ชุดการสอนรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 โดย นายหล่อล้อมพงศ์ จนั ดาบตุ ร รหสั นักศกึ ษา 61131114071 สาขาวชิ าเทคโนโลยีการศกึ ษาและคอมพวิ เตอร์ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา
คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 เวลา 16 ชัว่ โมง ********************************************************************************** ศกึ ษาการประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ เชงิ คํานวณในการพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงานทางดา้ น เทคโนโลยี การนาํ แนวคดิ เชงิ คํานวณพฒั นาโครงงานทีเ่ ก่ยี วกับชวี ิตประจำวนั ตลอดจนใช้ในการพัฒนา โครงงานท่มี กี ารบูรณาการกบั วิชาอ่ืนอย่างสร้างสรรค์และเชื่อมโยงกบั ชีวิตจรงิ โดยอาศัยกระบวนการเรียนรโู้ ดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) และการเรียนรู้ แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) เพอ่ื เน้นให้ผู้เรียนไดล้ งมือปฏบิ ตั ิ ฝกึ ทักษะการคดิ เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหาวางแผนการเรยี นรู้ตรวจสอบการเรยี นรู้ และนาํ เสนอผา่ นการทำกิจกรรม โครงงานเพือ่ ให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะในการวิเคราะหโ์ จทย์ปญั หา จนสามารถนาํ เอา แนวคิดเชิงคํานวณมาประยุกต์ใช้ในการสร้างโครงงานได้ เพ่ือให้ผู้เรยี นสามารถใช้ความรทู้ างดา้ นวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสารเพื่อรวบรวมขอ้ มลู ในชวี ติ จริงจากแหล่งตา่ งๆ และความรู้จากศาสตรอ์ ่นื มาประยกุ ตใ์ ช้ สร้างความรู้ ใหม่ เข้าใจการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีท่ีมีผลต่อการดำเนนิ ชีวติ อาชีพ สงั คม วัฒนธรรม และใช้อยา่ ง ปลอดภยั มจี รยิ ธรรม ตลอดจนนําความรู้ความเขา้ ใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ ตอ่ สังคม และการดำรงชวี ิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ ความสามารถในการแก้ปญั หา และการจัดการทกั ษะในการสอื่ สาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจ และเปน็ ผูท้ ่มี ีจิตวทิ ยาศาสตร์ มี คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มในการใช้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรค์ ตวั ช้ีวดั ว 4.2/1 รวมทงั้ หมด 1 ตัวช้วี ดั
โครงสรา้ งรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 เวลา 18 ชั่วโมง ********************************************************************************************* ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ กจิ กรรมการเรียนรู้ เวลา การเรียนรู/้ (ช่ัวโมง) ตัวชว้ี ดั แนวคิดเชงิ คำนวณ ว 4.2 ม.4/1 แนวคิดเชิงคำนวณ เป็น แนวคิดเชงิ คำนวณ 2 ความสามารถในการแก้ไขปัญหา โดยมุ่งเนน้ การคดิ เชิงตรรกะ หรือ การแยกส่วนประกอบและ 2 เปน็ การแกไ้ ขปัญหาอยา่ งเป็น การยอ่ ยปญั หา 2 ลำดบั ข้นั ตอน และมวี ธิ กี าร แก้ปญั หาอยา่ งมรี ะบบ การหารปู แบบและแนวคดิ เชิงนามธรรม การแก้ปัญหาและ ว 4.2 ม.4/1 การออกแบบขนั้ ตอนในการ ขนั้ ตอนวิธีแบบลำดบั ข้ัน 2 ข้ันตอนวธิ ี แกป้ ัญหา การกำหนดปญั หา 2 ศึกษา วางแผน ดำเนนิ งาน ขั้นตอนวธิ แี บบทางเลือก สรปุ ผล และนำเสนอ ในการ ขั้นตอนวธิ แี บบทำซำ้ 2 พฒั นาโครงงานท่ีมีการ บูรณา การรว่ มกับวิชาอื่นและเชือ่ งโยง ข้ันตอนวธิ ใี นชีวติ ประจำวนั 2 กบั ชวี ิตจริง 2 ข้นั ตอนวิธกี ารค้นหาและ จัดเรียงขอ้ มูล การประยกุ ต์ผงั งาน รวม 18
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง แนวคดิ เชงิ คำนวณ รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 6 ชัว่ โมง สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ รูเ้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม ตัวช้ีวดั ว 4.2 ม.4/1 ประยุกต์ใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานทีม่ ีการบรู ณการกบั วิชาอ่ืน อยา่ งสรา้ งสรรค์ และเชือ่ มโยงกับชวี ิตจริง 2.สาระสำคัญ แนวคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) เป็นพื้นฐานของการคิดแก้ปัญหาที่สามารถนำไป ประยุกตใ์ นการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน แนวคดิ เชิงคำนวณ เป็นการคิดแบบแยกส่วนประกอบและการย่อย ปัญหา (decomposition) การหารูปแบบของปญั หา (pattern recognition) การคดิ เชงิ ตรรกะ (abstraction) เพื่อพิจารณาสาระสำคญั ของปญั หา และการออกแบบข้ันตอนวิธีในการแก้ปัญหา (algorithm) ซึ่งขั้นตอนวธิ ี คือ ลำดับข้นั ตอนในการแกป้ ัญหาหรอื การทำงานทช่ี ดั เจน ช่วยใหค้ ิดอยา่ งเปน็ ระบบและเป็นข้ันตอน 3.สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 1. การพฒั นาโครงงาน 2. การนำแนวคิดเชิงคำนวณไปพัฒนาโครงงานที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน เช่น การจัดการพลังงาน อาหาร การเกษตร การตลาด การค้าขาย การทำธรุ กรรม สขุ ภาพ และสง่ิ แวดล้อม 3. ตัวอย่างโครงงาน เช่น ระบบดูแลสุขภาพ ระบบอัตโนมัติการควบคุมการปลูกพืช การจัดเส้นทาง การขนส่งผลผลติ ระบบแนะนำการใช้งานหอ้ งสมดุ ทมี่ ีการโตต้ อบกับผใู้ ช้และเชอ่ื มต่อกบั ฐานข้อมลู สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน -
4. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 5. คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุง่ มั่นในการทำงาน 6. การบรู ณาการ บูรณาการรว่ มกับรายวชิ าคณติ ศาสตร์ เรื่อง เซต ตรรกศาสตร์ ฟังก์ชนั และการแกส้ มการ 7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ช้นิ งาน - ภาระงาน - การแยกสว่ นประกอบยอ่ ย (decomposition) - การหารูปแบบของปัญหา (pattern recognition) - การคิดเชงิ ตรรกะ (abstraction) 8. การวดั และประเมนิ ผล 8.1 ประเมินผลกอ่ นเรยี น - แบบทดสอบก่อนเรยี น เรอื่ งแนวคดิ เชงิ คำนวณ 8.2 การประเมินผลระหวา่ งจดั กิจกรรมการเรียนรู้ - ตรวจใบกิจกรรม - การแยกส่วนประกอบย่อย (decomposition) - การหารูปแบบของปัญหา (pattern recognition) - การคิดเชงิ ตรรกะ (abstraction) 8.3 การประเมนิ ผลหลงั เรียน - ประเมนิ แบบทดสอบหลงั เรียน เร่ืองแนวคดิ เชิงคำนวณ 8.4 การประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน -
9. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1.แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ือง การแยกส่วนประกอบย่อย (decomposition) ใชก้ ารสอนแบบใช้ ปญั หาเป็นฐาน จำนวน 2 ชวั่ โมง 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การหารูปแบบของปัญหา (pattern recognition) ใช้การสอน แบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน จำนวน 2 ชว่ั โมง 3. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การคิดเชิงตรรกะ (abstraction) ใช้การสอนแบบใช้ปัญหาเป็น ฐาน จำนวน 2 ชวั่ โมง
รายวชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรอ่ื ง การแยกส่วนประกอบยอ่ ย หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณ เวลา 2 ชวั่ โมง 1. สาระการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ัด สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ร้เู ท่าทนั และมีจรยิ ธรรม ตัวชว้ี ัด ว 4.2 ม.4/1 ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการพัฒนาโครงงานที่มกี ารบูรณการกับวิชาอ่ืน อยา่ งสรา้ งสรรค์ และเชือ่ มโยงกบั ชีวติ จรงิ 2. สาระสำคญั และความคิดรวบยอด การแยกส่วนประกอบเป็นวิธีคดิ รูปแบบหนึง่ ของแนวคิดเชิงคำนวณ เป็นการพจิ ารณาเพื่อแบ่งปญั หา หรืองานออกแบบส่วนย่อย ทำใหส้ ามารถจัดการกบั ปญั หาหรอื งานไดง้ า่ ยข้ึน เช่น การพจิ ารณาจักรยาน ซ่ึงหา พิจารณาแลว้ จะประกอบด้วย ลอ้ แฮนด์ โครงจกั รยาน ระบบขับเคล่ือน หรอื อื่นๆ เป็นต้น 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ 1. การแยกส่วนประกอบยอ่ ย 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ 1. การวิเคราะห์ 2. การแก้ปญั หา 3. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
3.3 สมรรถนะสำคญั ของนักเรียน 1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 3.4 คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ มัน่ ในการทำงาน 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ : ใชก้ ารสอนแบบการเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน 4.1 กจิ กรรมนำเขา้ สู่บทเรยี น 1. ครนู ำรูปจกั รยานมาให้นกั เรียนทุกคนพิจารณา แลว้ ให้ทุกคนช่วยกนั แยกสว่ นประกอบของจกั รยาน ว่ามีอะไรบ้าง และแต่ละส่วนมหี นา้ ทอี่ ย่างไร 2. ครูชว่ ยนักเรยี นในการพิจารณาสว่ นประกอบย่อย และแนะนำเพิม่ เตมิ 3. ครูเปิดสื่อวิดีโอประกอบการสอนการแยกย่อยส่วนประกอบย่อย เพื่อแสดงให้เห็นว่าสิ่งของทุก อย่างมีองค์ประกอบย่อยเสมอ แม้กระทั่งปัญหาที่นักเรียนต้องแก้ปัญหานั้นก็จะมีปัญหาย่อย ๆ ให้นักเรียน พิจารณา ดังนั้นการแก้ปัญหาที่สำคัญคือการมองปัญหาย่อยให้ออก แล้วแก้ไขจากปัญหาย่อยไปยังปัญหาท่ี ใหญข่ ึน้ 4.2 กจิ กรรมพฒั นาการเรียนรู้ กำหนดปัญหา 4. ครูแบง่ กลมุ่ นักเรยี นกลมุ่ ละไม่เกิน 5 คน และแจกใบกิจกรรมที่ 1 เร่อื งการแยกส่วนประกอบย่อย 5. ครกู ำหนดปญั หาให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแยกส่วนประกอบยอ่ ย ดงั นี้ 1. รถยนต์ 2. เคร่อื งบนิ 3. เรือ 4. มอเตอร์ไซค์ ทำความเข้าทำความเขา้ ใจปัญหา 6. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ทำการวเิ คราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ที่ได้รบั 7. แต่ละกลมุ่ ร่วมกันสรปุ แนวคิดและผลการวเิ คราะห์องค์ประกอบท่กี ลมุ่ ไดร้ บั ในประเด็นเกยี่ วกบั สิ่ง ทตี่ า่ งและสิง่ ทเ่ี หมือนกันองคป์ ระกอบนั้น
ดำเนินการศึกษาคน้ คว้า 8. นักเรียนรว่ มกนั ทำใบงานและบันทึกหน้าทีส่ ำคัญขององค์ประกอบแตล่ ะส่วน 9. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ วิเคราะห์ว่ามีอุปกรณห์ รือสิ่งที่มีลกั ษณะองค์ประกอบคล้ายกบั สถานการณ์ที่ นักเรียนไดร้ บั 10. นกั เรยี นสอบถามปญั หาเพิ่มเติมกบั ครผู สู้ อน เก่ียวกับการแยกองคป์ ระกอบ สงั เคราะหค์ วามรู้ 11. แต่ละกลมุ่ สรปุ และสังเคราะห์ความรู้และเขียนองคป์ ระกอบลงในใบกจิ กรรม 12. นกั เรยี นในกลุ่มแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นและตรวจสอบองค์ความรขู้ องตนเอง เปรียบเทียบความ เหมือนและความแตกต่างของแตล่ ะองค์ประกอบ 13. นักเรยี นตรวจสอบใบกจิ กรรมที่ทำอีกคร้งั สรปุ และประเมนิ คำตอบ 14. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ สรปุ คำตอบและเขียนคำตอบลงในใบกจิ กรรมท่คี รแู จกให้ 15. สมาชกิ กลุ่มร่วมกันประเมนิ คำตอบและตรวจสอบคำตอบท่คี น้ พบอีกครง้ั นำเสนอและประเมินผล 16. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอองคป์ ระกอบของสถานการณ์ที่ได้รบั 17. เพือ่ นและครรู ว่ มกันสอบถามกลมุ่ ทนี่ ำเสนอในประเด็นทีส่ งสัย 18. เมอื่ แตล่ ะกลมุ่ นำเสนอเสรจ็ ครสู รปุ องค์ความร้เู กี่ยวกบั การแยกองค์ประกอบของปัญหา ให้ นักเรียนทุกคนฟังอีกครงั้ 4.3 กิจกรรมสรปุ การเรยี นรู้ 19. ครูสรปุ หลักการและประโยชน์ของการแยกส่วนประกอบและการย่อยปญั หา พร้อมกับอธิบายสรปุ 20. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นสอบถามปัญหาข้อสงสยั และตอบปญั หาใหน้ ักเรยี นเข้าใจอกี ครง้ั 5. ส่ือการเรยี นรู้ - ใบกิจกรรมท่ี 1 เร่ืองการแยกสว่ นประกอบและการย่อยปัญหา - วิดีโอ เร่อื ง แนวคดิ เชิงคำนวณ จาก https://youtu.be/MfPNJB1gg0E https://sites.google.com/view/learnwithllph/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2% E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81
6. การวัดและประเมินผล ดา้ น วธิ กี าร เคร่ืองมือ เกณฑ์ - ใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอื่ งการแยก - รอ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป ด้านความรู้ - นำเสนอองค์ความรู้ สว่ นประกอบและการย่อย ปัญหา - ระดับดีข้นึ ไป เกย่ี วกบั การแยก - ระดบั ดีขนึ้ ไป - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ ส่วนประกอบและการย่อย ทำงานกลุ่ม - ระดับดขี น้ึ ไป ปัญหา - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลุ่ม ด้านคณุ ธรรม/ - สังเกตจากพฤติกรรมท่ี - แบบประเมินทักษะ/ จริยธรรม รับผดิ ชอบต่องานท่ีไดร้ ับ กระบวนการในการแก้ปญั หา มอบหมาย - สงั เกตความอดทน การรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ื่น การวเิ คราะห์การวจิ ารณ์ ผลงานของกลุม่ ตนเองและ กลมุ่ อ่นื ด้านทักษะ/ - สงั เกตจากพฤตกิ รรมทเี่ กดิ กระบวนการ จากการทำงานกลมุ่ ในการ แก้ปัญหารว่ มกัน
7. บนั ทึกผลการจดั การเรียนรู้ 7.1 ผลการเรียนรู้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.2 ปญั หา / อปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.3 ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแกไ้ ขและพัฒนา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
ใบกจิ กรรมท่ี 1
แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ กลุ่ม .......................................................................................................... สมาชิกในกลุ่ม 1. 2....................................................................... ...................................................................... 3. 4....................................................................... ...................................................................... 5. 6....................................................................... ...................................................................... คำชี้แจง: ให้นักเรยี นทำเคร่ืองหมาย ✓ ในชอ่ งทต่ี รงกบั ความเป็นจริง พฤติกรรมท่ีสังเกต คะแนน 1 32 1. มสี ่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 2. มคี วามกระตอื รือร้นในการทำงาน 3. รับผดิ ชอบในงานที่ไดร้ บั มอบหมาย 4. มีขน้ั ตอนในการทำงานอย่างเปน็ ระบบ 5. ใชเ้ วลาในการทำงานอย่างเหมาะสม รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน พฤตกิ รรมทท่ี ำเป็นประจำ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ทำเป็นบางครง้ั ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ทำน้อยครง้ั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 13-15 ดี 8-12 ปานกลาง 5-7 ปรบั ปรงุ
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการในการแก้ปญั หา ลำดบั ชอื่ – การกำหนด ดำเนนิ สงั เคราะห์ สรปุ และ นำเสนอและ รวม ท่ี สกุล ปญั หาและทำ การศกึ ษา ความรู้ ประเมิน ประเมนิ ผล 20 ของ ความเขา้ ใจ คน้ คว้า คำตอบ คะแนน ผู้รับ 4321 4321 การ ปัญหา 4321 4321 ประเมนิ 4321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ มีทกั ษะ/กระบวนการดีมาก มที ักษะ/กระบวนการดี ............../.................../............... มที ักษะ/กระบวนการพอใช้ มที ักษะ/กระบวนการทีต่ ้องปรบั ปรุง ให้ 4 คะแนน ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ดมี าก 18-20 ดี 14-17 พอใช้ 10-13 ปรับปรุง ต่ำกว่า 10
รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรอื่ ง การหารูปแบบของปัญหา หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 แนวคดิ เชิงคำนวณ เวลา 2 ชว่ั โมง 1. สาระการเรียนรู้ / ตัวช้วี ัด สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทนั และมจี ริยธรรม ตัวช้วี ัด ว 4.2 ม.4/1 ประยุกต์ใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการพฒั นาโครงงานทีม่ ีการบูรณการกับวิชาอื่น อย่างสร้างสรรค์ และเช่ือมโยงกับชวี ิตจริง 2. สาระสำคญั และความคิดรวบยอด การหารูปแบบของปัญหาเป็นทักษะการหาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง แนวโน้ม และลักษณะทั่วไปของ สิ่งต่างๆ โดยทั่วไปแล้วนักเรียนจะเริ่มพิจารณาปัญหาหรือสิ่งที่สนใจ จากนั้นอาจจะใช้ทักษะการแยก ส่วนประกอบทำให้ได้องค์ประกอบภายในอื่นๆ แล้วจึงใช้ทักษะการหารูปแบบเพื่อสร้างความเข้าใจระหว่าง องค์ประกอบเหลา่ น้ัน 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1. การหารูปแบบของปญั หา 3.2 ทักษะ/กระบวนการ 1. การวิเคราะห์ 2. การแก้ปัญหา 3. การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3.3 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
3.4 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 4. กิจกรรมการเรียนรู้ : ใชก้ ารสอนแบบการเรยี นร้โู ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน 4.1 กิจกรรมนำเข้าสูบ่ ทเรยี น 1. ครูนำรูปเมา้ ส์และคีย์บอร์ดมาให้นกั เรยี นพิจารณาแยกส่วนประกอบยอ่ ย และลงความเห็นร่วมกัน ว่ามสี ว่ นประกอบย่อยอะไรบา้ ง 2. นักเรียนร่วมกันสรุปว่าเม้าส์มีองค์ประกอบที่เหมือนกันและต่างกันอย่างไรบ้าง และคีย์บอร์ดมี ส่วนประกอบทเ่ี หมอื นกันหรอื ต่างกันอย่างไรบา้ ง 3. ครูสรุปให้เห็นว่าสิ่งของทุกสิ่ง ถ้ามีการทำงานที่เหมือนกันจะมีองค์ประกอบที่เหมือนกัน และมี องค์ประกอบบางส่วนที่ต่างกัน 4.2 กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ กำหนดปญั หา 4. ครูแบ่งกลมุ่ นักเรียนกลุ่มละไมเ่ กิน 5 คน และแจกใบกจิ กรรมท่ี 2 เร่ืองการหารูปแบบของปญั หา 5. ครกู ำหนดปัญหาให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ หารปู แบบของปัญหา ดงั นี้ 1. รถยนต์ 2. เครื่องบนิ 3. เรอื 4. มอเตอรไ์ ซค์ ทำความเข้าทำความเขา้ ใจปัญหา 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของสถานการณท์ ี่ไดร้ บั 7. แตล่ ะกลุ่มรว่ มกันสรุปแนวคิดและผลการวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบทกี่ ลุ่มได้รับ ในประเด็นเก่ียวกับ สง่ิ ท่ีต่างและส่ิงท่ีเหมือนกันองค์ประกอบนัน้ 8. แตล่ ะกลุม่ สรุปองคป์ ระกอบทเ่ี หมอื นและต่างกันของปัญหาท่ไี ดร้ ับ
ดำเนนิ การศกึ ษาคน้ คว้า 9. นกั เรยี นหาขอ้ มลู เพิ่มเติมเก่ยี วกบั การหารูปแบบ จากหนังสือเรยี นเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) บทที่ 1 หน้าท่ี 16 จากนั้นแตล่ ะกล่มุ วิเคราะห์ว่ามีอปุ กรณ์หรอื สง่ิ ทีม่ ีลักษณะองค์ประกอบคล้ายกับสถานการณ์ ที่นกั เรยี นไดร้ ับ 10. นกั เรียนสอบถามปัญหาเพ่ิมเติมกบั ครผู สู้ อน เก่ียวกับการแยกองค์ประกอบ สงั เคราะห์ความรู้ 11. แต่ละกลุ่มสรปุ และสงั เคราะห์ความรแู้ ละเขยี นองค์ประกอบลงในใบกิจกรรม 12. นักเรียนในกลุม่ แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นและตรวจสอบองคค์ วามรู้ของตนเอง เปรยี บเทยี บความ เหมอื นและความแตกต่างของแตล่ ะองค์ประกอบ 13. นักเรยี นวาดภาพร่างหารูปแบบขององค์ประกอบวตั ถทุ มี่ คี วามเหมือนและต่างกัน จากน้ันจงึ บนั ทึกลงในใบกจิ กรรมและตรวจสอบใบกิจกรรมท่ที ำอีกคร้งั สรปุ และประเมินคำตอบ 14. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มสรุปคำตอบและเขยี นคำตอบลงในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้ 15. สมาชิกกลมุ่ รว่ มกันประเมนิ คำตอบและตรวจสอบคำตอบทคี่ น้ พบอีกครง้ั นำเสนอและประเมินผล 16. นกั เรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอองค์ประกอบของสถานการณท์ ี่ได้รบั 17. เพอื่ นและครรู ว่ มกันสอบถามกล่มุ ท่นี ำเสนอในประเดน็ ทีส่ งสยั 18. เมอ่ื แต่ละกลมุ่ นำเสนอเสร็จ ครสู รปุ องค์ความรเู้ กีย่ วกบั การแยกองคป์ ระกอบของปญั หา ให้ นักเรียนทกุ คนฟงั อกี ครง้ั 4.3 กจิ กรรมสรปุ การเรยี นรู้ 19. ครสู รุปหลักการและประโยชนข์ องการหารูปแบบ พรอ้ มกบั อธบิ ายสรปุ 20. ครูเปิดโอกาสให้นกั เรียนสอบถามปัญหาขอ้ สงสยั และตอบปญั หาใหน้ ักเรียนเขา้ ใจอีกคร้งั 5. ส่อื การเรียนรู้ - ใบกจิ กรรมท่ี 2 เรอื่ งการหารปู แบบของปัญหา - วิดโี อ เร่ือง แนวคิดเชงิ คำนวณ จาก https://youtu.be/MfPNJB1gg0E https://sites.google.com/view/learnwithllph/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2% E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81
6. การวดั และประเมินผล ด้าน วธิ กี าร เครือ่ งมือ เกณฑ์ - ใบกจิ กรรมท่ี 2 เร่อื งการหา - รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป ดา้ นความรู้ - นำเสนอองค์ความรู้ รูปแบบของปัญหา - ระดบั ดขี น้ึ ไป - ระดับดขี ้ึนไป เก่ยี วกับการหารปู แบบของ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลมุ่ - ระดับดขี ึ้นไป ปัญหา - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ ดา้ นคุณธรรม/ - สังเกตจากพฤติกรรมท่ี ทำงานกลุ่ม จริยธรรม รับผดิ ชอบตอ่ งานท่ไี ด้รับ - แบบประเมินทักษะ/ กระบวนการในการแก้ปญั หา มอบหมาย - สงั เกตความอดทน การรับ ฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ น่ื การวิเคราะห์การวิจารณ์ ผลงานของกลุ่มตนเองและ กลมุ่ อน่ื ดา้ นทกั ษะ/ - สงั เกตจากพฤตกิ รรมทเี่ กดิ กระบวนการ จากการทำงานกลุม่ ในการ แกป้ ัญหารว่ มกนั
7. บันทึกผลการจดั การเรียนรู้ 7.1 ผลการเรียนรู้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.2 ปญั หา / อปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.3 ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแก้ไขและพฒั นา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
ใบกจิ กรรมท่ี 2
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม กลมุ่ .......................................................................................................... สมาชิกในกลุ่ม 1. ...................................................................... 2. ...................................................................... 3. ...................................................................... 4. ...................................................................... 5. ...................................................................... 6. ...................................................................... คำชี้แจง: ให้นกั เรียนทำเครื่องหมาย ✓ ในช่องทตี่ รงกับความเป็นจรงิ พฤติกรรมทส่ี ังเกต คะแนน 1 32 1. มสี ่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เห็น 2. มคี วามกระตือรือรน้ ในการทำงาน 3. รับผดิ ชอบในงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย 4. มขี ้นั ตอนในการทำงานอย่างเปน็ ระบบ 5. ใช้เวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม รวม เกณฑ์การให้คะแนน พฤตกิ รรมที่ทำเปน็ ประจำ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมทท่ี ำเปน็ บางครงั้ ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมท่ที ำน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 13-15 ดี 8-12 ปานกลาง 5-7 ปรบั ปรุง
แบบประเมนิ ทกั ษะ/กระบวนการในการแก้ปญั หา ลำดั ช่ือ – การกำหนด ดำเนนิ สังเคราะห์ สรุปและ นำเสนอและ รวม บที่ สกุล ปัญหาและ การศึกษา ความรู้ ประเมิน ประเมนิ ผล 20 ของ ทำความ ค้นคว้า คำตอบ คะแน ผรู้ ับ เขา้ ใจปญั หา น การ 4321432143214321 ประเมิ 4321 น เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอื่ ...................................................ผูป้ ระเมนิ มที กั ษะ/กระบวนการดมี าก ............../.................../............... มีทักษะ/กระบวนการดี มที กั ษะ/กระบวนการพอใช้ ให้ 4 คะแนน มีทกั ษะ/กระบวนการทตี่ ้องปรบั ปรงุ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน ดีมาก 18-20 ดี 14-17 พอใช้ 10-13 ปรบั ปรงุ ต่ำกว่า 10
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 แนวคดิ เชิงคำนวณ เรอื่ ง การคิดเชิงตรรกะ เวลา 2 ช่ัวโมง 1. สาระการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวัด สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแกป้ ญั หาท่ีพบในชีวติ จริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรูก้ ารทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รเู้ ทา่ ทัน และมจี ริยธรรม ตัวช้วี ดั ว 4.2 ม.4/1 ประยกุ ต์ใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการพฒั นาโครงงานท่ีมกี ารบูรณการกับวิชา อ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ และเช่ือมโยงกับชีวติ จริง 2. สาระสำคญั และความคิดรวบยอด การคิดเชิงตรรกะหรือการคิดเชิงนามธรรม คือ กระบวนการคิดแยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจาก รายละเอียดในโจทย์ปัญหาหรอื งานทีก่ ำลังพิจารณา เพื่อให้ได้องค์ประกอบที่สำคัญหรือจำเป็นเพยี งพอ และ กระชบั ท่ีสดุ ในการพจิ ารณาภายใต้สถานการณท์ ส่ี นใจ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1. การคิดเชงิ ตรรกะหรือการคิดเชิงนามธรรม 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ 1. การวเิ คราะห์ 2. การแกป้ ัญหา 3. การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 3.3 สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น 1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
3.4 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 4. กจิ กรรมการเรยี นรู้ : ใช้การสอนแบบการเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐาน 4.1 กจิ กรรมนำเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ครูใหน้ กั เรียนพิจารณาแผนท่ีทางเดนิ รถไฟฟา้ เปรยี บเทยี บสองภาพ ได้แก่ ภาพแผนทีท่ ่ัวไปกบั ภาพ โครงรา่ งสถานรี ถไฟฟา้ แลว้ ให้นกั เรยี นเปรยี บเทียบวา่ ภาพไหนเข้าใจงา่ ยกว่ากนั เพราะเหตใุ ด 2. นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ว่าแนวคิดเชิงนามธรรมมนี ิยามหรือความหมายวา่ อย่างไรเม่ือได้พิจารณาภาพ ทง้ั สองแล้ว 3. ครูสรุปใหเ้ หน็ ชัดเจนเกยี่ วกับแนวคดิ เชิงนามธรรมและอธบิ ายเพม่ิ เติม 4.2 กจิ กรรมพฒั นาการเรียนรู้ กำหนดปัญหา 4. ครแู บง่ กลมุ่ นักเรียนกลุ่มละไมเ่ กิน 5 คน และแจกใบกิจกรรมท่ี 3 เรอ่ื งการคดิ เชงิ นามธรรม 5. ครูกำหนดปญั หาใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบหรือวาดภาพรา่ งออกมาเปน็ แนวคิดเชิงนามธรรม ดังนี้ 1. แผนท่ีบรเิ วณโรงเรียน 2. โครงสรา้ งบ้านสองชน้ั 3. ระบบไฟฟา้ ภายในหอ้ งเรยี น 4. การเชือ่ มต่อของระบบคอมพวิ เตอร์ ทำความเข้าทำความเขา้ ใจปัญหา 6. นักเรียนแต่ละกลุม่ ทำการวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบของสถานการณท์ ่ไี ดร้ ับ และพจิ ารณาเฉพาะ สว่ นประกอบท่สี ำคัญ 7. แตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั สรุปแนวคิดและผลการวเิ คราะห์องคป์ ระกอบทีก่ ลุ่มไดร้ ับ 8. นักเรยี นแต่ละกลุ่มสรปุ องค์ประกอบทสี่ ำคัญของประเดน็ ที่ได้รบั อีกคร้งั
ดำเนนิ การศึกษาคน้ ควา้ 9. นักเรียนหาขอ้ มูลเพิม่ เติมเกยี่ วกบั การคิดเชิงตรรกะหรอื การคดิ เชงิ นามธรรม จากหนังสือเรยี น เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) บทท่ี 1 หน้าท่ี 19 และเว็บไซต์ 10. นักเรียนสอบถามปัญหาเพมิ่ เติมกบั ครผู ู้สอน เกย่ี วกับการคิดเชิงตรรกะ และครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ ให้ นกั เรยี นทกุ คนเขา้ ใจ สังเคราะห์ความรู้ 11. แต่ละกลมุ่ สรุปและสังเคราะห์ความรแู้ ละเขยี นภาพร่างแนวคิดเชงิ นามธรรม 12. นักเรยี นในกลมุ่ แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและตรวจสอบองคค์ วามรู้ของตนเอง เปรยี บเทียบความ เหมอื นและความแตกต่างของแต่ละองคป์ ระกอบกบั ข้อมูลตน้ ฉบบั 13. นกั เรยี นวาดภาพรา่ งลงในใบกิจกรรมและตรวจสอบใบกจิ กรรมท่ที ำอีกคร้ัง สรปุ และประเมินคำตอบ 14. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มสรปุ คำตอบและเขียนคำตอบลงในใบกิจกรรมทคี่ รูแจกให้ 15. สมาชกิ กล่มุ ร่วมกันประเมินคำตอบและตรวจสอบคำตอบทีค่ ้นพบอีกครัง้ นำเสนอและประเมนิ ผล 16. นักเรียนแต่ละกล่มุ ออกมานำเสนอแนวคิดเชิงนามธรรมตามสถานการณ์ทีไ่ ดร้ ับ 17. เพื่อนและครูรว่ มกันสอบถามกลุ่มที่นำเสนอในประเด็นท่ีสงสัย 18. เม่ือแต่ละกลมุ่ นำเสนอเสร็จ ครสู รุปองค์ความร้เู กีย่ วกับการคิดเชงิ นามธรรม ให้นักเรยี นทุกคนฟัง อกี ครง้ั 4.3 กจิ กรรมสรปุ การเรยี นรู้ 19. ครสู รปุ หลักการและประโยชน์ของการคดิ เชิงนามธรรม พรอ้ มกับอธิบายสรปุ 20. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรยี นสอบถามปัญหาขอ้ สงสยั และตอบปัญหาใหน้ ักเรียนเข้าใจอกี ครั้ง 5. สือ่ การเรยี นรู้ - ใบกจิ กรรมที่ 3 เร่อื งแนวคิดเชงิ นามธรรม - วดิ โี อ เรือ่ ง แนวคดิ เชงิ คำนวณ จาก https://youtu.be/MfPNJB1gg0E https://sites.google.com/view/learnwithllph/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2% E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81
6. การวัดและประเมินผล ด้าน วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑ์ - ใบกจิ กรรมท่ี 2 เรื่องการหา - รอ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป ด้านความรู้ - นำเสนอองคค์ วามรู้ รูปแบบของปญั หา - ระดับดีขน้ึ ไป - ระดบั ดีข้นึ ไป เกีย่ วกบั การหารปู แบบของ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกล่มุ - ระดับดขี ึ้นไป ปัญหา - แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ด้านคณุ ธรรม/ - สงั เกตจากพฤตกิ รรมท่ี ทำงานกล่มุ จริยธรรม รบั ผดิ ชอบต่องานทไ่ี ดร้ บั - แบบประเมินทกั ษะ/ กระบวนการในการแกป้ ญั หา มอบหมาย - สังเกตความอดทน การรับ ฟังความคดิ เห็นของผ้อู ่นื การวเิ คราะหก์ ารวจิ ารณ์ ผลงานของกลมุ่ ตนเองและ กล่มุ อ่ืน ดา้ นทกั ษะ/ - สงั เกตจากพฤตกิ รรมท่เี กดิ กระบวนการ จากการทำงานกลุ่มในการ แก้ปญั หาร่วมกัน 7. บนั ทึกผลการจดั การเรยี นรู้ 7.1 ผลการเรียนรู้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.2 ปัญหา / อุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.3 ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแกไ้ ขและพัฒนา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................
ใบกจิ กรรมท่ี 3
แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ กลุ่ม .......................................................................................................... สมาชิกในกลุ่ม 1. 2....................................................................... ...................................................................... 3. 4....................................................................... ...................................................................... 5. 6....................................................................... ...................................................................... คำชี้แจง: ให้นักเรยี นทำเคร่ืองหมาย ✓ ในชอ่ งทต่ี รงกบั ความเป็นจริง พฤติกรรมท่ีสังเกต คะแนน 1 32 1. มสี ่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 2. มคี วามกระตอื รือร้นในการทำงาน 3. รับผดิ ชอบในงานที่ไดร้ บั มอบหมาย 4. มีขน้ั ตอนในการทำงานอย่างเปน็ ระบบ 5. ใชเ้ วลาในการทำงานอย่างเหมาะสม รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน พฤตกิ รรมทท่ี ำเป็นประจำ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ทำเป็นบางครง้ั ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ทำน้อยครง้ั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 13-15 ดี 8-12 ปานกลาง 5-7 ปรบั ปรงุ
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการในการแก้ปญั หา ลำดบั ชอื่ – การกำหนด ดำเนนิ สงั เคราะห์ สรปุ และ นำเสนอและ รวม ท่ี สกุล ปญั หาและทำ การศกึ ษา ความรู้ ประเมิน ประเมนิ ผล 20 ของ ความเขา้ ใจ คน้ คว้า คำตอบ คะแนน ผู้รับ 4321 4321 การ ปัญหา 4321 4321 ประเมนิ 4321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ มีทกั ษะ/กระบวนการดีมาก มที ักษะ/กระบวนการดี ............../.................../............... มที ักษะ/กระบวนการพอใช้ มที ักษะ/กระบวนการทีต่ ้องปรบั ปรุง ให้ 4 คะแนน ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ดมี าก 18-20 ดี 14-17 พอใช้ 10-13 ปรับปรุง ต่ำกว่า 10
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 เร่อื ง การแกป้ ญั หาและขนั้ ตอนวธิ ี รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 12 ช่ัวโมง .............................................................................................................................................................................. 1. สาระการเรยี นรู้ / ตัวชว้ี ัด สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ รเู้ ท่าทัน และมจี ริยธรรม ตัวชว้ี ัด ว 4.2 ม.4/1 ประยุกตใ์ ช้แนวคิดเชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณการกับวิชา อื่นอย่างสร้างสรรค์ และเชือ่ มโยงกบั ชวี ิตจริง 2.สาระสำคัญ คอมพวิ เตอร์มบี ทบาทในการปฏวิ ตั กิ ารทำงานในทกุ ภาคส่วนของสังคม การประยกุ ต์ใช้คอมพิวเตอร์มี ผลใหป้ ระสทิ ธภิ าพการทำงานเพ่ิมขน้ึ ลดภาระงานทีท่ ำซ้ำๆ รวมถงึ เพิ่มความแมน่ ยำของผลลัพธท์ ี่ได้ ขั้นตอน วิธีท่ีจะสัง่ ใหค้ อมพิวเตอรท์ ำงานไดต้ รงตามความตอ้ งการ ต้องผา่ นการคดิ วิเคราะห์และการออกแบบท่ีสมบูรณ์ ครบถ้วน ซงึ่ จะทำใหค้ อมพิวเตอรท์ ำงานได้ตรงตามความตอ้ งการและไม่เกดิ ข้อผิดพลาด 3.สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 1. ปัญหาหรอื ความต้องการท่ีมีผลกระทบต่อสงั คม เช่น ปัญหาด้านการเกษตร อาหาร พลังงาน การ ขนสง่ สขุ ภาพและการแพทย์ การบริการ ซซึง่ ในแตล่ ะด้านอาจมีไดห้ ลากหลายปญั หา 2. การวิเคราะห์สถานการณ์ปญั หาโดยอาจใช้เทคนิคหรอื วิธีการวิเคราะหท์ ่ีหลากหลาย ช่วยให้เข้าใจ เงื่อนไขและกรอบของปัญหาได้ชัดเจน จากนั้นดำเนนิ การสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ ที่ เก่ียวขอ้ ง เพอื่ นำไปสกู่ ารออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หา 3. การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น โดยคำนึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เงอื่ นไขและทรพั ยากร เช่น งบประมาณ เวลา ขอ้ มลู และสารสนเทศ วสั ดุ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ ชว่ ยให้ได้แนว ทางการแกป้ ญั หาทเี่ หมาะสม 4. การออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหาทำไดห้ ลากหลายวิธี เชน่ การร่างภาพ การเขยี นแผนภาพ การ เขยี นผงั งาน 5. ซอฟต์แวรช์ ว่ ยในการออกแบบและนำเสนอมีหลากหลายชนิด จงึ ต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน 6. การกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการทำงานก่อนดำเนินการแก้ปัญหาจะช่วยให้การทำงาน สำเร็จไดต้ ามเป้าหมาย และลดข้อผิดพลาดของการทำงานทอี่ าจเกิดข้นึ
7. การพัฒนาโครงงาน 8. การนำแนวคิดเชิงคำนวณไปพัฒนาโครงงานที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน เช่น การจัดการพลังงาน อาหาร การเกษตร การตลาด การคา้ ขาย การทำธุรกรรม สขุ ภาพ และสง่ิ แวดล้อม 9. ตัวอย่างโครงงาน เช่น ระบบดูแลสุขภาพ ระบบอัตโนมัติการควบคุมการปลูกพืช การจัดเส้นทาง การขนสง่ ผลผลติ ระบบแนะนำการใชง้ านหอ้ งสมดุ ท่มี กี ารโต้ตอบกับผ้ใู ช้และเชื่อมตอ่ กบั ฐานข้อมลู สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่นิ - 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 5. คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน 6. การบูรณาการ บรู ณาการร่วมกบั รายวิชาคณติ ศาสตร์ เรอื่ ง เซต ตรรกศาสตร์ ฟังกช์ นั และการแก้สมการ 7. หลกั ฐานการเรียนรู้ ชิ้นงาน - ผงั งานขนั้ ตอนวธิ กี ารแก้ปัญหา ภาระงาน - ขน้ั ตอนวธิ ีแบบลำดับขัน้ - ข้ันตอนวธิ ีแบบทางเลอื ก - ข้นั ตอนวิธีแบบทำซำ้ - ขน้ั ตอนวิธกี ารคน้ หาข้อมลู - ขน้ั ตอนวิธกี ารจัดเรยี งขอ้ มูล - การประยุกต์ผงั งาน
8. การวัดและประเมนิ ผล 8.1 ประเมนิ ผลกอ่ นเรยี น - แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการแกป้ ัญหาและขนั้ ตอนวิธี 8.2 การประเมนิ ผลระหว่างจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ - ตรวจผังงาน - ขน้ั ตอนวิธแี บบลำดับขัน้ - ขัน้ ตอนวธิ แี บบทางเลอื ก - ขัน้ ตอนวิธแี บบทำซ้ำ - ข้นั ตอนวิธีการค้นหาขอ้ มลู - ขนั้ ตอนวธิ ีการจัดเรยี งขอ้ มูล - การประยกุ ต์ผงั งาน 8.3 การประเมนิ ผลหลังเรยี น - ประเมินแบบทดสอบหลงั เรยี น เรอ่ื งการแก้ปญั หาและข้นั ตอนวิธี 8.4 การประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน - ตรวจผงั งานขนั้ ตอนวธิ กี ารแก้ปญั หา 9. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1.แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง ขั้นตอนวิธแี บบลำดับข้ัน จำนวน 2 ชัว่ โมง ใชก้ ารสอนแบบการเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning: PBL) 2. แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 2 เร่อื ง ข้ันตอนวิธแี บบทางเลอื ก จำนวน 2 ชว่ั โมง ใชก้ ารสอนแบบการเรยี นรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning: PBL) 3. แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 3 เร่อื ง ข้นั ตอนวิธีแบบทำซำ้ จำนวน 2 ชั่วโมง ใชก้ ารสอนแบบการเรียนรู้โดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Learning: PBL) 4. แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 4 เร่ือง ขน้ั ตอนวธิ ีในชวี ติ ประจำวนั จำนวน 2 ชัว่ โมง ใช้การสอนแบบการเรียนรู้โดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Learning: PBL) 5. แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 เรื่อง ขน้ั ตอนวธิ กี ารคน้ หาและจดั เรียงข้อมลู จำนวน 2 ชว่ั โมง ใชก้ ารสอนแบบการเรียนรโู้ ดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Learning: PBL) 6. แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 6 เรื่อง การประยุกตผ์ ังงาน จำนวน 2 ช่ัวโมง ใชก้ ารสอนแบบการเรียนรโู้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning: PBL)
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 รายวชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การแกป้ ญั หาและขน้ั ตอนวธิ ี เร่ือง ขั้นตอนวิธแี บบลำดับข้นั เวลา 2 ชว่ั โมง 1. สาระการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ัด สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเปน็ ขัน้ ตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี ริยธรรม ตวั ชี้วดั ว 4.2 ม.4/1 ประยุกต์ใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานทีม่ กี ารบูรณการกับวิชาอ่ืน อยา่ งสรา้ งสรรค์ และเช่อื มโยงกับชวี ิตจรงิ 2. สาระสำคัญและความคิดรวบยอด การทำงานข้ันพ้นื ฐานของระบบคอมพวิ เตอร์ กค็ ือการทำงานเรยี งลำดับตามคำสั่งที่เขียนหรือกำหนด ไว้ เรียกว่าการทำงานแบบลำดับขั้น (Sequence) และไม่ว่าระบบหรือโปรแกรมจะมีขนาดใหญ่เพยี งใดก็ตาม การทำงานแบบนีก้ ย็ ังเปน็ พ้ืนฐานสำคัญอย่เู สมอ หรืออาจเรียกได้วา่ เป็นการทำงานข้นั ตน้ หรือข้ันพ้ืนฐานจนถึง การทำงานระดบั สงู 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ 1. ข้นั ตอนวธิ แี บบลำดับข้ัน 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ 1. การวเิ คราะห์ 2. การแก้ปัญหา 3. การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 3.3 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
3.4 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ : ใช้การสอนแบบการเรยี นร้โู ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน 4.1 กิจกรรมนำเขา้ ส่บู ทเรียน 1. ครูใหน้ กั เรียนบอกวธิ กี ารเดนิ ทางจากบ้านมาโรงเรยี นหรอื ข้นั ตอนวิธกี ารเข้าแถวหน้าเสาธงในตอน เชา้ ตั้งแต่เริ่มตน้ จนส้ินสดุ กจิ กรรม 2. ครูยกตัวอย่างการทำงานของหุ่นยนต์เบื้องต้น ได้แก่ การเดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวา แลว้ ใหน้ กั เรยี นทดลองสงั่ งานหุ่นยนต์ให้เคลือ่ นท่ตี ามที่ตอ้ งการ 3. ครแู สดงใหเ้ หน็ วา่ การทำงานเบ้ืองตน้ ของคอมพิวเตอรห์ รือระบบคอมพวิ เตอรน์ ัน้ มกี ารทำงานแบบ ลำดบั ขั้นเปน็ พน้ื ฐาน 4.2 กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้ กำหนดปัญหา 4. ครแู บ่งกลมุ่ นักเรยี นกลมุ่ ละไมเ่ กนิ 5 คน และแจกใบกิจกรรมที่ 1 เร่ืองขน้ั ตอนวธิ ีแบบลำดับข้นั 5. ครูกำหนดปญั หาโปรแกรม Microbit อย่างงา่ ยใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ ดังน้ี 1. การสร้างตวั หนงั สือให้ว่ิง 2. การสรา้ งรูปหัวใจ 3. การสร้างไฟกระพริบ 4. การสรา้ งเครือ่ งวัดอุณหภูมิ ทำความเขา้ ทำความเข้าใจปญั หา 6. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ทำการวิเคราะห์ปัญหาทีไ่ ด้รบั ในประเด็นเกี่ยวกับ - ข้อมูลนำเข้า - การประมวลผล - การแสดงผล 7. แตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั สรุปแนวคดิ และผลการวิเคราะหป์ ญั หาท่กี ลมุ่ ไดร้ บั ดำเนนิ การศกึ ษาค้นควา้ 8. ครแู นะนำวิธีการเขยี นผงั งาน สัญลักษณท์ ส่ี ำคัญ ขน้ั ตอนวธิ ีการแกป้ ญั หาแบบลำดบั ขั้น 9. นักเรยี นศกึ ษาค้นควา้ แนวทางการเขียนผังงานจากอินเทอร์เนต็ และใบความรู้ 10. นักเรียนสอบถามปญั หาเพิ่มเตมิ กบั ครูผู้สอน เกี่ยวกบั การเขยี นผงั งาน
สังเคราะหค์ วามรู้ 11. แต่ละกล่มุ สรุปและสงั เคราะห์ความรแู้ ละวาดผงั งานตามโจทย์หรอื ประเด็นปัญหาทีก่ ลุ่มไดร้ บั 12. นกั เรียนในกลุม่ แลกเปลย่ี นความคิดเห็นและตรวจสอบองคค์ วามรูห้ รือผังงานของกล่มุ ตนเอง 13. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ วาดผงั งานและตกแตง่ ผงั งานตนเองใหส้ มบรู ณ์ สรุปและประเมินคำตอบ 14. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ สรุปคำตอบและเขียนคำตอบลงในใบกจิ กรรมทค่ี รูแจกให้ 15. สมาชกิ กลมุ่ รว่ มกันประเมนิ คำตอบและตรวจสอบคำตอบทีค่ ้นพบอีกคร้ัง นำเสนอและประเมนิ ผล 16. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มออกมานำเสนอขนั้ ตอนวธิ ีแบบลำดบั ขนั้ ทีก่ ลมุ่ ได้รบั พร้อมอธบิ ายวา่ มขี ั้นตอน วิธอี ย่างไร 17. เพ่ือนและครรู ว่ มกันสอบถามกลุ่มท่นี ำเสนอในประเด็นที่สงสยั 18. เมอื่ แต่ละกล่มุ นำเสนอเสรจ็ ครูสรุปองค์ความรู้เกยี่ วกับการแกป้ ัญหาดว้ ยขน้ั ตอนวธิ นี ั้นๆ ให้ นักเรียนทกุ คนฟังอกี ครง้ั 4.3 กิจกรรมสรุปการเรียนรู้ 19. ครสู รุปขั้นตอนวธิ ีแบบลำดับขน้ั พรอ้ มกบั อธิบายสรุปผังงานแบบลำดับขัน้ เพิ่มเติม 20. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรยี นสอบถามปัญหาขอ้ สงสัย และตอบปัญหาให้นกั เรียนเขา้ ใจอกี ครัง้ 5. สื่อการเรยี นรู้ - ใบกจิ กรรมที่ 1 เรอ่ื งขัน้ ตอนวิธแี บบลำดบั ขนั้ https://sites.google.com/view/learnwithllph/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2% E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81 - แอพพลเิ คช่ัน Microbit - วิดโี อ เร่อื ง แนวคดิ เชิงคำนวณ จาก https://youtu.be/MfPNJB1gg0E
6. การวดั และประเมินผล ด้าน วธิ ีการ เครอ่ื งมอื เกณฑ์ - ใบกจิ กรรมที่ 1 เรื่อข้ันตอน - ร้อยละ 80 ข้นึ ไป ดา้ นความรู้ - นำเสนอองคค์ วามรู้ วธิ แี บบลำดับขั้น - ระดบั ดีข้ึนไป - ระดบั ดขี ึ้นไป เกี่ยวกับขนั้ ตอนวธิ แี บบ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลมุ่ - ระดับดขี ึ้นไป ลำดบั ข้นั - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ ดา้ นคณุ ธรรม/ - สงั เกตจากพฤตกิ รรมที่ ทำงานกล่มุ จริยธรรม รับผดิ ชอบต่องานทไี่ ด้รบั - แบบประเมนิ ทกั ษะ/ กระบวนการในการแก้ปญั หา มอบหมาย - สังเกตความอดทน การรบั ฟังความคดิ เห็นของผู้อื่น การวิเคราะห์การวจิ ารณ์ ผลงานของกล่มุ ตนเองและ กลมุ่ อ่ืน ดา้ นทกั ษะ/ - สงั เกตจากพฤตกิ รรมทเ่ี กิด กระบวนการ จากการทำงานกลุ่มในการ แกป้ ญั หารว่ มกัน
7. บันทึกผลการจดั การเรียนรู้ 7.1 ผลการเรียนรู้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.2 ปญั หา / อปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.3 ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแก้ไขและพฒั นา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
ใบกจิ กรรมท่ี 2.1
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม กลมุ่ .......................................................................................................... สมาชิกในกลุ่ม 1. ...................................................................... 2. ...................................................................... 3. ...................................................................... 4. ...................................................................... 5. ...................................................................... 6. ...................................................................... คำชี้แจง: ให้นกั เรียนทำเครื่องหมาย ✓ ในชอ่ งท่ีตรงกบั ความเป็นจรงิ พฤติกรรมทส่ี ังเกต คะแนน 1 32 1. มสี ่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ 2. มคี วามกระตือรือรน้ ในการทำงาน 3. รับผดิ ชอบในงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย 4. มขี น้ั ตอนในการทำงานอย่างเปน็ ระบบ 5. ใช้เวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม รวม เกณฑ์การให้คะแนน พฤตกิ รรมที่ทำเปน็ ประจำ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมทท่ี ำเปน็ บางคร้ัง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมท่ที ำน้อยครง้ั ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 13-15 ดี 8-12 ปานกลาง 5-7 ปรบั ปรุง
แบบประเมนิ ทกั ษะ/กระบวนการในการแก้ปญั หา ลำดั ช่ือ – การกำหนด ดำเนนิ สังเคราะห์ สรุปและ นำเสนอและ รวม บที่ สกุล ปัญหาและ การศึกษา ความรู้ ประเมิน ประเมนิ ผล 20 ของ ทำความ ค้นคว้า คำตอบ คะแน ผรู้ ับ เขา้ ใจปญั หา น การ 4321432143214321 ประเมิ 4321 น เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอื่ ...................................................ผูป้ ระเมนิ มที กั ษะ/กระบวนการดมี าก ............../.................../............... มีทักษะ/กระบวนการดี มที กั ษะ/กระบวนการพอใช้ ให้ 4 คะแนน มีทกั ษะ/กระบวนการทตี่ ้องปรบั ปรงุ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน ดีมาก 18-20 ดี 14-17 พอใช้ 10-13 ปรบั ปรงุ ต่ำกว่า 10
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแกป้ ัญหาและข้นั ตอนวิธี เร่ือง ขั้นตอนวธิ ีแบบทางเลอื ก เวลา 2 ชวั่ โมง 1. สาระการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ัด สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ รเู้ ทา่ ทัน และมีจริยธรรม ตัวช้ีวัด ว 4.2 ม.4/1 ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณการกับวิชา อื่นอย่างสรา้ งสรรค์ และเชอื่ มโยงกับชีวติ จริง 2. สาระสำคัญและความคิดรวบยอด ระบบคอมพิวเตอร์นั้นนอกจากจะทำงานแบบลำดับขั้นเป็นพื้นฐานแล้วก็มักจะมีการทำงานที่มีการ ตัดสินใจอยู่เสมอๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและดีที่สุด การตัดสินใจของระบบคอมพิวเตอร์จึงมีส่วนสำคัญ และเปน็ การทำงานที่จำเปน็ อีกประการหนงึ่ เชน่ กัน 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1. ขน้ั ตอนวิธีแบบทางเลือก 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ 1. การวเิ คราะห์ 2. การแก้ปัญหา 3. การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 3.3 สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
3.4 คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุง่ มน่ั ในการทำงาน 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ : ใช้การสอนแบบการเรียนรโู้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน 4.1 กิจกรรมนำเข้าสบู่ ทเรยี น 1. ครใู หน้ กั เรียนบอกวิธีการเดนิ ทางจากบ้านมาโรงเรยี นหรอื ขัน้ ตอนวธิ ีการเข้าแถวหนา้ เสาธงในตอน เช้าตง้ั แตเ่ รม่ิ ตน้ จนสิ้นสุดกจิ กรรม โดยมเี งือ่ นไขในการเดนิ ทางเพมิ่ เติม เช่น ฝนตกหรอื ตื่นสาย 2. ครูยกตัวอย่างการทำงานของหุ่นยนต์เบื้องต้น ได้แก่ การเดินหน้า ถอยหลัง เล้ียวซ้าย เลี้ยวขวา โดยมีสง่ิ กีดขวางการเดนิ แล้วให้นกั เรยี นทดลองสง่ั งานหุ่นยนตใ์ ห้เคลอ่ื นที่ตามทต่ี อ้ งการ 3. ครูแสดงให้เหน็ ว่าการทำงานเบอื้ งต้นของคอมพิวเตอร์หรอื ระบบคอมพวิ เตอร์นั้นมีการทำงานแบบ ลำดับขัน้ เป็นพื้นฐานและมีการตัดสนิ ใจอยู่เสมอๆ 4.2 กิจกรรมพฒั นาการเรยี นรู้ กำหนดปัญหา 4. ครูแบ่งกลุ่มนกั เรียนกลุ่มละไม่เกิน 5 คน และแจกใบกิจกรรมที่ 2 เร่อื งขั้นตอนวธิ ีแบบทางเลือก 5. ครกู ำหนดปัญหาโปรแกรมทม่ี กี ารตดั สินใจให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ดังนี้ 1. โปรแกรมตรวจสอบเลขจำนวนเตม็ 2. โปรแกรมตัดเกรด 3. โปรแกรมดชั นมี วลกาย 4. โปรแกรมตรวจสอบเลขคู่เลขคี่ ทำความเขา้ ทำความเข้าใจปญั หา 6. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ทำการวิเคราะหป์ ัญหาทีไ่ ด้รบั ในประเด็นเก่ยี วกับ - ข้อมลู นำเขา้ - การประมวลผล/การตดั สินใจ - การแสดงผล 7. แต่ละกลุ่มร่วมกนั สรุปแนวคิดและผลการวิเคราะห์ปัญหาท่ีกลมุ่ ไดร้ ับ
ดำเนนิ การศกึ ษาคน้ ควา้ 8. ครแู นะนำวิธกี ารเขยี นผังงาน สญั ลกั ษณท์ ี่สำคัญ ข้ันตอนวิธีการแกป้ ัญหาแบบทางเลือก 9. นกั เรียนศึกษาคน้ คว้าแนวทางการเขยี นผังงานแบบทางเลือกจากอนิ เทอร์เนต็ และใบความรู้ 10. นักเรียนสอบถามปัญหาเพิม่ เตมิ กบั ครผู ู้สอน เกยี่ วกับการเขยี นผังงาน สงั เคราะห์ความรู้ 11. แตล่ ะกลมุ่ สรปุ และสงั เคราะห์ความรู้และวาดผังงานตามโจทย์หรอื ประเดน็ ปัญหาท่ีกลมุ่ ไดร้ บั 12. นกั เรียนในกลมุ่ แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและตรวจสอบองค์ความรหู้ รอื ผังงานของกลุม่ ตนเอง 13. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มวาดผังงานและตกแตง่ ผงั งานตนเองให้สมบรู ณ์ สรปุ และประเมนิ คำตอบ 14. นักเรียนแต่ละกลมุ่ สรุปคำตอบและเขยี นคำตอบลงในใบกิจกรรมทีค่ รูแจกให้ 15. สมาชกิ กลุ่มร่วมกันประเมินคำตอบและตรวจสอบคำตอบท่ีคน้ พบอกี คร้ัง นำเสนอและประเมินผล 16. นักเรียนแต่ละกล่มุ ออกมานำเสนอข้นั ตอนวธิ แี บบทางเลือกทีก่ ลุ่มได้รับ พร้อมอธบิ ายวา่ มขี นั้ ตอน วธิ ีอยา่ งไร 17. เพื่อนและครูร่วมกันสอบถามกลุม่ ทีน่ ำเสนอในประเด็นที่สงสยั 18. เมอ่ื แต่ละกลมุ่ นำเสนอเสรจ็ ครูสรุปองค์ความร้เู กีย่ วกับการแก้ปัญหาดว้ ยข้ันตอนวธิ นี ัน้ ๆ ให้ นกั เรียนทุกคนฟงั อีกครงั้ 4.3 กิจกรรมสรุปการเรียนรู้ 19. ครูสรุปขัน้ ตอนวิธแี บบทางเลือก พร้อมกบั อธิบายสรุปผังงานแบบทางเลือกเพิม่ เติม 20. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปญั หาข้อสงสยั และตอบปญั หาใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจอีกครั้ง 5. สอ่ื การเรยี นรู้ - ใบกิจกรรมท่ี 2 เรื่องขัน้ ตอนวิธีแบบทางเลอื ก https://sites.google.com/view/learnwithllph/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2% E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81 - วดิ ีโอ เรอื่ ง แนวคิดเชงิ คำนวณ จาก https://youtu.be/MfPNJB1gg0E
6. การวดั และประเมนิ ผล ด้าน วิธกี าร เคร่ืองมอื เกณฑ์ - ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อขน้ั ตอน - รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป ดา้ นความรู้ - นำเสนอองคค์ วามรู้ วธิ แี บบทางเลอื ก - ระดับดีขน้ึ ไป - ระดับดขี ึ้นไป เกยี่ วกับการข้นั ตอนวิธแี บบ - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลุ่ม - ระดับดขี ึ้นไป ทางเลือก - แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ด้านคณุ ธรรม/ - สงั เกตจากพฤตกิ รรมท่ี ทำงานกล่มุ จรยิ ธรรม รับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ - แบบประเมนิ ทกั ษะ/ กระบวนการในการแกป้ ญั หา มอบหมาย - สังเกตความอดทน การรับ ฟงั ความคดิ เหน็ ของผ้อู ืน่ การวเิ คราะหก์ ารวจิ ารณ์ ผลงานของกลุ่มตนเองและ กลมุ่ อื่น ดา้ นทกั ษะ/ - สงั เกตจากพฤติกรรมทเี่ กิด กระบวนการ จากการทำงานกลมุ่ ในการ แก้ปัญหารว่ มกนั 7. บนั ทึกผลการจดั การเรียนรู้ 7.1 ผลการเรยี นรู้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.2 ปัญหา / อุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.3 ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแกไ้ ขและพฒั นา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
ใบกจิ กรรมท่ี 2.2
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม กลมุ่ .......................................................................................................... สมาชิกในกลุ่ม 1. ...................................................................... 2. ...................................................................... 3. ...................................................................... 4. ...................................................................... 5. ...................................................................... 6. ...................................................................... คำชี้แจง: ให้นกั เรียนทำเครื่องหมาย ✓ ในชอ่ งท่ีตรงกบั ความเป็นจรงิ พฤติกรรมทส่ี ังเกต คะแนน 1 32 1. มีส่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ 2. มคี วามกระตือรือรน้ ในการทำงาน 3. รับผดิ ชอบในงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย 4. มขี ้นั ตอนในการทำงานอย่างเปน็ ระบบ 5. ใช้เวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม รวม เกณฑ์การให้คะแนน พฤตกิ รรมที่ทำเปน็ ประจำ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมทท่ี ำเปน็ บางคร้ัง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมท่ที ำน้อยครง้ั ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 13-15 ดี 8-12 ปานกลาง 5-7 ปรบั ปรุง
แบบประเมนิ ทกั ษะ/กระบวนการในการแก้ปญั หา ลำดั ช่ือ – การกำหนด ดำเนนิ สังเคราะห์ สรุปและ นำเสนอและ รวม บที่ สกุล ปัญหาและ การศึกษา ความรู้ ประเมิน ประเมนิ ผล 20 ของ ทำความ ค้นคว้า คำตอบ คะแน ผรู้ ับ เขา้ ใจปญั หา น การ 4321432143214321 ประเมิ 4321 น เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอื่ ...................................................ผูป้ ระเมนิ มที กั ษะ/กระบวนการดมี าก ............../.................../............... มีทักษะ/กระบวนการดี มที กั ษะ/กระบวนการพอใช้ ให้ 4 คะแนน มีทกั ษะ/กระบวนการทตี่ ้องปรบั ปรงุ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน ดีมาก 18-20 ดี 14-17 พอใช้ 10-13 ปรบั ปรงุ ต่ำกว่า 10
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การแกป้ ญั หาและข้ันตอนวธิ ี เรือ่ ง ขั้นตอนวธิ ีแบบทำซ้ำ เวลา 2 ช่วั โมง 1. สาระการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ัด สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ รูเ้ ทา่ ทนั และมีจรยิ ธรรม ตัวชีว้ ัด ว 4.2 ม.4/1 ประยุกตใ์ ช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณการกับวชิ า อน่ื อย่างสรา้ งสรรค์ และเชือ่ มโยงกับชีวิตจริง 2. สาระสำคญั และความคิดรวบยอด ระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการทำงานในบางงานที่ซ้ำๆ กันอยู่เสมอ การเขียนคำสั่งหรือสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทำงานซำ้ ๆ กนั นนั้ สามารถทำได้โดยการสัง่ ใหค้ อมพวิ เตอรท์ ำงานซำ้ เพอ่ื ลดจำนวนการเขยี นคำสั่ง ให้สั้นลงและลดการใช้งานหน่วยความจำ ขั้นตอนวิธีการทำซ้ำจึงเป็นอีกประการหน่ึงที่สำคัญที่จะช่วยให้การ ทำงานของโปรแกรมมปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้นึ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1. ข้ันตอนวิธแี บบทำซำ้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ 1. การวเิ คราะห์ 2. การแก้ปัญหา 3. การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 3.3 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
3.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทำงาน 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ : ใช้การสอนแบบการเรียนรโู้ ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน 4.1 กจิ กรรมนำเขา้ ส่บู ทเรยี น 1. ครูให้นักเรียนบอกการดำเนนิ ชีวิตประจำวันที่มีการทำงานซ้ำๆ กันอยูบ่ ่อยครัง้ เช่น การเดิน การ ต้มไข่ การน่งั รถเมล์ เป็นต้น 2. ครยู กตวั อยา่ งการทำงานของห่นุ ยนตเ์ บอ้ื งตน้ ไดแ้ ก่ การเดินหนา้ ถอยหลัง เลี้ยวซา้ ย เลีย้ วขวา ท่ี มกี ารทำงานซำ้ กัน 3. ครูแสดงใหเ้ ห็นวา่ การทำงานเบอื้ งต้นของคอมพิวเตอร์หรอื ระบบคอมพิวเตอร์น้นั มกี ารทำงานแบบ ทำงานซ้ำเพอื่ ช่วยในการทำงานใหม้ ีประสทิ ธิภาพ 4.2 กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู้ กำหนดปัญหา 4. ครแู บง่ กลมุ่ นกั เรยี นกลุ่มละไมเ่ กิน 5 คน และแจกใบกจิ กรรมท่ี 3 เรื่องข้ันตอนวิธแี บบทำซ้ำ 5. ครูกำหนดปัญหาโปรแกรมทีม่ ีการทำซำ้ ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกล่มุ ดงั นี้ 1. โปรแกรมแสดงสตู รคูณ 2. โปรแกรมหาคา่ ผลรวมตวั เลข 3. โปรแกรมหาคา่ factorial 4. โปรแกรมเดินในเขาวงกต ทำความเขา้ ทำความเขา้ ใจปัญหา 6. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มทำการวเิ คราะห์ปญั หาที่ไดร้ ับ ในประเด็นเกี่ยวกับ - ข้อมลู นำเขา้ - การประมวลผล/การตดั สินใจ/การวนซำ้ - การแสดงผล 7. แต่ละกลุ่มร่วมกนั สรปุ แนวคิดและผลการวิเคราะห์ปญั หาทก่ี ลมุ่ ไดร้ ับ
ดำเนนิ การศกึ ษาค้นคว้า 8. ครแู นะนำวิธีการเขียนผังงาน สญั ลักษณ์ทสี่ ำคัญ ขนั้ ตอนวิธกี ารแกป้ ญั หาแบบทำซำ้ 9. นกั เรียนศกึ ษาค้นคว้าแนวทางการเขียนผังงานแบบทำซ้ำจากอินเทอร์เน็ตและใบความรู้ 10. นกั เรยี นสอบถามปัญหาเพม่ิ เตมิ กบั ครผู ูส้ อน เกยี่ วกบั การเขียนผังงาน สังเคราะหค์ วามรู้ 11. แต่ละกลุม่ สรปุ และสงั เคราะห์ความรแู้ ละวาดผังงานตามโจทยห์ รอื ประเด็นปญั หาทก่ี ลุ่มได้รบั 12. นักเรียนในกลุ่มแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และตรวจสอบองคค์ วามร้หู รอื ผงั งานของกล่มุ ตนเอง 13. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มวาดผงั งานและตกแต่งผงั งานตนเองให้สมบูรณ์ สรปุ และประเมนิ คำตอบ 14. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ สรปุ คำตอบและเขยี นคำตอบลงในใบกิจกรรมทีค่ รูแจกให้ 15. สมาชกิ กลมุ่ รว่ มกันประเมินคำตอบและตรวจสอบคำตอบท่คี น้ พบอีกครงั้ นำเสนอและประเมนิ ผล 16. นักเรยี นแต่ละกล่มุ ออกมานำเสนอขั้นตอนวิธีแบบทำซ้ำที่กล่มุ ไดร้ บั พรอ้ มอธบิ ายวา่ มขี ้ันตอนวธิ ี อย่างไร 17. เพ่อื นและครูรว่ มกันสอบถามกลมุ่ ทน่ี ำเสนอในประเดน็ ทสี่ งสยั 18. เมื่อแตล่ ะกล่มุ นำเสนอเสรจ็ ครูสรปุ องค์ความรเู้ ก่ยี วกับการแก้ปญั หาดว้ ยข้ันตอนวิธนี ้นั ๆ ให้ นักเรียนทกุ คนฟังอีกครง้ั 4.3 กจิ กรรมสรุปการเรยี นรู้ 19. ครสู รุปขน้ั ตอนวิธแี บบทำซ้ำ พร้อมกับอธิบายสรปุ ผังงานแบบทำซ้ำเพ่มิ เติม 20. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นสอบถามปัญหาข้อสงสยั และตอบปญั หาใหน้ กั เรียนเข้าใจอีกครง้ั 5. สอ่ื การเรยี นรู้ - ใบกจิ กรรมที่ 3 เรอื่ งข้นั ตอนวิธีแบบทำซำ้ https://sites.google.com/view/learnwithllph/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2% E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81 - วดิ โี อ เร่อื ง แนวคดิ เชงิ คำนวณ จาก https://youtu.be/MfPNJB1gg0E
Search