Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปโครงการ ทช.1.65 ป่าแดง

สรุปโครงการ ทช.1.65 ป่าแดง

Description: สรุปโครงการ ทช.1.65 ป่าแดง

Search

Read the Text Version

ก คานา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอชาตติ ระการ ได้ ดาเนนิ การจดั โครงการ การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวิต สุขภาพดี ชีวมี สี ขุ ในวนั ที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕ ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ ๖ บ้านรม่ เย็น ตาบลป่าแดง อาเภอชาตติ ระการ จังหวัดพิษณุโลก ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอชาตติ ระการ หวังเปน็ อยา่ งยิ่งวา่ การสรปุ โครงการ การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวิต โครงการ การศกึ ษาเพอื่ พัฒนา ทักษะชีวิต สขุ ภาพดี ชีวมี ีสุข เล่มนี้ จะสามารถอานวยประโยชน์ให้แกผ่ ู้สนใจไดเ้ ป็นอยา่ งดี หากมีขอ้ เสนอแนะประการใด ทางคณะผ้จู ัดทา ยินดรี ับข้อเสนอแนะไวพ้ จิ ารณาปรับปรุง ดว้ ย ความขอบพระคณุ ย่ิง นายอษั ฎาพร พ่วงปน่ิ ครู กศน.ตาบลปา่ แดง

ข หนา้ ก เรื่อง ข คานา 1 สารบญั ๔ สว่ นท่ี 1 สรปุ ผลการดาเนนิ โครงการ ๕ สว่ นท่ี 2 วธิ ีการดาเนนิ งาน ๒๓ ส่วนที่ 3 เนือ้ หาสาระ ๒๘ ส่วนที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน ๓๑ ส่วนที่ 5 สรปุ ผลโครงการ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ภาคผนวก

๑ สรุปผลการดาเนินโครงการ โครงการ การศึกษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวิต สขุ ภาพดี ชีวีมสี ุข ************************************************************************************************** สว่ นท่ี 1 รายละเอียดโครงการ โครงการ การศึกษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชวี ติ สขุ ภาพดี ชีวมี ีสขุ แผนงาน งบประมาณ : การจัดการศกึ ษาตอ่ เนื่อง งบประมาณ ๔๖๐.- บาท ลกั ษณะโครงการ : ( / ) โครงการต่อเน่ือง ( ) โครงการใหม่ กลุม่ ผรู้ บั ผิดชอบ : การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง (การศึกษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะชีวติ ) 1. โครงการ การศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวิต สขุ ภาพดี ชวี ีมีสุข ๒. สอดคลอ้ งกบั นโยบาย และจุดเน้นการดาเนนิ งาน กศน. สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานกศน. มาตรฐานการศกึ ษาตอ่ เนื่อง มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรยี นการศึกษาต่อเนอื่ ง ๑.๑ ผ้เู รยี นการศกึ ษาตอ่ เนื่องมีความรู้ ความสามารถ และทักษะ และหรือคุณธรรม เป็นไปตามเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ๑.๒ ผจู้ บหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถนาความรูท้ ไี่ ดไ้ ปใช้ หรือประยุกต์ใชบ้ น ฐานค่านิยมรวมของสงั คม ๑.๓ ผู้จบหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนื่องท่ีนาความรู้ไปใชจ้ นเห็นเปน็ ประจกั ษห์ รอื ตวั อย่างท่ี ดี สอดคล้องกับนโยบาย และจดุ เนน้ การดาเนนิ งาน กศน. 2. ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.5 สง่ เสริมการจดั การศึกษาของผู้สูงอายุ เพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และ มี Life skill ในการดารงชีวิตท่ีเหมาะกับชว่ งวยั 3. หลกั การและเหตผุ ล การจัดการศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ มีความสาคญั ตอ่ การเรยี นร้ขู องผู้เรียนและการพัฒนา คณุ ภาพของประชาชน กระบวนการจัดการศึกษาท่ีสมบูรณ์จึงเปรียบเสมือนเหรียญสองด้าน ด้านหนึ่งคือการ พัฒนาผู้เรียนในด้านวิชาการการเรียนรู้ตามหลักสูตร อีกด้านหนึ่งคือการพัฒนาผู้เรียนทางด้านจิตใจ ด้าน คุณธรรม ท้ังนี้เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน มีการนาเอาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ การจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมความสามารถของบุคคล เพอ่ื ให้สามารถจัดการกับตนเองและส่ิงแวดล้อม เพื่อให้มีความสุขตามสภาพและความสุข ความปลอดภัยใน สงั คม ซึง่ เป็นการพัฒนาทักษะพ้ืนฐานของบุคคล โดยบูรณาการองค์ความรู้และกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ ใน ชีวิตประจาวันเข้าด้วยกันการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต เน้นส่งเสริมสนับสนุนให้จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ในรูปแบบตา่ งๆ ทีจ่ ะช่วยให้บุคคลสามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อมสาหรับการปรับตัวในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการดูแลสุขภาพ การใช้ กัญชงและกัญชาในการรักษาโรค ความปลอดภัยในชีวิตส่ิงแวดล้อม คุณธรรมจริยธรรม ผลกระทบจากการ

๒ พนันออนไลน์ ฯลฯ เพื่อให้สามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขหรือจะกล่าวง่ายๆ ทักษะชีวิตก็คือ ความสามารถในการแกป้ ญั หาทต่ี ้องเผชิญในชีวติ ประจาวนั ดังน้นั กศน.อาเภอชาติตระการ จงึ ไดจ้ ดั ทาโครงการ การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต สุขภาพดี ชีวี มสี ขุ เพ่ือให้ผู้สูงอายุ ได้มคี วามรู้ความเข้าใจในการปลูกกญั ชงและกญั ชาทถ่ี ูกกฎหมาย และการนาไปใช้ อยา่ งถกู วธิ ี การดูแลสุขภาพร่างกาใหม้ ีสมรรถภาพร่างกายทีแ่ ข็งแรงสามารถช่วยเหลอื ตัวเอง ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการทางกายภาพได้ตามสภาพความเปน็ อยู่ไม่มอี ุบัตภิ ัยหรอื อนั ตราย มสี ภาพแวดลอ้ มท่ีสง่ เสริม สุขภาพ และให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมทากจิ กรรมสายคล้องแมส ในวนั ท่ี ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๖๕ ณ ศาลา อเนกประสงค์ หมู่ ๖ บ้านร่มเย็น ตาบลปา่ แดง อาเภอชาตติ ระการ จงั หวัดพษิ ณโุ ลก 4. วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหผ้ ู้สูงอายุ มีความรคู้ วามเขา้ ใจในการปลูกกญั ชงและกัญชาและใช้กัญชงและกัญชาในการ รกั ษาโรค 2. .เพอ่ื ให้ผู้สงู อายุ มคี วามร้คู วามเข้าใจใน การดูแลสขุ ภาพรา่ งกาใหม้ ีสมรรถภาพรา่ งกายที่แข็งแรง สามารถช่วยเหลอื ตัวเอง 5. เป้าหมาย เชิงปรมิ าณ - ประชาชน(ผู้สูงอายุ) จานวน ๔ คน - บุคลากรที่เกีย่ วข้อง จานวน ๖ คน รวมท้งั สน้ิ ๑๐ คน เชิงคณุ ภาพ ผู้สูงอายุมีความร้คู วามเข้าใจในการปลูกกัญชงและกญั ชา และใชก้ นั ชงและ กัญชาในการรกั ษาโรค อยา่ งถูกวธิ ี ผ้เู ขา้ รบั การอบรมทากจิ กรรมสายคลอ้ งแมส 6. สถานที่ - ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ ๖ บ้านร่มเย็น ตาบลป่าแดง อาเภอชาติตระการ จงั หวดั พิษณุโลก 7. งบประมาณทไ่ี ด้รบั - ๔๖๐.- บาท 8. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ - กศน.อาเภอชาติตระการ - งานการศกึ ษาต่อเนื่อง กศน.อาเภอชาติตระการ จังหวัดพษิ ณุโลก - ครูอาสาสมัครฯ - ครู กศน.ตาบล ทร่ี ับผดิ ชอบ 9. เป้าหมายในการดาเนนิ โครงการ จานวน ๔ คน เป้าหมาย ผสู้ งู อายุและ ประชาชนทัว่ ไป ผลการดาเนินงาน ๕ คน ชาย - คน หญงิ ๕ คน

๓ ส่วนท่ี 2 วิธกี ารดาเนนิ การ ผ้ดู าเนนิ การจดั ทาโครงการ การศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะชวี ิต สุขภาพดี ชวี ีมีสุข ไดด้ าเนนิ การในการ อบรมเก็บรวบรวมข้อมูล และการวเิ คราะห์ข้อมูลดังนี้ การดาเนินการจดั กจิ กรรม 1. เตรยี มการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน - ประชุมวางแผนรูปแบบการจัดกจิ กรรม - เลือกกิจกรรมที่จะจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน - มอบหมายงานให้บุคลากรที่เก่ยี วขอ้ ง - ติดตอ่ ประสางานในการจดั กิจกรรม 2. วธิ กี ารดาเนินงาน - เขียนเสนอโครงการ - เสนอโครงการ - เตรียมการจัดกิจกรรมโครงการ 1. เตรยี มการก่อนการจัดกิจกรรมโครงการ - การจัดเตรียมเอกสารโครงการ - ประสานงานตดิ ต่อผูน้ าชุมชนในพืน้ ทเ่ี ปา้ หมาย - รวบเนือ้ หาทจี่ ะบรรยายในโครงการ - อ่นื ๆ 2. ตดิ ต่อประสานงานเครือขา่ ย จัดการกิจกรรมโครงการตามแผนที่วางไว้ - ลงทะเบยี นผู้เข้าร่วมการกิจกรรมโครงการ - วิทยากรให้ความเรอื่ งต่างๆตามกาหนดการ - ฝึกปฏิบตั ติ ามกาหนดการในโครงการ - สรุปกิจกรรมย่อย - ปิดโครงการ - สรปุ รายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการเปน็ รปู เลม่ - รายงานผลการจัดกจิ กรรมโครงการให้ผู้ท่ี เกย่ี วข้องรบั ทราบ

๔ ส่วนที่ 3 เนือ้ หาสาระ ผ้ดู าเนินการจดั ทาโครงการ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพดี ชีวีมีสุข ได้ใช้ส่ือใบ ความรู้ แบบบนั ทึกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่อื งดงั ต่อไปนี้ กญั ชง – กญั ชา และประวัติความเปน็ มา กญั ชง หรือ เฮมพ Cannabis sativa L.subsp. sativa) และกัญชา (Cannabis sativa L.subsp. indica)มชี ่อื ทางพฤกษศาสตร์เดียวกนั คือ Cannabis sativa L. เพราะมตี นกาเนิดมาจากพชื เดิมชนิดเดียวกัน ลักษณะภายนอกหรือสณั ฐานวทิ ยาของพชื ทั้งสองชนดิ นน้ั จงึ ไมแตกตางกนั หรอื มีความแตกตางกันนอยมากจน ยากในการจาแนก แตจากการทีพ่ ืชทง้ั สองชนิดนี้มีการใชประโยชนอยางกวางขวางมาเปนระยะเวลายาวนาน จึงทาใหมีการคัดเลือกพนั ธุเพื่อใหไดสายพันธุทมี่ ีคุณสมบตั ิดแี ละเหมาะสมที่สดุ ตรงตามวตั ถปุ ระสงคของการ ใชประโยชน จึงมคี วามแตกตางกันชัดเจนมากขนึ้ ระหวาง ตนกัญชาที่เปนยาเสพตดิ และกญั ชงทใี่ ชเปนพืชเส นใยในปจจบุ นั กญั ชง-กญั ชา เปนพืชเดิมทีข่ ้ึนอยูในเขตอบอุนของทวีปเอเชียสนั นษิ ฐานวา มีการกระจายพันธุเปนบริ เวณกวางอยูทางตอนกลางของทวปี ไดแกพ้นื ทที่ างตอนใต ของแควนไซบีเรยี ประเทศเปอรเซีย ทาง ตอนเหนอื ของประเทศอินเดียบรเิ วณแควนแคชเมียร และเชิงเขาหมิ าลยั และประเทศจีน เปนพชื ท่ีไดรับการ บันทกึ ไวในเอกสารเกาหลายเลม วามีการปลกู ใชประโยชนเปนพชื เสนใย และปลูกเปนพืชเสพติดมาแตดึกดา บรรพ ขอมลู ภูมปิ ญญาทองถิ่น ประวตั ิคาวากญั ชา-กัญชง คาวากญั ชาเปนคาเรียกเดิมทีม่ าจากภาษาอินเดีย ซง่ึ ชาวพ้ืนบานของ อินเดียไดนาพชื ชนิดนไ้ี ปใชประโยชนอยางแพรหลายท่ีสดุ ท้ังการเสพตดิ และเปนเสนใยมาตัง้ แตดึกดาบรรพ แลวจากนนั้ จงึ มีผูนามากระจายพันธุยงั ภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตจนถึงอนิ โดนีเซีย หมูเกาะในมหาสมุทร แปซฟิ ก และประเทศในยานเขตรอนและเขตอบอุนของโลก ท่ัวไปอยางแพรหลายในป -1279 กอนคริสต ศักราชไดมีบันทึกวาในประเทศจนี มกี ารปลกู กญั ชงเพือ่ เปนพชื ใชทาเสนใย และในสมัยโรมันไดมีการนาพืชชนดิ น้ีจากทวปี เอเชยี เขาไปปลูกในประเทศอิตาลีแลวจากนนั้ จึงแพรหลายท่ัวไปในทวปี ยุโรปและทั่วโลก การศึกษาลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ กัญชงและกัญชา เดมิ มีช่ือวทิ ยาศาสตรเดยี วกันคือ Cannabis sativa L. แตเดิมนักพฤกษศาสตรได จดั ใหอยใู นวงศตาแย (Urticaceae) แตตอมาภายหลังพบวามคี ุณสมบตั ิและลักษณะเฉพาะหลายประการที่ ตา่ งออกไปจากพชื ในกลุมตาแยมาก จึงไดรับการจาแนก ออกเปนวงศเฉพาะคอื (Cannabidaceae)ในปค.ศ. 1998 หรอื พ.ศ. 2541นีเ้ อง นักพฤกษศาสตรชาวอเมรกิ ัน ไดจาแนก กญั ชาและกญั ชง ออกจากกันโดย ลกั ษณะทางสัณฐานวิทยา(Morphology) และพฤกษเคมี (Phytochemistry) โดยใหชือ่ วทิ ยาศาสตรของกญั ชง Cannabis sativa L. subsp.sativa และกัญชา Canabis sativa L. subsp. indica (Lam.) E.Small & Cronquist ดวยลักษณะที่คลายคลึงกันทางพฤกษศาสตร และการใชประโยชน ทม่ี ีกรรมวิธีหลากหลายทาให กัญชาและกัญชงมกี ารเรยี กชือ่ ตางๆกันออกไปมากมายจนสบั สน อาทิกญั ชา Kanchaa, กัญชง Kanchong, กญั ชาจนี Kanchaa cheen (ทัว่ ไป); คุนเชา Khunchao (จีน); ปาง Paang, ยาพ้ี Yaa pee (ชาน และแมฮอง สอน) ยานอ Yaa no (กระเหรี่ยง แมฮองสอน); Ganja,Kancha (India and general); Marihuana, bhang (general); Hemp, Indian Hemp, Industrial Hemp(general) etc.

๕ วิธกี ารดูแลสุขภาพของผูส้ งู อายุ ข้อแนะนาจาก อ.นพ.สมบูรณ์ อนิ ทลาภาพร ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสงั คม คณะ แพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล ที่ไดเ้ ขียนบรรยายไวอ้ ย่างนา่ สนใจวา่ 1. เลือกอาหาร วัยนี้ร่างกายมีการใช้พลังงานน้อยลงจากกิจกรรมท่ีลดลง จึงควรลดอาหารประเภท แป้ง น้าตาล และไขมัน ให้เน้นอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะปลา และเพ่ิมแร่ธาตุท่ีผู้สูงอายุมักขาด ได้แก่ แคลเซียม สังกะสี และเหล็ก ซึ่งมอี ย่ใู นนม ถั่วเหลือง ผัก ผลไม้ ธญั พชื ต่างๆ และควรกินอาหารประเภท ต้ม น่ึง ย่าง อบ แทนประเภทผัด ทอด จะช่วยลดปริมาณไขมันในอาหารได้ นอกจากนี้ ควรหลีกเลี่ยงอาหารท่ี มรี สหวานจัด เคม็ จดั และด่มื นา้ สะอาดอย่างนอ้ ย 6-8 แกว้ ตอ่ วัน 2. ออกกาลงั กาย หากไม่มโี รคประจาตวั แนะนาให้ออกกาลังกายแบบแอโรบิกสัก 30 นาทีต่อครั้ง ทา ให้ได้สปั ดาหล์ ะ 3-4 ครั้ง จะเกิดประโยชน์ต่อหัวใจและหลอดเลือดอย่างมาก โดยขั้นตอนการออกกาลังกาย จะต้องค่อยๆ เริ่ม มีการยืดเส้นยืดสายก่อน แล้วค่อยๆ เพ่ิมความหนักขึ้นจนถึงระดับท่ีต้องการ ทาอย่าง ต่อเน่ืองจนถึงระยะเวลาที่ต้องการ จากนั้นค่อยๆ ลดลงช้าๆ และค่อยๆ หยุด เพ่ือให้ร่างกายและหัวใจได้ ปรบั ตวั 3. สัมผัสอากาศที่บริสุทธิ์ จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรคได้ อาจเป็นสวนสาธารณะใกล้ๆ สถานท่ี ท่องเที่ยว หรือการปรับภูมิทัศน์ภายในบ้านให้ปลอดโปร่ง สะอาด อากาศถ่ายเทสะดวก มีการปลูกต้นไม้ จัดเกบ็ สิ่งปฏกิ ลู ใหเ้ หมาะสม เพอ่ื ลดการแพรก่ ระจายของเชือ้ โรค และสามารถช่วยป้องกันโรคภมู แิ พ้ หรือหอบ หืดได้ 4. หลกี เล่ยี งอบายมุข ได้แก่ บุหร่ีและสุรา จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรค หรือลดความรุนแรงของโรค ได้ ทั้งลดคา่ ใช้จ่ายในการรักษา และยังช่วยปอ้ งกันปัญหาอุบัติเหตุ อาชญากรรมต่างๆ อันเป็นปัญหาใหญ่ของ สังคมในขณะนี้ 5. ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ โดยเลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลและโรคท่ีเป็นอยู่ ส่งเสริม สุขภาพใหก้ ล้ามเนือ้ มคี วามแขง็ แรง ปรบั สภาพแวดล้อมในบา้ นใหล้ ดความเสยี่ งต่อการเกดิ อบุ ตั เิ หตุหรือการหก ลม้ 6. ควบคุมน้าหนักตัวหรือลดความอ้วน โดยควบคุมอาหารและออกกาลังกายจะช่วยทาให้เกิดความ คล่องตัว ลดปัญหาการหกล้ม และความเสี่ยงต่อโรคต่างๆ เช่น โรคข้อเข่าเสื่อม และโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นตน้ 7. หลกี เลี่ยงการใช้ยาท่ีไม่เหมาะสม เช่น การซ้ือยากินเอง การใช้ยาเดิมท่ีเก็บไว้มาใช้รักษาอาการที่ เกิดใหม่ หรือรับยาจากผู้อื่นมาใช้ เน่ืองจากวัยนี้ประสิทธิภาพการทางานของตับและไตในการกาจัดยาลดลง ทาใหเ้ สย่ี งต่อการเกดิ พิษจากยาหรือผลขา้ งเคียงอาจมแี นวโน้มรนุ แรง และเกิดภาวะแทรกซ้อนเป็นอันตรายถึง ชีวิตได้ ฉะน้นั จึงควรปรึกษาแพทยก์ อ่ นใช้ยาจะดที ่ีสดุ 8. หมั่นสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ ของร่างกาย เช่น คลาได้ก้อน โดยเฉพาะก้อนโตเร็ว แผลเร้ือรัง มีปัญหาการกลืนอาหาร กลืนติด กลืนลาบาก ท้องอืดเร้ือรัง เบื่ออาหาร น้าหนักลด ไอเรื้อรัง ไข้เร้ือรัง เหนื่อยง่าย แนน่ หนา้ อกหรือถ่ายอจุ จาระผิดปกติ มีอาการท้องเสียเรื้อรัง ท้องผูกสลับท้องเสีย ถ้าอย่างนี้ล่ะก็ พามาพบแพทย์ดีท่ีสุด

๖ 9. ตรวจสุขภาพประจาปี แนะนาใหต้ รวจสมา่ เสมอเป็นประจาทกุ ปี หรืออย่างน้อยทุก 3 ปี โดยแพทย์ จะทาการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และอาจมีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพ่ือหาปัจจัยเส่ียงต่อโรคหลอด เลือดแข็ง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง ตรวจหาโรคมะเร็งที่พบบ่อย ได้แก่ มะเรง็ ลาไส้ มะเรง็ เต้านม มะเรง็ ปากมดลกู และยงั มีตรวจการมองเหน็ การได้ยิน ตลอดจนประเมินความเส่ียง ต่อการเกดิ อบุ ัตเิ หตุดว้ ย แนวทางสร้างสุขภาพจิตทดี่ ี การมีสุขภาพจิตที่ดี จะนาไปสูค่ วามสขุ สบายใจและสามารถจดั การกบั ความเครยี ดได้งา่ ยข้ึน แถมยงั ชว่ ยใหอ้ ายุยืนยาวยิ่งกว่าเดิมอีกดว้ ย เพราะฉะน้นั จะดกี ว่าไหมหากเรามาสรา้ งสขุ ภาพจติ ให้ดีต้ังแต่วันนี้ ซึ่งจะมีวิธีอย่างไรบ้าง เราก็ได้รวบรวมมาแนะนากันด้วยแต่ก่อนอ่ืนมาทาความเข้าใจกับสาเหตุท่ีก่อให้เกิด ปัญหาสขุ ภาพจติ ทไี่ ม่ดี และความทุกข์ใจกันกอ่ นดกี ว่า สาเหตทุ ที่ าใหส้ ขุ ภาพจติ แย่ โดยส่วนใหญ่แล้วสาเหตุที่ทาให้สุขภาพจิตแย่ลง ล้วนมาจากนิสัยแย่ๆ ของตัวเราเอง และการต้ัง ความหวังบางอย่างท่ีสงู เกนิ ไป เมอ่ื เจอกับความผดิ หวงั จึงทาให้สขุ ภาพจติ แยล่ งแบบไมท่ ันต้ังตัวเลยทีเดียว ซ่ึง ก็มีสาเหตดุ ังนี้ 1. ความเครียด ความเครยี ดสามารถเกิดขึน้ ไดก้ บั คนเราทุกคนและเกิดได้ทุกเวลา ขึ้นอยู่กับว่าเราจะ สามารถจัดการกบั ความเครียดไดด้ แี คไ่ หน โดยความเครียดกถ็ อื เป็นสาเหตุหนึ่งท่ีทาให้สุขภาพจิตแย่ลงเช่นกัน เพราะเม่ือเรามคี วามเครียด ก็จะส่งผลกระทบต่อจิตใจ ให้เกิดความวิตกกังวลและคิดมากอยู่ตลอดเวลา แถม ยังทาใหอ้ ารมณ์ไม่คงท่ี หงุดหงิดงา่ ยและขาดสมาธิที่จะทางานหรือทากิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวันอีกด้วย นอกจากนีค้ วามเครียดกเ็ ปน็ สาเหตุหนงึ่ ท่ีทาให้เกิดโรครา้ ยต่างๆ ไดเ้ ชน่ กัน 2. อยากมี อยากได้เหมือนคนอื่น หลายคนมกั จะลมื ไปว่าคนเรามีตน้ ทุนชีวิตที่ไมเ่ หมือนกัน จึงปล่อย ให้กิเลส ความอยากได้อยากมีเข้าครอบงา ซ่ึงนั่นก็ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตไม่น้อยเลยทีเดียว โดนขอแบ่ง ออกเป็น 2 กรณดี งั น้ี - กรณที ่ี 1 อยากได้เหมอื นคนอ่นื แตท่ าไม่ได้ เนื่องจากมีรายได้นอ้ ยจึงไมส่ ามารถตอบสนองควาท อยากของตวั เองได้ จงึ ก่อใหเ้ กดิ ความทกุ ข์ ทกุ ข์ใจท่ไี มส่ ามารถมีได้อย่างใครเขา ทกุ ข์ใจที่เห็นคนอื่นดีกว่า และ ทุกข์ใจจากความอิจฉา ริษยา นนั่ เอง - กรณีท่ี 2 อยากได้ จึงทาทุกวิถีทางเพื่อใหไ้ ด้มาซง่ึ ความต้องการ โดยไม่คานึงถึงผลกระทบทต่ี ามมา ซ่ึง ส่วนใหญจ่ ะนาเงนิ ท่ีมไี ปท่มุ กบั ความอยากได้หรือกู้ยืมมาเพ่ือให้ได้สงิ่ ท่ีต้องการ ผลทีต่ ามมาจึงเป็นปญั หา ความขดั สนทางการเงิน หรอื หนี้สนิ ซึง่ กจ็ ะก่อให้เกดิ ความเครยี ดและสขุ ภาพจิตที่แยล่ งตามลาดบั 3. ขี้ระแวงจนเกินไป จรงิ อยู่ท่ยี ุคสมยั นีเ้ ราไม่ควรไวใ้ จใครมากเกินไป เน่ืองจากรู้หน้าไม่รู้ใจ แต่หากข้ี ระแวงจนเกนิ ไปก็สง่ ผลตอ่ สุขภาพจิตได้เหมือนกัน เพราะจิตใจจะคิดพะวงอยู่แต่ความระแวง ไม่กล้าไว้วางใจ ใคร มีเพ่อื นก็กลวั เพื่อนจะคดิ ทรยศ หักหลงั เจอใครก็กลัวแต่เขาจะคดิ รา้ ย หรือมแี ฟนก็กลัวว่าแฟนจะมีคนอื่น ซ่ึงทุกสิ่งเหล่านี้ลว้ นทาให้จติ ใจของคนเราไม่สงบ และหากปลอ่ ยไว้นานๆ กอ็ าจก่อให้เกดิ โรคจิตเวชชนิดหน่ึงได้ เลยทเี ดยี ว 4. มองโลกในแงร่ ้าย คนท่ีมองโลกในแง่ร้าย มกั จะมชี ีวิตในแต่ละวนั ท่ีเตม็ ไปด้วยความเศร้าหมองและ หดหู่ เพราะคิดแต่ว่าคนอืน่ เป็นศตั รูกบั ตน และตนมกั จะเจอแต่เร่อื งรา้ ยๆ เขา้ มาในชีวิตเสมอ ซ่ึงการคิดแบบนี้ กจ็ ะเป็นการบ่นั ทอนจติ ใจของตัวเองเป็นอยา่ งมาก และแนน่ อนว่ามันทาลายสขุ ภาพจติ ไดม้ ากทีเดยี ว

๗ 5. ต้ังเป้าหมายไว้สูง เพื่อการประสบความสาเร็จไม่ว่าเรื่องอะไรก็ตาม คนเราควรมีเป้าหมายให้กับ ตัวเองเสมอ แต่อย่างไรก็ตามการตั้งเป้าหมายที่สูงเกินไป ก็อาจต้องเจอกับความผิดหวัง ซึ่งก็จะทาให้ สขุ ภาพจิตแย่ลงได้เหมือนกนั ดังนนั้ การตง้ั เป้าหมายทด่ี ี ควรกาหนดเปา้ หมายทีไ่ มไ่ กลเกินเออ้ื มจะดีกวา่ 6. เจอกบั เร่อื งทีก่ ระทบกระเทือนจิตใจ เมื่อตอ้ งเจอกับเร่ืองทีก่ ระทบกระเทอื นจิตใจอยา่ งรุนแรง ก็จะ ทาให้คนเรามีสุขภาพจิตที่แย่ลงอย่างเห็นได้ชัด โดยบางคนอาจถึงข้ันมีอาการป่วยทางจิตเวชได้เลยทีเดียว เนอื่ งจากจิตใจไมส่ ามารถยอมรบั กับส่ิงท่ีเกดิ ข้ึนได้ทันนัน่ เอง วธิ ีสร้างสุขภาพจิตท่ดี ี ไม่ว่าคุณกาลังมีปัญหาสุขภาพจิตที่แย่หรือไม่ การสร้างสุขภาพจิตท่ีดีก็เป็นเร่ืองท่ีสาคัญอยู่เสมอ เพราะนค่ี อื หนทางแหง่ ความสขุ ความสบายใจและเปน็ วิธีหนึ่งที่จะทาให้คุณมีสุขภาพท่ีดีและแข็งแรงตลอดไป น่นั เอง โดยสาหรับวธิ กี ารสร้างสุขภาพจิตท่ีดีกท็ าได้ไม่ยาก ซึ่งสามารถทาไดห้ ลายวธิ ดี งั นี้ 1. ผ่อนคลายความเครยี ด อย่างทกี่ ลา่ วไปแลว้ ขา้ งต้นวา่ สุขภาพจติ แยก่ เ็ กิดจากการที่เราไมส่ ามารถ จัดการกบั ความเครยี ดไดน้ ั่นเอง ดังน้นั เพ่ือสรา้ งสขุ ภาพจิตที่ดีให้กับตนเอง จงึ ตอ้ งเร่มิ จากการเรียนรวู้ ธิ ีผ่อน คลายความเครียดอย่างถกู หลกั ซงึ่ ก็มีวิธีการจดั การกับความเครียดดังน้ี – ออกกาลังกาย เพราะการออกกาลงั กายจะทาให้เราหยุดนึกถึงเรื่องเครียดๆ หรือเร่ืองที่กาลังกังวล ไปได้ระยะหน่ึง แถมยังทาให้กล้ามเน้ือที่หดตึงจากความเครียด ค่อยๆ คลายออก จึงส่งผลให้รู้สึกสบายและ ผ่อนคลายมากข้ึนอีกด้วย ท่ีสาคญั เม่ือเราออกกาลังกายบ่อยๆ ร่างกายจะมีการสร้างสารแห่งความสุขออกมา มากกวา่ เดิม จึงทาให้เรามสี ภาพจิตใจดีและจัดการกับความเครยี ดไดอ้ ย่างอยหู่ มดั – ทางานอดิเรก การจดจ่อกับส่ิงท่ีชอบ จะทาให้เราคลายความเครียดได้ในระดับหนึ่ง เน่ืองจากสิ่ง เหล่าน้ีจะทาให้เราเกิดความเพลิดเพลินและสามารถสร้างความสุข ความสบายใจได้เป็นอย่างดี ไม่แน่คุณ อาจจะคดิ ไอเดียดๆี ทจี่ ะแก้ปญั หากับส่ิงทเ่ี จออยไู่ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพก็ได้ – ทานช็อกโกแลต รู้ไหมว่าช็อกโกแลตก็มีส่วนช่วยในการผ่อนคลายความเครียดได้ดีเหมือนกัน แต่ ต้องเป็นดาร์กช็อกโกแลตเท่านั้น เพราะอุดมไปด้วยสารฟลาโวนอยด์ที่จะช่วยให้อารมณ์ดีและลดฮอร์โมน ความเครียดลงได้ แมว้ า่ รสชาติจะไมห่ วานมากนกั แต่ก็สามารถทานได้อย่างเพลิดเพลินและสร้างความสุขได้ดี ทีเดียว – ฟงั เพลง แค่ไดฟ้ ังเพลงเบาๆ จังหวะสบายๆ หรือจังหวะมันส์ๆ ก็จะทาให้สมองปลอดโปร่งและลืม ความเครียดได้อย่างง่ายดาย เพราะฉะนั้นลองหามุมสงบและเปิดเพลงเบาๆ ฟังดูสิ รับรองว่าจะทาให้ ความเครียดลดลง และสุขภาพจติ ดขี นึ้ อย่างแนน่ อน 2. ลดละ ความอยากได้อยากมี อาจดูเป็นเรื่องยาก แต่เช่ือเถอะว่าแค่มีความต้ังใจจริงก็สามารถทา ได้แน่นอน เพียงแค่พยายามลดความอยากได้อยากมีออกไปให้ได้มากท่ีสุด และตั้งตนเองอยู่บนพ้ืนฐานของ ความพอเพียง กล่าวคอื - ควรอยากมอี ยากได้ในส่ิงที่ตนเองสามารถเอื้อมถึงไดไ้ ม่ยาก โดยสิ่งน้ันจะต้องมีราคาท่ีไม่แพงเกินไป และม่นั ใจได้ว่าเมอ่ื ลงทนุ ซ้อื ไปแลว้ จะไม่สง่ ผลกระทบตอ่ การเงินและการใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน - ควรอยากมอี ยากไดเ้ ฉพาะของที่จาเปน็ และนามาใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริงเท่าน้ัน - ระลึกอยู่เสมอว่าคนเรามีต้นทุนชีวิตที่แตกต่างกัน จึงไม่จาเป็นท่ีจะต้องมีอย่างใครเขาและต้องไม่ อิจฉาคนอื่นด้วยหากสามารถทาได้ดังน้ีสุขภาพจิตของเราก็จะดีข้ึน และไม่เกิดความทุกข์ ความอิจฉาริษยา ถึงแม้ว่าจะเห็นผู้อน่ื ดีกวา่ ก็ตาม

๘ 3. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อ่ืน การสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นถือเป็นสิ่งท่ีสาคัญมาก เพราะ นอกจากจะทาใหเ้ กดิ มิตรภาพท่ีดีต่อกันแล้ว ยังดีต่อสุขภาพจิตอีกด้วย ยกตัวอย่างเช่น การทางาน หากเรามี เพอื่ นร่วมงานท่ีดีและสามารถเข้ากันกบั เพ่อื นร่วมงานได้ ก็จะทาให้เราทางานไดอ้ ย่างมคี วามสขุ สามารถพูดคุย สงั สรรคก์ บั เพอ่ื นร่วมงานได้ตลอด และเม่ือมีปัญหาอะไรก็ยังมีเพื่อนคอยให้คาปรึกษาและรับฟังเร่ืองราวของ เราอีกด้วย ซึ่งมันก็คงจะดีกว่าการไม่มีเพ่ือนเลยสักคนจริงไหม โดยคนท่ีปิดกั้นตนเองจากการสร้าง ความสมั พนั ธ์กบั เพื่อนร่วมงาน ก็จะกลายเป็นคนท่ีหดหู่ โดดเด่ียวและมักจะเกิดความระแวงว่าใครจะคิดไม่ดี กับตนเองเสมอ ซึ่งทง้ั หมดนี้ล้วนเป็นการทาลายสุขภาพจิตทั้งสิ้น ดังนั้นมาสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นและ มองโลกในแงด่ กี นั ดกี ว่า อยา่ งนอ้ ยกจ็ ะทาให้สขุ ภาพจิตดีขึ้นมากทเี ดยี ว 4. รจู้ กั ปลอ่ ยวาง เรอ่ื งบางเร่อื งหากเก็บเอามาคดิ หมกมุ่นตลอดเวลา ก็จะทาให้เกิดความเครียดและ ส่งผลต่อสขุ ภาพจติ ได้ ดังนน้ั จงึ ควรร้จู ักปล่อยวางบา้ ง ซง่ึ การปล่อยวางกส็ ามารถทาได้หลากหลายวิธดี ังน้ี – มองข้ามสิง่ เล็กๆ นอ้ ยๆ แมว้ ่าสงิ่ น้นั จะไมถ่ ูกตอ้ ง เพราะอย่างไรส่ิงผิดพลาดเหล่านั้นก็ไม่ได้ส่งผล กระทบอะไรมากมาย บางครั้งการมองข้ามส่ิงเล็กน้อยไปและให้ความสาคัญกับส่ิงที่สาคัญกว่า ก็จะช่วยสร้าง คณุ ภาพชีวิตทดี่ ีไดม้ ากทีเดียว และไม่ทาใหต้ อ้ งเสยี เวลากับการจมปลกั อยู่กบั สิ่งนั้นอกี ดว้ ย – อย่ากงั วลในความคดิ ของคนอน่ื มากเกนิ ไป เพราะนนั่ จะย่งิ ทาให้สุขภาพจิตของคุณแยล่ งไปเปล่าๆ ควรคิดอยู่เสมอว่าคนเรามีความคิดท่ีแตกต่างกัน ซึ่งแทนท่ีจะเครียดกับความคิดของคนอ่ืน มาปรับปรุงและ พฒั นาความคดิ ของตัวเองใหด้ ีขึ้นดกี วา่ ส่วนกรณีท่ีมีคนชอบและไมช่ อบเรานั้น กถ็ ือเป็นเร่ืองธรรมดา พวกเขา อาจจะเอาเราไปนนิ ทาบ้าง แต่หากไม่เก็บมาใสใ่ จ ก็ไม่มีอะไรที่จะมาบ่ันทอนความรู้สึกและสุขภาพจิตของเรา ได้อยา่ งแนน่ อน – อดีตทเ่ี ลวรา้ ยอยา่ ไปจดจา หลายคนมักจะเก็บเอาอดตี ท่เี ลวร้ายมาคิดอยู่เสมอ ซ่ึงน่ันก็เป็นการบ่ัน ทอนกาลังใจของตัวเองและส่งผลเสียต่อสุขภาพจิตเป็นอย่างมาก ไม่ว่าอดีตเหล่าน้ันจะเป็นเรื่องของความ ผดิ พลาดในการทางาน ชีวิตครอบครัวที่ย่าแย่ในวัยเด็ก หรืออดีตเร่ืองความรักก็ตาม เพราะฉะน้ันควรปล่อย วางซะให้หมด และมุ่งอยู่กับปัจจุบัน แค่ทาปัจจุบันให้ดี ความสุขและความสาเร็จก็จะอยู่ไม่ไกลเกินเอ้ือม แน่นอน – อยา่ เข้มงวดกบั ตารางชีวิตจนเกนิ ไป หลายคนมักจะกาหนดตารางชีวติ ในแต่ละวันไวแ้ บบเป๊ะๆ ซึ่ง เมื่อไม่สามารถทาได้ตามท่ีต้ังเป้าไว้ ก็จะทาให้เกิดความเครียดและกดดันในท่ีสุด ดังน้ันจึงควรปล่อยวางบ้าง โดยสร้างความยืดหยุ่นให้กับตารางประจาวันเล็กน้อย เม่ือไม่สามารถทาได้ตามเป้าหมายก็จะได้ไม่เกิด ความรูส้ ึกยา่ แย่จนเกนิ ไป 5. การทาสมาธิ ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยสร้างสุขภาพจิตท่ีดีได้ เพราะเมื่อทาสมาธิจะทาให้เราเกิด ความรูส้ ึกผอ่ นคลาย สบายใจและมีสติกับเร่ืองต่างๆ มากขน้ึ แถมยังช่วยจัดการกับความเครียด ความกังวลได้ อยา่ งดเี ยยี่ มอกี ด้วย โยการทาสมาธิน้ันอาจจะหาช่วงเวลาว่างๆ ตอนเช้า ตอนเย็นหรือก่อนนอนสักประมาณ 10–20 นาที แค่ทาเป็นประจา กจ็ ะช่วยเสริมสรา้ งสขุ ภาพจิตท่ีดีได้ หรือจะเป็นการฝึกสมาธิด้วยวิธีอ่ืนๆ ก็ได้ เหมอื นกนั 6. ดงึ ตัวเองออกจากสถานการณ์แย่ๆ เมือ่ กาลงั รู้สึกว่าตัวเองตกอย่ใู นสถานการณ์ย่าแย่ ไมว่ ่าจะเป็น เร่ืองงาน เร่ืองในครอบครัว เรื่องความรักหรือเร่ืองอ่ืนๆ ควรดึงตัวเองออกมาจากสถานการณ์เหล่าน้ันทันที เพราะสถานการณ์เหล่าน้ันจะทาให้เกิดความทุกข์ ไม่สบายใจ ความเศร้าหมอง ซ่ึงเมื่อปล่อยไว้นานๆ ก็อาจ นาไปสู่ภาวะโรคซึมเศร้าและปัญหาสุขภาพจิตอื่นๆ ได้ เพราะฉะนั้นตัดสินใจดึงตัวเองออกมาต้ังแต่วันน้ีจะดี ทีส่ ดุ โดยเฉพาะเร่ืองความรกั หากคดิ ว่าความรักกาลงั ไปไมร่ อด ไมว่ า่ จะเปน็ เพราะเขามีคนใหม่หรือนิสัยท่ีเข้า

๙ กันไม่ได้ ก็ควรจบความสัมพันธ์นั้นซะ แม้จะต้องใช้เวลาในการทาใจแต่ก็ไม่ทาให้สุขภาพจิตแย่ลงไปกว่าเดิม แน่นอน แนวทางปฏิบตั ิเพ่อื การป้องกนั โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) หรอื โควิด 19 สาหรับประชาชนท่ัวไปและกลุม่ เสีย่ ง แนวทางการดแู ลสุขอนามัยสว่ นบุคคล เพ่ือป้องกันและลดการแพรเ่ ช้อื โควดิ 19 1. ออกจากบา้ นเมื่อจาเป็นเทา่ นั้น หากออกนอกบ้านให้เวน้ ระยะหา่ งจากคนอ่ืนอยา่ งน้อย 1-2 เมตร หลกี เลี่ยงการเขา้ ไปในพื้นทที่ ี่มีคนหนาแน่น แออดั หรือพ้นื ทป่ี ดิ 2. สวมหน้ากากอนามยั หรอื หน้ากากผ้าตลอดเวลา เม่อื อยู่นอกบ้าน 3. ใช้รถสาธารณะเม่ือจาเปน็ เท่าน้นั และหลีกเล่ียงชวั่ โมงเรง่ ดว่ น หากต้องซ้อนมอเตอรไ์ ซดค์ วรน่ังหัน ขา้ ง 4. ล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนรับประทานอาหาร หลังใช้ส้วม หรือ หลังจากไอ จาม หรือหลงั สัมผสั จดุ เส่ียงทีม่ ีผู้ใช้งานร่วมกันในที่สาธารณะ เช่น กลอนหรือลูกบิดประตู ราวจับ หรอื ราวบันได เป็นตน้ 5. หลกี เลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหนา้ ตา ปาก จมกู โดยไม่จาเป็น 6. ผู้ทเี่ ป็นกลุ่มเสย่ี ง ผ้สู ูงอายุที่อายุมากกว่า 70 ปี ผู้มีโรคเร้ือรัง เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ โรคความ ดันโลหติ สูง โรคปอด และเด็กอายตุ ่ากวา่ 5 ปี ใหเ้ ล่ียงการออกนอกบา้ น เวน้ แตจ่ าเป็น ใหอ้ อกนอกบา้ น นอ้ ยทส่ี ดุ ในระยะเวลาส้ันทีส่ ดุ 7. แยกของใช้สว่ นตวั ไมค่ วรใชข้ องร่วมกบั ผูอ้ ่นื 8. เลอื กทานอาหารทีร่ ้อนหรือปรุงสกุ ใหม่ๆ ควรทานอาหารแยกสารับ หรอื หากทานอาหารร่วมกันให้ ใชช้ ้อนกลางสว่ นตัว ออกกาลงั กายสมา่ เสมอ และพกั ผอ่ นให้เพยี งพอ 9. หากเดนิ ทางกลับจากประเทศหรือพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด 19 ควรกักตัวเองท่ี บา้ น 14 วัน และปฏิบตั ิตามประกาศของกระทรวงสาธารณสขุ 10. หม่นั สังเกตอาการตนเอง หากมอี าการไอ เจบ็ คอ มีน้ามกู จมกู ไม่ได้กล่นิ ล้ินไมร่ บั รส ใหไ้ ปรับ การตรวจรกั ษาทโี่ รงพยาบาลใกลบ้ า้ นทันที แนวทางการปฏบิ ตั ิสาหรบั กลุม่ เส่ยี ง 1. คาแนะนาสาหรับผู้สูงอายุและผู้ทอ่ี ยูร่ ่วมกับผสู้ งู อายุ จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ท่ีมีการแพรร่ ะบาดเปน็ วงกวา้ ง ผสู้ งู อายุถอื เป็น ประชาชนกลุ่มเส่ียงต่อการเกดิ โรคทม่ี ีอาการรุนแรงมากกว่ากลุ่มวัยอนื่ การอยู่รวมกันเป็นครอบครัวที่มสี มาชกิ ในบ้านมปี ระวัติเดินทางมาจากพืน้ ทเ่ี สย่ี ง อาจทาใหผ้ ูส้ ูงอายตุ ิดเชอ้ื ได้ ดงั น้ัน ผู้สูงอายแุ ละบุคคลในครอบครัว ควรมีการปฏิบัตติ น เพ่อื การป้องกนั การรบั สัมผสั และแพรก่ ระจายเช้ือโรค ดงั นี้ 1.1 คาแนะนาสาหรับผ้สู ูงอายุ • ล้างมือบอ่ ยๆ ด้วยนา้ และสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ 70 % ทกุ คร้ังกอ่ นรับประทานอาหาร หลังเข้าส้วม หรอื เมื่อสัมผัสส่งิ ของรว่ มกบั ผูอ้ ื่น หลีกเลยี่ งการใชม้ อื สมั ผัสใบหน้า ตา ปาก จมกู • เลอื กทานอาหารทีร่ อ้ นหรือปรงุ สกุ ใหมๆ่ ควรทานอาหารแยกสารับ หรอื หากทานอาหาร ร่วมกนั ให้ใชช้ ้อนกลางสว่ นตัว ออกกาลังกายสม่าเสมอ และพักผ่อนใหเ้ พยี งพอ • หากไอ จาม ใช้ผา้ เชด็ หนา้ หรือกระดาษทิชชูปดิ ปากหรือใช้ขอ้ ศอกปดิ ปากจมูก และทา

๑๐ ความสะอาดมอื ดว้ ยสบแู่ ละนา้ หรอื เจลแอลกอฮอลท์ นั ที หรือใหส้ วมหนา้ กาก หลีกเลีย่ งการอยู่ ใกลช้ ิดผู้ท่มี อี าการหวดั มีไข้ ไอ จาม มีน้ามกู • งดออกจากบ้านหรอื เข้าไปในบริเวณทีม่ ีคนแออัด หากจาเปน็ ให้ใส่หน้ากากอนามยั หรือ หน้ากากผา้ ใช้เวลานอ้ ยที่สุด รักษาระยะหา่ งจากบุคคลอ่ืน 1 - 2 เมตร หลีกเลีย่ งการสวมกอด หรอื พูดคุยในระยะใกล้ชดิ กบั บคุ คลอื่น และเปลย่ี นมาใชก้ ารสือ่ สารทางโทรศัพท์ หรือ Social media เปน็ ต้น • หากมโี รคประจาตวั ได้แก่ โรคหวั ใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สงู หรอื โรคปอดอดุ ก้นั เร้อื รัง โรคมะเร็ง ควรจดั เตรยี มยาสารองสาหรบั รักษาโรคประจาตวั ของ ผู้สงู อายุไว้ ภายใต้ดลุ ยพินจิ ของแพทยห์ ากถึงกาหนดตรวจตามนดั ใหต้ ดิ ตอ่ ขอคาแนะนาจาก แพทย์ และให้ญาติไปรบั ยาแทน • ดูแลสภาพจติ ใจของตนเอง ไม่ใหเ้ ครียดเกินไป หาวธิ ผี ่อนคลายความเครียด เช่น การออกกาลังกาย ทเี่ หมาะสมกับสขุ ภาพ (เชน่ รามวยจีน โยคะ) ฟังเพลง ร้องเพลง หรอื เล่นดนตรี ปลูกตน้ ไม้ ทาสวน จัดห้อง ตกแต่งบา้ น เลน่ กับสตั ว์เลย้ี ง สวดมนต์ น่ังสมาธิ การฝกึ หายใจคลายเครียด ทาบุญตักบาตร เป็นต้น 1.2 คาแนะนาสาหรบั ผ้ทู ี่อยรู่ ่วมกับผู้สูงอายุ • หม่ันสงั เกตตนเอง วา่ มีอาการไข้ หรืออาการทางเดินหายใจหรอื ไม่ หากพบวา่ มีอาการดงั กล่าว ควรงดการใกลช้ ดิ กบั ผ้สู งู อายุ • หลีกเล่ียงการคลกุ คลีกับผู้สูงอายุโดยไมจ่ าเปน็ หาวิธกี ารสร้างความสัมพันธ์อันดี โดยรกั ษา ระยะหา่ งกบั ผ้สู งู อายุ • ผทู้ ท่ี าหน้าทีด่ แู ลผูส้ งู อายุ ตอ้ งสวมหนา้ กากอนามัยตลอดเวลา และลา้ งมือทกุ คร้งั กอ่ นให้ การดแู ล 2. คาแนะนาสาหรับผู้ที่มีโรคประจาตัว เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและ สมอง โรคระบบทางเดนิ หายใจ ผู้ทม่ี ีโรคประจาตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสงู โรคหลอดเลอื ดหัวใจและสมอง และโรคระบบ ทางเดนิ หายใจ หากมีการตดิ เชอ้ื โควดิ 19 จะมคี วามเสยี่ งตอ่ การป่วยรนุ แรงมากกวา่ คนท่วั ไป เพอ่ื เปน็ การ ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กิดการติดเชอ้ื หรือป่วยรุนแรง จงึ มีคาแนะนาดังนี้ 2.1 คาแนะนาสาหรับผูป้ ่วย • ให้อยใู่ นท่ีพกั อาศัย เว้นการคลุกคลใี กลช้ ดิ กับบุคคลที่ไม่ใช่ผ้ดู ูแล รักษาระยะหา่ งระหว่าง บุคคล 1 - 2 เมตร • หากตอ้ งออกนอกทพี่ กั อาศยั ไปในพ้นื ทที่ ่มี คี นแออัด หรอื โดยสารรถสาธารณะ ให้สวม หนา้ กากอนามยั หรือหน้ากากผ้าตลอดเวลา • งดใชข้ องหรอื เคร่ืองใชส้ ่วนตัวร่วมกับผอู้ นื่ • มหี มายเลขโทรศัพทต์ ดิ ตอ่ ของสถานพยาบาลท่รี กั ษาประจา เพอื่ ปรึกษาปญั หาสุขภาพ • ติดต่อสถานพยาบาลทรี่ ักษาประจาก่อนกาหนดนดั เพือ่ รับทราบขอ้ ปฏิบตั ิ เช่น ใหญ้ าตหิ รือ ผูอ้ น่ื ไปรบั ยาแทน ให้ไปรับยาใกล้บ้าน หรอื ให้ยา้ ยไปตรวจทีส่ ถานพยาบาลอ่ืน • รับประทานยาสม่าเสมอ และหมั่นตรวจสขุ ภาพตนเอง เช่น วดั ความดนั โลหิต หรือวัดระดบั นา้ ตาลในเลอื ดเองที่บ้าน

๑๑ • หากมีอาการป่วยฉุกเฉนิ ใหโ้ ทรเรยี ก 1669 2.๒ คาแนะนาสาหรบั ญาติผู้ใกล้ชิด และผ้ดู ูแล • สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่ให้การดูแล • ล้างมอื กอ่ นและหลงั การให้การดแู ล • หากมีอาการผดิ ปกติของระบบทางเดินหายใจ เชน่ มีนา้ มกู ไอ เจบ็ คอ หรือรสู้ กึ มไี ข้ ตอ้ งงด การใหก้ ารดแู ล หรอื อยู่ใกล้ชิด ควรมอบหมายผู้อื่นทาหน้าทีแ่ ทน • ทาความสะอาดเครอ่ื งมือหรอื อุปกรณท์ างการแพทย์ท่ีตอ้ งใชป้ ระจาร่วมกันในบา้ น เช่น เครอ่ื งวดั ความดนั โลหิตด้วยแอลกอฮอล

๑๒ การทาสายคล้องแมส อปุ กรณส์ ายคล้องแมสจากลกู ปดั ๑. ลกู ปัด ๒. เอน็ ยดื ๓. ตะขอกลา้ มปู ๔. ตวั ปิดปมแบบขาเดยี ว ๕. ตัวปิดปม ๖. สายวัด ๗. คมี ๘. กรรไกร วิธีทา ๑. ตดั เอ็นยืดออกมาขนาด 70 ซม. ที่จะเป็นขนาดของสายคลอ้ งคอ 65 ซม. และเผ่อื ไว้อกี 5 ซม.

๑๓ 2. ใส่ตวั ปดิ ปมแบบขาเดียวท่ีปลายเอน็ ดา้ นหน่งึ ๓. รอ้ ยตามดว้ ยตวั ปิดปมหรอื Stopper 4. ใช้คีมหนีบตวั ปิดปมใหแ้ บน

๑๔ 5. ตดั เอ็นสว่ นทเี่ กินออก 6. ใช้คมี หนีบตวั ปดิ ปมแบบขาเดยี ว เพื่อใชเ้ ปน็ จุดเริ่มตน้ ในการรอ้ ย 7. เรม่ิ รอ้ ยลกู ปดั ได้เลยจากปลายเอน็ อีกดา้ นหนง่ึ โดยจะเรม่ิ จากการร้อยลูกปัด

๑๕ 8. เมือ่ ร้อยเสรจ็ แลว้ ทีนกี้ ม็ าปดิ ปลายสายคล้องคอแบบเดยี วกบั จุดเริ่มต้นค่ะ ทเ่ี รม่ิ จากการใส่ตวั ปิด ปมแบบขาเดยี ว 9. จากน้นั ใสต่ ัวปดิ ปม 10. ดึงเอ็นยดื ออกมาเลก็ น้อย เพอ่ื ใหง้ า่ ยต่อการใช้คีมหนบี และใช้ครีมหนีบตวั ปิดปม

๑๖ 11. ตามด้วยใช้คมี หนบี ตัวปิดปมแบบขาเดียว 12. ใชก้ รรไกรตัดเอน็ ยืดสว่ นเกินออก 13. ใส่ตะขอกล้ามปทู ่ีจะใช้เกี่ยวกับหน้ากาก ท่ที าไดโ้ ดยการนาตะขอกา้ มปมู าใส่กับตัวปิดปมแบบขา เดยี วแบบน้ี

๑๗ 14. ใชค้ ีมหนีบให้ปลายตดิ ยึดชนกัน โดยทาแบบนี้กบั ปลายทัง้ 2 ด้านเลย 15. และแล้วเรากจ็ ะได้สายคล้องหนา้ กากแบบสมบูรณ์ออกมาแล้ว ซึง่ เพือ่ นๆ สามารถเปล่ยี นชนิด ของลูกปัดหรือความยาวไดต้ ามใจชอบเลยนะคะ

๑๘

๒๓ สว่ นท่ี 4 ผลการดาเนนิ งาน ผู้ดาเนินการจัดทาโครงการ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพดี ชีวีมีสุข ในการอบรม เก็บ รวบรวมขอ้ มูล และการวเิ คราะห์ข้อมูลดงั นี้ 1. เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการจัดกิจกรรม ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ ไดจ้ ากการกรอกแบบสอบถามของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม ข้อมูลทุตยิ ภมู ิ ศกึ ษาจากเอกสาร ขอ้ มลู ต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง 2. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 2.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2.1.1 ประชาชนหมู่ ๑๒ ตาบลบา้ นดง 2.2 วธิ ดี าเนินการในการตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ งานไดด้ าเนินการดังน้ี 2.2.1 เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการประเมิน เป็นแบบสอบถาม แบง่ ออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมลู สถานภาพทัว่ ไปเกยี่ วกับผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลเกีย่ วกับความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มโครงการฯ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ 2.2.2 วเิ คราะหข์ อ้ มูล ในการวเิ คราะห์ ดาเนนิ การดังนี้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู สถานภาพทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามวเิ คราะหผ์ ลด้วยการหาค่ารอ้ ยละ คา่ รอ้ ยละ (%) P =  100 เม่อื p แทน รอ้ ยละ F แทน จานวนผูต้ อบแบบสอบถาม n แทน จานวนทัง้ หมด ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู เก่ยี วกับการดาเนนิ งานตามโครงการ ใชค้ ่าเฉล่ยี x = เม่อื x แทน ค่าเฉลย่ี แทน จานวนผตู้ อบแบบสอบถาม x แทน จานวนทง้ั หมด n

๒๐ ตอนที่ 3 สรปุ ขอ้ เสนอแนะ โดยใช้ความถี่ ( f ) 2.2.3 การแปลผลข้อมูล ในการแปลความหมายของขอ้ มูล แปลผลจากค่าเฉล่ียเลขคณิต x โดยใช้หลกั เกณฑด์ งั นี้ ค่าเฉลยี่ เลขาคณติ x ความหมาย 1.00 – 1.50 น้อยท่ีสุด 1.51 – 2.50 น้อย 2.51 – 3.50 3.51 – 4.50 ปานกลาง 4.51 – 5.00 มาก มากที่สดุ 3. ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน จากการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามโครงการ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพดี ชีวีมีสุข ไดม้ ีการสารวจความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมท่มี ีตอ่ รูปแบบการจัดกิจกรรม จานวน ๕ คน โดยวิธีการตอบ แบบสอบถาม จึงได้มกี ารนาเสนอข้อมูลในรปู ตารางประกอบคาบรรยาย โดยแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล ตอนท่ี 2 ประเมนิ ความพงึ พอใจในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (กจิ กรรมการเรยี นการสอน) ตอนที่ 3 สรปุ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สรปุ เปน็ ประเดน็ ท่สี าคญั ตอนที่ 1 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามเพศ เพศ จานวน ( n = ๕ ) รอ้ ยละ ชาย - 0 หญิง ๕ 100 รวม ๕ 100 จากตารางท่ี 1 ผลการศกึ ษาพบวา่ ผเู้ ข้าร่วมอบรมทัง้ หมดเปน็ เพศหญงิ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ตารางท่ี 2 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามอายุ อายุ จานวน ( n = ๕ ) รอ้ ยละ ๑๕-๓๙ ปี - - ๔๐-๕๙ ปี - - ๖๐ ปี ขน้ึ ไป 5 5 ๑๐ รวม 100 จากตารางท่ี 2 ผลการศึกษาพบวา่ ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมท้ังหมด อายุ ๖๐ ปขี นึ้ ไป คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐

๒๑ ตารางท่ี 3 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามระดับการศึกษาสงู สดุ ระดบั การศกึ ษาสงู สดุ จานวน ( n = ๕ ) ร้อยละ ประถมศกึ ษา ๕ ๑๐๐ - มธั ยมศึกษาตอนต้น - - มธั ยมศึกษาตอนปลาย - - ๕ - อืน่ ๆ 100 รวม จากตารางที่ 3 ผลการศกึ ษาพบวา่ ผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาทั้งหมด คือ ระดับประถมศึกษา คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ ตารางท่ี 4 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามอาชีพ อาชีพ จานวน ( n = ๕ ) ร้อยละ เกษตรกร ๕ 100 รับจา้ ง - ค้าขาย - - นักเรยี น/นักศกึ ษา - - ๕ - รวม 100 จากตารางท่ี 4 ผลการศึกษาพบว่า ผ้เู ข้าร่วมอบรมท้ังหมดประกอบอาชีพเกษตรกร คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐

๒๒ ตอนที่ 2 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เก่ียวกบั ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ตารางท่ี 5 แสดงจานวน รอ้ ยละ และค่าเฉล่ยี ของความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมอบรมที่มีต่อการจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอน ระดบั ความพึงพอใจ/ความรูค้ วามเข้าใจ/การนาความรู้ไปใช้ ประเดน็ ความคิดเห็น มากทีส่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ดุ ค่าเฉล่ยี อยใู่ น 5 4 3 2 1 ระดบั ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจดา้ นเน้ือหา = 4.๕๐ 1.1 เนือ้ หาตรงตามความ ๓๒ - - - ๔.๖๐ มาก ตอ้ งการ (๖๐%) (๔๐%) ที่สดุ 1.2 เนอ้ื หาเพียงพอต่อความ ๒ ๓ - - - ๔.๔๐ มาก (๔๐%) (๖๐%) - ต้องการ - - - ๔.๔๐ มาก 1.3 เนื้อหาปัจจบุ ันทนั สมัย ๒๓ - - ๔.๖๐ มาก ที่สดุ (๔๐%) (๖๐%) 1.4 เนือ้ หามปี ระโยชน์ตอ่ การ ๓ ๒ นาไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (๖๐%) (๔๐%) ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม = 4.๓๒ 2.1 การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ น ๒ ๒ ๑ - - ๓.๖๐ มาก อบรม (๔๐%) (๔๐%) (๒๐%) 2.2 การออกแบบกิจกรรม ๒ ๓ - - - ๔.๔๐ มาก (๔๐%) (๖๐%) เหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 2.3 การจัดกิจกรรมเหมาะสม ๓ ๒ - - - ๔.๖๐ มาก กบั เวลา (๖๐%) (๔๐%) ทส่ี ดุ 2.4 การจัดกิจกรรมเหมาะสม ๓ ๒ - - - ๔.๖๐ มาก กับกลุ่มเป้าหมาย (๖๐%) (๔๐%) ที่สุด 2.5 วิธกี ารวัดผล/ประเมินผล ๒๓ - - - ๔.๔๐ มาก เหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ (๔๐%) (๖๐%) ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร = 4.๖๗ 3.1 วทิ ยากรมีความรู้ ๔๑ - - - ๔.๘๐ มาก ความสามารถในเร่ืองท่ถี ่ายทอด (๘๐%) (๒๐%) ที่สดุ 3.2 วทิ ยากรมเี ทคนคิ การ ๓๒ - - - ๔.๖๐ มาก ถา่ ยทอดใชส้ ่อื เหมาะสม (๖๐%) (๔๐%) ทสี่ ุด 3.3 วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มี ๓๒ - - - ๔.๖๐ มาก สว่ นรว่ มและซกั ถาม (๖๐%) (๔๐%) ท่ีสุด

๒๓ ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรคู้ วามเข้าใจ/การนาความรู้ไปใช้ ประเดน็ ความคิดเห็น มากทีส่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทส่ี ดุ คา่ เฉล่ยี อยใู่ น 5 4 3 2 1 ระดบั 4. ความถึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก = 4.๐๐ 4.1 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณแ์ ละ ๒ ๒ ๑ - - ๓.๖๐ มาก สงิ่ อานวยความสะดวก (๔๐%) (๔๐%) (๒๐%) 4.2 การสอ่ื สาร การสร้าง ๓ ๑ ๑ - - ๓.๘๐ มาก บรรยากาศเพือ่ ให้เกิดการเรยี นรู้ (๖๐%) (๒๐%) (๒๐%) 4.3 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื ๓ ๒ - - - ๔.๖๐ มาก และการแกป้ ญั หา (๖๐%) (๔๐%) ทสี่ ดุ 5. ความพงึ พอใจด้านการนาความรู้ไปใช้ = 4.๖๐ 5.1 สามารถนาความรู้ทีร่ ับไป ๔ ๑ - - - ๔.๘๐ มาก ประยุกต์ใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านได้ (๘๐%) (๒๐%) ทส่ี ุด 5.2 สามารถนาความรูไ้ ป ๓ ๒ - - - ๔.๖๐ มาก (๖๐%) (๔๐%) เผยแพร่/ถ่ายทอดแก่ชุมชนได้ ทีส่ ดุ 5.3 มคี วามม่นั ใจและสามารถ ๒ ๓ - - - ๔.๔๐ มาก นาความรทู้ ไี่ ด้รบั ไปใชไ้ ด้ (๔๐%) (๖๐%) รวมทงั้ สนิ้ ๔๙ ๓๘ ๓ - - 4.๔๑ มาก (๖๘.๐๖%) (๕๗.๗๘%) (๔.๑๗) คา่ เฉล่ยี ถ่วงน้าหนกั 4.๔๑ ระดับความคิดเหน็ มาก จากตารางที่ 5 จากการศกึ ษาพบวา่ ผ้เู ข้ารว่ มอบรมส่วนใหญ่มคี วามพงึ พอใจตอ่ การจัดโครงการ การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทักษะชวี ิต สขุ ภาพดี ชีวีมีสขุ โดยแยกเป็น ขอ้ ๆ ดังน้ี 1. ความพงึ พอใจด้านเนอ้ื หา อยู่ในระดับ มากที่สุด ค่าเฉล่ยี = 4.80 2. ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม อยใู่ นระดับ มากท่ีสุด ค่าเฉลีย่ = 4.70 3. ความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร อยู่ในระดับ มากที่สดุ ค่าเฉล่ีย = 4.77 4. ความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก อยู่ในระดบั มากท่ีสุด ค่าเฉลีย่ = 4.80 5. ความพงึ พอใจดา้ นการนาความร้ไู ปใช้ อยูใ่ นระดบั มากท่ีสดุ คา่ เฉลยี่ = 4.84 สรุปภาพรวมความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ทงั้ หมด อยู่ในระดับ มากท่ีสุด มคี ่าเฉลย่ี = 4.77 ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ ไม่มี หมายเหตุ คิดคะแนนเฉพาะทค่ี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดบั มากขน้ึ ไป

๒๔ ส่วนที่ 5 สรุปผลโครงการ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามโครงการ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพดี ชีวีมีสุข มี จดุ ประสงคใ์ นการจดั กิจกรรมดงั น้ี 4. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรคู้ วามเข้าใจในการปลูกกัญชงและกัญชาและใช้กัญชงและกัญชาในการรักษา โรค 2. .เพื่อให้ผู้สงู อายุ มีความรคู้ วามเขา้ ใจใน การดูแลสขุ ภาพร่างกาใหม้ ีสมรรถภาพรา่ งกายทีแ่ ข็งแรง สามารถช่วยเหลอื ตวั เอง การดาเนนิ การจดั กจิ กรรม 4.1 ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการ จานวน ๕ คน - เพศชาย จานวน - คน - เพศหญงิ จานวน ๕ คน 4.2 เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ในการอบรม ขอ้ มูลปฐมภูมิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ข้อมูลทุติยภูมิ ศึกษาจาก เอกสาร ข้อมลู ตา่ ง ๆ ที่เกย่ี วข้อง 4.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล วิเคราะหแ์ บบสอบถามในแตล่ ะส่วน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มูลส่วนบุคคล ตอนที่ 2 ประเมนิ ความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ สรุปเปน็ ประเดน็ ท่สี าคัญ 4.4 วธิ ีการวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะหข์ อ้ มูล ผจู้ ดั ได้ดาเนนิ การ 2 ลักษณะ คือ 4.4.1 การสังเคราะห์เชงิ คณุ ลักษณะ ผู้จัดกิจกรรมทาการสังเคราะห์โดยใช้วิธีการวิเคราะห์สังเคราะห์ 3 ด้าน คือ ข้อมลู ทัว่ ไป ขอ้ มลู ความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และขอ้ เสนอแนะ 4.4.2 การสังเคราะหก์ ารอบรมเชงิ ปรมิ าณ ในการสังเคราะห์การจัดกิจกรรมเชิงปริมาณ ผู้จัดกิจกรรมแยกออกเป็น คณุ ลักษณะต่าง ๆ ในการสงั เคราะหข์ อ้ มูลดงั นี้ ข้อมลู เกย่ี วกับเพศ / อายุ ขอ้ มูลระดบั ความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ข้อเสนอแนะ โดยเปรียบเทียบจานวนคนคิดเป็นร้อยละในแต่ละส่วนของข้อมูลการอบรม พร้อมการบรรยายประกอบ

๒๕ สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ผลการจัดกจิ กรรม ผลการจัดกิจกรรมโครงการ การศึกษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชวี ติ สุขภาพดี ชีวีมีสุข โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ สังเคราะห์จากแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และรูปแบบการจัดกิจกรรม สามารถสรปุ ได้ดังนี้ การสังเคราะหข์ อ้ มลู ทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง เนอ่ื งจากเป็นเพศที่อย่กู ับบา้ น ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เน่ืองจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุส่วน ใหญจ่ ะอยกู่ บั บา้ นไม่คอ่ ยได้ออกไปทาไร่ ทานา เพราะอายุเยอะแล้ว จึงมีผลทาให้ค่าร้อยละในช่วงอายุน้ีสูงกว่า ช่วงอายุอ่นื ๆ ผลการสังเคราะห์ทางจานวนของผู้เข้าร่วมกิจกรรม จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมมากกว่าเป้าหมายที่ กาหนดไว้ แต่งบประมาณการฝกึ อบรมมอี ยอู่ ยา่ งจากัด การวเิ คราะห์ข้อมลู เกย่ี วกบั ความพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จากการศกึ ษาพบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมสว่ นใหญ่มคี วามพงึ พอใจตอ่ การจดั โครงการ โดยแยกเปน็ ข้อๆ ดังนี้ 1. ความพงึ พอใจดา้ นเนือ้ หา อยู่ในระดับ มากที่สดุ ค่าเฉลยี่ = 4.80 2. ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม อย่ใู นระดบั มากท่ีสุด คา่ เฉล่ยี = 4.70 3. ความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร อยู่ในระดับ มากท่ีสดุ ค่าเฉลี่ย = 4.77 4. ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก อย่ใู นระดับ มากที่สุด ค่าเฉลยี่ = 4.80 5. ความพึงพอใจด้านการนาความรู้ไปใช้ อยู่ในระดับ มากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย = 4.84 สรปุ ภาพรวมความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ ทัง้ หมด อยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด มีค่าเฉลีย่ = 4.77 อภปิ รายผล จากการดาเนนิ การพบประเด็นสาคัญที่สามารถนามาอภิปรายผลไดด้ ังน้ี 1. ด้านกลุ่มเป้าหมาย 1.1 กลมุ่ เป้าหมายที่ผา่ นการอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจ เกย่ี วกบั การดูแลสุขภาพที่ดี การสร้าง สุขภาพจติ ทีด่ ี วิธกี ารปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 และมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั กัญชา กันชง 1.2 จากการดาเนนิ การพบว่ากลุ่มเป้าหมายเปน็ เพศหญิงท้ังหมด และสว่ นใหญ่เปน็ ผูส้ ูงอายุ 2. ด้านงบประมาณ 2.1 จากการดาเนินงานพบงบประมาณที่ใช้ในการจัดซ้ือวัสดุในการอบรม ไม่เพียงพอสาหรับ การจัดกจิ กรรม เนอ่ื งจากมผี ูเ้ ข้ารว่ มอบรมมากกวา่ เป้าหมายทก่ี าหนด 3. ด้านกจิ กรรมการเรยี นการสอน 3.1 จากการดาเนนิ งานพบวา่ กิจกรรมตอ้ งยดื หยุ่นตามสภาพกล่มุ เป้าหมาย เนื่องมาจากสภาพ ชวี ิตความเปน็ อยู่ของกลมุ่ เป้าหมายมสี ว่ นสาคัญต่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4. ดา้ นสถานที่ 4.1 การดาเนินการเป็นไปด้วยความสะดวก เรียบร้อย เนื่องจากได้ใช้ พ้ืนที่ของศาลา อเนกประสงค์ของหมูบ่ ้าน 4.2 การใช้สถานท่ีของผู้รับบริการเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนทาให้เกิดความเชื่อมโยง สัมพันธ์ กนั ระหวา่ ง กศน. และชุมชน

๒๖ ข้อมูลความตระหนัก ในการจดั กจิ กรรมโครงการ การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ิต สุขภาพดี ชีวีมีสุข เพ่ือให้ผู้รับการอบรมมี ความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับการดูแลสขุ ภาพที่ดี การสร้างสขุ ภาพจิตทด่ี ี วิธกี ารป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโค วิด-19 และมคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั กัญชา กัญชง และหันมาออกกาลงั กายมากขึน้ ขอ้ มูลการปฏบิ ตั ิ (ความพยายาม) ในการจัดกิจกรรมโครงการ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพดี ชีวีมีสุข ได้มีการประชุมวาง แผนการดาเนินโครงการ และใหก้ ลุ่มเปา้ หมายทเ่ี ข้ารับการอบรม ไดฝ้ กึ ทักษะการทาสายคลอ้ งแมส จุดเดน่ 1. กลมุ่ เปา้ หมายมคี วามรบั ผดิ ชอบ 2. กจิ กรรมตรงตามความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย 3. กลมุ่ เปา้ หมายมคี วามสนใจในกิจกรรมการเรียนการสอนดี 4. กลุ่มเปา้ หมายสามารถนาความร้ทู ี่ได้ไปใช้ในการดาเนินชวี ิตประจาวันของตนเองได้ จุดควรพฒั นา (จุดดอ้ ย) ผู้เรียนมีพื้นฐานในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ทาให้การเรียนรู้เป็นไปได้ช้ากว่ากาหนดที่ได้ตั้งไว้ และ ผเู้ ข้าร่วมอบรมเป็นผู้สูงอายุ จึงทาให้การทาสายคล้องแมสล่าช้า เพราะวัสดุอุปกรณ์มีขนาดเล็กจึงทาให้ยากต่อ การทาสายคลอ้ งแมส แนวทางการพฒั นา 1. ควรจดั หางบประมาณเพม่ิ เตมิ เพื่อวัสดุอปุ กรณ์จะได้เพยี งพอตอ่ ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม วธิ กี ารพัฒนา 1. สร้างความรู้ ความเข้าใจที่ดใี นการจัดโครงการการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพดี สร้างได้ ด้วยตนเอง ตาบลท่าสะแก กลุ่มเป้าหมายมีความรับผิดชอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้ผู้รับการ อบรม/ผู้รบั บริการเห็นความสาคญั 2. มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่นประกอบการเรียนรู้ในชุมชนจัดทาเป็นระบบ สารสนเทศเพ่ือใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ 3. ปรับวิธกี ารจัดกจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกับผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม ขอ้ เสนอแนะในการดาเนนิ การครงั้ ต่อไป 1. ควรทาการศึกษาปัญหาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้เคร่ืองมือท่ีหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลทีถ่ ูกตอ้ ง ตรงตามความตอ้ งการของประชาชนมากท่สี ุด 2. ควรศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในด้านต่าง ๆ ท่ีต้องการรับบริการจาก กศน. เพื่อให้ ทราบและสามารถจัดกิจกรรมตามหลกั สูตรให้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของทอ้ งถ่ินได้ 3. ควรศึกษาผลกระทบจาการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการศึกษาจาก กลมุ่ เป้าหมาย และชุมชน 4. ควรเก็บขอ้ มลู ของผเู้ ขา้ รับการอบรมหลงั การอบรมดว้ ยทุกครัง้

๒๗ ภาคผนวก ภาพกจิ กรรมการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทกั ษะชีวติ

๒๘ โครงการ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ สขุ ภาพดี ชีวีมสี ุข ในวนั ท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕ ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ ๖ บา้ นร่มเยน็ ตาบลป่าแดง อาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก

๒๙ โครงการ การศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชวี ติ สุขภาพดี ชีวมี ีสุข งบประมาณ ๒,๔๑๕.- บาท แผนงาน งบประมาณ : การจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง ( ) โครงการใหม่ ลกั ษณะโครงการ : ( / ) โครงการต่อเนื่อง กลุ่มผู้รับผิดชอบ : การศกึ ษาต่อเน่อื ง ๑. โครงการ การศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิต สขุ ภาพดี ชีวีมีสุข ๒. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนนิ งาน กศน. สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานกศน. มาตรฐานการศกึ ษาต่อเน่อื ง มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาตอ่ เนือ่ ง ๑.๑ ผู้เรยี นการศึกษาต่อเนือ่ งมีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะ และหรือคุณธรรม เป็นไปตามเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ๑.๒ ผู้จบหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนือ่ งสามารถนาความรทู้ ่ไี ดไ้ ปใช้ หรอื ประยุกต์ใชบ้ นฐาน ค่านยิ มรวมของสังคม ๑.๓ ผูจ้ บหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนอ่ื งทีน่ าความรไู้ ปใชจ้ นเหน็ เปน็ ประจักษ์หรือตัวอย่างทด่ี ี สอดคล้องกบั นโยบาย และจดุ เน้นการดาเนินงาน กศน. 2. ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.5 ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาของผ้สู ูงอายุ เพ่ือให้เปน็ Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดารงชีวติ ที่เหมาะกับชว่ งวยั ๓. หลกั การและเหตุผล การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต มีความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนาคุณภาพ ของประชาชน กระบวนการจัดการศึกษาที่สมบูรณ์จึงเปรียบเสมือนเหรียญสองด้าน ด้านหนึ่งคือการพัฒนา ผ้เู รียนในด้านวชิ าการการเรยี นรู้ตามหลกั สูตร อีกดา้ นหน่ึงคือการพัฒนาผ้เู รียนทางดา้ นจติ ใจ ด้านคุณธรรม ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน มีการนาเอาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติ การจดั กระบวนการเรียนรเู้ พือ่ ส่งเสรมิ ความสามารถของบุคคล เพ่อื ใหส้ ามารถจัดการกับ ตนเองและส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือใหม้ ีความสุขตามสภาพและความสขุ ความปลอดภยั ในสงั คม ซ่ึงเปน็ การพัฒนาทักษะ พ้ืนฐานของบุคคล โดยบูรณาการองค์ความรู้และกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ ในชีวิตประจาวันเข้าด้วยกันการจัด การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต เนน้ ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรปู แบบต่างๆ ท่จี ะชว่ ยให้บุคคล สามารถเผชิญสถานการณต์ ่างๆ ทเ่ี กิดข้นึ ในชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และเตรียมความพร้อมสาหรับ การปรบั ตวั ในอนาคต ไม่วา่ จะเปน็ เรื่องการดูแลสขุ ภาพ การใช้กัญชงและกัญชาในการรักษาโรค ความปลอดภัย ในชวี ติ สิ่งแวดล้อม คุณธรรมจริยธรรม ผลกระทบจากการพนันออนไลน์ ฯลฯ เพือ่ ใหส้ ามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุขหรือจะกลา่ วง่ายๆ ทักษะชีวติ ก็คือความสามารถในการแกป้ ญั หาที่ต้องเผชิญในชีวติ ประจาวัน ดงั นนั้ กศน.อาเภอชาตติ ระการ จึงได้จัดทาโครงการ การศึกษาเพือ่ พัฒนาทกั ษะชวี ติ สขุ ภาพดี ชีวีมี สุข เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้มีความรูค้ วามเข้าใจในการปลกู กญั ชงและกญั ชาท่ถี ูกกฎหมาย และการนาไปใชอ้ ย่าง ถูกวิธี การดูแลสุขภาพรา่ งกาใหม้ ีสมรรถภาพรา่ งกายที่แขง็ แรงสามารถชว่ ยเหลือตวั เอง ตอบสนองต่อความ ต้องการทางกายภาพได้ตามสภาพความเป็นอยไู่ มม่ อี บุ ตั ิภัยหรืออันตราย มีสภาพแวดล้อมที่สง่ เสริมสุขภาพ และ

๓๐ ให้ผู้เข้ารับการอบรมทากิจกรรมสายคล้องแมส ในวันที่ ๑๗ มถิ นุ ายน ๒๕๖๕ ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ ๖ บ้านรม่ เย็น ตาบลป่าแดง อาเภอชาติตระการ จังหวดั พิษณุโลก ๔. วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ ใหผ้ ู้สูงอายุ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในการปลูกกญั ชงและกญั ชาและใช้กัญชงและกัญชาในการรกั ษา โรค 2. .เพือ่ ให้ผู้สูงอายุ มีความรู้ความเขา้ ใจใน การดูแลสุขภาพรา่ งกาใหม้ ีสมรรถภาพรา่ งกายทแี่ ข็งแรง สามารถชว่ ยเหลือตัวเอง ๕. เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ - ประชาชน จานวน ๒๑ คน - บุคลากรท่ีเก่ียวข้อง จานวน ๖ คน รวมทง้ั สิ้น ๒๗ คน เชงิ คณุ ภาพ ผู้สงู อายุมคี วามรคู้ วามเข้าใจในการปลูกกัญชงและกญั ชา และใช้กันชงและ กัญชาในการรกั ษาโรค อย่างถูกวธิ ี ผเู้ ขา้ รบั การอบรมทากิจกรรมสายคลอ้ งแมส ๖. วธิ ีการดาเนนิ งาน กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย พื้นท่ี ระยะเวลา งบ เปา้ หมาย ดาเนินการ ๖ มิ.ย. ประมาณ ตาบลป่าแดง ๖๕ ๑. สารวจความต้องการของ - เพื่อกาหนด - ผูส้ งู อายุ - จานวน - กศน.อาเภอ ๖ มิ.ย. - กลมุ่ เปา้ หมาย กลมุ่ เป้าหมาย/พนื้ ที่ ๒๑ คน ชาติตระการ ๖๕ - ดาเนินงาน กศน.อาเภอ ๗ มิ.ย. ชาติตระการ ๖๕ ๒,๔๑๕.- ๒. ประชมุ วางแผนทางาน / - เพือ่ สร้างความ - บคุ ลากร จานวน ตาบลปา่ แดง ๗ ม.ิ ย. เสนอโครงการ เขา้ ใจใหก้ บั บคุ ลากร กศน.อาเภอ ๖ คน ณ ศาลา ๖๕ อเนกประสงค์ - ออกแบบกิจกรรม ชาติตระการ หมู่ ๖ ตาบล ๑๗ ม.ิ ย. ปา่ แดง อาเภอ ๖๕ การเรียนรู้ /การ ชาติตระการ จงั หวัดพษิ ณุโลก ดาเนนิ งาน ๓.จดั ทาโครงการ - เพ่อื ขออนุมัติ - ครู กศน. - จานวน ขออนุมตั โิ ครงการ โครงการ ตาบล ๖ คน ๔. ประสานงานเครือขา่ ย - เพอ่ื ประสานความ - ภาคี จานวน ร่วมมือของ เครือขา่ ย ๑ แหง่ เครือขา่ ย - ประชาชน ๕. ดาเนนิ การจดั กจิ กรรม 1. เพอ่ื ใหผ้ ู้สูงอายุ - ผสู้ งู อายุ จานวน - ให้ความร้คู วามเขา้ ใจใน มคี วามรคู้ วาม ๒๑ คน การปลกู กญั ชงและกัญชา เขา้ ใจในการปลกู และใช้กญั ชงและกัญชาใน กญั ชงและกัญชา การรกั ษาโรค 2. เพ่ือใหผ้ ู้สงู อายุ - ใหม้ ีความรกู้ ารดแู ล มคี วามรคู้ วาม สขุ ภาพร่างกาใหม้ ี เข้าใจในการใชก้ ญั สมรรถภาพรา่ งกายท่ี ชงและกัญชาในการ แขง็ แรงสามารถช่วยเหลือ รักษาโรค

๓๑ กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่ม เปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบ เปา้ หมาย ดาเนนิ การ ประมาณ ตวั เอง - สอนวธิ ีการสายคลอ้ งแมส - กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน ๖. นเิ ทศ /ตดิ ตาม - เพ่ือนาผลการ - บคุ ลากร จานวน ณ ศาลา ๑๗ มิ.ย. - ประเมนิ ผลปฏิบตั ิงาน ประเมินไปปรบั ปรงุ กศน.อาเภอ ๖ คน อเนกประสงค์ ๖๕ - ๗. สรปุ ผล และรายงานผล การปฏิบัติงานต่อไป ชาตติ ระการ หมู่ ๖ ตาบล ๒๐ ม.ิ ย. การปฏิบตั ิงาน ป่าแดง อาเภอ ๖๕ - เพอื่ สรุปผล - บุคลากร จานวน ชาติตระการ ๖ คน โครงการฯ กศน.อาเภอ จังหวดั พษิ ณโุ ลก กศน.อาเภอ ชาติตระการ - เพ่อื เผยแพร่ผลการ ชาติตระการ ปฏบิ ตั ิงาน ๗. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ แผนงาน: พื้นฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ผลผลติ ท่ี 4 ผูร้ บั บริการ การศกึ ษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศกึ ษานอกระบบ งบดาเนินงาน การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะชีวิต จานวน ๒,๔๑๕ บาท - คา่ อาหารว่างช่วงเชา้ ๒๑ คน x ๒๕ บาท x ๑ มือ้ จานวน ๕๒๕ บาท - ค่าวัสดุฝกึ จานวน ๑,๖๙๐.- บาท - ค่าถ่ายเอกสาร จานวน ๒๐๐.- บาท รวมทงั้ สิ้น ๒,๔๑๕ บาท หมายเหตุ: ถวั เฉล่ียจา่ ยตามจริงในแต่ละกจิ กรรม ๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ (ต.ค .- ธ.ค. ๖๓) (ม.ค. - มี.ค. ๖๔) (เม.ย. - มิ.ย. ๖๔) (ก.ค. - ก.ย. ๖๔) ดาเนินการจดั กิจกรรม - ๒,๔๑๕.- - -ให้ความรู้ความเข้าใจในการปลกู กญั - ชงและกญั ชา และใชก้ ญั ชงและกญั ชา ในการรกั ษาโรค -ใหม้ คี วามรู้การดูแลสุขภาพร่างกาให้ มีสมรรถภาพร่างกายที่แขง็ แรง สามารถชว่ ยเหลือตวั เอง - สอนวธิ ีการสายคล้องแมส - กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น คณะผจู้ ัดทา

๓๒ ท่ีปรกึ ษา นางพรสวรรค์ กนั ตง ผู้อานวยการ .กศน.อาเภอชาตติ ระการ นางสาวชมพนู ุช ลว้ นมงคล ครผู ู้ชว่ ย ผูส้ ง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดกิจกรรม วา่ ท่ี พ.ต.บุญสง่ วันชน่ื ครอู าสาสมคั รฯ ผรู้ ับผิดชอบ/ผเู้ รยี บเรียง/จัดพิมพ์รปู เล่ม/ออกแบบปก นายอัษฎาพร พ่วงป่ิน ครู กศน.ตาบลปา่ แดง