Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปทักษะ 1-641

Description: สรุปทักษะ 1-641

Search

Read the Text Version

1

2 ก คานา ตามที่ สานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้มอบหมายนโยบายการ ปฏิบัติงาน ขอบเขตการปฏิบัติงาน ของกศน.อาเภอ และกศน.ตาบล ปฎิบัติงานตามนโยบายประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง การจดั การศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวิตให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะ คนพกิ าร ผู้สงู อายทุ ี่สอดคล้องกบั ความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะ การดารงชีวิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิต ของตนเองให้อยูใ่ นสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ สามารถเผชิญสถานการณต์ า่ งๆ ท่เี กิดขึน้ ในชีวติ ประจาวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเตรียมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในอนาคต โดยจัดกจิ กรรมที่มีเนอ้ื หาสาคญั ต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินผ่านการศึกษารูปแบบต่างๆ อาทิ ค่าย พัฒนาทักษะชีวิต การจดั ตง้ั ชมรม/ชุมชน การส่งเสริมความสามารถพเิ ศษตา่ งๆ กศน.ตาบลชาติตระการ จึงไดจ้ ดั ทาโครงการตามนโยบายและ จัดทาสรุปผลการจัดโครงการให้ผู้บริหาร และบุคคลที่สนใจได้ทราบในภาพรวม โดยประมวลรายละเอียดและผลการจัดโครงการในครั้งนี้ไว้ หากมี ข้อผิดพลาดประการใด ผ้จู ัดทาขออภัยมา ณ โอกาสนี้ นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาตติ ระการ ธันวาคม ๒๕๖๓

3 ข หนา้ สารบัญ 1 1 เรื่อง ๓ - สรุปผลการดาเนินงาน ๔ - สว่ นที่ ๑ รายละเอยี ดโครงการ 11 - ส่วนที่ ๒ วิธีการดาเนนิ การ ๑๗ - ส่วนท่ี ๓ เนอื้ หาสาระ - ส่วนท่ี ๔ ผลการดาเนนิ งาน 20 - สว่ นท่ี ๕ สรุปผลโครงการ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ภาคผนวก - โครงการฯ - ภาพกิจกรรม - แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ - จัดทาโดย

4 สรปุ ผลการดาเนนิ โครงการ โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ สุขภาพจติ สขุ ภาพกายดี สุขชีวสี ดใส ตาบลชาติตระการ *************************************************************************************************** สว่ นท่ี 1 รายละเอยี ดโครงการ โครงการการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะชวี ติ สุขภาพจติ สุขภาพกายดี สขุ ชีวีสดใส ตาบลชาติตระการ แผนงาน งบประมาณ : การจัดการศึกษาตอ่ เน่ือง งบประมาณ ๒,๗๖๐.- บาท ลักษณะโครงการ : ( / ) โครงการต่อเนอื่ ง ( ) โครงการใหม่ กลมุ่ ผรู้ บั ผดิ ชอบ : การศกึ ษาตอ่ เนื่อง (การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ ) 1. โครงการการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต สุขภาพจติ สขุ ภาพกายดี สขุ ชีวสี ดใส ตาบลชาติตระการ 2. สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษา กศน. : มาตรฐานการศกึ ษาตอ่ เนื่อง มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และทักษะ และหรือคุณธรรม เปน็ ไปตามเกณฑก์ ารจบหลักสูตร ๑.๒ ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้บนฐาน คา่ นิยมรวมของสงั คม ๑.๓ ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่อื งทีน่ าความรไู้ ปใช้จนเหน็ เปน็ ประจกั ษห์ รือตัวอยา่ งที่ดี สอดคลอ้ งกับนโยบาย และจดุ เน้นการดาเนินงาน กศน. ภารกิจตอ่ เนอ่ื ง ๑. ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ๑.๓ การศึกษาตอ่ เนอื่ ง ๒) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต ให้กับกลุ่มเปูาหมายโดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุที่ สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเปูาหมายมีทักษะการดารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พึง่ พาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสาร ข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเน้ือหาสาคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การปูองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่างๆ อาทิ ค่ายพฒั นาทักษะชีวติ การจดั ตัง้ ชมรม/ชุมนุม การสง่ เสรมิ ความสามารถพิเศษต่างๆ 3. หลักการและเหตุผล การจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต มคี วามสาคัญต่อการเรียนร้ขู องผ้เู รยี นและการพัฒนา คณุ ภาพของประชาชน กระบวนการจดั การศึกษาทีส่ มบูรณ์จึงเปรียบเสมอื นเหรยี ญสองด้าน ด้านหน่ึงคือการ พัฒนาผเู้ รียนในด้านวิชาการการเรยี นรูต้ ามหลักสตู ร อีกด้านหน่ึงคือการพฒั นาผเู้ รียนทางดา้ นจิตใจ ดา้ น คณุ ธรรม ทง้ั นี้เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนเกิดการเรยี นรู้ไปพร้อมๆ กัน มีการนาเอาไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ ของตนเอง ครอบครวั สังคม และประเทศชาติ การจัดกระบวนการเรียนรู้เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถของบุคคล เพื่อให้ สามารถจดั การกบั ตนเองและสง่ิ แวดลอ้ ม เพื่อให้มีความสขุ ตามสภาพและความสุข ความปลอดภยั ในสังคม ซ่ึง เปน็ การพฒั นาทักษะพน้ื ฐานของบุคคล โดยบูรณาการองค์ความร้แู ละกระบวนการเรียนรู้ตา่ งๆ ในชีวิตประจาวัน เขา้ ด้วยกนั การจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต เน้นส่งเสริมสนับสนุนให้จัดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ นรปู แบบตา่ งๆ

5 ท่ีจะช่วยให้บคุ คลสามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนในชวี ติ ประจาวันไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และเตรยี ม ความพร้อมสาหรบั การปรับตัวในอนาคต ไมว่ ่าจะเป็นเรื่องการดแู ลสขุ ภาพในชว่ งฤดูกาล การปอู งกนั การแพร่ ระบาดของโรคโควิด-19 ยาเสพติด ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพย์สิน คณุ ธรรมจริยธรรม ฯลฯ เพอ่ื ให้ สามารถมีชีวิตอยู่ในสงั คมได้อย่างมีความสุขหรือจะกลา่ วง่ายๆ ทักษะชวี ติ กค็ ือความสามารถในการแกป้ ญั หาท่ี ต้องเผชญิ ในชวี ิตประจาวนั กศน.ตาบลชาตติ ระการ จึงได้จัดทาโครงการการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ สุขภาพจิต สุขภาพกายดี สขุ ชีวีสดใส ตาบลชาติตระการ ในวนั ที่ ๒3 ธนั วาคม 256๓ ณ วดั บ้านนาเปอะ หมู่ ๒ ตาบลชาตติ ระการ อาเภอชาตติ ระการ จังหวัดพิษณุโลก 4. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ ใหผ้ ้สู งู อายุ มีความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกบั การดแู ลตนเองในช่วงฤดหู นาว 2. เพ่ือให้ผู้สงู อายุ มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ยี วกับการดูแลสขุ ภาพจติ และสุขภาพกายท่ดี ี ๓. เพอื่ ให้ผสู้ งู อายุ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการปูองกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 4. เพือ่ ใหผ้ สู้ งู อายุ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับยาเสพตดิ 5. เพอื่ เสริมสรา้ งขวัญและกาลงั ใจให้แก่ผสู้ งู อายุดารงชวี ติ ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ 5. เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ - ประชาชน(ผ้สู งู อายุ) จานวน 2๔ คน - บคุ ลากรท่เี ก่ียวข้อง จานวน 2 คน รวมท้ังสน้ิ 2๖ คน เชงิ คุณภาพ ผู้สงู อายุ มคี วามรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพในช่วงฤดหู นาวดว้ ย ตนเอง มสี ุขภาวะ สขุ อนามัย และสขุ ภาพจิตทดี่ ี มีความรู้ในการปอู งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 และมี ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ยาเสพตดิ สามารถใช้ชีวติ ประจาวันได้อย่างมคี วามสขุ ท้งั ร่างกายและจิตใจ เหน็ คณุ คา่ ของ ตนเองในการจัดการชวี ติ ของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข ๖. สถานท่ี - ณ วดั บ้านนาเปอะ หมู่ ๒ ตาบลชาติตระการ อาเภอชาตติ ระการ จงั หวัดพิษณุโลก ๗. งบประมาณทไี่ ดร้ ับ - ๒,๗๖๐.- บาท ๘. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ - กศน.อาเภอชาติตระการ - งานการศกึ ษาต่อเนือ่ ง กศน.อาเภอชาติตระการ จังหวดั พษิ ณโุ ลก - ครอู าสาสมคั รฯ - ครู กศน.ตาบล ที่รบั ผดิ ชอบ ๙. เปา้ หมายในการดาเนินโครงการ เปูาหมาย ผสู้ งู อายุและ ประชาชนท่วั ไป จานวน 24 คน ผลการดาเนนิ งาน ๓๒ คน คิดเปน็ ร้อยละ 133.33 ชาย 7 คน หญงิ ๒๕ คน

6 ส่วนที่ 2 วิธีการดาเนินการ ผู้ดาเนินการจัดทาโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพจิต สุขภาพกายดี สุขชีวี สดใส ตาบลชาติตระการ ไดด้ าเนินการในการอบรมเกบ็ รวบรวมข้อมูล และการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดงั นี้ การดาเนินการจัดกจิ กรรม 1. เตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - ประชุมวางแผนรปู แบบการจัดกิจกรรม - เลอื กกิจกรรมทจ่ี ะจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน - มอบหมายงานให้บุคลากรทเ่ี กี่ยวข้อง - ติดต่อประสางานในการจัดกจิ กรรม 2. วธิ กี ารดาเนนิ งาน - เขียนเสนอโครงการ - เสนอโครงการ - เตรียมการจัดกิจกรรมโครงการ 1. เตรียมการกอ่ นการจดั กิจกรรมโครงการ - การจัดเตรียมเอกสารโครงการ - ประสานงานตดิ ต่อผนู้ าชุมชนในพื้นที่เปูาหมาย - รวบเนื้อหาที่จะบรรยายในโครงการ - อนื่ ๆ 2. ติดต่อประสานงานเครือขา่ ย จดั การกจิ กรรมโครงการตามแผนทวี่ างไว้ - ลงทะเบยี นผู้เขา้ ร่วมการกจิ กรรมโครงการ - วทิ ยากรใหค้ วามเรอ่ื งตา่ งๆตามกาหนดการ - ฝึกปฏบิ ัติตามกาหนดการในโครงการ - สรปุ กิจกรรมย่อย - ปิดโครงการ - สรุปรายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการเปน็ รูปเล่ม - รายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการใหผ้ ู้ที่ เกีย่ วข้องรับทราบ

7 ส่วนที่ 3 เนื้อหาสาระ ผู้ดาเนินการจัดทาโครงการการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพจิต สุขภาพกายดี สุขชีวี สดใส ตาบลชาติตระการ ไดใ้ ช้สื่อใบความรู้ แบบบนั ทกึ ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เรื่องดงั ต่อไปน้ี วิธกี ารดูแลสขุ ภาพของผูส้ ูงอายุ ข้อแนะนาจาก อ.นพ.สมบูรณ์ อินทลาภาพร ภาควชิ าเวชศาสตร์ป้องกนั และสงั คม คณะ แพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล ที่ได้เขยี นบรรยายไว้อย่างน่าสนใจว่า 1. เลือกอาหาร วัยน้ีร่างกายมีการใช้พลังงานน้อยลงจากกิจกรรมที่ลดลง จึงควรลดอาหารประเภทแปูง น้าตาล และไขมัน ให้เน้นอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะปลา และเพ่ิมแร่ธาตุที่ผู้สูงอายุมักขาด ได้แก่ แคลเซียม สังกะสี และเหล็ก ซึ่งมีอยู่ในนม ถ่ัวเหลือง ผัก ผลไม้ ธัญพืชต่างๆ และควรกินอาหารประเภทต้ม น่ึง ยา่ ง อบ แทนประเภทผดั ทอด จะชว่ ยลดปรมิ าณไขมันในอาหารได้ นอกจากน้ี ควรหลีกเล่ียงอาหารที่มีรสหวาน จัด เคม็ จดั และดม่ื นา้ สะอาดอย่างนอ้ ย 6-8 แกว้ ตอ่ วนั 2. ออกกาลังกาย หากไมม่ โี รคประจาตัวแนะนาให้ออกกาลังกายแบบแอโรบิกสัก 30 นาทีต่อคร้ัง ทาให้ ได้สัปดาห์ละ 3-4 คร้ัง จะเกิดประโยชน์ต่อหวั ใจและหลอดเลือดอย่างมาก โดยข้ันตอนการออกกาลังกายจะต้อง ค่อยๆ เร่ิม มีการยืดเส้นยืดสายก่อน แล้วค่อยๆ เพ่ิมความหนักข้ึนจนถึงระดับที่ต้องการ ทาอย่างต่อเน่ืองจนถึง ระยะเวลาทต่ี ้องการ จากนน้ั คอ่ ยๆ ลดลงชา้ ๆ และค่อยๆ หยุด เพ่ือใหร้ า่ งกายและหวั ใจไดป้ รับตัว 3. สัมผัสอากาศทบี่ รสิ ุทธ์ิ จะชว่ ยลดโอกาสการเกดิ โรคได้ อาจเป็นสวนสาธารณะใกลๆ้ สถานที่ท่องเท่ียว หรือการปรบั ภูมทิ ศั นภ์ ายในบา้ นให้ปลอดโปรง่ สะอาด อากาศถา่ ยเทสะดวก มีการปลกู ตน้ ไม้ จัดเก็บสิ่งปฏิกูลให้ เหมาะสม เพ่ือลดการแพร่กระจายของเช้ือโรค และสามารถช่วยปอู งกันโรคภูมแิ พ้ หรอื หอบหืดได้ 4. หลีกเลี่ยงอบายมุข ได้แก่ บุหรี่และสุรา จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรค หรือลดความรุนแรงของโรคได้ ท้ังลดคา่ ใชจ้ ่ายในการรักษา และยังช่วยปูองกันปัญหาอุบัติเหตุ อาชญากรรมต่างๆ อันเป็นปัญหาใหญ่ของสังคม ในขณะน้ี 5. ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ โดยเลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลและโรคท่ีเป็นอยู่ ส่งเสริม สุขภาพให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรง ปรับสภาพแวดล้อมในบ้านให้ลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุหรือการหก ลม้ 6. ควบคุมน้าหนักตัวหรือลดความอ้วน โดยควบคุมอาหารและออกกาลังกายจะช่วยทาให้เกิดความ คล่องตัว ลดปัญหาการหกล้ม และความเส่ียงต่อโรคต่างๆ เช่น โรคข้อเข่าเสื่อม และโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น 7. หลีกเล่ียงการใชย้ าทไี่ มเ่ หมาะสม เช่น การซ้ือยากินเอง การใช้ยาเดิมท่ีเก็บไว้มาใช้รักษาอาการท่ีเกิด ใหม่ หรือรับยาจากผู้อ่ืนมาใช้ เนื่องจากวัยนี้ประสิทธิภาพการทางานของตับและไตในการกาจัดยาลดลง ทาให้ เสยี่ งตอ่ การเกิดพิษจากยาหรือผลข้างเคียงอาจมีแนวโน้มรุนแรง และเกิดภาวะแทรกซ้อนเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ฉะนน้ั จงึ ควรปรึกษาแพทยก์ อ่ นใชย้ าจะดีทส่ี ุด 8. หมั่นสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ ของร่างกาย เช่น คลาได้ก้อน โดยเฉพาะก้อนโตเร็ว แผลเร้ือรัง มีปัญหาการกลืนอาหาร กลืนติด กลืนลาบาก ท้องอืดเร้ือรัง เบ่ืออาหาร น้าหนักลด ไอเร้ือรัง ไข้เร้ือรัง

8 เหน่ือยงา่ ย แน่นหน้าอกหรือถ่ายอุจจาระผิดปกติ มีอาการท้องเสียเร้ือรัง ท้องผูกสลับท้องเสีย ถ้าอย่างนี้ล่ะก็พา มาพบแพทย์ดที ีส่ ุด 9. ตรวจสุขภาพประจาปี แนะนาให้ตรวจสม่าเสมอเป็นประจาทุกปี หรืออย่างน้อยทุก 3 ปี โดยแพทย์ จะทาการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และอาจมีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อหาปัจจัยเส่ียงต่อโรคหลอดเลือด แข็ง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง ตรวจหาโรคมะเร็งที่พบบ่อย ได้แก่ มะเร็ง ลาไส้ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และยังมีตรวจการมองเห็น การได้ยิน ตลอดจนประเมินความเส่ียงต่อการ เกดิ อุบตั ิเหตดุ ้วย แนวทางสรา้ งสุขภาพจติ ท่ีดี การมสี ขุ ภาพจิตทด่ี ี จะนาไปส่คู วามสุข สบายใจและสามารถจดั การกับความเครยี ดไดง้ ่ายข้นึ แถมยังช่วยให้อายุยืนยาวย่ิงกว่าเดิมอีกด้วย เพราะฉะน้ันจะดีกว่าไหมหากเรามาสร้างสุขภาพจิตให้ดีต้ังแต่วันนี้ ซึง่ จะมีวธิ ีอยา่ งไรบา้ ง เราก็ได้รวบรวมมาแนะนากันด้วยแต่ก่อนอ่ืนมาทาความเข้าใจกับสาเหตุท่ีก่อให้เกิดปัญหา สขุ ภาพจติ ท่ีไม่ดี และความทกุ ขใ์ จกนั ก่อนดีกว่า สาเหตทุ ่ีทาให้สุขภาพจิตแย่ โดยส่วนใหญ่แล้วสาเหตุที่ทาให้สุขภาพจิตแย่ลง ล้วนมาจากนิสัยแย่ๆ ของตัวเราเอง และการตั้ง ความหวังบางอยา่ งทส่ี งู เกินไป เมอ่ื เจอกับความผิดหวัง จึงทาให้สุขภาพจิตแย่ลงแบบไม่ทันต้ังตัวเลยทีเดียว ซ่ึงก็ มีสาเหตดุ ังน้ี 1. ความเครียด ความเครียดสามารถเกิดข้ึนได้กับคนเราทุกคนและเกิดได้ทุกเวลา ข้ึนอยู่กับว่าเราจะ สามารถจัดการกับความเครียดได้ดีแค่ไหน โดยความเครียดก็ถือเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทาให้สุขภาพจิตแย่ลงเช่นกัน เพราะเม่ือเรามีความเครียด ก็จะส่งผลกระทบต่อจิตใจ ให้เกิดความวิตกกังวลและคิดมากอยู่ตลอดเวลา แถมยัง ทาให้อารมณ์ไม่คงท่ี หงุดหงิดง่ายและขาดสมาธิที่จะทางานหรือทากิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวันอีกด้วย นอกจากนค้ี วามเครียดก็เป็นสาเหตุหนึง่ ทที่ าใหเ้ กดิ โรครา้ ยตา่ งๆ ได้เชน่ กัน 2. อยากมี อยากได้เหมือนคนอนื่ หลายคนมักจะลืมไปว่าคนเรามีตน้ ทุนชีวิตทไี่ มเ่ หมือนกัน จึงปล่อยให้ กิเลส ความอยากได้อยากมีเข้าครอบงา ซ่ึงน่ันก็ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตไม่น้อยเลยทีเดียว โดนขอแบ่ง ออกเปน็ 2 กรณีดงั น้ี  กรณีที่ 1 อยากได้เหมือนคนอืน่ แต่ทาไมไ่ ด้ เน่อื งจากมรี ายไดน้ ้อยจึงไม่สามารถตอบสนองความอยากของ ตวั เองได้ จงึ กอ่ ให้เกดิ ความทกุ ข์ ทกุ ข์ใจที่ไมส่ ามารถมีได้อย่างใครเขา ทุกข์ใจท่ีเห็นคนอื่นดีกว่า และทุกข์ ใจจากความอจิ ฉา รษิ ยา นนั่ เอง  กรณีท่ี 2 อยากได้ จึงทาทุกวิถีทางเพ่ือให้ได้มาซ่ึงความต้องการ โดยไม่คานึงถึงผลกระทบที่ตามมา ซึ่ง ส่วนใหญจ่ ะนาเงนิ ที่มีไปทุ่มกับความอยากได้หรือกู้ยืมมาเพื่อให้ได้สิ่งท่ีต้องการ ผลท่ีตามมาจึงเป็นปัญหา ความขัดสนทางการเงนิ หรอื หนี้สิน ซ่งึ ก็จะกอ่ ให้เกดิ ความเครียดและสุขภาพจิตท่ีแย่ลงตามลาดบั 3. ข้ีระแวงจนเกินไป จริงอยู่ที่ยุคสมัยน้ีเราไม่ควรไว้ใจใครมากเกินไป เน่ืองจากรู้หน้าไม่รู้ใจ แต่หากขี้ ระแวงจนเกนิ ไปกส็ ่งผลต่อสุขภาพจติ ไดเ้ หมือนกัน เพราะจติ ใจจะคิดพะวงอยู่แต่ความระแวง ไม่กล้าไว้วางใจใคร มเี พือ่ นก็กลัวเพอ่ื นจะคิดทรยศ หักหลงั เจอใครกก็ ลัวแต่เขาจะคิดร้าย หรือมีแฟนก็กลัวว่าแฟนจะมีคนอื่น ซ่ึงทุก ส่ิงเหล่าน้ีล้วนทาให้จิตใจของคนเราไม่สงบ และหากปล่อยไว้นานๆ ก็อาจก่อให้เกิดโรคจิตเวชชนิดหนึ่งได้เลย ทเี ดยี ว

9 4. มองโลกในแง่ร้าย คนท่ีมองโลกในแง่ร้าย มักจะมีชีวิตในแต่ละวันท่ีเต็มไปด้วยความเศร้าหมองและ หดหู่ เพราะคิดแต่ว่าคนอ่นื เป็นศัตรูกับตน และตนมักจะเจอแต่เรื่องร้ายๆ เข้ามาในชีวิตเสมอ ซ่ึงการคิดแบบนี้ก็ จะเปน็ การบ่นั ทอนจิตใจของตวั เองเปน็ อย่างมาก และแน่นอนวา่ มนั ทาลายสุขภาพจิตได้มากทเี ดยี ว 5. ต้ังเปา้ หมายไวส้ ูง เพ่อื การประสบความสาเร็จไมว่ ่าเร่ืองอะไรก็ตาม คนเราควรมเี ปูาหมายให้กับตัวเอง เสมอ แต่อย่างไรกต็ ามการตง้ั เปูาหมายทสี่ งู เกินไป กอ็ าจตอ้ งเจอกบั ความผิดหวัง ซ่ึงก็จะทาให้สุขภาพจิตแย่ลงได้ เหมือนกนั ดังน้ันการตั้งเปาู หมายท่ีดี ควรกาหนดเปูาหมายทีไ่ มไ่ กลเกนิ เอ้อื มจะดีกวา่ 6. เจอกับเร่ืองที่กระทบกระเทือนจิตใจ เมื่อต้องเจอกับเรื่องที่กระทบกระเทือนจิตใจอย่างรุนแรง ก็จะ ทาให้คนเรามีสุขภาพจิตที่แย่ลงอย่างเห็นได้ชัด โดยบางคนอาจถึงข้ันมีอาการปุวยทางจิตเวชได้เลยทีเดียว เนื่องจากจิตใจไมส่ ามารถยอมรบั กบั ส่ิงที่เกดิ ขึ้นได้ทันน่ันเอง วธิ ีสรา้ งสขุ ภาพจติ ทีด่ ี ไมว่ า่ คณุ กาลังมีปญั หาสขุ ภาพจิตท่แี ย่หรือไม่ การสรา้ งสขุ ภาพจิตที่ดกี ็เป็นเรื่องทส่ี าคญั อยู่เสมอ เพราะนี่ คือหนทางแห่งความสุข ความสบายใจและเป็นวิธหี น่งึ ทจี่ ะทาให้คุณมีสขุ ภาพท่ีดแี ละแข็งแรงตลอดไปนั่นเอง โดย สาหรับวธิ กี ารสร้างสุขภาพจติ ที่ดีกท็ าได้ไม่ยาก ซ่งึ สามารถทาไดห้ ลายวิธีดังน้ี 1. ผ่อนคลายความเครยี ด อยา่ งทก่ี ล่าวไปแลว้ ขา้ งต้นว่า สขุ ภาพจติ แย่กเ็ กิดจากการที่เราไม่สามารถ จดั การกบั ความเครยี ดไดน้ น่ั เอง ดังนั้นเพ่ือสร้างสุขภาพจติ ที่ดีให้กับตนเอง จึงต้องเริ่มจากการเรียนร้วู ธิ ผี อ่ น คลายความเครยี ดอยา่ งถูกหลัก ซ่งึ ก็มีวธิ กี ารจัดการกับความเครยี ดดงั น้ี – ออกกาลงั กาย เพราะการออกกาลังกายจะทาให้เราหยุดนึกถึงเรื่องเครียดๆ หรือเร่ืองท่ีกาลังกังวลไป ได้ระยะหนึ่ง แถมยังทาให้กล้ามเน้ือที่หดตึงจากความเครียด ค่อยๆ คลายออก จึงส่งผลให้รู้สึกสบายและผ่อน คลายมากข้นึ อีกดว้ ย ท่ีสาคญั เมื่อเราออกกาลังกายบ่อยๆ ร่างกายจะมีการสร้างสารแห่งความสุขออกมามากกว่า เดิม จึงทาใหเ้ รามีสภาพจติ ใจดีและจัดการกับความเครียดได้อย่างอยู่หมัด – ทางานอดิเรก การจดจ่อกับสิ่งท่ีชอบ จะทาให้เราคลายความเครียดได้ในระดับหน่ึง เน่ืองจากส่ิง เหลา่ นจี้ ะทาให้เราเกิดความเพลิดเพลินและสามารถสร้างความสุข ความสบายใจได้เป็นอย่างดี ไม่แน่คุณอาจจะ คดิ ไอเดยี ดๆี ท่จี ะแก้ปัญหากบั ส่งิ ทีเ่ จออยไู่ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพก็ได้ – ทานช็อกโกแลต รไู้ หมว่าช็อกโกแลตก็มีส่วนช่วยในการผ่อนคลายความเครียดได้ดีเหมือนกัน แต่ต้อง เป็นดารก์ ช็อกโกแลตเทา่ นน้ั เพราะอุดมไปดว้ ยสารฟลาโวนอยดท์ ่ีจะชว่ ยใหอ้ ารมณ์ดแี ละลดฮอร์โมนความเครียด ลงได้ แมว้ ่ารสชาติจะไม่หวานมากนัก แต่ก็สามารถทานได้อย่างเพลดิ เพลนิ และสรา้ งความสุขไดด้ ที เี ดียว – ฟังเพลง แค่ได้ฟังเพลงเบาๆ จังหวะสบายๆ หรือจังหวะมันส์ๆ ก็จะทาให้สมองปลอดโปร่งและลืม ความเครียดไดอ้ ย่างงา่ ยดาย เพราะฉะนั้นลองหามมุ สงบและเปิดเพลงเบาๆ ฟังดูสิ รบั รองว่าจะทาให้ความเครียด ลดลง และสขุ ภาพจติ ดขี ้นึ อยา่ งแน่นอน 2. ลดละ ความอยากได้อยากมี อาจดูเป็นเรื่องยาก แต่เช่ือเถอะว่าแค่มีความต้ังใจจริงก็สามารถทาได้ แน่นอน เพียงแค่พยายามลดความอยากได้อยากมีออกไปให้ได้มากท่ีสุด และตั้งตนเองอยู่บนพ้ืนฐานของความ พอเพียง กล่าวคอื - ควรอยากมีอยากได้ในส่ิงที่ตนเองสามารถเอ้ือมถึงได้ไม่ยาก โดยสิ่งน้ันจะต้องมีราคาท่ีไม่แพงเกินไป และมน่ั ใจไดว้ ่าเม่อื ลงทุนซอื้ ไปแล้วจะไม่สง่ ผลกระทบต่อการเงนิ และการใช้จา่ ยในชวี ิตประจาวนั - ควรอยากมอี ยากไดเ้ ฉพาะของทจ่ี าเปน็ และนามาใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ เทา่ นัน้ - ระลกึ อย่เู สมอว่าคนเรามีต้นทุนชีวิตท่ีแตกต่างกัน จึงไม่จาเป็นที่จะต้องมีอย่างใครเขาและต้องไม่อิจฉา คนอ่ืนด้วยหากสามารถทาได้ดงั น้สี ขุ ภาพจติ ของเราก็จะดีขึ้น และไม่เกิดความทุกข์ ความอิจฉาริษยา ถึงแม้ว่าจะ เห็นผู้อ่ืนดกี ว่าก็ตาม

10 3. สรา้ งความสัมพนั ธท์ ีด่ ีกบั ผู้อืน่ การสร้างความสัมพันธก์ บั ผ้อู ืน่ ถอื เป็นส่งิ ทส่ี าคัญมาก เพราะนอกจาก จะทาใหเ้ กดิ มิตรภาพทด่ี ีตอ่ กนั แล้ว ยังดตี ่อสุขภาพจติ อีกด้วย ยกตัวอย่างเชน่ การทางาน หากเรามีเพ่ือนร่วมงาน ท่ีดีและสามารถเข้ากันกับเพื่อนร่วมงานได้ ก็จะทาให้เราทางานได้อย่างมีความสุข สามารถพูดคุยสังสรรค์กับ เพื่อนร่วมงานได้ตลอด และเม่ือมีปัญหาอะไรก็ยังมีเพ่ือนคอยให้คาปรึกษาและรับฟังเรื่องราวของเราอีกด้วย ซึ่ง มันก็คงจะดีกว่าการไม่มีเพื่อนเลยสักคนจริงไหม โดยคนท่ีปิดก้ันตนเองจากการสร้างความสัมพันธ์กับเพื่อน รว่ มงาน ก็จะกลายเปน็ คนที่หดหู่ โดดเดยี่ วและมักจะเกิดความระแวงว่าใครจะคิดไม่ดีกับตนเองเสมอ ซ่ึงทั้งหมด นี้ลว้ นเป็นการทาลายสขุ ภาพจติ ทงั้ ส้ิน ดังนั้นมาสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นและมองโลกในแง่ดีกันดีกว่า อย่าง นอ้ ยกจ็ ะทาให้สุขภาพจติ ดขี น้ึ มากทเี ดียว 4. รู้จักปล่อยวาง เรื่องบางเร่ืองหากเก็บเอามาคิดหมกมุ่นตลอดเวลา ก็จะทาให้เกิดความเครียดและ ส่งผลต่อสขุ ภาพจติ ได้ ดงั น้ันจึงควรรู้จักปลอ่ ยวางบ้าง ซง่ึ การปล่อยวางก็สามารถทาได้หลากหลายวิธีดงั นี้ – มองข้ามส่ิงเล็กๆ น้อยๆ แม้ว่าส่ิงนั้นจะไม่ถูกต้อง เพราะอย่างไรสิ่งผิดพลาดเหล่าน้ันก็ไม่ได้ส่งผล กระทบอะไรมากมาย บางคร้ังการมองข้ามส่ิงเล็กน้อยไปและให้ความสาคัญกับสิ่งที่สาคัญกว่า ก็จะช่วยสร้าง คุณภาพชีวิตทด่ี ไี ดม้ ากทีเดียว และไม่ทาให้ต้องเสยี เวลากบั การจมปลกั อยกู่ บั ส่งิ น้นั อกี ด้วย – อย่ากังวลในความคิดของคนอ่ืนมากเกินไป เพราะน่ันจะยิ่งทาให้สุขภาพจิตของคุณแย่ลงไปเปล่าๆ ควรคิดอยู่เสมอว่าคนเรามีความคิดที่แตกต่างกัน ซ่ึงแทนที่จะเครียดกับความคิดของคนอ่ืน มาปรับปรุงและ พัฒนาความคิดของตัวเองให้ดีข้ึนดีกว่า ส่วนกรณีท่ีมีคนชอบและไม่ชอบเรานั้น ก็ถือเป็นเรื่องธรรมดา พวกเขา อาจจะเอาเราไปนินทาบ้าง แต่หากไม่เก็บมาใส่ใจ ก็ไม่มีอะไรท่ีจะมาบ่ันทอนความรู้สึกและสุขภาพจิตของเราได้ อย่างแนน่ อน – อดีตที่เลวร้ายอย่าไปจดจา หลายคนมักจะเก็บเอาอดีตที่เลวร้ายมาคิดอยู่เสมอ ซึ่งน่ันก็เป็นการบั่น ทอนกาลังใจของตัวเองและส่งผลเสียต่อสุขภาพจิตเป็นอย่างมาก ไม่ว่าอดีตเหล่านั้นจะเป็นเร่ืองของความ ผิดพลาดในการทางาน ชีวิตครอบครัวท่ีย่าแย่ในวัยเด็ก หรืออดีตเร่ืองความรักก็ตาม เพราะฉะน้ันควรปล่อยวาง ซะใหห้ มด และมุ่งอย่กู ับปัจจุบัน แคท่ าปัจจบุ ันให้ดี ความสขุ และความสาเร็จก็จะอยไู่ ม่ไกลเกินเอื้อมแน่นอน – อย่าเข้มงวดกับตารางชีวิตจนเกินไป หลายคนมักจะกาหนดตารางชีวิตในแต่ละวันไว้แบบเปฺะๆ ซึ่ง เมือ่ ไมส่ ามารถทาไดต้ ามที่ตั้งเปูาไว้ ก็จะทาใหเ้ กิดความเครียดและกดดันในท่ีสุด ดังน้ันจึงควรปล่อยวางบ้าง โดย สร้างความยืดหยุ่นให้กับตารางประจาวันเล็กน้อย เม่ือไม่สามารถทาได้ตามเปูาหมายก็จะได้ไม่เกิดความรู้สึก ยา่ แยจ่ นเกนิ ไป 5. การทาสมาธิ ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งท่ีจะช่วยสร้างสุขภาพจิตที่ดีได้ เพราะเมื่อทาสมาธิจะทาให้เราเกิด ความรู้สึกผ่อนคลาย สบายใจและมีสติกับเร่ืองต่างๆ มากขึ้น แถมยังช่วยจัดการกับความเครียด ความกังวลได้ อย่างดีเยี่ยมอีกด้วย โยการทาสมาธินั้นอาจจะหาช่วงเวลาว่างๆ ตอนเช้า ตอนเย็นหรือก่อนนอนสักประมาณ 10–20 นาที แค่ทาเป็นประจา ก็จะช่วยเสริมสร้างสุขภาพจิตท่ีดีได้ หรือจะเป็นการฝึกสมาธิด้วยวิธีอ่ืนๆ ก็ได้ เหมือนกนั 6. ดึงตัวเองออกจากสถานการณ์แย่ๆ เม่ือกาลังรู้สึกว่าตัวเองตกอยู่ในสถานการณ์ย่าแย่ ไม่ว่าจะเป็น เร่ืองงาน เรื่องในครอบครัว เร่ืองความรักหรือเร่ืองอ่ืนๆ ควรดึงตัวเองออกมาจากสถานการณ์เหล่านั้นทันที เพราะสถานการณ์เหล่านั้นจะทาให้เกิดความทุกข์ ไม่สบายใจ ความเศร้าหมอง ซึ่งเมื่อปล่อยไว้นานๆ ก็อาจ นาไปสู่ภาวะโรคซึมเศร้าและปัญหาสุขภาพจิตอ่ืนๆ ได้ เพราะฉะน้ันตัดสินใจดึงตัวเองออกมาต้ังแต่วันน้ีจะดีที่สุด โดยเฉพาะเร่ืองความรกั หากคิดวา่ ความรกั กาลังไปไมร่ อด ไม่ว่าจะเป็นเพราะเขามีคนใหม่หรือนิสัยท่ีเข้ากันไม่ได้ ก็ควรจบความสมั พนั ธน์ ัน้ ซะ แมจ้ ะตอ้ งใชเ้ วลาในการทาใจแตก่ ไ็ มท่ าให้สุขภาพจติ แย่ลงไปกวา่ เดิมแน่นอน

11 วิธปี อ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 1. ลา้ งมอื บ่อยๆ ด้วยสบแู่ ละนา้ หรือเจลล้างมอื ท่มี สี ว่ นผสมหลกั เป็นแอลกอฮอล์ 2. รกั ษาระยะหา่ งทป่ี ลอดภัยจากผูท้ ่ไี อหรือจาม 3. ไม่สัมผสั ตา จมูก หรือปาก 4. ปิดจมูกและปากดว้ ยขอ้ พับด้านในข้อศอกหรือกระดาษชาระเมอ่ื ไอหรอื จาม 5. เกบ็ ตวั อยูบ่ า้ นเม่ือไมส่ บาย 6. หากมไี ข้ ไอ และหายใจลาบากโปรดไปพบแพทย์ ตดิ ตอ่ ลว่ งหนา้ 7. ปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนาของหนว่ ยงานสาธารณสุขในพ้นื ท่ี 8. หลกี เลีย่ งการไปสถานพยาบาลเพือ่ ให้บุคลากรในระบบสาธารณสุขปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ย่งิ ข้ึนและปกปูองคุณ รวมถงึ คนอนื่ ๆ ยาเสพติด ความหมายสารเสพติด คือ สารใดๆก็ตามที่ไม่ใช่อาหารซ่งึ สามารถมผี ลกระทบต่อการทางานของ รา่ งกายและจติ ใจ ยาเสพติดสามารถเปลี่ยนความคิด ความรู้สึก และการกระทาของบคุ คลได้ โดยแบง่ ตาม ประเภทการออกฤทธ์ติ อ่ จิตประสาท ได้แก่ สารกระตุน้ ประสาท คอื สารทีก่ ระตนุ้ รา่ งกายและการทางานของสมองใหท้ างานเร็วขึ้น ไดแ้ ก่ บหุ ร่ี โคเคน ยาบา้ ไอซ์ กระท่อม สารกดประสาท คอื สารทีท่ าใหร้ ่างกายและการทางานของสมองชา้ ลง ไดแ้ ก่ เหล้า เฮโรอีน ยาหลอนประสาท คือ สารทท่ี าให้การมองเหน็ ความรู้สกึ และการได้ยินเปลี่ยนแปลงไป ได้แก่ ยาอี ยาเค สารทอี่ อกฤทธ์ผิ สมผสาน คอื สารทม่ี ีการออกฤทธ์ิกดประสาท กระตุ้นประสาท หรือหลอนประสาทได้ พรอ้ มๆกนั ได้แก่ กัญชา ทาไมคนจึงเสพสารเสพตดิ ??? 1. ตนเอง อยากรู้ อยากลอง ต้องการเป็นที่ยอมรับของกล่มุ เพื่อน ไม่มีความรู้เร่อื งสารเสพติด ประสบ ความลม้ เหลวในชวี ิต หรือเกิดจากการเจ็บปวุ ย - อยากทดลอง เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นซึง่ เป็นนสิ ยั ของคนโดยทว่ั ไปและไม่คดิ วา่ ตนจะติดสารเสพ ตดิ จงึ ไปทาการทดลองใช้ ในการทดลองใช้ครั้งแรกๆ อาจมคี วามร้สู กึ ดีหรือไม่ดีกต็ าม ถ้ายังไมต่ ิดสารเสพตดิ ก็ อาจประมาทไปใช้อีก จนในที่สดุ ก็ติดสารเสพติดนน้ั หรือ ถ้าไปทดลองใช้สารเสพตดิ บางชนดิ เชน่ เฮโรอนี แมจ้ ะ เสพเพียงครง้ั เดียว ก็อาจทาให้ติดได้ - ถูกหลอกลวง ยาเสพติดมรี ปู แบบต่างๆ มากมาย ผูถ้ ูกหลอกลวงไมท่ ราบวา่ สิ่งท่ีตนได้กินเข้าไปน้ัน เป็น ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษร้ายแรง คิดว่าเปน็ ยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรง หรือเป็นอะไรตามที่ผ้หู ลอกลวงแนะนา ผลสุดท้าย กลายเป็นผู้ตดิ สารเสพติด 2. ครอบครัว เช่น บุคคลในครอบครวั ติดสารเสพติด ครอบครวั ไม่มีความอบอุน่ มกี ารทะเลาะเบาะแวง้ กัน การหย่ารา้ งและแตง่ งานใหมข่ องหวั หนา้ ครอบครวั พอ่ แม่ไม่เขา้ ใจลูก รกั ลูกไมเ่ ท่ากัน และมีการเปรยี บเทยี บ ระหว่างลกู แตล่ ะคน หรือเปรียบเทยี บกบั ลูกเพื่อนบา้ น 3. สงิ่ แวดลอ้ ม เช่น มีแหล่งผลติ หรือแหลง่ ระบาดของยาเสพตดิ ท่ีสามารถเข้าถึงไดง้ า่ ย มีตัวอยา่ งจากสื่อ ประเภทต่างๆ สังคมไมเ่ ปดิ โอกาสหรือไมย่ อมรับผู้ติดยาได้กลับเขา้ มาสู่สงั คมปกติ อาศัยอยู่ในในส่งิ ส่ิงแวดลอ้ มท่ี เอือ้ ต่อการติดยาเสพติด

12 4. เศรษฐกิจ เชน่ เศรษฐกจิ ตกต่า วา่ งงาน มีหน้สี ินล้นพน้ ตัวกลุ้มใจที่เปน็ หน้ีกไ็ ปกนิ เหล้า หรือสูบ กัญชาให้เมาเพอื่ ท่จี ะได้ลมื เร่ืองหนี้สนิ บางคนต้องการรายไดเ้ พิ่มขน้ึ โดยพยายามทางานหนกั มากข้นึ ท้งั ๆ ท่ี รา่ งกายอ่อนเพลยี มาก จึงรับประทานสารกระตุน้ ประสาทเพื่อใหส้ ามารถทางานต่อไปได้ เป็นต้น ถ้าทาอยู่เปน็ ประจาทาให้ติดสารเสพติดนนั้ ได้ เส้นทางการติดยา เส้นทางการติดยาตั้งแต่เร่มิ เสพจนกระท่งั ตดิ สามารถแบ่งได้ เป็น 4 ระยะ ไดแ้ ก่ 1. เรม่ิ ทดลองอยากรู้อยากเห็น (Experiment and first-time use) เมื่อมีคนแนะนาใหท้ ดลอง รว่ มกับ ความร้สู กึ อยากลอง หรอื ใช้ gateway drug อยู่แลว้ เชน่ บหุ ร่ี เหลา้ ซ่งึ สารเหล่าน้ีทาใหเ้ กดิ การเรียนรู้วา่ สารทา ให้เกิดความพงึ พอใจ สบายได้มากกวา่ ท่ีเป็นอยู่ หรือเพิ่มพละกาลังในการทางาน 2. ใช้เปน็ ครั้งคราว (Occasional use) เกิดความตดิ ใจในผลของสารเสพตดิ เรียนรวู้ ่าหากใชป้ ริมาณ มากขนึ้ กจ็ ะไดร้ บั ผลความรสู้ ึกดมี ากขึ้น เกดิ ความรสู้ กึ เปน็ สุขอย่างมาก 3. ใช้สม่าเสมอใชอ้ ย่างพร่าเพรือ่ (Regular use) หมกมุ่นกบั การหาสารมาเสพ มีอาการเมายา การ ทางาน การเรียนแย่ลง สมั พันธภาพกบั คนรอบขา้ งไม่ดี ใชจ้ ่ายเงินเปลือง อาจถูกจับเนื่องจากเสพหรอื คา้ 4. เกดิ ภาวะพ่งึ พาสรุ ายาเสพติด (Dependence) ใชส้ ารมาอยา่ งต่อเนื่องยาวนาน จนเกดิ อาการทนต่อ ยา (Tolerance) และภาวะถอนยา (Withdraw) หรือ มีการใชเ้ กินขนาด (Drug Overdose) โดยไม่ตงั้ ใจ พษิ ภยั ร้ายของสารเสพตดิ ตอ่ รา่ งกายและจิตใจของผู้เสพ 1. ทาลายประสาทสมอง จติ ใจเส่ือม ซึมเศรา้ วติ กกังวล เลอ่ื นลอย และเกิดภาวะผดิ ปกติทางจติ จากสาร เสพตดิ นั้นๆพิษจากสารเสพติดทาลายอวยั วะต่างๆให้เสื่อมลง มีโรคแทรกซ้อนได้ง่าย ร่างกายซบู ซดี ออ่ นเพลยี 2. เสียบคุ ลกิ ภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสตสิ ัมปชัญญะการควบคุมกลา้ มเนอ้ื และระบบประสาท บกพร่อง ทาให้ประสบอุบตั ิเหตไุ ดง้ า่ ย ต่อครอบครวั และสังคม 1. ครอบครวั ทีม่ ผี ตู้ ดิ สารเสพตดิ มักได้รับความเดอื ดรอ้ นจากผู้ติดสารเสพตดิ ในทกุ ดา้ น เช่น การขาด ความรับผิดชอบต่อหนา้ ทน่ี าไปสคู่ วามขดั แยง้ ทะเลาะววิ าท ก่อใหเ้ กดิ ความเครยี ด และตอ้ งแก้ไขปญั หาบ่อยๆ 2. ทาให้สญู เสยี สมรรถภาพ การทางาน ทาใหเ้ กิดผลกระทบต่อครอบครวั ทง้ั ทางเศรษฐกจิ และสงั คมเสยี ทรพั ยส์ ินรายได้ของครอบครัวเนอื่ งจากตอ้ งซ้อื สารเสพตดิ มาเสพ และรักษาโรคท่ีเกดิ จากสารเสพติด 3. ปญั หาสารเสพติดกอ่ ให้เกดิ ความหวาดระแวงจากประชาชนและสงั คมเป็นวงกว้าง เนื่องจากเกรงว่า บุตรหลานจะเขา้ ไปเก่ียวข้องกบั สารเสพติดหรือถูกประทุษรา้ ยจากผู้เมาสารเสพติด หรือมีความผดิ ปกติทางจติ จากการใช้สารเสพตดิ ต่อส่วนรวมและประเทศชาติ เป็นภัยต่อความม่ันคง ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรม และวิถีชีวิตท่เี ป็นสขุ ของคนใน ประเทศประเทศชาตสิ ญู เสยี งบประมาณในการปูองกัน ปราบปราม บาบดั รกั ษาผู้ติดสารเสพติด เราทุกคนจะป้องกันสารเสพตดิ อยา่ งไร? ตนเองเป็นบทบาทสาคัญทีส่ ามารถปูองกนั และแก้ไขปัญหาสารเสพติดได้ ดังนี้ 1. ศึกษาความรูเ้ ก่ียวกับโทษ และพิษภัยของสารเสพติด ไมท่ ดลองเสพสารเสพติดทกุ ชนดิ ร้เู ทา่ ทนั การ หลอกลวง ชกั จูงจากกลุ่มผูค้ า้ สารเสพติด เลือกคบเพ่ือนที่ไมใ่ ช้สารเสพติดและใช้ทักษะการปฏเิ สธเมื่อถูกชักชวน 2. มีทศั นคตทิ ่ีดีตอ่ ชีวติ มคี วามภาคภูมิใจในตนเองว่ามคี ณุ คา่ ทงั้ ต่อตนเอง ครอบครวั และสงั คม ไม่ควร ทาลายชีวติ ที่ไดม้ าดว้ ยการติดสารเสพติด

13 3. ตระหนักในบทบาทหน้าท่ีของตนเอง ระลกึ เสมอวา่ ขณะน้ตี นเองมบี ทบาทหนา้ ทอี่ ะไรเชน่ มีหนา้ ที่ เรียนหนังสือกค็ วรตง้ั ใจศกึ ษาเลา่ เรียนเชอื่ ฟังคาสงั่ สอนของพอ่ แม่ ครู อาจารย์ เปน็ ตน้ 4. รกั ษาสขุ ภาพรา่ งกายให้แข็งแรงและทาจติ ใจให้แจ่มใสใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ ในการทากจิ กรรม ตา่ งๆเชน่ อ่านหนงั สือ เล่นกีฬา หรือทางานอดเิ รกต่างๆ 5. มีทักษะในการดาเนินชวี ิต รจู้ ักแก้ไขปัญหาในทางท่ีถูกทค่ี วร กล้าเผชญิ ปัญหา รู้จกั คิดไตร่ตรองดว้ ย เหตผุ ล ไมห่ ลกี หนีปัญหาดว้ ยการเสพสารเสพติด 6. ขอคาปรึกษาหรือขอความชว่ ยเหลอื จากผูใ้ หญ่ ผ้ปู กครอง เพราะการแกไ้ ขปัญหาโดยลาพงั แบบ รเู้ ทา่ ไม่ถึงการณ์ อาจนาไปสกู่ ารใชช้ วี ติ ทีผ่ ดิ พลาดได้ ครอบครัว ควรสอดสอ่ งดแู ลเด็กและบุคคลในครอบครวั อย่าใหเ้ ก่ยี วข้องกบั ยาเสพติด อบรม สงั่ สอน ให้ รู้ถงึ โทษภยั ของยาเสพติด ดแู ลเรอ่ื งการคบเพ่ือน คอยสง่ เสริมให้รจู้ ักใช้เวลาในทางที่เป็นประโยชน์ เชน่ การ ทางานบ้าน การเลน่ กีฬา เพือ่ ปอู งกันไม่ให้เด็กหนั เหไปสนใจในยาเสพตดิ ทุกคนในครอบครัวควรสรา้ งความรกั ความเขา้ ใจ และสัมพันธภาพอนั ดตี อ่ กัน ท่ีพ่ึง เป็นท่ปี รึกษาและให้กาลังใจแก่กันและกนั นอกจากนี้พ่อแม่ควร เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี นการไมใ่ ช้สารเสพตดิ เชน่ ไม่สบู บหุ ร่ี ไม่ดมื่ เหล้า โรงเรียน ควรมกี จิ กรรมใหค้ วามรู้เร่ืองพิษภัยสารเสพตดิ อย่างสมา่ เสมอครูควรเอาใจใสใ่ นการดแู ล นักเรียน เป็นท่ปี รกึ ษาท่ีดี และมกี ารจัดกิจกรรมให้แก่นกั เรียนอยา่ งสร้างสรรค์ เพ่อื ส่งเสรมิ ใหใ้ ชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ พอ่ แมผ่ ู้ปกครองควรทาอย่างไรเมื่อลกู ย่งุ เก่ยี วกบั สารเสพตดิ พ่อแมผ่ ปู้ กครองจะต้องร่วมมอื รว่ มใจ ชว่ ยเหลอื โดยอาศยั ความรัก ความเขา้ ใจ เป็นพนื้ ฐานในการทาใจยอมรับสภาพปญั หาที่เกิดขึน้ และปฏบิ ตั ใิ นสิ่ง ต่อไปนี้ 1. ระงบั สติอารมณ์ อยา่ ว่วู ามยอมรับความจริง ยอมรับสภาพวา่ ลูกติดยา เพื่อเตรียมตัวช่วยเหลือบตุ ร หลาน 2. ไม่ควรแสดงความกา้ วร้าวกับลูก เพราะจะทาให้ลกู ปกปดิ ซ่อนเรน้ มากขน้ึ 3. แสดงความรัก ความเห็นใจอยา่ งจรงิ ใจ เพื่อให้ลูกหลานยอมเปิดใจ ยอมรับความชว่ ยเหลือ 4. ต้องหาข้อมูลเพ่มิ เตมิ วา่ บุตรหลานติดสารเสพติดประเภทใด ฤทธ์ิรนุ แรงแค่ไหน ใช้สารเสพติดมา นานแลว้ หรอื ยงั ใชป้ รมิ าณแค่ไหน โดยอาจหาจากแหลง่ ข้อมูลต่างๆ เช่น เพ่ือนสนิท ครทู ่ีโรงเรียน ห้องนอน กระเป฻าเส้ือผ้า เปน็ ตน้ 5. ปรึกษาผ้มู ีความรู้ ความเช่ยี วชาญเฉพาะ เช่น ศูนยใ์ หค้ าปรึกษาปัญหาสารเสพตดิ หากลูกหลานตดิ สารเสพตดิ มานาน จนทาใหส้ ภาพร่างกายและจติ ใจเปลย่ี นแปลงไป หรือมีพฤติกรรมและบุคลิกภาพเบ่ยี งเบนไป จากเดมิ และครอบครัวหรอื ไม่สามารถแก้ไขปญั หาได้ ผปู้ กครองควรสง่ ลูกเขา้ รับการบาบัดรกั ษาและฟนื้ ฟู สมรรถภาพทางดา้ นจิตใจ ในสถานบาบดั รักษาตา่ ง ๆ ทัว่ ประเทศ ผลกระทบจากปญั หาสารเสพตดิ ทาให้เกดิ ความเสียหายทงั้ ตอ่ ตวั ผูเ้ สพ ครอบครัว สงั คม เศรษฐกจิ และ ประเทศชาติ การแก้ไขปัญหาสารเสพติดตอ้ งเริ่มตน้ จากครอบครวั ซง่ึ ใกลช้ ิดกบั เด็กและเยาวชนมากที่สุด โดยการ ให้เวลากบั บตุ รหลานและร่วมกันแก้ไขปญั หาต่างๆทเ่ี กดิ ขึ้น นอกจากน้สี งั คมโรงเรยี นและสถานศกึ ษาตอ้ งมีการ ติดตาม สงั เกตพฤติกรรมนักเรียน-นักศึกษาที่เข้าข่ายเก่ยี วขอ้ งกับสารเสพติด การมุ่งใหค้ วามรใู้ นเร่อื งอนั ตราย ผลกระทบทเี่ กิดจากการใชส้ ารเสพติด สร้างการรับรู้ ความตระหนกั ถึงภัยอนั ตรายนา่ จะการปูองกนั และแก้ไข ปัญหาสารเสพติด และเปน็ หน้าท่ีของทุกคนจะตอ้ งร่วมมือกัน

14 สว่ นท่ี 4 ผลการดาเนนิ งาน ผู้ดาเนินการจัดทาโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพจิต สุขภาพกายดี สุขชีวี สดใส ตาบลชาตติ ระการ ในการอบรม เก็บรวบรวมขอ้ มลู และการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดงั น้ี 1. เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการจดั กจิ กรรม ขอ้ มลู ปฐมภูมิ ไดจ้ ากการกรอกแบบสอบถามของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม ข้อมลู ทุติยภูมิ ศกึ ษาจากเอกสาร ข้อมลู ตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง 2. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 2.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2.1.1 ประชาชนหมู่ ๖ ตาบลชาตติ ระการ 2.2 วิธดี าเนินการในการติดตามและประเมินผลการดาเนนิ งานได้ดาเนินการดงั น้ี 2.2.1 เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการประเมนิ เป็นแบบสอบถาม แบง่ ออกเป็น 3 ตอน คอื ตอนที่ 1 ข้อมูลสถานภาพทั่วไปเก่ยี วกบั ผ้ตู อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู เกีย่ วกับความพงึ พอใจในการเข้าร่วมโครงการฯ ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ 2.2.2 วิเคราะห์ข้อมลู ในการวเิ คราะห์ ดาเนินการดงั น้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มูลสถานภาพท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถามวิเคราะห์ผลด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าร้อยละ (%) P =  100 เมือ่ p แทน ร้อยละ F แทน จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม n แทน จานวนท้ังหมด ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู เกยี่ วกับการดาเนนิ งานตามโครงการ ใชค้ า่ เฉลยี่ x = เมื่อ x แทน ค่าเฉลีย่ แทน จานวนผตู้ อบแบบสอบถาม x แทน จานวนทง้ั หมด n

15 ตอนที่ 3 สรปุ ข้อเสนอแนะ โดยใชค้ วามถ่ี ( f ) 2.2.3 การแปลผลข้อมลู ในการแปลความหมายของข้อมลู แปลผลจากค่าเฉลยี่ เลขคณติ x โดยใช้หลักเกณฑด์ ังน้ี ค่าเฉล่ียเลขาคณิต x ความหมาย 1.00 – 1.50 1.51 – 2.50 นอ้ ยท่สี ุด 2.51 – 3.50 นอ้ ย 3.51 – 4.50 ปานกลาง 4.51 – 5.00 มาก มากที่สดุ 3. ผลการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน จากการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนตามโครงการการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ สุขภาพจิต สขุ ภาพ กายดี สขุ ชวี ีสดใส ตาบลชาตติ ระการ ได้มกี ารสารวจความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมทม่ี ีต่อรูปแบบการจัด กิจกรรม จานวน ๒๕ คน โดยวธิ กี ารตอบแบบสอบถาม จงึ ไดม้ ีการนาเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบคา บรรยาย โดยแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ตอนท่ี 1 ข้อมลู ส่วนบุคคล ตอนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรยี นการสอน) ตอนท่ี 3 สรปุ ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ สรปุ เป็นประเด็นที่สาคญั ตอนที่ 1 การวเิ คราะห์ข้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามเพศ เพศ จานวน ( n = 32 ) ร้อยละ ชาย ๗ ๒๑.๘๘ หญิง ๒๕ 78.12 รวม ๓๒ 100 จากตารางท่ี 1 ผลการศึกษาพบว่า ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมสว่ นใหญเ่ ปน็ เพศหญิง คดิ เป็นร้อยละ 78.12 เพศชาย คดิ เป็นร้อยละ ๒๑.๘๘ ตารางที่ 2 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามอายุ อายุ จานวน ( n = 32 ) ร้อยละ ๑๕-๓๙ ปี -- ๔๐-๕๙ ปี ๑ ๓.๑๒ ๖๐ ปี ข้ึนไป ๓๑ ๙๖.๘๘ รวม ๓๒ ๑๐๐ จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบว่า ผ้เู ขา้ รว่ มสว่ นใหญอ่ ายุ 60 ปีขน้ึ ไป คิดเปน็ ร้อยละ ๙๖.๘๘ อายุ ๔๐-๕๙ ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓.๑๒

16 ตารางที่ 3 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามระดบั การศึกษาสูงสดุ ระดบั การศกึ ษาสูงสุด จานวน ( n = ๓๒ ) รอ้ ยละ ต่ากวา่ ประถมศึกษา ๑๖ ๕๐ ประถมศึกษา ๕ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๑ ๑๕.๖๓ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย - ๓.๑๒ อื่นๆ ๑๐ รวม ๓๒ - ๓๑.๒๕ ๑๐๐ จากตารางท่ี 3 ผลการศึกษาพบวา่ ผู้เขา้ รว่ มอบรมสว่ นใหญม่ ีระดบั การศึกษาสูงสดุ คือ ระดบั ประถมศกึ ษา คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๐ รองลงมา คอื อื่นๆ เนอื่ งจากไมไ่ ด้ศึกษา เพราะผูเ้ ข้าร่วมอบรมสว่ นใหญ่เปน็ ผสู้ งู อายุ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๑.๒๕ ตารางที่ 4 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามอาชีพ อาชีพ จานวน ( n = 32 ) รอ้ ยละ เกษตรกร ๑๖ ๕๐ รับจา้ ง ๑ ๓.๑๒ คา้ ขาย - - อนื่ ๆ ๑๕ รวม ๓๒ ๔๖.๘๘ 1๒5 จากตารางที่ 4 ผลการศึกษาพบวา่ ผเู้ ข้ารว่ มอบรมสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกร คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๐ รองลงมาคอื อน่ื ๆ คดิ เป็นร้อยละ ๔๖.๘๘

17 ตอนที่ 2 การวเิ คราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ตารางที่ 6 แสดงจานวน รอ้ ยละ และคา่ เฉลี่ยของความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมอบรมท่ีมีตอ่ การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน ระดบั ความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาความรไู้ ปใช้ ประเดน็ ความคดิ เห็น มากท่สี ุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ย อย่ใู น 5 4 32 ที่สดุ ระดบั 1 คา่ เฉล่ีย 1. ดา้ นหลักสตู ร = 4.๒๐ 1.1 ท่านได้มีส่วนร่วมในการ 1๖ ๑๓ ๓ - - 4.๑2 มาก เสนอความต้องการและวางแผนจัด (50.00%) (4๐.๖๒%) (๙.๓๘%) กจิ กรรมตามหลักสตู รอาชีพนี้ 1.2 เน้ือหาหลักสูตรการจัด 17 13 ๒ - - 4.๒๘ มาก (6.25%) กิจกรรมอาชีพน้ีตรงกับความ (53.13%) (4๐.62%) - = 4.๔๐ 1 - - 4.๔๑ มาก ต้องการของท่าน (๓.12%) - - 4.๑๐ มาก - - 4.๓๘ มาก 2. ดา้ นกระบวนการเรยี นรู้ ๓ - (๙.๓๘%) - - 4.๔๗ มาก 2.1 สอื่ /วัสดุอุปกรณ์ประกอบ 17 ๑๔ - 1 - - 4.๓๘ มาก กจิ กรรมเรยี นรมู้ ีเพียงพอ (53.13%) (๔๓.๗๕%) (๓.12%) = 4.๓๖ 2.2 ส่ือ/วัสดุอุปกรณ์การ ๑๕ ๑๔ 1 - 4.๓๔ มาก (๓.12%) เรียนรู้ตรงกับความต้องการ (๔๖.๘๘%) (๔๓.๗๕%) - 4.๔๑ มาก 1 - 4.๓๔ มาก 2.3 ท่านได้ใช้ทรัพยากรใน 1๖ ๑๕ (๓.12%) ท้องถ่ินเป็นสื่อ/วัสดุประกอบการ (50.00%) (๔๖.๘๘%) 1 (๓.12%) เรียนรู้ 1 2.4 ท่านได้ใช้แหล่งเรียนรู้/ ๑๕ 17 (๓.12%) ภูมิปัญญาท้องถิ่นประกอบการ (๔๖.๘๘%) (53.13%) 1 (๓.12%) เรยี นรู้ 2.5 ท่านสามารถเรียนรู้และ 1๖ ๑๕ ได้ฝกึ ทกั ษะการปฏิบัตจิ รงิ (50.00%) (๔๖.๘๘%) 3. ด้านครู/วิทยากร 3.1 วิทยากรผู้สอนมีความรู้ ๑๕ 1๖ ความชานาญและประสบการณ์ (๔๖.๘๘%) (50.00%) ตรงตามหลกั สตู ร 3.2 ความสามารถในการ 17 ๑๔ ถา่ ยทอดความรูข้ องวทิ ยากรผสู้ อน (53.13%) (๔๓.๗๕%) 3.3 วิทยากรรับผิดชอบการ ๑๕ 1๖ สอนครบตรงตามเวลาท่ีกาหนด (๔๖.๘๘%) (50.00%) ตามแผน

18 ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาความร้ไู ปใช้ ประเด็นความคดิ เหน็ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อย อยูใ่ น 5432 ทส่ี ดุ ระดับ 1 ค่าเฉล่ีย 4. ดา้ นสถานท่ี / ระยะเวลา = 4.๑๙ 4.1 สถานท่ีสะอาดและมี ๑๕ ๑๔ ๓ - - 4.๐๙ มาก ความเหมาะสม (๔๖.๘๘%) (๔๓.๗๕%) (๙.๓๘%) 4.2 ระยะเวลาในการอบรม ๑๕ ๑๕ ๒ - - 4.๒๙ มาก มีความเหมาะสม (๔๖.๘๘%) (๔๖.๘๘%) (6.25%) 5. ดา้ นการใหบ้ รกิ ารของเจา้ หนา้ ท่ี = 4.๓๒ 5.1 การบรกิ ารของ 1๖ ๑๔ ๒ - - 4.25 มาก เจา้ หนา้ ที่ (50.00%) (๔๓.๗๕%) (6.25%) 5.2 การประสานงาน/ 1๖ ๑๕ 1 - - 4.38 มาก อานวยความสะดวกของ (50.00%) (๔๖.๘๘%) (๓.12%) เจา้ หน้าท่ีโครงการ 6. ด้านความรคู้ วามเขา้ ใจ = 4.๕๒ 6.1 ความรู้ ความเข้าใจใน ๑๔ 13 5 -- ๓.๘๑ มาก เรอ่ื งนกี้ อ่ นการอบรม (๔๓.๗๕%) (4๐.62%) (๑๕.63%) 6.2 ความรู้ ความเข้าใจใน 1๘ ๑๔ - - - 4.56 มาก เรอ่ื งนห้ี ลังการอบรม (56.๒๕%) (๔๓.๗๕%) ทส่ี ุด 6.3 สามารถบอกประโยชน์ 17 ๑๕ - - - 4.53 มาก ได้ (53.13%) (๔๖.๘๘%) ทสี่ ุด 6. 4 สามารถจัดระบบ ๑๕ ๑๕ ๒ - - 4.๒๙ มาก ความคิดสู่การพัฒนางานอย่าง (๔๖.๘๘%) (๔๖.๘๘%) (6.25%) เปน็ ระบบได้ 7. ด้านการนาความรู้ไปใช้ = 4.๕๕ 7.1 สามารถนาความรทู้ ี่ ๒๐ ๑๒ - - - 4.63 มาก ได้รับไปประยกุ ต์ใช้ในการ (๖๒.๐๕%) (๓๗.๐๕%) ทส่ี ุด ปฏิบตั ิงานได้ 7.2 สามารถนาความรู้ไป 1๘ ๑๔ - - - 4.56 มาก เผยแพร่/ถ่ายทอดแก่ชมุ ชนได้ (56.๒๕%) (๔๓.๗๕%) ท่สี ุด 7.3 มคี วามมน่ั ใจและ 19 ๑๒ 1 - - 4.47 มาก สามารถนาความรู้ทไ่ี ด้รับไป (59.๓๘%) (๓๗.๐๕%) (๓.12%) ใช้ได้ รวมทัง้ ส้ิน ๓๔๒ ๓๐๐ ๓๐ - - 4.๓๓ มาก (๕๐.๘๙) (๔๔.๖๔) (๔.๔๖) คา่ เฉล่ยี ถ่วงน้าหนกั 4.33 ระดับความคิดเห็น มาก

19 จากตารางที่ 6 จากการศึกษาพบวา่ ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมส่วนใหญม่ ีความพึงพอใจตอ่ การจัดโครงการ โดยแยกเปน็ ข้อๆ ดงั นี้ 1. ด้านหลักสตู ร ความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก ค่าเฉลี่ย = 4.๒๐ 2. ด้านกระบวนการเรียนรู้ ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก ค่าเฉล่ยี = 4.๔๐ 3. ดา้ นคร/ู วิทยากร ความพึงพอใจอยใู่ นระดับ มาก คา่ เฉล่ีย = 4.๓๖ 4. ดา้ นสถานท/่ี ระยะเวลา ความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก ค่าเฉลยี่ = 4.๑๙ 5. ดา้ นการใหบ้ ริการของเจ้าหน้าท่ี ความพงึ พอใจอยู่ในระดับ มาก คา่ เฉล่ีย = 4.32 6. ด้านความร้คู วามเขา้ ใจ ความพงึ พอใจอย่ใู นระดับ มาก ค่าเฉลีย่ = 4.๒๘ 7. ด้านการนาความรู้ไปใช้ ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากที่สุด คา่ เฉล่ีย = 4.๕๕ สรปุ ภาพรวมความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการ ทงั้ หมด อยูใ่ นระดบั มาก มีค่าเฉล่ยี = 4.33 ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ ไมม่ ี หมายเหตุ คดิ คะแนนเฉพาะท่ีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก

20 ส่วนที่ 5 สรปุ ผลโครงการ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามโครงการการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต สุขภาพจิต สุขภาพกายดี สขุ ชีวสี ดใส ตาบลชาตติ ระการ มีจดุ ประสงคใ์ นการจัดกจิ กรรมดังนี้ 4. วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหผ้ สู้ ูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจ เกย่ี วกับการดูแลตนเองในช่วงฤดหู นาว 2. เพ่ือใหผ้ ูส้ งู อายุ มีความรู้ ความเข้าใจ เกยี่ วกบั การดูแลสุขภาพจิตและสุขภาพกายทีด่ ี ๓. เพอ่ื ใหผ้ ู้สงู อายุ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการปูองกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 4. เพอ่ื ใหผ้ ้สู ูงอายุ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับยาเสพติด 5. เพ่ือเสริมสรา้ งขวัญและกาลงั ใจให้แก่ผสู้ ูงอายุดารงชวี ติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ การดาเนินการจดั กิจกรรม 4.1 ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการ จานวน ๓๒ คน - เพศชาย จานวน ๗ คน - เพศหญิง จานวน ๒๕ คน 4.2 เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการอบรม ขอ้ มูลปฐมภมู ิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ข้อมลู ทตุ ยิ ภมู ิ ศกึ ษาจากเอกสาร ข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะหแ์ บบสอบถามในแต่ละส่วน ดังนี้ ตอนท่ี 1 ข้อมลู สว่ นบุคคล ตอนที่ 2 ประเมนิ ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ สรุปเป็นประเด็นทสี่ าคัญ 4.4 วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มลู ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผ้จู ดั ไดด้ าเนนิ การ 2 ลักษณะ คือ 4.4.1 การสงั เคราะห์เชิงคุณลักษณะ ผู้จัดกจิ กรรมทาการสงั เคราะห์โดยใช้วธิ กี ารวิเคราะหส์ ังเคราะห์ 3 ด้าน คือ ข้อมูลทว่ั ไป ข้อมลู ความพึง พอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และขอ้ เสนอแนะ 4.4.2 การสังเคราะห์การอบรมเชงิ ปริมาณ ในการสังเคราะห์การจดั กิจกรรมเชิงปริมาณ ผู้จดั กจิ กรรมแยกออกเปน็ คณุ ลักษณะต่าง ๆ ในการ สงั เคราะห์ข้อมูลดังนี้ ข้อมูลเกี่ยวกบั เพศ / อายุ ขอ้ มลู ระดบั ความพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ข้อเสนอแนะ โดยเปรียบเทียบจานวนคนคดิ เป็นรอ้ ยละในแตล่ ะสว่ นของข้อมลู การอบรม พร้อมการบรรยาย ประกอบ

21 สรปุ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลการจดั กจิ กรรม ผลการจัดกิจกรรมโครงการการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ สขุ ภาพจติ สขุ ภาพกายดี สุขชวี ีสดใส ตาบลชาติ ตระการ โดยใชว้ ิธกี ารวิเคราะห์ สังเคราะหจ์ ากแบบประเมินความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และรูปแบบการจดั กจิ กรรม สามารถสรุปได้ดงั นี้ การสังเคราะหข์ ้อมูลท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมสว่ นใหญ่เป็นเพศหญงิ เนื่องจากเปน็ เพศที่ทางานบา้ นงานเรอื นอยูก่ บั บา้ น ผ้เู ข้ารว่ ม กจิ กรรมส่วนมากมีอายุ 60 ปขี น้ึ ไป เนื่องจากเป็นผู้สูงอายุจึงอยู่กบั บ้านเปน็ สว่ นใหญ่ จงึ มีผลทาให้ค่าร้อยละ ในชว่ งอายุนส้ี งู กว่าช่วงอายุอื่น ๆ ผลการสังเคราะห์ทางจานวนของผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม จานวนผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมมากกวา่ เปา้ หมายทกี่ าหนด ไว้ แตง่ บประมาณการฝึกอบรมมีอยู่อยา่ งจากัด การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เก่ยี วกับความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ จากการศึกษาพบว่า ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมสว่ นใหญ่มีความพงึ พอใจต่อการจดั การเรยี นการสอน ดังน้ี 1. ด้านหลกั สูตร ความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก ค่าเฉล่ีย = 4.๒๐ 2. ด้านกระบวนการเรียนรู้ ความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก ค่าเฉล่ยี = 4.๔๐ 3. ด้านคร/ู วิทยากร ความพึงพอใจอย่ใู นระดบั มาก ค่าเฉลย่ี = 4.๓๖ 4. ดา้ นสถานท่ี/ระยะเวลา ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก ค่าเฉลยี่ = 4.๑๙ 5. ด้านการใหบ้ ริการของเจ้าหน้าที่ ความพงึ พอใจอยู่ในระดับ มาก ค่าเฉลย่ี = 4.32 6. ดา้ นความรู้ความเข้าใจ ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉลีย่ = 4.๒๘ 7. ด้านการนาความรู้ไปใช้ ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากท่สี ุด คา่ เฉล่ยี = 4.๕๕ สรุปภาพรวมความพึงพอใจของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ ทง้ั หมด อยู่ในระดับ มาก มีคา่ เฉลย่ี = 4.33 อภปิ รายผล จากการดาเนนิ การพบประเด็นสาคัญที่สามารถนามาอภิปรายผลไดด้ ังนี้ 1. ดา้ นกลมุ่ เปูาหมาย 1.1 กลุ่มเปาู หมายท่ีผ่านการอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดี การสร้าง สขุ ภาพจติ ท่ีดี วธิ กี ารปอู งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 และมีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ 1.2 จากการดาเนนิ การพบว่ากลมุ่ เปาู หมายเป็นเพศหญงิ มากกว่าเพศชาย และเป็นผู้สูงอายุ เกอื บท้ังหมด 2. ด้านงบประมาณ 2.1 จากการดาเนินงานพบงบประมาณท่ีใช้ในการจัดซื้อวัสดุในการอบรม ไม่เพียงพอสาหรับ การจัดกจิ กรรม เน่ืองจากมผี ู้เขา้ รว่ มอบรมมากกวา่ เปูาหมายทกี่ าหนด 3. ด้านกิจกรรมการเรยี นการสอน 3.1 จากการดาเนินงานพบว่ากจิ กรรมตอ้ งยดื หยุ่นตามสภาพกลุ่มเปูาหมาย เนื่องมาจากสภาพ ชวี ิตความเป็นอยู่ของกลมุ่ เปูาหมายมีส่วนสาคญั ต่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4. ด้านสถานท่ี 4.1 การดาเนินการเป็นไปด้วยความสะดวก เรียบร้อย เน่ืองจากได้ใช้พ้ืนที่ของวัดในชุมชน 4.2 การใช้สถานที่ของผ้รู บั บรกิ ารเปน็ ศนู ย์การเรียนรใู้ นชมุ ชนทาใหเ้ กดิ ความเช่อื มโยง สัมพันธ์ กันระหว่าง กศน. และชุมชน

22 ข้อมูลความตระหนัก ในการจัดกิจกรรมโครงการการศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ สุขภาพจิต สขุ ภาพกายดี สุขชีวสี ดใส ตาบล ชาติตระการ เพื่อให้ผ้รู ับการอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับการดแู ลสุขภาพทีด่ ี การสรา้ งสขุ ภาพจติ ทด่ี ี วิธีการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 และมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ยาเสพตดิ และหันมาออกกาลงั กายมากขึน้ ข้อมลู การปฏิบตั ิ (ความพยายาม) ในการจัดกิจกรรมโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิต สขุ ภาพจิต สขุ ภาพกายดี สุขชีวีสดใส ตาบล ชาติตระการ ได้มีการประชุมวางแผนการดาเนินโครงการ และให้กลุ่มเปูาหมายท่ีเข้ารับการอบรม ได้ฝึกทักษะ การทายางยดื สาหรบั ออกกาลงั กาย และการออกกาลงั กาย จดุ เดน่ 1. กลุม่ เปาู หมายมีความรบั ผดิ ชอบ 2. กจิ กรรมตรงตามความต้องการของกลุ่มเปาู หมาย 3. กล่มุ เปาู หมายมคี วามสนใจในกจิ กรรมการเรยี นการสอนดี 4. กลุ่มเปาู หมายสามารถนาความรู้ทีไ่ ดไ้ ปใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิตประจาวันของตนเองได้ จุดควรพฒั นา (จดุ ด้อย) ผเู้ รียนมีพนื้ ฐานในการเรียนรทู้ ี่แตกต่างกัน ทาใหก้ ารเรียนรเู้ ป็นไปไดช้ ้ากว่ากาหนดท่ีได้ตั้งไว้ และ ผ้เู ขา้ ร่วมอบรมเป็นผู้สงู อายุ จึงทาใหก้ ารทากิจกรรมทายางยืดออกกาลงั กายล่าชา้ เพราะจะตอ้ งออกแรงยืด ยางวงและต่อกันเปน็ เส้นยาว แนวทางการพัฒนา 1. ควรจัดหางบประมาณเพ่ิมเติม เพ่ือวสั ดุอุปกรณ์จะไดเ้ พียงพอตอ่ ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม วธิ กี ารพัฒนา 1. สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจท่ีดีในการจัดโครงการการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ สขุ ภาพจิต สขุ ภาพ กายดี สุขชวี ีสดใส ตาบลชาตติ ระการ กลมุ่ เปาู หมายมีความรบั ผิดชอบในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ให้ ผู้รบั การอบรม/ผรู้ ับบริการเห็นความสาคัญ 2. มกี ารพัฒนาแหล่งการเรียนร/ู้ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ประกอบการเรยี นรู้ในชมุ ชนจัดทาเป็นระบบ สารสนเทศเพ่ือใช้ในการศกึ ษาค้นควา้ 3. ปรับวธิ กี ารจัดกจิ กรรมให้เหมาะสมกับผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม ข้อเสนอแนะในการดาเนนิ การครงั้ ตอ่ ไป 1. ควรทาการศึกษาปัญหาความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย โดยใช้เครื่องมือที่หลากหลายรูปแบบ เพ่ือให้ไดข้ ้อมูลทถี่ กู ตอ้ ง ตรงตามความต้องการของประชาชนมากทีส่ ุด 2. ควรศึกษาความต้องการของกลุ่มเปูาหมายในด้านต่าง ๆ ท่ีต้องการรับบริการจาก กศน. เพ่ือให้ ทราบและสามารถจัดกจิ กรรมตามหลกั สูตรใหส้ อดคล้องกับความต้องการของท้องถน่ิ ได้ 3. ควรศึกษาผลกระทบจาการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการศึกษาจาก กลุ่มเปาู หมาย และชมุ ชน 4. ควรเกบ็ ขอ้ มูลของผู้เขา้ รบั การอบรมหลงั การอบรมด้วยทุกคร้งั

23 ภาคผนวก - เอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง - ภาพประกอบกจิ กรรม

24 โครงการการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต สุขภาพจติ สุขภาพกายดี สขุ ชีวีสดใส ตาบลชาตติ ระการ แผนงาน งบประมาณ : การจดั การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง งบประมาณ ๒,๗๖๐.- บาท ลักษณะโครงการ : ( / ) โครงการต่อเน่ือง ( ) โครงการใหม่ กลมุ่ ผรู้ ับผิดชอบ : การศึกษาตอ่ เนื่อง (การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต) 1. โครงการการศึกษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชวี ติ สขุ ภาพจติ สุขภาพกายดี สุขชีวสี ดใส ตาบลชาติตระการ ๒. สอดคล้องกบั นโยบาย และจดุ เน้นการดาเนนิ งาน กศน. สอดคล้องกบั มาตรฐานกศน. มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรยี นการศึกษาต่อเนอ่ื ง ๑.๑ ผเู้ รยี นการศกึ ษาต่อเน่ืองมีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะ และหรอื คุณธรรม เปน็ ไปตามเกณฑก์ ารจบหลักสตู ร ๑.๒ ผู้จบหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่ืองสามารถนาความรู้ท่ไี ด้ไปใช้ หรอื ประยุกต์ใช้บนฐาน ค่านิยมรวมของสงั คม ๑.๓ ผจู้ บหลักสตู รการศึกษาตอ่ เน่ืองทน่ี าความรู้ไปใช้จนเหน็ เป็นประจกั ษห์ รือตัวอย่างท่ดี ี สอดคล้องกบั นโยบาย และจุดเน้นการดาเนนิ งาน กศน. ภารกิจต่อเน่ือง ๑. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ๑.๓ การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ๒) จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ ให้กับกลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ที่สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พ่ึงพาตนเองได้ มีความรูค้ วามสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสาร ข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเน้ือหาสาคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่างๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทกั ษะชีวิต การจดั ตั้งชมรม/ชมุ นมุ การสง่ เสริมความสามารถพิเศษต่างๆ 3. หลักการและเหตผุ ล การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต มีความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนาคุณภาพ ของประชาชน กระบวนการจัดการศึกษาท่ีสมบูรณ์จึงเปรียบเสมือนเหรียญสองด้าน ด้านหนึ่งคือการพัฒนา ผเู้ รียนในดา้ นวิชาการการเรยี นร้ตู ามหลักสตู ร อกี ด้านหนง่ึ คอื การพัฒนาผูเ้ รียนทางด้านจิตใจ ด้านคุณธรรม ท้ังน้ี เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน มีการนาเอาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ การจดั กระบวนการเรียนรเู้ พื่อส่งเสริมความสามารถของบุคคล เพือ่ ให้สามารถจัดการกับ ตนเองและสง่ิ แวดลอ้ ม เพ่อื ใหม้ ีความสขุ ตามสภาพและความสุข ความปลอดภัยในสงั คม ซ่ึงเป็นการพัฒนาทักษะ พ้ืนฐานของบุคคล โดยบูรณาการองค์ความรู้และกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ ในชีวิตประจาวันเข้าด้วยกันการจัด การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทักษะชีวติ เนน้ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหจ้ ดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นรูปแบบตา่ งๆ ที่จะช่วยให้บุคคล

25 สามารถเผชิญสถานการณต์ ่างๆ ทีเ่ กิดข้นึ ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อมสาหรับ การปรับตวั ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการดูแลสุขภาพในช่วงฤดูกาล การปูองกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด- 19 ยาเสพตดิ ความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ย์สิน คณุ ธรรมจริยธรรม ฯลฯ เพือ่ ให้สามารถมีชีวติ อยูใ่ นสังคมได้ อย่างมคี วามสขุ หรือจะกล่าวง่ายๆ ทักษะชีวติ กค็ ือความสามารถในการแก้ปัญหาทต่ี อ้ งเผชิญในชีวติ ประจาวนั กศน.ตาบลชาติตระการ จึงได้จัดทาโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพจิต สุขภาพกายดี สขุ ชวี ีสดใส ตาบลชาตติ ระการ ในวันท่ี ๒3 ธันวาคม 256๓ ณ วัดบ้านนาเปอะ หมู่ ๒ ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติตระการ จังหวัดพษิ ณโุ ลก 4. วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ให้ผสู้ งู อายุ มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการดแู ลตนเองในช่วงฤดูหนาว 2. เพือ่ ใหผ้ ู้สูงอายุ มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับการดแู ลสขุ ภาพจิตและสุขภาพกายทดี่ ี ๓. เพือ่ ให้ผูส้ งู อายุ มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการปูองกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 4. เพ่อื ใหผ้ ้สู ูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับยาเสพตดิ 5. เพื่อเสริมสรา้ งขวญั และกาลงั ใจใหแ้ ก่ผสู้ ูงอายดุ ารงชีวติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข 5. เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ - ประชาชน(ผู้สงู อาย)ุ จานวน 2๔ คน - บุคลากรทีเ่ กย่ี วข้อง จานวน 2 คน รวมท้งั สิ้น 2๖ คน เชิงคณุ ภาพ ผู้สูงอายุ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการดูแลรกั ษาสุขภาพในช่วงฤดูหนาวด้วย ตนเอง มีสุขภาวะ สขุ อนามัย และสขุ ภาพจิตทดี่ ี มีความรู้ในการปูองกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 และมี ความเขา้ ใจเก่ยี วกับยาเสพติด สามารถใชช้ ีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งมีความสุขท้ังร่างกายและจติ ใจ เหน็ คณุ ค่าของ ตนเองในการจัดการชีวติ ของตนเองให้อย่ใู นสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข 6. วิธีการดาเนินงาน กจิ กรรม วัตถุประสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบ เปา้ หมาย ดาเนนิ การ ๓ ธ.ค. 63 ประมาณ 1. สารวจความ - เพอ่ื กาหนด - จานวน ตอ้ งการของ กลมุ่ เปาู หมาย/พนื้ ที่ - ประชาชนใน 2๔ คน - ตาบลชาติตระการ - กลุม่ เปาู หมาย ดาเนนิ งาน พืน้ ที่ 2. ประชุม - เพื่อสรา้ งความ วางแผนทางาน / เข้าใจให้กับบคุ ลากร - บคุ ลากร - จานวน - กศน.อาเภอ ๗ ธ.ค. 63 - เสนอโครงการ - ออกแบบกิจกรรม กศน.อาเภอ 2 คน ชาติตระการ การเรยี นรู้ /การ ชาติตระการ 3. ประสานงาน ดาเนินงาน - ผูเ้ กยี่ วข้อง เครอื ขา่ ย - เพ่อื ประสานความ รว่ มมือของเครอื ข่าย - ภาคี - จานวน - ตาบลชาติตระการ ๙ ธ.ค. 63 - เครอื ข่าย 2 แหง่ - ประชาชน

26 กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ กลุ่ม เปา้ หมาย พนื้ ที่ ระยะเวลา งบ ดาเนินการ ประมาณ เป้าหมาย - จานวน ๒3 ธ.ค. 2๔ คน - วดั บ้านนาเปอะ 63 2,๗๖0.- 4. ดาเนนิ การจดั 1. เพอื่ ใหผ้ ูส้ ูงอายุ มี - ผ้เู ขา้ รว่ ม หมู่ ๒ ตาบล กจิ กรรม โครงการ ชาตติ ระการ ๑.ใหค้ วามรู้ ความรู้ ความเขา้ ใจ - บคุ ลากร เกย่ี วกับสุขภาพ เกย่ี วกับการดูแล กศน.อาเภอ อนามยั /การ ตนเองในชว่ งฤดู ชาตติ ระการ รบั ประทาน หนาว อาหาร/การออก 2. เพือ่ ใหผ้ สู้ ูงอายุ มี กาลังกาย ความรู้ ความเขา้ ใจ 2. ใหค้ วามรูก้ าร เก่ียวกับการดูแล สร้างสุขภาพกาย- สุขภาพจิตและ จติ ที่ดี สขุ ภาพกายทดี่ ี 3. ใหค้ วามรู้ ๓. เพอ่ื ให้ผู้สูงอายุ มี เกี่ยวกับการ ความรู้ ความเขา้ ใจ ปอู งกันการแพร่ ในการปูองกนั การ ระบาดของ แพรร่ ะบาดของโรค โรคโควดิ -19 โควิด-19 4. ให้ความรู้ 4. เพื่อให้ผสู้ ูงอายุ มี เกี่ยวกบั ยาเสพติด ความรู้ ความเข้าใจ 5. สอนวิธกี ารทา เก่ียวกบั สงิ่ เสพติด ยางยดื เพือ่ การ 5. เพอื่ เสรมิ สร้าง ออกกาลังกาย ขวญั และกาลงั ใจ สาหรับผู้สูงอายุ ใหแ้ ก่ผ้สู ูงอายุ 6. กิจกรรมมมุ ดารงชีวิตในสังคมได้ ส่งเสรมิ การอา่ น อย่างมีความสขุ 5. นเิ ทศ /ตดิ ตาม - เพ่อื นาผลการ - บุคลากร - จานวน - ณ วดั บา้ น ๒3 ธ.ค. - ๒ คน นาเปอะ หมู่ ๒ 63 - ประเมนิ ผล ประเมนิ ไปปรับปรุง กศน.อาเภอ ตาบลชาติตระการ - จานวน ๒๙ ธ.ค. ปฏบิ ัติงาน การปฏิบตั งิ านตอ่ ไป ชาตติ ระการ 2 คน - กศน.อาเภอ 63 1 เลม่ ชาตติ ระการ 6. สรปุ ผล และ - เพ่ือสรุปผล - บุคลากร - รายงานผลการ โครงการฯ กศน.อาเภอ ปฏบิ ัติงาน - เพอ่ื เผยแพร่ผลการ ชาตติ ระการ ปฏบิ ัตงิ าน

27 7. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ แผนงาน: พ้ืนฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ - ผลผลิตท่ี ๔ ผรู้ บั บริการการศกึ ษานอกระบบ : กจิ กรรมจดั การศึกษานอกระบบ งบดาเนนิ งาน : (การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวติ ) จานวนเงนิ 2,๗๖๐.- บาท 1. คา่ อาหารวา่ ง 25 บาท x 2๔ คน x 1 มอ้ื จานวน ๖00 บาท บาท 2. ค่าวัสดุ จานวน 1,๔๙5 บาท บาท 3. ค่าถ่ายเอกสาร จานวน ๓๖๕ ๔. คา่ วิทยากร จานวน ๓๐๐ รวมทั้งสนิ้ 2,๗๖0.- บาท หมายเหตุ: ถวั เฉลย่ี จา่ ยตามจรงิ ในแต่ละกิจกรรม 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค .- ธ.ค. 6๓) (ม.ค. - มี.ค. 6๔) (เม.ย. - มิ.ย. 6๔) (ก.ค. - ก.ย. 6๔) ดาเนนิ การจัดกิจกรรม 1. ใหค้ วามรู้เกีย่ วกบั สุขภาพ 2,๗๖0.- - - - อนามยั / การออกกาลังกายของ ผู้สงู อายุ 2. ใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั การสร้าง สขุ ภาพกาย - จิตท่ีดขี องผู้สงู อายุ 3. ให้ความรู้ วธิ ีการปูองกันการ แพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 4. ให้ความรเู้ กี่ยวกบั สิ่งเสพติด 5. สอนวิธกี ารทายางยดื เพื่อการ ออกกาลงั กายสาหรับผสู้ งู อายุ 6. กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน 9. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ - กศน.ตาบลชาตติ ระการ - กศน.อาเภอชาตติ ระการ 10. เครือข่ายและความร่วมมือ - ผู้นาชมุ ชน - โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลชาตติ ระการ 11. โครงการทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 11.1 โครงการการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน 11.2 โครงการการศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

28 12. ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพด้วยตนเอง มีสุขภาวะ สุขอนามัย และสุขภาพกาย – จิตที่ดี ปลอดภัยจากยาเสพเสพติด ใช้ชีวิตประจาวันได้อย่างมีความสุขทั้งร่างกายและจิตใจ มคี วามรใู้ นการปูองกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และเห็นคุณค่าของตนเองในการจัดการชีวิตของตนเอง ใหอ้ ยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข 13. ดัชนีชี้วัดผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ช้ีวดั ผลผลิต (Output) 13.1.1 ผเู้ ข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 จากเปาู หมาย 13.1.2 ผ้เู ข้าร่วมโครงการ รอ้ ยละ 80 มีความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมในระดับดีขึน้ ไป 13.2 ตวั ช้ีวัดผลลพั ธ์ (Outcome) 13.2.1 กลุ่มเปูาหมาย รอ้ ยละ 80 สามารถนาความรู้ไปใช้ในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวันได้ 14. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบสงั เกตการมีส่วนร่วมในการเขา้ ร่วมกิจกรรมต่างๆ 14.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจในการรว่ มกจิ กรรม 14.3 แบบสอบถามและรายงานผลการจดั กิจกรรม ลงชื่อ ................................................ผเู้ สนอโครงการ ลงชื่อ ................................................ ผูต้ รวจสอบ ( นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ) ( นางสาวภาณมุ าศ ยศปัญญา ) ครู กศน.ตาบลชาตติ ระการ ครูอาสาสมัครฯ .…….…/………………./………….... .…….…/………………./………….... ลงชื่อ .................................... ผู้เห็นชอบโครงการ ลงชื่อ .......................................... ผูเ้ หน็ ชอบโครงการ ( นางสาวชมพูนชุ ล้วนมงคล ) ( นายรงุ้ ภธู ร ภาศรี ) ครชู านาญการ ครูผู้ชว่ ย .…….…/………………./………….... .…….…/………………./…………... ลงชอื่ .......................................... ผู้อนมุ ัติโครงการ ( นางพรสวรรค์ กนั ตง ) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอชาติตระการ .…….…/………………./…………... รับเรอ่ื งแล้ววนั ท่ี................................................... ............................................................................. ( นางสาวประยูร บญุ ประกอบ ) เจา้ หน้าท่ีฝาุ ยแผน

29 ภาพกจิ กรรม

30

31

32 จดั ทำโดย ท่ปี รกึ ษา ผอ.กศน.อาเภอชาตติ ระการ 1.นางพรสวรรค์ กันตง ครู ชานาญการ ๒.นายรงุ้ ภธู ร ภาศรี ครผู ชู้ ว่ ย ๓.นางสาวชมพนู ุช ลว้ นมงคล ---------------------------------------------------------------- สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดกิจกรรม 1.นางสาวภาณมุ าศ ยศปญั ญา ครูอาสาสมคั รฯ ๒.นางสาวประยรู บญุ ประกอบ ครูอาสาสมคั รฯ ------------------------------------------------------------ ผู้รับผิดชอบ/ ผเู้ รยี บเรียง/ ผจู้ ดั พมิ พร์ ปู เลม่ / ออกแบบปก นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาติตระการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook