาดว้ ย 2) ประคบบรเิ วณท่ถี กู ต่อยด้วยความเยน็ เพอ่ื ลดอาการปวด 3) ทาครีมลดอาการบวมแดง หรือน้ายาท่ีมีฤทธ์ิเป็นด่างอ่อน ๆ ปิดแผล เช่น แอมโมเนีย นา้ ปนู ใส 4) ถ้ามอี าการแพเ้ ฉพาะท่ี เช่น บวม คัน หรือเป็นลมพษิ ใหย้ าแกแ้ พ้ 5) ในกรณที มี่ ีบวมตามหนา้ และคอ ซึ่งทาให้หายใจไม่สะดวก ต้องรีบ นาส่งโรงพยาบาลเพื่อรับการรักษาขนั้ ต่อไป 2.4 ถูกทาร้าย การหมดสติ เป็นภาวะที่ร่างกายไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น สาเหตุ เนื่องจากสมองได้รับการกระทบกระเทือนจากการถูกทาร้ายร่างกายบริเวณศีรษะ ซึ่งเป็น บริเวณท่ีมีเส้นเลือดใกล้ผิวช้ันนอกมา ทาให้เลือดไหลออกมาก แต่มีบางกรณีไม่มีเลือดไหล ออกมาภายนอก ทาให้ผู้บาดเจ็บหมดสติ หากไม่ได้รับการช่วยเหลืออาจทาให้เสียชีวิต จึงต้อง ประเมินสถานการณ์และการบาดเจ็บ เพ่ือให้การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและนาส่งโรงพยาบาล เพื่อรบั การรกั ษา ขนั้ ตอนการช่วยเหลอื ผู้หมดสติ 1. สารวจสถานการณ์บริเวณที่เกิดเหตุอย่างรวดเร็ว ถ้าสถานการณ์ปลอดภัย ให้ตะโกนเรยี กผหู้ มดสติ 2. หากไม่มีการตอบสนอง ใช้มือทั้ง 2 ข้างตบไหล่ เรียกพร้อมสังเกต การตอบสนอง (การลืมตา ขยับตัว และพูด) และดูการเคลื่อนไหวของทรวงอก หน้าท้อง ถา้ พบว่า ยงั หายใจอยู่ให้รีบให้การช่วยเหลือ และขอความช่วยเหลือโดยการโทรศัพท์แจ้งสายด่วน รถพยาบาล 1669 แต่หากไม่ตอบสนอง หน้าอกหน้าท้องไม่กระเพื่อมขึ้นลง แสดงว่า ผู้ถูกทาร้าย หมดสติและไม่หายใจ ต้องช่วยเหลือผู้หมดสติ โดยการทา CPR (Cardiopulmonary Resuscitation) โดยเรว็ ทนั ทีใหแ้ ก่ผู้บาดเจบ็ ซึ่งจะช่วยให้เลือดได้รับออกซิเจนเพ่ิมมากขึ้นและ มีการไหลเวียนเข้าสู่สมองและอวัยวะสาคัญอ่ืน ๆ ก่อนที่จะถึงมือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ท้ังน้ี ในกรณีท่ี

138 ศรี ษะ ลาคอหรอื หลงั ของผบู้ าดเจบ็ ไดร้ ับการบาดเจ็บด้วย ผู้ให้การปฐมพยาบาล จะต้องระมัดระวัง ไม่ใหศ้ ีรษะ ลาคอหรอื หลงั ของผบู้ าดเจบ็ มกี ารเคล่ือนไหว ซง่ึ ทาไดโ้ ดยดงึ ขากรรไกรล่างหรือคาง ของผู้บาดเจบ็ ไปข้างหนา้ เพื่อเปดิ ทางให้อากาศเดนิ ทางเขา้ ไดส้ ะดวก กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 2 วธิ กี ารปฐมพยาบาลกรณีต่าง ๆ (ใหผ้ ู้เรยี นไปทากิจกรรมท้ายเรือ่ งที่ 2 ทส่ี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า) เร่อื งที่ 3 การวดั สัญญาณชพี และการประเมนิ เบ้อื งตน้ สัญญาณชีพเปน็ สง่ิ ที่บ่งบอกความมีชีวิตของบุคคล ถ้าสัญญาณชีพปกติ จะบ่งบอก ถึงภาวะร่างกายปกติ ถ้าสัญญาณชีพมีการเปล่ียนแปลง สามารถบอกได้ถึงการเปล่ียนแปลง ในการทาหน้าทีข่ องรา่ งกาย ความรุนแรงของการเจบ็ ป่วย และความรบี ด่วนที่ต้องการรักษา สัญญาณชีพ หมายถึง ส่ิงท่ีแสดงให้ทราบถึงการมีชีวิต สามารถสังเกตและ ตรวจพบได้จากท่ชี ีพจร อัตราการหายใจ อณุ หภูมิร่างกาย และความดนั โลหติ ซง่ึ เกดิ จากการทางาน ของอวัยวะของรา่ งกายทส่ี าคญั มากต่อชวี ติ ไดแ้ ก่ หัวใจ ปอด และสมอง รวมถึงการทางานของ ระบบไหลเวยี นโลหติ และระบบหายใจ วัตถุประสงคข์ องการวัดสญั ญาณชพี 1.-เพื่อประเมินระดับอุณหภูมิของร่างกาย อัตราการเต้น ลักษณะชีพจรการหายใจ และความดันโลหิต 2. เพอื่ สังเกตอาการทวั่ ไปของผปู้ ว่ ย และเปน็ การประเมินสภาพผู้ปว่ ยเบือ้ งต้น ข้อบง่ ช้ขี องการวดั สัญญาณชีพ 1. เม่อื แรกรับผปู้ ว่ ยไว้ในโรงพยาบาล 2. วดั ตามระเบยี บแบบแผนทป่ี ฏบิ ตั ขิ องโรงพยาบาลหรือตามแผนการรักษาของแพทย์ 3. กอ่ นและหลังการผา่ ตดั 4. กอ่ นและหลังการตรวจวินิจฉยั โรคทตี่ ้องใส่เครอื่ งมือตรวจเข้าไปภายในรา่ งกาย 5. กอ่ นและหลังใช้ยาบางชนดิ ท่มี ีผลตอ่ หวั ใจและหลอดเลือด 6. เมื่อสภาวะท่วั ไปของร่างกายผูป้ ่วยมีการเปล่ยี นแปลง เช่น ความรู้สึกตัวลดลง หรอื ความรุนแรงของอาการปวดเพิม่ ข้นึ

139 7. ก่อนและหลงั การให้การพยาบาลที่มผี ลต่อสัญญาณชพี สัญญาณชีพประกอบด้วย ชีพจร อตั ราการหายใจ อุณหภูมริ ่างกายและความดันโลหิต มีรายละเอียดดังน้ี 7.1 ชพี จรเป็นการหดและขยายตวั ของผนังหลอดเลือด ซึ่งเกิดจากการบีบตัว ของหัวใจ จังหวะการเต้นของเส้นเลือดจะสัมพันธ์กับการเต้นของหัวใจ การวัดอัตราการเต้น ของหวั ใจ วดั นบั จากการใชน้ ว้ิ กลางและน้ิวชี้คลาการเต้นของหลอดเลือดแดง ตรงด้านหน้าของ ขอ้ มอื (ด้านหัวแม่มือ) ที่อยู่ต่ากว่าฐานของนวิ้ หวั แม่มอื ประมาณ 60 - 100 ครงั้ ตอ่ นาที 7.2 อตั ราการหายใจ การหายใจเป็นการนาเอาออกซิเจนเขา้ สู่รา่ งกายและนา คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย การวัดอัตราการหายใจ ดูจากการขยายตัวของช่องอก ประมาณ 12 - 20 ครั้งตอ่ นาที 7.3 อุณหภมู ริ ่างกายเปน็ ระดบั ความรอ้ นของรา่ งกาย ซ่งึ เกดิ จากความสมดุลของ การสร้างความร้อนของร่างกายและการสูญเสียความร้อนของร่างกาย มีหน่วยเป็นองศาเซลเซียส (°C) หรอื องศาฟาเรนไฮต์ (°F) ซงึ่ จะไม่ค่อยเปลีย่ นแปลงมากนักถึงแม้อุณหภูมิภายนอกอาจจะ เปลย่ี นแปลง คา่ ปกติ ประมาณ 37 องศาเซลเซยี ส +/- 0.5 องศาเซลเซยี ส 7.4 ความดันโลหิต เป็นแรงดันของเลือดท่ีไปกระทบกับผนังเส้นเลือดแดง มหี น่วยเปน็ มลิ ลเิ มตรปรอท (มม.ปรอท หรือ mm.Hg.) ความดันโลหิตใช้ตรวจวัดจากเคร่ืองวัด คนปกตจิ ะมคี วามดันโลหติ ประมาณ 90/60 - 120/80 มลิ ลเิ มตรปรอท กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 3 การวดั สญั ญาณชีพและการประเมนิ เบอ้ื งตน้ (ใหผ้ เู้ รียนไปทากจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 3 ทส่ี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วชิ า) เรือ่ งที่ 4 วิธีการชว่ ยชวี ิตขั้นพนื้ ฐาน การช่วยชีวิตข้ันพื้นฐาน (Cardiopulmonary Resuscitation : CPR) เป็น การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ เมื่อเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน เพื่อนาออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย และช่วยให้โลหิตมีการไหลเวียนไปเล้ียงเนื้อเย่ือต่าง ๆ ของร่างกาย จนกระท่ังระบบต่าง ๆ กลบั มาทาหน้าทไ่ี ด้เปน็ ปกติ สาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะหยุดหายใจ และหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน ได้แก่ หัวใจ ขาดเลือด ไฟฟา้ ดดู ได้รับสารพิษ จมนา้ อุบัตเิ หตุตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ อาการของผทู้ ต่ี ้องได้รบั การชว่ ยเหลือ โดยการทา CPR คือ หมดสติ หยุดหายใจ หรอื มกี ารหายใจผิดปกติ (Gasping)

140 ข้นั ตอนการชว่ ยชีวิตขั้นพื้นฐาน (Cardiopulmonary Resuscitation : CPR) 1. สารวจสถานการณ์ สารวจสถานการณ์บริเวณท่ีเกิดเหตุอย่างรวดเร็ว ถ้าสถานการณ์ปลอดภัย ใหต้ ะโกนเรยี กผบู้ าดเจ็บ 2. หากไม่มีการตอบสนอง ใช้มือท้ัง 2 ขา้ ง ตบไหล่ เรียกพร้อมสังเกตการตอบสนอง (การลืมตาขยับตัว และพูด) และดูการเคลื่อนไหวของทรวงอก หน้าท้อง พบว่า หน้าซีดไม่มี การตอบสนอง หน้าอก หน้าท้องไม่เคล่ือนไหว แสดงว่าหมดสติ ไม่หายใจ ให้ตะโกนขอความ ช่วยเหลือ 3. ขอความชว่ ยเหลอื * ถ้าผู้บาดเจ็บหมดสตไิ ม่หายใจ ให้ขอความช่วยเหลือ โทรศัพท์แจ้งสายด่วน 1669 (ศนู ย์นเรนทร) 4. การกระตุน้ หวั ใจ โดยการกดหนา้ อก ยกละประมาณ 30 คร้ัง * ตาแหน่ง : ก่งึ กลางหน้าอก * กดดว้ ย : สนั มือ 2 ข้างซ้อนกัน * กดลึก : ประมาณ 5 - 6 เซนตเิ มตร * กดเร็ว : ประมาณ 100 - 120 ครง้ั /นาที และต้องผ่อนมือให้ทรวงอกคืนตัว ก่อนกดคร้ังต่อไป * จานวน : 30 คร้งั * ออกแรงกดจากลาตัวโดยมีสะโพกเป็นจุดหมุน กดในแนวตั้งฉากกับพ้ืน ข้อศอกเหยียดตรง เวลาในการกดและผ่อนต้องเท่ากัน กดแรงและกดเร็วเป็นจังหวะ (Push Hard - Push Fast) 5. การผายปอด และการช่วยหายใจ 5.1 การช่วยหายใจโดยวิธีเป่าปาก ให้ผู้ป่วยนอนหงาย วางศีรษะให้ต่ากว่า ไหล่เล็กน้อย และให้แหงนศีรษะไปข้างหลังเท่าที่จะทาได้ เพื่อให้ทางเดินหายใจของผู้ป่วยโล่ง ลิ้นมาจุกท่ีคอหอย ใช้มือหน่ึงบีบจมูกของผู้ป่วย ใช้นิ้วหัวแม่มือของอีกมือหนึ่งแหย่เข้าไปในปาก ผู้ป่วยเพ่ือดึงคางให้อ้าออก หายใจเข้าลึก ๆ อ้าปากให้กว้าง ๆ เอาปากประกบกับปากผู้ป่วยให้ แน่นแล้วเป่าลมเข้าไปในปากผู้ป่วย ดูว่าหน้าอกผู้ป่วยพองข้ึนหรือไม่ ถ้าพองขึ้นแสดงว่าลมเข้าไป ในปอดได้ดี ถอนปากที่ประกบออกเพื่อให้ผู้ป่วยได้หายใจออกเอง เมื่อผู้ป่วยหน้าอกยุบลง

141 ก็เป่าลมเข้าไปในปากผู้ป่วยอีก ทาเช่นน้ีไปเร่ือย ๆ ประมาณ 15 - 20 ครั้งต่อนาที จนกว่าผู้ป่วย จะหายใจได้เอง ระหว่างปฏิบัติให้ศีรษะผู้ป่วยแหงนไปข้างหลังตลอดเวลา 5.2 การช่วยหายใจโดยวิธีเป่าจมูก ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเช่นเดียวกับวิธีช่วยหายใจ ด้วยวิธีเป่าปาก แต่ใช้มือข้างหนึ่งดันคางผู้ป่วยให้ปากปิดสนิท หายใจเข้าลึก ๆ เอาปากประกบ ลงไปบนจมูกผู้ป่วยให้แนบสนิท แล้วเป่าลมเข้าไป ดูว่าหน้าอกผู้ป่วยพองข้ึนหรือไม่ ถ้าพองข้ึน แสดงว่าลมเข้าไปในปอดได้ดี ถอนปากออกแล้วให้มือจับคางผู้ป่วยให้อ้าออก เพื่อให้ผู้ป่วย หายใจออกได้ทางปาก เม่ือผู้ป่วยหน้าอกยุบลง ก็เป่าลมไปทางจมูกเช่นเดิมอีก ทาเช่นน้ีไปเร่ือย ๆ จนกวา่ ผูป้ ่วยจะหายใจได้เอง 5.3 การชว่ ยหายใจโดยการยกแขนและกดทรวงอก ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเช่นเดียวกับ สองวิธีแรก พับแขนผู้ป่วยเข้าหากันไว้บนอก นั่งคุกเข่าอยู่เหนือศีรษะผู้ป่วย จับข้อมือผู้ป่วยทั้ง 2 ข้าง ข้างละมือ โย้ตัวไปข้างหน้าเหยียดแขนตรงกดลงไปตรงมือของผู้ป่วย ซ่ึงจะเท่ากับกด ทรวงอกของผู้ป่วยให้หายใจออกขับเอาน้าออกมา แล้วโย้ตัวไปข้างหลังพร้อมกับจับแขนผู้ป่วย ท้ัง 2 ข้าง ดึงแยกขึ้นไปข้างบนให้มากท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ จะทาให้ปอดผู้ป่วยขยายตัว ทาให้ อากาศไหลเขา้ ไปได้ ทาเช่นนไี้ ปเรอ่ื ย ๆ จนกวา่ ผปู้ ว่ ยจะหายใจไดเ้ อง

142 5.4 การช่วยหายใจโดยการแยกแขนและกดหลัง ให้ผู้ป่วยนอนคว่า ให้แขน ของผู้ป่วยท้ัง 2 ข้าง พับเข้าหากัน หนุนอยู่ใต้คาง นั่งคุกเข่าอยู่เหนือศีรษะผู้ป่วย วางฝ่ามือลง บนหลังของผ้ปู ว่ ยใต้ต่อกระดูกสะบัก ข้างละมือ โดยให้หัวแม่มือมาจดกัน กางนิ้วมือทั้ง 2 ข้างออก โน้มตัวไปข้างหน้า แขนเหยียดตรงใช้น้าหนักตัวกดลงบนแผ่นหลังของผู้ป่วย ซึ่งจะเท่ากับกด ทรวงอกของผปู้ ่วยใหห้ ายใจออก ขับเอาน้า (ถา้ ม)ี ออกมาจากน้ยี า้ ยมือท้ัง 2 ข้าง มาจับต้นแขน ผู้ป่วยแล้วโย้ตัวกลับพร้อมกับดึงข้อศอกของผู้ป่วยมาด้วย จะทาให้ปอดผู้ป่วยขยายตัว ทาให้ อากาศไหลเข้าไปได้ ทาเช่นน้ีเร่ือย ๆ ไปจนกว่าผู้ป่วยจะหายใจได้เอง ถ้าการช่วยหายใจกระทาได้ ถูกต้องดังกล่าว และหัวใจของผู้ป่วยยังเต้นอยู่ตลอดเวลา ผู้ป่วยจะดูแดงขึ้น และอาจกลับมา หายใจได้เป็นปกติอกี ขอ้ สังเกต 1. การกดหนา้ อกให้กดตอ่ เน่ือง ระวังอยา่ หยดุ กดหรืออย่าใหม้ กี ารเว้นระยะการกด 2. การกดหน้าอกแต่ละคร้ังต้องมีการปล่อยให้ทรวงอกกลับคืนสู่สภาพเดิมก่อน (แต่ไม่ยกสันมอื ขึน้ พน้ จากทรวงอก) แล้วจึงกดคร้งั ตอ่ ไป เม่ือหัวใจถูกกดด้วยความลึก 5 - 6 เซนติเมตร ความดันในช่องอกจะเพ่ิมขึ้น ทาใหม้ ีเลอื ดสบู ฉดี ออกจากหัวใจ และไหลเวยี นไปเลี้ยงสมองและอวยั วะอน่ื ๆ เมือ่ หวั ใจคลายตวั กลับสู่สภาพเดิมในระหว่างการกดหน้าอก และความดันใน ชอ่ งอกลดลงเลอื ดจะไหลกลับสู่หัวใจและปอด เพ่ือรับออกซิเจนท่ีเป่าเข้าไปจากการช่วยหายใจ และพรอ้ มท่จี ะสูบฉดี ครง้ั ใหมต่ อ่ ไป กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 4 วธิ ีการช่วยชีวติ ขน้ั พน้ื ฐาน (ใหผ้ ู้เรียนไปทากจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 4 ทสี่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวชิ า)

143 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 12 การเดนิ ทางไกล อยู่คา่ ยพักแรม และชีวิตชาวค่าย สาระสาคญั การเดินทางไกล เป็นการเดินทางของลูกเสือ จากกองลูกเสือ หรือกลุ่มลูกเสือ ไปทากิจกรรมต่าง ๆ ในสถานท่ีใดที่หนึ่ง ซึ่งนายหมู่ลูกเสือ และผู้กากับลูกเสือร่วมกันกาหนด เพอื่ ใหส้ มาชกิ ได้เกดิ การเรยี นรูร้ ่วมกนั ปฏบิ ตั ิกิจกรรมร่วมกนั ใช้ชวี ิตร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ร่วมกัน โดยมีระบบหมู่ลกู เสือเปน็ หลักในการทากิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม และ อุดมการณ์ลูกเสือ มีความเป็นพี่น้องกัน และพัฒนาความเป็นพลเมืองดี ตามทักษะของลูกเสือ ทั้งนี้ เพ่ือฝึกความอดทน ความสามัคคี ความมีวินัย และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ตลอดจน รู้จักการเตรยี มความพรอ้ มในการใช้ชีวติ กลางแจ้ง การอยู่ค่ายพักแรม เป็นการไปพักแรมคืนในสถานที่ต่าง ๆ และนาสิ่งท่ีได้จาก การเรยี นรทู้ ้งั ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ โดยมีกระบวนการถ่ายทอดความรู้ และการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ตลอดจนการเสริมสร้างพัฒนาทักษะลูกเสือ รวมทั้งการฝึกกระบวนการคิด วเิ คราะห์ และสร้างสรรค์สิ่งทีเ่ ป็นประโยชน์ และสัมพันธ์กบั วิถีชีวติ ชีวิตชาวค่าย เป็นกิจกรรมเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีในการใช้ชีวิตร่วมกัน ทากิจกรรมร่วมกัน มีความเอื้ออาทรซึ้งกันและกัน มีการพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะการประกอบ อาชีพแบบชาวค่าย ทักษะการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเคร่ืองใช้ที่จาเป็นในการอยู่ค่ายพักแรม รวมท้ังการเสริมสร้างคุณธรรมในตนเอง โดยมีคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ เป็นหลักใน การดารงชีวิตชาวคา่ ย การจดั การค่ายพักแรม เปน็ การกาหนดตาแหน่งท่จี ะสร้างเต็นท์ ครัว สุขาภิบาล ราวตากผ้า ให้เหมาะสมกับสถานทีต่ ้งั คา่ ยพักแรม ดงั นน้ั ตอ้ งศึกษาสภาพภมู ิประเทศ คาดคะเน ความเหมาะสมของพน้ื ที่ แหล่งน้า เส้นทางคมนาคม และความปลอดภยั จากผูก้ ่อการรา้ ย

144 ตัวช้ีวัด 1. อธบิ ายความหมายของการเดินทางไกล 2. อธบิ ายความหมายของการอยู่ค่ายพักแรม 3. อธิบายการใช้เครือ่ งมือสาหรับชีวติ ชาวคา่ ย 4. อธิบายวิธีการจัดการคา่ ยพกั แรม ขอบขา่ ยเนอ้ื หา เรอ่ื งท่ี 1 การเดินทางไกล 1.1 ความหมายของการเดนิ ทางไกล 1.2 วัตถุประสงค์ของการเดนิ ทางไกล 1.3 หลักการของการเดินทางไกล 1.4 การบรรจุเคร่อื งหลงั สาหรับการเดนิ ทางไกล เรื่องท่ี 2 การอย่คู ่ายพักแรม 2.1 ความหมายของการอยู่ค่ายพักแรม 2.2 วัตถุประสงคข์ องการอยู่ค่ายพักแรม 2.3 หลกั การของการอยู่คา่ ยพกั แรม เรือ่ งที่ 3 ชวี ติ ชาวค่าย 3.1 เครื่องมือ เครอื่ งใช้ ทจี่ าเปน็ สาหรับชวี ติ ชาวค่าย 3.2 การสร้างครัวชาวคา่ ย 3.3 การสร้างเตาประเภทตา่ ง ๆ 3.4 การประกอบอาหารแบบชาวคา่ ย 3.5 การกางเต็นท์ และการเกบ็ เตน็ ท์ชนดิ ตา่ ง ๆ เรอ่ื งท่ี 4 วิธกี ารจัดการคา่ ยพกั แรม 4.1 การวางผังคา่ ยพักแรม 4.2 การสุขาภบิ าลในคา่ ยพกั แรม เวลาท่ีใช้ในการศึกษา 6 ช่วั โมง

145 สอ่ื การเรียนรู้ 1. ชุดวิชา ลูกเสอื กศน. รหสั รายวิชา สค22021 2. สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรปู้ ระกอบชุดวิชา 3. สื่อเสรมิ การเรียนรอู้ น่ื ๆ

146 เรอ่ื งท่ี 1 การเดนิ ทางไกล 1.1 ความหมายของการเดินทางไกล การเดนิ ทางไกล หมายถึง การเดินทางของลูกเสือจากกอง หรือกลุ่มลูกเสือ เพือ่ ไปทากิจกรรมท่ีใดที่หน่ึง โดยมีผู้กากับและนายหมู่ลูกเสือเป็นผู้กาหนดร่วมกัน เพื่อนาลูกเสือ ไปฝึกทักษะวิชาการลูกเสือเพ่ิมเติม ให้รู้จักการใช้ชีวิตกลางแจ้งและสัมผัสกับธรรมชาติอย่าง ใกล้ชิด โดยลูกเสือได้ใช้ความสามารถของตนเอง การเดินทางไกลของลูกเสือสามารถเดินทาง ด้วยเท้า เรอื หรือจกั รยานสองลอ้ รวมถึงรถยนตอ์ ีกดว้ ย 1.2 วตั ถุประสงค์ของการเดินทางไกล มีดังนี้ 1) เพอื่ ฝึกความอดทนความมรี ะเบียบวินัย และเสริมสร้างสุขภาพอนามัยให้แก่ ลูกเสอื 2) เพ่ือให้ลูกเสือมีเจตนารมณ์ และเจตคติที่ดีรู้จักช่วยตนเองและรู้จักทางาน ร่วมกับผู้อ่ืน 3) เพ่ือให้มีโอกาสปฏิบัติตามคติพจน์ของลูกเสือ และมีโอกาสบริการต่อ ชุมชนท่ไี ปอยคู่ ่ายพักแรม 4) เพ่ือเปน็ การฝกึ และปฏบิ ัติตามกฎของลูกเสือ 1.3 หลักการของการเดนิ ทางไกล การเดินทางไกล ใช้ระบบหมู่ เพื่อฝกึ ความอดทน ความสามัคคี ความมีระเบียบ วินัย การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รู้จักการระมัดระวังตัวจากอุบัติเหตุขณะเดินทาง และการ เตรียมตวั ในการเดนิ ทางให้ได้ใช้ชีวติ กลางแจง้ 1.4 การบรรจุเครอ่ื งหลงั สาหรับการเดินทางไกล เป็นกิจกรรมหน่ึงของลูกเสือ ซ่ึงลูกเสือจะต้องมีการเตรียมการเร่ืองเคร่ืองหลัง ให้พร้อมเหมาะสมกับเดินทางไกลไปแรมคืน ซ่ึงอุปกรณ์ที่จะจัดเตรียม คือ อุปกรณ์เฉพาะบุคคล หรืออุปกรณ์ประจาตัวที่จาเป็นจะต้องเตรียมพร้อมก่อนกาหนดเดินทางควรมีน้าหนักไม่มากนัก มดี ังนี้ 1) เคร่ืองแต่งกาย ได้แก่ เคร่ืองแบบลูกเสือและเคร่ืองหมายประกอบ เครื่องแบบ คือ หมวก ผ้าผูกคอ เส้ือ กางเกงหรือกระโปรง เข็มขัด ถุงเท้า รองเท้า หรือชุดลาลอง หรอื ชดุ สภุ าพ ชดุ กฬี า ชดุ นอน

147 2) เคร่ืองใช้ประจาตัว ได้แก่ สบู่ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดตัว ผ้าขาวม้า ผ้าถุง ไฟฉาย ขันน้า รองเท้าแตะ จาน ชาม ช้อน ยากันยุง ยาขัดโลหะ เชือก หรือยาง สาหรับ ผกู หรือรดั อุปกรณเ์ ล็ก ๆ นอ้ ย ๆ ถงุ พลาสติก สาหรบั ใส่เสอ้ื ผ้าทใี่ ช้แล้วหรอื เปียกชื้น 3) ยาประจาตวั หรืออปุ กรณป์ ฐมพยาบาล 4) อุปกรณ์ประกอบการเรียนรู้ และการจดบันทึกกิจกรรม เช่น สมุด ปากกา ดนิ สอ แผนที่ เข็มทศิ เปน็ ตน้ 5) อุปกรณ์ท่ีจาเป็นตามฤดูกาล เช่น เสอ้ื กันฝน เสอื้ กันหนาว 6) อปุ กรณ์เครื่องนอน เช่น ผา้ ห่ม ถุงนอน 7) อุปกรณท์ ่ปี ระจากายลูกเสือ เช่น ไม้งา่ ม กระติกน้า เชอื กลูกเสือ ขอ้ แนะนาในการบรรจุเคร่ืองหลงั เครื่องหลัง คือ ถุงหรือกระเป๋าสาหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ และใช้สะพายหลัง เพ่ือให้สามารถนาสิ่งของไปยังสถานท่ีต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก เคร่ืองหลังจึงเป็นส่ิงสาคัญ และมี ความจาเป็นมากสาหรับกิจกรรมการเดินทางไกล เพราะลูกเสือต้องใช้บรรจุอุปกรณ์ประตัว อุปกรณ์ประจาหมู่ ซึ่งต้องนาไปใช้ในการอยู่ค่ายพักแรม การบรรจุส่ิงของลงในถุงเครื่องหลัง หรอื กระเป๋ามีขอ้ แนะนา ดงั น้ี 1. ควรเลือกเคร่อื งหลังทีม่ ขี นาดพอเหมาะไม่เล็กหรือใหญจ่ นเกินไป 2. ควรบรรจุสิ่งของที่มีน้าหนักมากหรือสิ่งของที่ใช้ภายหลังไว้ข้างล่าง ส่วน ส่ิงของที่ใช้ก่อนหรือใช้รีบด่วน เช่น ไฟฉาย เสื้อกันฝน ไม้ขีดไฟ เป็นต้น ให้ไว้ข้างบนสุดของ เครอื่ งหลัง ซ่งึ สามารถนาออกมาใชไ้ ดอ้ ยา่ งสะดวก 3. ควรบรรจุส่ิงของนุ่ม ๆ เช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าห่ม เสื้อผ้าใส่ในเคร่ืองหลังตรง สว่ นที่จะสมั ผัสกบั หลังของลกู เสอื เพื่อจะได้ไม่เจบ็ หลงั ขณะเดนิ ทาง 4. สิง่ ของบางประเภท เช่น ยารักษาโรค ข้าวสาร เป็นต้น ควรใส่ถุงผ้าหรือ ถุงพลาสตกิ กอ่ น แล้วจึงบรรจุลงเครือ่ งหลัง 5. ในกรณีที่ถุงนอน และผ้าห่มบรรจุเครื่องหลังไม่ได้ ให้ผูกถุงนอนและผ้าห่ม นอนของลกู เสอื ไวน้ อกเคร่ืองหลงั คลมุ ดว้ ยพลาสตกิ ใสเพ่อื กนั เปยี กนา้ 6. เคร่ืองหลังที่ลูกเสือนาไปต้องไม่หนักจนเกินไป เพราะถ้าหนักเกินไป จะทาให้ลกู เสือเหนือ่ ยเร็ว น้าหนกั ของเครอื่ งหลังควรหนักไม่เกิน 1 ใน 5 ของน้าหนักตัวลูกเสือ เช่น ถ้าลูกเสือหนัก 50 กิโลกรัม เครื่องหลังควรหนักไม่เกิน 10 กิโลกรัม เป็นต้น ปัจจุบัน

148 เครื่องหลังท่ีใช้บรรจุส่ิงของนั้นมีหลายชนิดแล้วแต่ลูกเสือจะเลือกใช้ เช่น กระเป๋า ย่าม หรือเป้ ลูกเสือควรเลือกใช้เครื่องหลงั ที่มีลักษณะคล้ายเป้ เพราะมชี ่องสาหรับบรรจสุ ่ิงของหลายประเภท กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 1 การเดนิ ทางไกล (ใหผ้ ู้เรยี นไปทากิจกรรมท้ายเร่อื งท่ี 1 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวชิ า) เรื่องที่ 2 การอยู่ค่ายพกั แรม 2.1 ความหมายของการอย่คู ่ายพกั แรม การอยู่ค่ายพักแรมลูกเสือ คือ องค์รวมของการเรียนรู้ท้ังภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ โดยมีนวัตกรรมและขบวนการถ่ายทอด การทดสอบ การเสริมสร้างพัฒนาการให้แก่ ลูกเสือในทุกระดับ โดยการนาลูกเสือออกจากที่ต้ังปกติไปพักแรมคืนตามค่ายลูกเสือต่าง ๆ รวมทั้งสถานท่ีที่มีองค์ประกอบท่ีเหมาะสมกับการจัดกิจกรรมลูกเสือ เช่น วนอุทยาน ชายทะเล เป็นต้น โดยมีแผนการอยู่ค่ายพักแรมในแต่ละคร้ังสอดคล้องกับการเรียนการสอนกิจกรรม ลูกเสือในเวลาปกติ 2.2 วตั ถุประสงคข์ องการอยูค่ า่ ยพกั แรม มีดังนี้ 1) เพอื่ ใหล้ ูกเสอื ทบทวนส่งิ ทีไ่ ด้เรยี นรูจ้ ากทฤษฎี และการฝึกปฏบิ ตั ิ 2) เพอ่ื เป็นการฝกึ ทกั ษะทางลกู เสือ ให้มรี ะเบยี บวินัย มเี จตคติ มีคา่ นิยมท่ีดีงาม 3) เพอื่ ใหล้ กู เสอื ปฏบิ ตั ติ ามคาปฏิญาณและกฎของลูกเสอื 2.3 หลกั การของการอยคู่ ่ายพักแรม มดี งั น้ี 1) ยดึ หลกั การมสี ว่ นรว่ ม โดยให้ผบู้ ังคบั ชาลูกเสอื ลกู เสอื และชุมชน มีส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรม 2) ใช้กระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นลูกเสือเป็นสาคัญ มีทักษะในการแสวงหา ความรู้จากแหลง่ เรยี นรูใ้ นชมุ ชน 3) ใช้กระบวนการกลมุ่ ในการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ฝกึ ให้คิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ ทเี่ ป็นประโยชน์และสัมพนั ธก์ บั วิถีชวี ิต 4) มีกิจกรรมวิชาการ และกจิ กรรมนันทนาการทใี่ ห้ลูกเสือได้รับความรู้ และ ความสนุกสนาน ทางานรว่ มกันเปน็ กลุ่มเพ่ือเสรมิ สร้าง ความสามคั คี มนษุ ยสัมพันธ์ ความเปน็ ผนู้ า 5) ตอ้ งคานงึ ถงึ ความปลอดภัยในดา้ นตา่ ง ๆ ระหว่างการทากิจกรรม

149 กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 2 การอยคู่ ่ายพักแรม (ให้ผู้เรียนไปทากิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 2 ทส่ี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา) เรอ่ื งท่ี 3 ชวี ติ ชาวคา่ ย ชีวิตชาวค่าย เป็นกิจกรรมสร้างนิสัย การบาเพ็ญประโยชน์ รู้จักการปรับตัว เข้าหากัน และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยการฝึกปฏิบัติตนด้วยการทางานร่วมกัน เป็นหมู่ รู้จักยอมรับในบทบาทหน้าท่ีซึ่งกันและกัน ฝึกการเป็นผู้นา ผู้ตาม ฝึกให้รู้จักช่วยเหลือ ตนเอง เม่ือมีเหตุการณ์คับขัน รู้จักการดารงชีพกลางแจ้งโดยไม่น่ิงเฉย เชื่อฟังกฎกติกาอยู่ใน ระเบียบอยา่ งเครง่ ครัด สร้างเสรมิ คณุ ธรรม สรา้ งความมวี ินัย ชีวิตชาวคา่ ย ประกอบดว้ ย 1. เครอื่ งมอื เครื่องใช้ ที่จาเป็นสาหรับชีวิตชาวค่าย 2. การสร้างครวั ชาวคา่ ย 3. การสร้างเตาประเภทต่าง ๆ 4. การประกอบอาหารแบบชาวคา่ ย 5. การกางเตน็ ท์ และการเก็บเต็นทช์ นดิ ตา่ ง ๆ 3.1 เคร่ืองมือ เครอ่ื งใช้ ท่ีจาเปน็ สาหรบั ชวี ิตชาวคา่ ย เคร่ืองมือ เครื่องใช้ สาหรับการอยู่ค่ายพักแรมมีหลากหลายประเภท แยกตามลักษณะของการใช้งาน แบ่งออกเป็น ของมีคม ได้แก่ มีด ขวาน เล่ือย เครื่องมือที่ใช้ สาหรับขุด ได้แก่ จอบ เสียม พลั่ว พล่ัวสนาม และเครื่องมือที่ใช้สาหรับตอก ได้แก่ ค้อน โดยแยกเก็บตามประเภท และลักษณะการใช้งาน เพื่อความสะดวกในการหยิบใช้งาน และความ เปน็ ระเบยี บเรียบร้อย มีด คือ เคร่ืองมือชนิดแรก ๆ ท่ีมนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน มาอย่างยาวนาน เกี่ยวขอ้ งสัมพันธ์กับแทบทุกกิจกรรม ในการดาเนินชีวิต มีด เป็นเครื่องมือตัด เฉือนชนิดมีคม สาหรับใช้ สับ ห่ัน เฉือน ปาด บางชนิดอาจมีปลายแหลมสาหรับกรีดหรือแทง มกั มขี นาดเหมาะสมสาหรับจบั ถอื ด้วยมอื เดียว ขวาน เป็นเครื่องมือที่ทาด้วยเหล็ก มีสันหนาใหญ่ ใช้ในการตัดไม้ ฟันไม้ ผ่าไม้ ตอกไม้ รวมไปถึงการใช้เป็นอาวุธ โดยท่ัวไปขวานจะประกอบด้วยสองส่วนหลัก คือ ส่วนหัว และสว่ นดา้ มจับ โดยขวานจะมีท้ังแบบทด่ี า้ มยาว และแบบด้ามสนั้ ข้ึนอยกู่ บั งานท่ใี ช้

150 การดแู ลรักษามีดและขวาน 1. ไม่ควรวางมดี หรอื ขวานไวก้ บั พืน้ เพราะจะเป็นอนั ตรายต่อผู้อื่น ถ้าเผลอไปเหยียบ รวมท้งั จะทาใหค้ มมดี และขวานเป็นสนิมได้ 2. อย่าใช้มีดหรือขวานห่ัน ถากวัตถุท่ีแข็งเกินไป เพราะอาจทาให้หมดคม หรือ อาจบน่ิ เสียหายได้ 3. ไมค่ วรเอามดี หรือขวานลนไฟหรือหั่น สบั สงิ่ ที่กาลังรอ้ น เพราะจะทาให้ท่ือง่าย 4. หลงั จากใช้มดี หรอื ขวานเสรจ็ แล้ว ต้องล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้ง ทาน้ามันแล้วเก็บ เข้าท่ีให้เรียบร้อย ถ้าเป็นมีดหรือขวานที่มีปลอก มีหน้ากาก ควรสวมปลอกหรือหน้ากากก่อน แล้วนาไปเก็บ 5. เม่ือคมมดี หรอื คมขวานทอ่ื ควรลับกบั หนิ ลับมีด หรอื หินกากเพชร 6. ถ้าดา้ มมีด หรอื ดา้ มขวาน แตกรา้ ว ตอ้ งรีบซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพดี ก่อนนาไปเก็บ หรือนาไปใชง้ าน วิธีถอื มดี และขวานใหป้ ลอดภัย 1. ตอ้ งหันด้านคมของมดี หรือขวานออกนอกตัว 2. เวลาแบกขวาน ต้องระวังอยา่ ให้คมขวานหอ้ ยลง หรอื หันเข้าหาตัว 3. ถ้าเปน็ ขวานขนาดเลก็ เวลาถือใหจ้ บั ทีต่ วั ขวาน ปลอ่ ยด้ามขวานช้ีลงพ้ืน หันคมขวาน ไปทางด้านหลงั วธิ สี ่งมดี และขวานใหป้ ลอดภัย 1. การส่งมดี ผู้สง่ จับสันมดี หันคมมีดออกนอกตัวหรือหันด้านคมลงพ้ืน ส่งด้านมีด ให้ผจู้ ับ 2. การสง่ ขวาน ผ้สู ง่ จบั ปลายด้ามขวานห้อยตัวขวานลง ให้คมขวานหันไปด้านข้าง ผ้รู ับตอ้ งจบั ดา้ มขวานใต้มอื ผู้สง่ เล่ือย เป็นเล่ือยสาหรับงานไม้โดยทั่วไป ทาด้วยโลหะแผ่นบาง มีฟันเป็นซี่ ๆ โดยฟนั ของซ่เี ล่อื ยมีความแตกตา่ งกันตามความเหมาะสมกบั การใชง้ าน การดูแลรักษา 1. หลงั จากการใชง้ านให้คลายใบเลื่อยออกเล็กน้อย เพ่ือยืดอายุใบเลื่อยให้ใช้งาน ได้ยาวนานขน้ึ 2. ใชแ้ ปรงปดั ทาความสะอาดทุกส่วน ทาดว้ ยนา้ มนั แลว้ เก็บไว้ในท่ีเก็บหลังการ ใชง้ าน

151 จอบ เปน็ เครอ่ื งมอื ขุดดิน ท่ีมนี ้าหนกั ปานกลางและมีความทนทานสูง จอบใช้ใน การขุดดินแข็ง ๆ และขุดหลุมให้มีขนาดกว้างและลึกได้ ลักษณะเด่นของจอบ คือ มีใบท่ีแบน กว้างและคม สามารถเจาะผ่านพื้นดนิ หรือก้อนดินทแ่ี ข็ง ๆ ใหแ้ ยกขาดออกจากกันไดโ้ ดยง่าย การดแู ลรกั ษา หลังจากการใช้ทุกคร้ังควรล้างทาความสะอาดด้วยน้า เพื่อกาจัดดินท่ีติดตาม ใบจอบและคมจอบให้หมดเสียก่อน จากน้ันให้ใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง แล้วทาน้ามันกันสนิมและเก็บเข้าที่ ให้เรียบรอ้ ย เสียม เป็นเครื่องมือขุดดิน ท่ีมีน้าหนักเบาที่สุดในบรรดาเครื่องมือขุดดินทุกชนิด ด้วยรูปทรงท่ีเล็กมีน้าหนักเบา จึงไม่กินแรงผู้ใช้ เสียมจึงมีบทบาทสาคัญในงานด้านการเกษตร ทุกชนิด จึงพูดได้ว่าเสียมเป็นเครื่องมือการเกษตรที่มาคู่กับจอบ เพราะส่ิงท่ีจอบทาได้ เสียม กส็ ามารถทาได้ เช่น การขุดดิน ขดุ ลอก เป็นตน้ แต่ส่ิงที่เสียมทาได้น้ันจอบไม่สามารถทาได้ก็คือ การขุดหลุมท่ีลึกและแคบ และการขุดดินในท่ีแคบ ๆ ท่ีต้องใช้ความความระมัดระวังสูง เช่น การขุดล้อมตน้ ไม้ขนาดเล็ก และการขุดหนอ่ กลว้ ย เปน็ ต้น การดูแลรกั ษา หลังจากการใช้งานทุกคร้ังควรล้างทาความสะอาดด้วยน้า เพื่อกาจัดดินที่ติด ปลายเสียมให้หมดเสียก่อน จากน้ันก็ใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง ทาน้ามันกันสนิมแล้วหาท่ีเก็บเข้าที่ให้ เรียบรอ้ ย พล่วั เปน็ เครอ่ื งมือใช้ในการตักดิน หรือตักทรายที่ความละเอียดมาก หรือเป็นก้อน ท่ีไม่ใหญ่นัก พลั่วมีน้าหนักพอ ๆ กับเสียม แต่มีใบที่กว้างและบางกว่าเสียมและจอบเล็กน้อย คมของพล่ัวไม่ได้มีไว้ใช้ในการขุดหรือเจาะ แต่มีไว้ในการตักหรือโกยเศษทราย เศษดิน หรือ เศษวัชพืชที่ได้ทาการกวาดรวม ๆ กันไว้เป็นกอง ๆ เรียบร้อยแล้ว เพื่อตักไปใส่ถุงปุ๋ย หรือบุ้งกี๋ หรอื ถงั ขยะ เพ่อื เพม่ิ ความรวดเรว็ ในการจดั เก็บและทาความสะอาด การดูแลรกั ษา หลังจากการใช้ทุกครั้งควรล้างทาความสะอาดด้วยน้า เพ่ือกาจัดเศษดินเศษทราย ที่ติดตามปลายพลว่ั ใหห้ มดเสยี ก่อน จากนั้นก็ใชผ้ า้ เชด็ ให้แห้ง ทาน้ามันกันสนิมแล้วเก็บเข้าท่ีให้ เรียบรอ้ ย ค้อน คือ เคร่ืองมือสาหรับตอก หรือทุบบนวัตถุอื่น สาหรับการใช้งาน เช่น การตอกตะปู การจดั ชน้ิ สว่ นให้เขา้ รูป และการทุบทลายวัตถุ ค้อนอาจได้รับการออกแบบมาให้ ใช้งานเฉพาะทาง และมีรูปร่างกับโครงสร้างที่หลากหลาย แต่มีโครงสร้างพ้ืนฐานที่เหมือนกัน

152 คือ ด้ามจบั และหัวคอ้ น ซงึ่ น้าหนักจะค่อนไปทางหัวค้อนมากกว่า แรงท่ีกระทบเป้าหมายจะมาก เท่าใด ข้ึนอยู่กับมวลของค้อนและความเร่งของการตอก ดังน้ันเม่ือค้อนย่ิงหนักมากและหวด ด้วยความเร่งมาก แรงทไ่ี ด้จากคอ้ นย่งิ มากตามไปดว้ ย การดูแลรกั ษา 1. เลือกชนิดของคอ้ นใหเ้ หมาะกับงาน 2. เมื่อใชง้ านเสร็จควรเชด็ ทาความสะอาด แล้วทาน้ามนั ท่หี ัวคอ้ นเพือ่ ปอ้ งกนั สนิม 3.2 การสร้างครวั ชาวค่าย การสร้างครัว เป็นการกาหนดพื้นท่ีสาหรับใช้ในการประกอบอาหารตลอด ระยะเวลาในการอยู่ค่ายพกั แรม มีองคป์ ระกอบในการสรา้ งครวั ดงั นี้ ทท่ี าครัว ควรมีเขตทาครัวโดยเฉพาะ โดยเลือกพื้นท่ีท่ีจะเป็นเหตุให้เสียหาย แกพ่ ืน้ ท่ีน้อยทส่ี ดุ ถา้ มีหญ้าขึ้นอยตู่ อ้ งแซะหญา้ ออก (ให้ติดดินประมาณ 10 เซนติเมตร) แล้วจึง ค่อยต้ังเตาไฟ ส่วนหญ้าท่ีแซะออกนั้นจะต้องหม่ันรดน้าไว้ เม่ือการอยู่ค่ายพักแรมได้สิ้นสุดลงแล้ว กใ็ หป้ ลูกหญา้ ไว้ที่เดิม แลว้ รดนา้ เพอื่ ใหค้ นื สูส่ ภาพเดมิ ในการจัดทาเครื่องใช้น้ัน อะไรควรจัดทาก่อน อะไรควรจัดทาภายหลัง ถือหลักว่า อนั ไหนสาคัญทส่ี ุดก็ให้จดั ทาก่อน แลว้ จึงคอ่ ย ๆ จดั ทาส่งิ ท่มี ีความสาคญั รองลงมาตามลาดบั คาแนะในการสร้างเครอ่ื งใช้ตา่ ง ๆ เตาไฟ มีหลายแบบ เช่น แบบขุดเป็นราง แบบใช้อิฐ หรือก้อนหินวางเป็น สามเสา้ แบบเตายนื เป็นแบบสะดวกในการทาครัว ก่อนตั้งเตาไฟควรทาความสะอาดบริเวณนั้น อยา่ ให้มีเชื้อไฟหรือส่งิ ทต่ี ิดไฟง่ายอยูใ่ กล้ ๆ กองฟืน ลักษณะของฟืนที่นามาใช้ควรเป็นไม้แห้ง เพื่อง่ายต่อการก่อไฟ ควรกองให้เป็นระเบียบ อยู่ไม่ห่างจากเตาไฟ ถ้าฝนตกจะต้องมีหลังคาคลุมดิน สาหรับเตายืน อาจเอาฟนื ไวใ้ ตเ้ ตากไ็ ด้ เครื่องใช้ต่าง ๆ หม้อ กระทะ แก้วน้า มีด เขียง ฯลฯ ที่เก็บมีด ที่เก็บกระบอกน้า เก็บจาน ท่ีเก็บถัง น้า ท่ีเกบ็ อาหาร จะต้องจัดทาขน้ึ ท่ีหุงต้มและรับประทานอาหาร ควรมี หลังคามุงกันแดดกันฝน อาจใช้โต๊ะอาหารและม้าน่ัง ควรจัดทาขนึ้ ตามแบบง่าย ๆ

153 หลุมเปียก ขุดหลุมขนาดใหญ่ให้ลึกพอสมควร ที่ปากหลุมใช้ก่ิงไม้ ใบไม้ สานเปน็ แผงปิด แล้วเอาหญ้าโรยขา้ งบน หลมุ น้าสาหรับเทน้าต่าง ๆ ที่ไม่ใช้แล้ว เช่น น้าปนไขมัน ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีเม่ือเทลงไป ไขมันและสิ่งต่าง ๆ จะติดอยู่ที่หญ้า มีแต่น้าแท้ ๆ ไหลลงไปในหลุม แผงทีป่ ากหลุมจะต้องนาไปเผา และเปล่ยี นใหมว่ ันละครง้ั เปน็ อย่างนอ้ ย หลุมแห้ง ขุดเป็นอีกหลุมหน่ึง เม่ือท้ิงเศษอาหารแล้ว จะต้องเอาดินกลบ ถ้าเปน็ กระปอ๋ ง กอ่ นทิ้งตอ้ งทบุ ใหแ้ บนและเผาไฟ ในกรณีที่ค่ายน้ันมีถังสาหรับเผาขยะหรือเศษ อาหารโดยเฉพาะอย่แู ลว้ กใ็ ห้นาขยะและเศษอาหารไปเผา ณ ทก่ี าหนดไว้ 3.3 การสร้างเตาประเภทตา่ ง ๆ เตาสาหรบั หงุ อาหาร เตาไฟที่ใช้ในการหุงอาหารในการอยู่ค่ายพักแรมมีอยู่หลายแบบ ซึ่งจะ จัดการสร้างได้ขณะอยู่ค่ายพักแรมตามสภาพของพื้นที่ เตาไฟแบบต่าง ๆ ได้แก่ เตาราง เตาใช้ อิฐและหนิ เตายืน เตาแขวน ในการก่อสร้างเตาแต่ละคร้ังลูกเสือจะต้องทาความสะอาดรอบ ๆ บริเวณทกี่ ่อสรา้ งเตาใหเ้ ตียนและอย่าให้มีเชอื้ ไฟหรอื วสั ดุท่ีติดไฟได้งา่ ย ๆ อยใู่ กลบ้ รเิ วณนัน้ เตาสามเส้า เปน็ การนาก้อนหนิ สามก้อนมาวางบนพื้น จัดระยะห่างให้พอดี กบั กอ้ นหม้อเปน็ สามมุมดใู ห้อากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก

154 เตาหลุม ขุดหลุมใหม้ ีขนาดกว้างพอเทา่ กับหมอ้ ลกึ พอประมาณ แล้วเจาะรู เพือ่ ใสฟ่ ืนดา้ นหนา้ แลว้ มรี รู ะบายอากาศ ดา้ นขา้ งเพ่อื ให้ควนั ออก เตาลอย ให้ขุดหลุมสี่มุม แล้วนาท่อนไม้แข็งแรงสี่ต้นทาเป็นเสาสี่มุม นาไม้ มาวางพาดผูกเป็นส่ีเหลี่ยมและวางคานให้เต็มพ้ืนที่ ใช้ใบไม้ปูให้ราบ เอาดินปูพื้นให้หนา พอสมควรอีกชั้น แล้วใช้ก้อนหินทาเป็นเตาสามเส้า หรือเตารางแล้วแต่สะดวก (หากเป็นฤดูฝน สามารถสรา้ งหลังคาต่อเตมิ ได้) เตารางไม้ นาไมท้ ่ีมงี า่ มสองท่อนมาปักลงดนิ ตรงขา้ มกัน แล้วนาไม้ท่อนตรง วางพาดเป็นคานไวแ้ ขวนภาชนะ (ไม้ทีค่ วรใชพ้ าดควรเป็นไมด้ ิบ ซ่งึ จะไม่ทาให้ไหมไ้ ดง้ า่ ย)

155 เตาแขวน หรือเตาราว ใช้ไม้ท่ีมีง่ามมาปักลงดินเป็นระยะห่างให้พอดี แล้วหา ไม้ยาวเปน็ คานมาพาดงา่ มไวส้ าหรับแขวนภาชนะ เตากระป๋อง นากระป๋องหรือถังขนาดเลก็ ทพี่ อดีกบั หมอ้ หรอื ภาชนะ มาผ่าข้าง ออกเปน็ ประตลู ม แลว้ เจาะรสู ่วนบนสรี่ เู พื่อให้อากาศถ่ายเท 3.4 การประกอบอาหารแบบชาวคา่ ย การปรุงอาหารในขณะอยู่ค่ายพักแรมหรือเดินป่า เป็นการปรุงอาหาร เเบบชาวค่าย ไม่สามารถเตรียมเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ในการหุงต้มได้ครบถ้วน เช่น ใช้เตาหลุม เตาสามเส้า เตาราง ใชม้ ะพร้าวอ่อนแทนหม้อ กระบอกไม้ไผ่ ใช้ดินพอกเผาแทนการต้ม การปิ้ง เป็นตน้ การปฏิบัติหรือประกอบอาหารบางอย่างท่ีจาเป็นในขณะท่ีอยู่ค่ายพักแรม ควรเลอื กประกอบอาหารอย่างงา่ ย รวดเรว็ คงคณุ คา่ ทางอาหาร ดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆ ดงั น้ี การหงุ ข้าวด้วยวธิ ตี า่ ง ๆ 1. การหุงข้าวด้วยหม้อหู สามารถหงุ ข้าวได้ 2 แบบ คอื แบบไม่เชด็ น้า และเชด็ นา้ - การหุงขา้ วไมเ่ ช็ดน้า ข้าว 1 ส่วน ตอ่ น้า 2 - 2.5 ส่วน

156 วธิ หี งุ 1. ซาวข้าวใหห้ มดส่ิงสกปรก รินนา้ ทิง้ 2. ตวงน้าใสน่ ้าหม้อ ปิดฝาให้สนิท ตั้งบนเตา ใส่ไฟแรงจัด 3. เมื่อน้าเดือดใช้พายกวน 1 คร้ัง พอน้าจวนแห้งปิดฝาหม้อให้สนิท เอาถ่าน หรือฟนื ออกเหลือเกล่ียไว้ให้ไฟน้อยท่สี ุด (การกวนคนขา้ วนเี้ พ่อื ใหไ้ ดร้ บั ความร้อนท่ัวถงึ กัน) 4. เอียงข้าง ๆ หม้อให้รอบ ๆ ต้ังต่อไปจนน้าแห้งให้ข้าวสุกและระอุดี ใช้เวลา ประมาณ 20 - 25 นาที - การหุงข้าวเช็ดนา้ ข้าว 1 ส่วน ต่อ น้า 3 สว่ น วธิ หี ุง 1. ซาวขา้ วพอหมดสิ่งสกปรก รนิ น้าทง้ิ 2. ตวงนา้ ใส่หมอ้ ปิดฝาให้สนทิ ตงั้ บนไฟใชไ้ ฟแรงจนกระทงั่ ข้าวเดอื ด 3. เมื่อน้าเดือดใช้พายกวนข้าว 1 ครั้ง หรือมากกว่า เพื่อให้ได้รับความร้อน ท่ัวถงึ 4. สังเกตดูพอเม็ดข้าวบาน รินน้าข้าวทิ้ง เอาข้ึนดงบนเตา ใช้ไฟอ่อน ๆ ตะแคงหมอ้ หมุนให้ไดค้ วามร้อนทวั่ ๆ จนน้าแห้ง จากนัน้ ใหย้ กลงจากเตา วิธกี ารแกข้ ้าวแฉะ ข้าวแฉะ เกดิ จากปลอ่ ยท้ิงไว้จนเมด็ ข้าวบานมาก หรือใส่น้าน้อย จนน้าข้าว ขน้ มากกอ่ นจะเช็ดนา้ ขา้ วให้ใส่น้าเปลา่ ลงไปให้น้าไม่ข้น คนใหท้ วั่ หมอ้ แลว้ เช็ดน้าให้แหง้ ปดิ ฝาหม้อ ให้สนิท แล้วหมนุ หมอ้ ไปมา และนาหมอ้ ขา้ วไปต้ังท่เี ตาไฟ โดยใชไ้ ฟอ่อน ๆ วธิ แี กข้ า้ วดบิ ให้ใช้น้าพรมข้าวพอประมาณ คุ้ยพรมให้ท่ัวหม้อแล้วจึงนาหม้อข้าวข้ึนดงใหม่ หมุนให้ทั่ว ดงให้นานกว่าดงข้าวธรรมดา เมื่อยกลงห้ามเปิดฝาหม้อ ควรปิดให้สนิท เพื่อข้าวจะได้ สุกระอุดี วธิ ีแกข้ า้ วไหม้ หากได้กล่ินข้าวไหม้ รีบเปิดฝาหม้อ เพ่ือให้ไอน้าออก และความร้อนในหม้อ จะได้ลดลงเรว็ ขณะเดยี วกนั กลนิ่ ไหมจ้ ะไดอ้ อกไปดว้ ย คุ้ยข้าวตอนบนท่ีไม่ไหม้ให้สุก แล้วเปิดฝา ทง้ิ ไว้

157 การประกอบอาหารด้วยวธิ ีต่าง ๆ การตม้ ทาได้ 2 วธิ ี คอื 1. โดยการใส่ของท่ีจะทาให้สุกลงไปพร้อมกับน้า แล้วนาไปต้ังไฟ เช่น การต้มไข่ ถา้ ใส่ในนา้ เดอื ดแล้วไข่จะแตกเสียกอ่ น 2. โดยการใส่ของที่จะทาให้สุก เมื่อน้านั้นเดือดแล้ว เช่น การต้มปลา กนั เหม็นคาว การผัด หมายถึง การทาวัตถุส่ิงเดียวหรือหลายสิ่ง ซึ่งต้องการให้สุกสาเร็จ เป็นอาหารสิ่งเดยี ว วธิ ีการผดั โดยการใช้น้ามันหรือกะทิ ใส่ในภาชนะท่ีจะใช้ผัด แล้วนาของที่จะผัดรวม ลงไปคนให้สกุ ท่วั กนั และปรงุ รสตามชอบ การทอด ใส่น้ามันลงในภาชนะที่จะใช้ในการทอด โดยประมาณให้ท่วมของที่ จะทอดตั้งไฟให้น้ามันร้อนจัด จึงใส่ของลงไปทอด การสังเกตของ ที่ทอดว่าสุกหรือยังให้สังเกต ตามขอบของสงิ่ ท่ีทอด การถนอมอาหาร การตากแห้ง เป็นวิธีท่ีง่ายและ ประหยัดมากท่ีสุด ใช้ได้กับอาหารประเภทเนื้อสัตว์ ผักและผลไม้ เป็นวิธีท่ีทาให้อาหารหมดความช้ืน หรือมีความช้ืนอยู่เพียงเล็กน้อย เพ่ือไม่ให้จุลินทรีย์ สามารถเกาะอาศัยและเจริญเติบโตได้ ทาให้อาหาร ไม่เกิดการบูดเน่า โดยการนาน้าหรือความช้ืนออกจากอาหารให้มากท่ีสุด เช่น เน้ือเค็ม ปลาเค็ม กลว้ ยตาก เปน็ ต้น การรวน เป็นวิธีการที่คล้ายกับ การคั่ว แต่ต้องใส่น้ามัน นิยมใช้ประกอบอาหาร ประเภทเน้ือสัตว์ และปรุงรสให้เค็มมากข้ึน เพื่อให้ สามารถเก็บไวร้ บั ประทานได้นาน เช่น ไก่รวน เป็ดรวน และปลาหมึกรวน เปน็ ต้น

158 3.5 การกางเตน็ ท์และการเก็บเต็นท์ชนิดตา่ ง ๆ การไปอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ แต่ก่อนน้ันลูกเสือไปหาที่พักข้างหน้า ตามแต่จะดัดแปลงได้ในภูมิประเทศ ซ่ึงเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ถ้าลูกเสือไม่พักในอาคาร ลกู เสอื จะตอ้ งนอนกลางแจ้ง ซึ่งจะตอ้ งหาวธิ ีสรา้ งเพิงทพี่ ักง่าย ๆ ทส่ี ามารถกันแดดกันฝนกันลม และป้องกันสัตว์เลื้อยคลานได้ โดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เท่าที่จะหาได้ ต่อมาเร่ิมมีการเตรียม อุปกรณไ์ ปด้วย เช่น เชือกหลาย ๆ เสน้ พลาสติกผืนใหญ่ เป็นต้น ทาให้ง่ายต่อการสร้างเพิงท่ีพัก มากขน้ึ ปัจจุบันลูกเสือส่วนมากจะเตรียมเต็นท์สาเร็จรูปไปด้วยเพราะเต็นท์มีขาย อย่างแพร่หลาย และมีให้เลือกหลายแบบหลายสีหลายขนาด มีน้าหนักเบา มีขนาดกะทัดรัด สามารถนาพกพาไปไดส้ ะดวก การกางเต็นท์กระแบะ หรือเตน็ ท์ 5 ชาย อุปกรณ์และส่วนประกอบ ในการใช้เต็นท์สาหรับอยู่ค่ายพักแรม จะใช้เต็นท์ 5 ชาย ซ่ึงเหมาะสาหรับ ลูกเสือ จานวน 2 คน ซึ่งจะใช้พ้ืนที่ในการกางเต็นท์ไม่มากนักและวิธีกางก็ไม่ยุ่งยาก ส่วนประกอบของเตน็ ท์ 5 ชาย มดี ังนี้ 1. ผ้าเตน็ ท์ 2 ผนื 2. เสาเตน็ ท์ 2 ชดุ (2 เสา) ชดุ ละ 3 ทอ่ น (3 ท่อนตอ่ กนั เปน็ 1 ชุด) 3. สมอบก 10 ตวั (หัวทา้ ย 2 ตวั ชายดา้ นล้างด้านละ 3 ตัว ประตูหน้า 1 ตัว และหลงั 1 ตวั ) 4. เชือกยึดสมอบก 10 เส้น (เชือกยาวใช้รั้งหัวท้ายเต็นท์ 2 เส้น เชือกสั้น ใช้ยดึ ชายเตน็ ท์ 6 เส้น และประตหู น้า - หลัง 2 เสน้ )

159 การกางเตน็ ท์ การกางเต็นท์ 5 ชาย นัน้ มีวธิ กี ารดงั ต่อไปนี้ 1. ตดิ กระดมุ ทัง้ 2 ผืนเข้าด้วยกนั 2. ต้งั เสาเตน็ ท์ท้ัง 2 เสา 3. ผกู เชือกร้งั หัวท้ายกบั สมอบก 4. ตอกสมอบกยึดชายเตน็ ท์ การร้อื เต็นท์ท่พี ักแรม 1. แกเ้ ชอื กท่ีร้ังหวั ท้ายกับสมอบกออก 2. ล้มเสาเตน็ ทท์ ้ัง 2 เสา ลง 3. ถอนสมอบกทยี่ ดึ ชายเตน็ ทแ์ ละที่ใชร้ ง้ั หวั ทา้ ยเต็นท์ 4. แกะกระดุมเพ่อื แยกให้เต็นทเ์ ป็น 2 ผนื 5. ทาความสะอาด เก็บพับใหเ้ รียบร้อย 6. นาผ้าเตน็ ทแ์ ละอุปกรณ์เก็บรวมไว้เป็นท่ีเดยี วกนั เตน็ ท์สาเรจ็ รปู เต็นท์สาเร็จรูปจะมีลักษณะ และรูปแบบที่หลากหลาย ซึ่งมีวางจาหน่าย โดยท่ัวไปง่ายต่อการประกอบและการเก็บ แต่ละ แบบจะมีรูปแบบการประกอบไม่เหมือนกัน จึงให้ ผูใ้ ชพ้ ิจารณาตามวิธีการของเต็นท์ เต็นท์สาเร็จรูปใช้เป็นท่ีพัก สาหรับลูกเสือทั้งหมู่ (1 หมู่) เป็นเต็นท์ที่มีขนาดใหญ่กว่าเต็นท์กระแบะ มีน้าหนักมากกว่าเต็นท์ กระแบะสามารถพกพาไปได้สะดวก พ้ืนที่ท่ีใช้กางเต็นท์จะมีบริเวณกว้างพอสมควร ส่วนวิธีกาง เตน็ ทไ์ ม่ยุง่ ยากมลี กู เสอื ช่วยกนั เพยี ง 2 คน ก็สามารถกางเต็นท์ได้ ส่วนประกอบของเตน็ ท์สาเร็จรปู มีดังนี้ 1. ผ้าเต็นท์ 1 ชดุ 2. เสาเต็นท์ 2 ชดุ (2 เสา) ชุดละ 3 ท่อน (3 ทอ่ นต่อกันเป็น 1 ชดุ หรือ 1 เสา) 3. สมอบก 12 ตวั (ยึดมมุ พนื้ 4 ตัว ยึดชายหลงั คา 6 ตวั หัว 1 ตวั ทา้ ย 1 ตัว)

160 4. เชือกยึดสมอบก 8 เส้น ทุกเส้นมัดติดกับแผ่นเหล็กสาหรับปรับความ ตึงหยอ่ นของเชอื ก (เชือกสนั้ 6 เส้นใช้ยดึ ชายหลังคา เชอื กยาว 2 เสน้ ใช้รัง้ หวั ท้ายเต็นท)์ วิธกี างเต็นทส์ าเรจ็ รปู ปฏิบัติดังนี้ 1. ยดึ พ้ืนของเตน็ ท์ทงั้ 4 มุมดว้ ยสมอบก 4 ตวั 2. นาเสาชุดที่ 1 (ต่อ 3 ท่อนเข้าด้วยกัน) มาเสียบท่ีรูหลังคาเต็นท์ ให้คนที่ 1 จบั ไว้ 3. ให้คนท่ี 2 ใช้เชือกยาว 1 เส้น ยึดจากหัวเสา (หรือห่วง) ไปยังสมอบก ดา้ นหน้า (โดยผูกด้วยเง่ือนตะกรุดเบ็ด หรือผูกเง่ือนกระหวัดไม้ ไม่ต้องใช้เงื่อนผูกร้ังเพราะเป็น แผ่นปรับความตึงอยู่แล้ว) แล้วใช้เชือกส้ัน 2 เส้น ยึดชายเต็นท์เข้ากับสมอบกให้เต็นท์กาง ออกเป็นรปู หนา้ จั่ว 4. ให้คนที่ 2 เดินอ้อมไปอีกด้านหนึ่งต่อเสาท่ี 2 เสียบเข้ารูหลังคา เต็นท์ อีกด้านหน่ึงแล้วจับเสาไว้ให้คนที่ 1 ปล่อยมือจากเสาท่ี 1 แล้วนาเชือกยาวเส้นท่ี 2 ยึดจาก หัวเสาท่ี 2 ไปยงั สมอบกด้านหลงั 5. ให้คนที่ 2 ปล่อยมือจากเสาที่ 2 ได้ เต็นท์จะไม่ล้ม ทั้งสองคนช่วยกัน ใชเ้ ชือกยึดชายหลังคาเต็นท์ (จุดที่เหลือ) ให้เข้ากับสมอบกแล้วปรับความตึงหย่อนของเต็นท์ให้ เรียบร้อย หมายเหตุ เต็นท์สาเร็จรูปมีหลายแบบ มีรูปทรงไม่เหมือนกัน บางแบบ คลา้ ยเตน็ ทก์ ระแบะหรือเตน็ ท์ 5 ชาย เปน็ ตน้ ใชส้ ะดวกและเบามากแตบ่ อบบาง เต็นทอ์ ยา่ งงา่ ย วิธีน้ีปัจจุบันสะดวกมาก ทั้งยังราคาถูกหาซื้อง่ายใช้ประโยชน์ได้ดี สามารถ ใช้วัสดอุ ปุ กรณท์ ่หี าได้ในทอ้ งถิน่ โดยใช้ถุงปุ๋ยหรือเสื่อเย็บต่อกันให้ได้เป็นผืนใหญ่ ๆ สามารถใช้

161 แทนผา้ เต็นทไ์ ด้ จะให้มขี นาดใหญเ่ ทา่ ใดก็ได้ตามท่ีต้องการ แต่ส่วนใหญ่มักจะทาเป็นผืนใหญ่ใช้ เปน็ ทพ่ี ักของลกู เสอื ได้ทั้งหมู่ วธิ ีทา หาไม้สองท่อนมาทาเสา ปักลงในดินให้แน่น แล้วเอาไม้อีกอันหน่ึงพาดทาเป็น ข่อื เสรจ็ แลว้ ใชถ้ ุงทเ่ี ย็บหรือผ้าใบ พาดกับขอ่ื นั้น ท่ปี ลายทงั้ สองข้างรง้ั เชือกกับสมอบก การนาวัสดุต่าง ๆ ท่ีหาได้ในท้องถิ่นจะง่าย สะดวกและประหยัด เพื่อเป็น การส่งเสริมและปฏิบัติตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ 9 รูปแบบเต็นท์แบบต่าง ๆ เตน็ ทแ์ บบโดม เต็นท์แบบโครง เตน็ ทแ์ บบสามเหล่ยี ม

162 เตน็ ท์แบบกระโจม เต็นทแ์ บบกงึ่ ถงุ นอน เต็นท์แบบอโุ มงค์ ข้อควรระวังในการกางเต็นท์ เม่ือต้องการกางเต็นท์หลายหลังเป็นแนวเดียวกัน ข้ันแรกเล็งให้สมอบก และเสาต้นแรกของทุกเต็นทอ์ ยใู่ นแนวเดยี วกัน การกางเต็นทแ์ ต่ละหลังให้เล็งสมอบกตัวแรกเสาแรก เสาหลัง และสมอบกตวั หลังท้ัง 4 จุด อยู่ในแนวเดียวกัน เสาทุกต้นท่ียึดเต็นท์จะต้องต้ังฉากกับ พ้ืนเสมอ หลังคาเต็นท์จะต้องไม่มีรอยย่น สมอบกด้านข้างของเต็นท์แต่ละหลังจะต้องเรียงกัน อย่างเป็นระเบียบ ถ้าเต็นท์ตึงไปอาจจะขาดได้ หรือ ถ้าหย่อนเกินไปก็จะกันฝนไม่ได้ ซ่ึงจะเป็น สาเหตทุ าให้น้าซึมไดง้ ่าย และถ้าหากลมพัดแรงอาจทาให้เต็นท์ขาดได้ การผูกเต็นท์ควรใช้เง่ือน ผกู รงั้ เพราะสามารถปรับให้ตึงหยอ่ นได้ตามตอ้ งการ

163 การดูแลรักษาเต็นท์ การดูแลรักษาเต็นท์ให้มีอายุการใช้งานท่ียาวนาน หลายคนอาจจะคิดว่า เปน็ เรอื่ งยาก ลองอ่านวิธกี ารเหลา่ นี้ดูแล้วคณุ จะรวู้ า่ เต็นทด์ ูแลง่ายนดิ เดียว 1. ฝึกกางเต็นท์ให้ถูกวิธี การที่คุณเรียนรู้วิธีการกางเต็นท์อย่างถูกวิธี จะทาให้เต็นท์ของคุณไม่เกิดความเสียหาย เพราะบางคร้ังการกางเต็นท์ไม่ถูกวิธี อาจทาให้อุปกรณ์ บางช้ินเกิดความเสียหายได้ เช่น อาจจะใส่เสาเต็นท์ผิดอันทาให้เกิดความเสียหายเวลางอเสา เขา้ กับเตน็ ท์ เป็นต้น 2. อย่าเก็บเต็นท์ของคุณขณะที่เปียกถ้าไม่จาเป็น เพราะอาจจะทาให้เกิด กล่ินอับได้ เราควรจะนาเต็นท์มาผึ่งลมให้แห้งก่อนและนาเศษสิ่งสกปรกออกจากเต็นท์ แล้วจึง ปิดซิปให้เรยี บรอ้ ย 3. ไม่ควรใช้สารเคมีในการทาความสะอาดเต็นท์ เพราะสารเคมีเหล่าน้ีจะ ทาลายสารท่ีเคลือบเต็นท์ไว้ ควรใช้แค่ผ้าชุบน้าเช็ดก็พอ ห้ามใช้แปรงขัดเพราะแปรงจะทาให้ สารเคลอื บหลุดออกเชน่ กนั 4. ใช้ผ้าพลาสติกปูรองพ้ืน ผ้ารองพื้นจะใช้ปูรองพื้นก่อนกางเต็นท์ ประโยชน์คือช่วยปกป้องตัวเต็นท์ จากหินและกิ่งไม้อันแหลมคม ซ่ึงส่ิงเหล่านี้อาจจะทาให้พื้น เตน็ ท์เกดิ ความเสียหายได้ และนอกจากน้ียังช่วยลดเวลาในการทาความสะอาด เพราะเพียงแต่ ทาความสะอาดทีผ่ ้าปเู ท่านนั้ 5. ใช้สมอบกปักเต็นท์ บางคนอาจคิดว่าสมอบกไม่จาเป็นเพราะเต็นท์ สามารถทรงตัวได้อยู่แล้ว แต่บางครั้งเมื่อลมแรง เต็นท์อาจจะมีการพลิกซึ่งอาจจะทาให้เต็นท์ เสียหาย ถ้าช่วงที่คุณกางเต็นท์มีลมแรงควรจะนาสัมภาระเข้าไปไว้ในเต็นท์ แล้วปักสมอบกยึดไว้ ซึ่งจะช่วยป้องกนั เตน็ ท์พลิกจากแรงลมได้ 6. ใช้อุปกรณ์ซ่อมแซมเต็นท์ถ้าจาเป็น หากเต็นท์เกิดการเสียหาย เช่น ผนังเต็นท์มีรอยฉีกขาด ควรใช้พวกผ้าเทปปิดรอยขาดนั้นไว้ มิฉะน้ัน รอยขาดนั้นจะใหญ่ข้ึน เรื่อย ๆ (ลองคิดถึงเส้ือผ้าที่ขาดดู ถ้าเราย่ิงดึงก็จะย่ิงขาดมากขึ้น) อุปกรณ์ซ่อมแซมเต็นท์สามารถ หาซือ้ ไดต้ ามร้านอุปกรณ์ทั่วไป กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 3 ชีวิตชาวค่าย (ให้ผู้เรยี นไปทากิจกรรมท้ายเรือ่ งที่ 3 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชา)

164 เร่ืองที่ 4 วิธีการจัดการค่ายพกั แรม การจัดการค่ายพักแรม เป็นการจัดวางผังการอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสือจะต้อง สารวจ คาดคะเนความเหมาะสมของพนื้ ท่ี แหลง่ น้า เสน้ ทางคมนาคม เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาด ในการเลือกสถานทตี่ ั้งค่ายและกางเตน็ ท์ กอ่ นท่ีจะไปต้งั คา่ ยพักแรมน้ัน ควรจะไดม้ กี ารศึกษาลกั ษณะพื้นท่ีภูมิประเทศ ให้ดเี สียกอ่ น โดยพิจารณาความเหมาะสมจากส่งิ ตอ่ ไปนี้ 1. อยู่บนที่สูง หรือเชิงเขา เวลาฝนตกมีทางระบายน้าออกอย่างรวดเร็ว ทาให้ ไมม่ ีนา้ ขังในบริเวณค่าย หรือมิฉะนั้น ควรต้ังค่ายบริเวณที่เน้ือดินเป็นดินปนทราย เพ่ือให้น้าดูด ซมึ ไดโ้ ดยรวดเร็ว 2. ไมค่ วรอยู่ใกล้สถานทที่ ่ีมคี นพลกุ พลา่ น เช่น สถานที่ตากอากาศ 3. ไมค่ วรอยู่ใกล้ถนนหรอื ทางรถไฟ เพราะอาจเกิดอุบัติเหตุกับลกู เสือได้ 4. ไม่ควรอยู่ใกล้ต้นไม้ใหญ่ เพราะเมื่อเกิดลมพายุอาจหักโค่นลงมาทาให้เกิด อันตรายได้ 5. สถานที่ต้ังค่าย ควรมีน้าดื่มน้าใช้เพียงพอ แต่ไม่ควรอยู่ใกล้แม่น้า ลาคลอง หนองหรอื บงึ เพราะอาจเกิดอบุ ัติเหตุกับลกู เสอื ได้ 6. สถานท่ีต้ังค่าย ไม่ควรอยู่ไกลจากตลาดมากนัก ทั้งนี้ เพื่อสะดวกแก่การ ไปซ้ือกับข้าว และไม่ควรอยู่ไกลจากสถานีอนามัยมากนัก เพื่อว่าเกิดการเจ็บป่วยหรือเกิด อบุ ตั เิ หตรุ า้ ยแรง จะได้ช่วยเหลอื ไดท้ ันทว่ งที 7. ควรอย่ใู นสถานท่ีทีป่ ลอดภยั จากผูก้ ่อการร้าย การวางผงั ค่ายพักแรม การวางผังค่ายพักแรม คือ การกาหนดตาแหนง่ ที่จะสรา้ งเตน็ ท์ สขุ าภิบาล ครัว ราวตากผ้า ข้นึ อยกู่ บั ความต้องการ และความเหมาะสมของสถานทีน่ ั้น ๆ

165 รปู แบบการจัดค่ายหมู่ลูกเสอื กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 4 วิธกี ารจัดการคา่ ยพักแรม (ให้ผูเ้ รยี นไปทากจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 4 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา)

166 หน่วยการเรียนรู้ที่ 13 ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารเดนิ ทางไกล อยคู่ ่ายพกั แรม และชวี ติ ชาวคา่ ย สาระสาคญั การฝึกปฏิบัติการเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรม และชีวิตชาวค่าย เป็นการนา ความรู้จากการได้ศึกษาบทเรียนภาคทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ โดยมงุ่ ให้ลูกเสือ สามารถวางแผน และปฏิบัติกิจกรรมการเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรมและชีวิตชาวค่ายทุกกิจกรรม คือ กิจกรรม เสริมสร้างคุณธรรมและอุดมการณ์ลูกเสือ กิจกรรมสร้างค่ายพักแรม กิจกรรมชีวิตชาวค่าย กิจกรรมทักษะลูกเสือ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมนันทนาการและชุมนุมรอบกองไฟ กิจกรรม นาเสนอผลงานตามโครงการท่ีได้ดาเนินการมาก่อนการเข้าค่าย และสามารถใช้ชีวิตชาวค่าย รว่ มกบั ผอู้ ่นื ในค่ายพกั แรมไดอ้ ย่างสนกุ สนานและมคี วามสขุ ตวั ชวี้ ดั 1. วางแผนและปฏิบัติกิจกรรมการเดินทางไกล อยู่คา่ ยพกั แรม และชวี ติ ชาวคา่ ยทุกกิจกรรม 2. ใชช้ ีวติ ชาวค่ายร่วมกับผอู้ น่ื ในคา่ ยพักแรมไดอ้ ย่างสนุกสนานและมคี วามสขุ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 กจิ กรรมเสริมสร้างคุณธรรม และอุดมการณล์ ูกเสอื เรอ่ื งที่ 2 กิจกรรมสร้างคา่ ยพกั แรม เรอ่ื งที่ 3 กจิ กรรมชีวิตชาวคา่ ย เรือ่ งที่ 4 กจิ กรรมฝกึ ทักษะลูกเสอื เร่อื งท่ี 5 กจิ กรรมกลางแจ้ง เรื่องท่ี 6 กิจกรรมนนั ทนาการ และชุมนมุ รอบกองไฟ เร่อื งท่ี 7 กิจกรรมนาเสนอผลการดาเนนิ งาน ตามโครงการท่ีไดด้ าเนินการ มาก่อนการเข้าคา่ ย เวลาทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา 40 ช่วั โมง

167 สอ่ื การเรียนรู้ 1. ชุดวิชา ลูกเสอื กศน. รหสั รายวิชา สค22021 2. สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรปู้ ระกอบชุดวิชา 3. สื่อเสรมิ การเรียนรอู้ น่ื ๆ

168 เรอ่ื งท่ี 1 การวางแผนและปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเดนิ ทางไกลการอยู่ค่ายพกั แรม และชีวติ ชาวคา่ ย การเดินทางไกล ลูกเสือต้องเตรียมความพร้อมทุกด้าน ท้ังทางร่างกาย จิตใจ ความรู้ ความสามารถทักษะท่ีจาเป็นในการให้ รวมทั้งการบรรจุเครื่องหลัง ซ่ึงประกอบด้วย เครื่องแต่งกาย เครื่องใช้ประจาตัว ยาประจาตัว อุปกรณ์การเรียนรู้และการจดบันทึกกิจกรรม อปุ กรณท์ ี่จาเป็นตามฤดูกาล อุปกรณ์เครื่องนอนส่วนตัว และอุปกรณป์ ระจากายลูกเสอื ลูกเสือและผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ร่วมกันวางแผนการเดินทางไกล โดยการสารวจ เส้นทางการเดินทาง ความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรม และกาหนดวัน เวลา สถานที่ ให้เหมาะสม กาหนดบทบาทให้แต่ละคนในฐานะผู้นา ผู้ตาม ผู้ประสานงาน ผู้ควบคุม ผู้รับผิดชอบ ร่วมกนั ประชุมซักซอ้ มความเข้าใจทีต่ รงกัน กาหนดนัดหมายทีช่ ดั เจน รดั กุม และปฏบิ ตั ติ ามแผน การอยู่ค่ายพักแรม ต้องมีกิจกรรมการแสดงรอบกองไฟ เพื่อปลุกใจ และส่งเสริม ความสามคั คีของหมูค่ ณะ เปิดโอกาสใหล้ ูกเสอื ได้แสดงออก และรู้จักกันมากยิ่งข้ึน ซ่ึง บี.พี. ได้ริเร่ิม ในการนาเดก็ ไปอยคู่ า่ ยพกั แรมท่ีเกาะบราวนซ์ ี ประเทศอังกฤษ การชุมนุมรอบกองไฟ ภาษาอังกฤษ เรียกว่า Camp Fire ในภาษาไทยเดิมมักเรียกกันว่า การเล่นหรือการแสดงรอบกองไฟ ซ่ึงความจริง การเล่นหรอื การแสดงเปน็ เพยี งสว่ นหนงึ่ ของการชุมนุมรอบกองไฟ การชมุ นุมรอบกองไฟ มีความมุ่งหมาย ดงั น้ี 1. เพื่อเป็นการฝึกอบรมในตอนกลางคืน ดังท่ี บี.พี. ได้ใช้เป็นหลักในการฝึกอบรม ผ้ทู ไ่ี ปอยคู่ า่ ยพักแรม 2. เพอื่ ให้ลกู เสอื ได้ร้องเพลงร่วมกนั หรือแสดงกริ ิยาอาการอย่างเดยี วกัน 3. เพือ่ ให้ลกู เสอื แต่ละหม่ไู ด้มโี อกาสออกมาแสดงรอบกองไฟ 4. ในบางกรณี อาจใชเ้ ป็นโอกาสสาหรบั ประกอบพิธีสาคัญ 5. ในบางกรณีอาจเชญิ บุคคลสาคัญในท้องถิ่น ตลอดจนชาวบ้านให้มาร่วมการชุมนุม รอบกองไฟ เพ่ือเปน็ การประชาสัมพนั ธแ์ ละส่งเสริมกจิ การลกู เสอื การแสดงรอบกองไฟมีข้อกาหนดบางประการ เพ่ือให้เกิดความเหมาะสม ได้แก่ 1) เร่ืองท่ีจะแสดง ควรเป็นเร่ืองสนุกสนาน ขนบธรรมเนียมประเพณี ประวตั ศิ าสตรเ์ รื่องทเ่ี ปน็ คตเิ ตือนใจ 2) เรื่องที่ไม่ควรนามาแสดง เช่น เรื่องไร้สาระ เรื่องผีสาง เร่ืองลามก เร่ืองอนาจาร เร่ืองเสียดสีสังคม เรื่องล้อเลียนการเมือง เรื่องหมิ่นสถาบัน ชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์

169 3) การใช้คาพูดและวาจาที่เหมาะสม คาสภุ าพ คาทไ่ี ม่หยาบคาย คาดา่ ทอ 4) ชุดการแสดง ควรเปน็ ชุดท่มี คี วามเหมาะสมกับเร่อื งทจี่ ะแสดงมีความ สภุ าพสอดคล้องกับเน้ือเรอ่ื งทแี่ สดง แผนการปฏบิ ัติกจิ กรรมการเดนิ ทางไกล อยคู่ า่ ยพักแรม และชวี ิตชาวคา่ ย วัน – เวลา กิจกรรม เวลา ขอบขา่ ยเนือ้ หา วันที่ 1 (นาท)ี 07.00 – 08.00 น. รายงานตัว/ลงทะเบียน 08.00 – 09.00 น. ปฐมนเิ ทศ ชแ้ี จงวัตถุประสงคก์ ารเขา้ คา่ ย 60 กิจกรรมเสรมิ สร้างคุณธรรม 09.00 – 10.00 น. พิธเี ปิดทางราชการ (ในหอประชุม) 60 กจิ กรรมเสรมิ สร้างอดุ มการณ์ - กลา่ วรายงาน 60 กจิ กรรมเสรมิ สร้างคุณธรรม 10.00 – 10.30 น. - ประธานกลา่ วเปดิ ให้โอวาทและ ถวายราชสดุดี และอดุ มการณ์ลูกเสอื 10.30 – 11.15 น. พิธเี ปิดทางการลูกเสือ (รอบเสาธง) - ผ้อู านวยการฝกึ อบรมกล่าวต้อนรับ 30 กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งอุดมการณ์ 11.15 – 12.00 น. - แนะนาคณะวทิ ยากร ลูกเสือ วชิ าประวัติลูกเสือไทย 12.00 – 13.00 น. 45 กจิ กรรมเสริมสรา้ งอุดมการณ์ 13.00 – 13.30 น. วชิ าประวัตลิ กู เสอื โลก ลกู เสือ 13.30 – 14.30 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวนั 45 กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งอุดมการณ์ 14.30 – 17.00 น. นันทนาการ ลกู เสอื วิชาวินยั ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สญั ญาณนกหวดี และระเบยี บแถว 60 กิจกรรมชวี ิตชาวคา่ ย วชิ าชาวค่าย 30 กจิ กรรมนนั ทนาการ 60 กิจกรรมทักษะลูกเสอื 150 กจิ กรรมสร้างค่ายพกั แรม

170 วนั – เวลา กิจกรรม เวลา ขอบข่ายเนือ้ หา (นาท)ี 17.00 – 18.00 น. ฐานท่ี 1 อุปกรณ์ เครอื่ งมือ เครอื่ งใช้ 60 กจิ กรรมชีวติ ชาวค่าย 18.00 – 19.00 น. ฐานที่ 2 สขุ าภบิ าล ฐานที่ 3 อุปกรณค์ รวั 60 กิจกรรมชีวิตชาวคา่ ย 19.00 – 19.30 น. ฐานที่ 4 เต็นท์ 19.30 – 21.30 น. ประกอบอาหารแบบชาวค่าย 30 กิจกรรมนนั ทนาการ 21.30 น. ชักธงลง/รับประทานอาหาร 120 กิจกรรมฝกึ ทกั ษะลกู เสือ วนั ท่ี 2 ภารกิจสว่ นตวั 30 กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม 05.00 – 05.30 น. นนั ทนาการ 05.30 – 06.30 น. พิธีประจากองลูกเสือวสิ ามัญ 60 กจิ กรรมชีวิตชาวคา่ ย 06.30 – 07.30 น. นัดหมาย สวดมนต์ เขา้ นอน 60 กจิ กรรมกลางแจง้ /ทกั ษะ 07.30 – 08.00 น. ตื่นนอน ภารกจิ สว่ นตัว ลกู เสอื 08.00 – 08.30 น. กายบรหิ าร/ระเบยี บแถว/ประกอบ 60 กิจกรรมชีวติ ชาวคา่ ย อาหาร 30 กิจกรรมเสรมิ สรา้ งคุณธรรม รบั ประทานอาหาร/ภารกิจสว่ นตัว ตรวจเยี่ยม 30 กิจกรรมเสริมสรา้ งอุดมการณ์ สายที่ 1 เครอื่ งแบบ ที่พกั สุขาภิบาล ลูกเสือ สายท่ี 2 เครื่องแบบ ที่พกั สุขาภบิ าล สายบรกิ าร (พิเศษ) ความสะอาด 30 กิจกรรมนันทนาการ ความเรียบร้อยรอบบริเวณ 180 กิจกรรมเสรมิ สรา้ งอดุ มการณ์ ประชุมกองรอบเสาธง ลูกเสือ 08.30 – 09.00 น. นนั ทนาการ 60 กจิ กรรมชวี ิตชาวคา่ ย 08.30 – 09.00 น. สารวจชมุ ชน 12.00 – 13.00 น. รบั ประทานอาหารกลางวัน

171 วนั – เวลา กิจกรรม เวลา ขอบข่ายเนื้อหา (นาที) 13.00 – 13.30 น. นนั ทนาการ 30 กจิ กรรมนนั ทนาการ 13.30 – 14.30 น. วชิ าแผนท่ี – เขม็ ทิศ 14.30 – 16.00 น. กิจกรรมบุกเบิก 60 กจิ กรรมฝึกทกั ษะลกู เสือ - ผกู ประกบ 16.00 – 17.00 น. - ผูกกากบาท 90 กจิ กรรมฝึกทกั ษะลกู เสือ 17.00 – 18.00 น. - ผกู ทแยง 18.00 – 19.00 น. การชมุ นุมรอบกองไฟ (ทฤษฎ)ี 60 กิจกรรมนนั ทนาการ ประกอบอาหารแบบชาวค่าย 60 และชุมนมุ รอบกองไฟ 19.00 – 21.00 น. ชักธงลง/รับประทานอาหาร/ภารกิจ 60 กิจกรรมชีวิตชาวค่าย สว่ นตัว ชุมนมุ รอบกองไฟ (ปฏิบัติ) กจิ กรรมชีวติ ชาวคา่ ย 120 กิจกรรมนันทนาการ 21.00 – 21.30 น. นดั หมาย สวดมนต์ เขา้ นอน และชมุ นมุ รอบกองไฟ วนั ท่ี 3 ตน่ื นอน ภารกจิ ส่วนตัว 30 กิจกรรมเสรมิ สรา้ ง 05.00 – 05.30 น. กายบริหาร/ระเบยี บแถว/ประกอบ 05.30 – 06.30 น. อาหาร คณุ ธรรม รับประทานอาหาร/ภารกิจสว่ นตวั 06.30 – 07.30 น. ตรวจเยย่ี ม 60 กิจกรรมชวี ติ ชาวค่าย 07.30 – 08.00 น. สายที่ 1 เครอื่ งแบบ ทีพ่ ัก สขุ าภิบาล 60 กิจกรรมกลางแจง้ /ทักษะ สายท่ี 2 เคร่ืองแบบ ท่ีพกั สุขาภบิ าล 08.00 – 08.30 น. สายบรกิ าร ความสะอาดบรเิ วณ ลูกเสอื ประชุมกองรอบเสาธง 60 กจิ กรรมชวี ิตชาวค่าย 30 กจิ กรรมเสรมิ สร้างคุณธรรม 08.30 – 09.00 น. นันทนาการ 30 กจิ กรรมเสริมสรา้ งอดุ มการณ์ ลกู เสือ 30 กจิ กรรมนันทนาการ

172 วนั – เวลา กจิ กรรม เวลา ขอบข่ายเนอื้ หา (นาท)ี 09.00 – 12.00 น. วชิ าปฐมพยาบาล 180 กิจกรรมทกั ษะลูกเสือ 12.00 – 13.00 น. รบั ประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 13.30 น. นนั ทนาการ 60 กิจกรรมชวี ิตชาวค่าย 13.30 – 14.30 น. จิตอาสากบั การสร้างปณิธานความดี ของลกู เสอื กศน. 30 กิจกรรมนันทนาการ 14.30 – 15.30 น. สรปุ บทเรยี นสะท้อนความคดิ เห็น ประเมนิ ผล 60 กจิ กรรมเสริมสรา้ งอุดมการณ์ 15.30 – 16.30 น. พธิ ีปดิ การอบรม - ในห้องประชมุ ลกู เสอื 16.30 น. - รอบเสาธง เดินทางกลบั 60 กิจกรรมนาเสนอผลการ ดาเนินงานตามโครงการ 60 กิจกรรมเสริมสรา้ งอุดมการณ์ ลูกเสือ กิจกรรมเสริมสร้างอุดมการณ์ ลกู เสือ กจิ กรรมท้ายเร่อื งที่ 1 การวางแผนและปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเดินทางไกล การอย่คู า่ ยพักแรม และชวี ติ ชาวค่าย (ให้ผู้เรยี นไปทากิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 1 ที่สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า) เรือ่ งที่ 2 การใชช้ วี ติ ชาวค่ายรว่ มกบั ผอู้ ื่นในค่ายพักแรม กจิ กรรมในคา่ ยพกั แรมมีหลากหลายมากมาย ได้แก่ กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม และอุดมการณ์ลูกเสือ กิจกรรมสร้างค่ายพักแรม กิจกรรมชีวิตชาวค่าย กิจกรรมทักษะลูกเสือ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมนันทนาการ และชุมนุมรอบกองไฟ ตลอดจนกิจกรรมนาเสนอผล การดาเนินงานตามโครงการพฒั นาชุมชนและสังคม ซ่ึงได้ดาเนินการไว้ก่อนการเข้าค่ายพักแรม ซึ่งกิจกรรมท้ังหลายเหล่านไ้ี ด้กาหนดใหล้ กู เสอื ทกุ คน ทุกหมู่ ร่วมกันคิดแก้ปัญหา ร่วมกันวางแผน ลองผิดลองถูกร่วมกัน ตัดสินใจปฏิบัติร่วมกันอย่างมีความสุข และมีความภาคภูมิใจร่วมกัน ซ่ึงกิจกรรมทุกกิจกรรมจะทาให้ลูกเสือได้สัมผัสประสบการณ์ของการผจญภัย การได้เพื่อน การได้สัมผัสกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การได้หัวเราะอย่างมีความสุข และมีความสาเร็จ สุขสมรว่ มกัน

173 การใช้ชีวิตชาวค่าย และการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ืนในค่ายพักแรม เป็นการฝึก ทกั ษะชีวติ ฝึกให้รู้จักความเอ้ืออาทร ความเขา้ ใจ รจู้ ักการใหอ้ ภยั รู้จักรู้รัก รู้สามัคคี รู้จักหน้าท่ี มีวินัย รู้จักการปรับตัวเข้าหากัน เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขในสถานการณ์ท่ีคับขัน และมีข้อจากัดมากมาย ทาให้มีโอกาสพัฒนากระบวนความคิดจากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การทางานเป็นหมู่ ยอมรับบทบาท หน้าท่ีของกันและกัน พัฒนาความเป็นผู้นา ผู้ตาม เสริมสร้างคณุ ธรรม จริยธรรม ความมีวนิ ัย เพ่ือการเปน็ พลเมืองดีของสังคม กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 2 การใชช้ วี ติ ชาวคา่ ยรว่ มกบั ผ้อู ่นื ในค่ายพักแรม (ให้ผู้เรียนไปทากิจกรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 2 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวชิ า)

174 บรรณานกุ รม กรมการแพทยก์ ระทรวงสาธารณสขุ . คู่มือปฐมพยาบาลสาหรับประชาชน ฉบบั จิตอาสา เฉพาะกิจด้านการแพทย์. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1. กรุงเพทฯ : บริษัท โอ – วิทย์ (ประเทศไทย) จากัด, 2560. กวี พันธม์ุ ีเชาว์. เง่อื นเชือก. พิมพค์ รง้ั ท่ี 7. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค., 2555. คณะอนุกรรมการลูกเสือฝ่ายฝึกอบรม สานักงานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ. คู่มือฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากับลกู เสือวิสามญั ข้นั ความรเู้ บ้ืองตน้ (B.T.C.).พิมพค์ รง้ั ที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.ลาดพร้าว, 2550. “จรยิ ธรรม”. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/จริยธรรม. (วนั ทีค่ น้ ขอ้ มูล : 16 กุมภาพนั ธ์ 2561). ชินวรณ์ บุญยเกยี รติ. ในสารานุกรมลูกเสือ (เลม่ 1, หน้า ข). กรงุ เทพฯ : ชุมนมุ สหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2554. เทวินทร์ วารศี ร.ี “วิชาอุบัตเิ หตุและการปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : http://www.tawin.org. (วันที่คน้ ขอ้ มูล : 6 กุมภาพนั ธ์ 2561). นุชจรยี ์ ปดั สวน. ประเภทเขม็ ทิศซิลวา. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : https://noppadonnie2222. wordpress.com (ส่วนประกอบของเขม็ ทิศซิลวา). (วันทค่ี ้นข้อมูล : 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2561). บญุ ไสย์ มาตย์นอก L.T..คมู่ อื ลกู เสอื วสิ ามัญ 1 หลักสตู รเครื่องหมายลกู เสอื โลก. พิมพ์ครงั้ ท่ี 4. กรุงเทพมหานคร : บี.พี.ที. บ๊คุ แอนดป์ รน้ิ , 2554. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู วั . [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว. (วันที่ค้นข้อมูล : 7 กมุ ภาพันธ์ 2561). วธิ ีการผายปอด และการชว่ ยหายใจ”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : https://www.honestdocs.co/ artificial-respiration-methods. (วันทคี่ ้นข้อมูล : 8 กมุ ภาพันธ์ 2561). วภิ าพร วรหาญ. การปฐมพยาบาลและการพยาบาลฉุกเฉนิ . พิมพค์ รงั้ ที่ 13. ขอนแก่น : ขอนแก่น การพมิ พ์, 2552.

175 ศูนยฝ์ กึ อบรมปฐมพยาบาลและสขุ ภาพอนามัย สภากาชาดไทย. คู่มือปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ (Basic First Aid Manual). พมิ พค์ รงั้ ท่ี 6. นนทบรุ ี : บริษทั เนชั่นไฮย์ 1954 จากัด, 2559. _______. คู่มอื ปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น (Basic First Aid Manual). พิมพ์คร้ังที่ 10. กรุงเทพฯ :บรษิ ัท เซเวน่ พร้นิ ตงิ้ กรุ๊ป จากัด.2552. _______. “โรคลมแดด”. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : www.bangkokhealth.com/health/article/โรคลมแดด-638. (วนั ท่คี น้ ข้อมูล : 8 กมุ ภาพนั ธ์ 2561). สถาบันการพลศกึ ษา วทิ ยาเขตสุพรรณบุรี. “อุบตั ิเหตจุ ากการจมน้าและการป้องกัน”. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://www.ipesp.ac.th/learning/supitcha/html/D3-3-7.html. (วนั ทค่ี ้นขอ้ มลู : 8 กมุ ภาพันธ์ 2561). สภาลูกเสือแหง่ ชาต.ิ 90 ปี ลกู เสอื ไทย. กรุงเทพ : โรงพมิ พค์ รุ ุสภา. ลาดพรา้ ว, 2544. สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มหาวชิราลงกรณบดนิ ทรเทพยวรางกรู ราโชบาย แนวทางปฏบิ ตั ิ 9 ขอ้ . [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : http//www.thairath. (วันทค่ี น้ ข้อมลู : 8 กุมภาพันธ์ 2561). สานักการลกู เสือยุวกาชาด และกิจกรรมนกั เรียน. กิจกรรมลูกเสือเพ่อื พฒั นา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย, 2554. สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร. สานกั การลกู เสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรียน. เกณฑ์ การประเมนิ คณุ ภาพงานลูกเสือในสถานศกึ ษา. กรุงเทพฯ : สกสค.ลาดพร้าว, 2551. สานักงานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.). คูม่ ือการจดั กจิ กรรมลกู เสอื เสริมสร้างทักษะชีวิต ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสตู รลูกเสือโท ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 5 (ฉบับปรบั ปรุง 2559). [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : http://resource.thaihealth.or.th/library/ musthave/15683. (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มูล : 8 กมุ ภาพันธ์ 2561). สานักงานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง่ ชาติ ร่วมกับ ฝ่ายวิชาการ กองการลูกเสือ กรมพลศกึ ษา . “คมู่ อื การจดั การฝกึ อบรมลูกเสอื วิสามญั ”

176 สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สารานุกรมลกู เสอื ไทย 100 ปีการลกู เสอื ไทย. กรุงเทพ. : โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด, 2554. เสถียร หมดุ ปิน. การใช้เข็มทศิ ซิลวา Silva. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://scout.bmk.in.th/ map_asimut/silva.htm (รูปเขม็ ทิศแบบซิลวา). (วันทคี่ น้ ขอ้ มลู : 5 กุมภาพันธ์ 2561). องค์การลกู เสือโลก. หลกั การลูกเสอื . [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : http://www.Scout.org/wso/ scout.html. (วันท่ีคน้ ขอ้ มลู : 5 กุมภาพันธ์ 2561).

177 รายชอ่ื ผเู้ ขา้ รว่ มประชุมปฏบิ ตั กิ ารจัดทาตน้ ฉบบั ชดุ วิชา รายวิชาเลือกบังคับ และสมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ รายวชิ าลกู เสือ กศน. ท้ัง 3 ระดบั การศึกษา ระหวา่ งวนั ท่ี 5 – 9 กุมภาพันธ์ 2561 ณ โรงแรมนนทบรุ พี าเลซ จงั หวัดนนทบรุ ี 1. นายกฤตชัย อรุณรัตน์ เลขาธกิ าร กศน. 2. นางสาววิเลขา ลสี ุวรรณ์ รองเลขาธิการ กศน. 3. นางสรุ วี ัลย์ ลม้ิ พิพัฒนกลุ ผู้เช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นมาตรฐานการศกึ ษา 4. นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผอู้ านวยการกล่มุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 5. นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ข้าราชการบานาญ 6. นางสาวเนาวเรศ น้อยพานิชย์ ขา้ ราชการบานาญ 7. นายไพฑูรย์ ลิศนันท์ ขา้ ราชการบานาญ 8. นายเจริญศักดิ์ ดีแสน ผอู้ านวยการศูนย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษาลาปาง 9. นายอนันต์ คงชมุ รองผู้อานวยการสานักงาน กศน. จงั หวัดสโุ ขทยั 10. นายวรวุฒิ หุนมาตรา ผอู้ านวยการ กศน.เขตคลองสาน กทม. 11. นางสาววมิ ลรตั น์ ภูริคุปต์ ผู้อานวยการ กศน.เขตบางเขน กทม. 12. นางอบุ ลรตั น์ ชนุ หพันธ์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื ง จังหวดั จนั ทบุรี 13. นายไพโรจน์ กนั ทพงศ์ ผอู้ านวยการโรงเรียนลามหาเมฆ (ประชาราตรีอนุสรณ)์ จังหวดั ปทุมธานี 14. ว่าที่รอ้ ยตรี สเุ มธ สจุ ริยวงศ์ รองผู้อานวยการโรงเรียนงามมานะ (แผน – ทบั อุทศิ ) 15. นายบวรวทิ ย์ เลศิ ไกร รองผูอ้ านวยการโรงเรยี นศุภกรณ์วทิ ยา 16. นายบนั เทิง จนั ทรน์ เิ วศน์ โรงเรียนบางมดวิทยา“สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ์” 17. นางสาวสโรชา บรุ ีศรี เลขานกุ ารฯ สานักงาน ก.ค.ศ. 18. นายกฤตพัฒน์ นิชยั วรตุ มะ สานักการลกู เสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรยี น 19. นางกนกวรรณ น่มิ เจรญิ สานกั การลกู เสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรียน 20. นายเอกสิทธิ์ สวัสดิ์วงค์ สานักงานลกู เสือแห่งชาติ 21. นายเอกชัย ลาเหลอื สานักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ 22. นายศรัณยพงศ์ ขัติยะนนท์ กศน.อาเภอเมอื ง จังหวัดจันทบุรี

23. นายขวัญชยั เนียมหอม 178 24. นางสาววรรณพร ปัทมานนท์ 25. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาไพศรี กศน.อาเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก 26. นางเยาวรัตน์ ปนิ่ มณีวงศ์ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 27. นางสาวฐิติมา วงศ์บัณฑวรรณ ตามอัธยาศัย 28. นางกมลทิพย์ ช่วยแก้ว กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 29. นางสาวสุจรยิ า พุ่มไสล ตามอัธยาศัย 30. นายจตุรงค์ ทองดารา กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 31. นางสกุ ัญญา กุลเลิศพิทยา ตามอัธยาศัย 32. นายชัยวิชติ สารัญ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย กลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย

179 รายช่ือผ้เู ข้าร่วมประชมุ ปฏิบตั กิ ารบรรณาธิการต้นฉบับชุดวิชา รายวชิ าเลือกบงั คับ และสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ รายวิชาลกู เสือ กศน. ท้ัง 3 ระดบั การศึกษา คร้ังท่ี 1 วนั ท่ี 12 – 16 มนี าคม 2561 ณ หอั งประชมุ อารยี ์ กลุ ตณั ฑ์ อาคาร กศน.ชน้ั 6 นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผ้อู านวยการกลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย นางสาววราภรณ์ ศริ วิ รรณ ข้าราชการบานาญ นางสาวเนาวเรศ น้อยพานิช ข้าราชการบานาญ นายเจริญศักด์ิ ดแี สน ผู้อานวยการศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาลาปาง นายบันเทงิ จนั ทรน์ เิ วศน์ โรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สีสกุ หวาดอปุ ถัมภ์” นายขวัญชัย เนียมหอม กศน.อาเภอบา้ นนา จงั หวัดนครนายก นายชยั วิชิต สารญั กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย

180 รายชอ่ื ผูเ้ ขา้ ร่วมประชมุ ปฏบิ ตั ิการบรรณาธกิ ารตน้ ฉบับชดุ วชิ า รายวิชาเลือกบงั คับ และสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ รายวิชาลูกเสอื กศน. ทัง้ 3 ระดับการศกึ ษา ครัง้ ที่ 2 วนั ที่ 26 – 30 มนี าคม 2561 ณ โรงแรมชลพฤกษ์ รีสอรท์ จงั หวัดนครนายก นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผ้อู านวยการกลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ขา้ ราชการบานาญ นางสาวเนาวเรศ น้อยพานิช ขา้ ราชการบานาญ นายเจรญิ ศกั ดิ์ ดีแสน ผู้อานวยการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาลาปาง นายบันเทิง จันทร์นเิ วศน์ โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สีสุกหวาดอปุ ถมั ภ์” นายขวญั ชัย เนียมหอม กศน.อาเภอบ้านนา จงั หวัดนครนายก นายชัยวชิ ิต สารญั กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย

181 รายชอ่ื ผู้เข้าร่วมประชมุ ปฏิบัตกิ ารบรรณาธิการต้นฉบบั ชดุ วชิ า รายวิชาเลือกบังคับ และสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ รายวชิ าลกู เสอื กศน. ท้งั 3 ระดับการศึกษา คร้งั ท่ี 3 วันที่ 7 – 9 พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมนนทบรุ ี พาเลซ นนทบุรี นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผ้อู านวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย นางสาววราภรณ์ ศริ ิวรรณ ขา้ ราชการบานาญ นางสาวเนาวเรศ นอ้ ยพานชิ ขา้ ราชการบานาญ นางนพรตั น์ เวโรจน์เสรีวงศ์ ข้าราชการบานาญ

182 คณะผู้จดั ทา ทีป่ รึกษา เลขาธิการ กศน. นายกฤตชยั อรุณรัตน์ รองเลขาธิการ กศน. นางสาววเิ ลขา ลสี ุวรรณ์ ขา้ ราชการบานาญ นางสาววราภรณ์ ศริ วิ รรณ ผ้อู านวยการกลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบ นางร่งุ อรณุ ไสยโสภณ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย คณะทางาน หวั หน้ากลุ่มงานพัฒนาสือ่ การเรียนรู้ นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป์ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นางสาวทิพวรรณ วงค์เรอื น กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นางสาวชมพูนท สงั ขพ์ ชิ ยั กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ผพู้ มิ พ์ต้นฉบบั กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวทพิ วรรณ วงค์เรอื น กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นางสาววิยะดา ทองดี กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น์ กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นางวรรณี ศรีศริ ิวรรณกุล กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นางสาวชาลนิ ี ธรรมธิษา กล่มุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นางสาวชมพนู ท สงั ขพ์ ิชยั นางสาวขวญั ฤดี ลวิ รรโณ กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ผอู้ อกแบบปก นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป์

183


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook