Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปกายจิตสมอง2

สรุปกายจิตสมอง2

Description: สรุปกายจิตสมอง2

Keywords: สรุป โครงการผู้สูงอายุ พัฒนากายจิต สม

Search

Read the Text Version

1

2 ก คานา ตามท่ีรัฐบาลกาหนดนโยบายในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ผู้สูงอายุมีอาชีพเสริม มีรายได้และมี สุขภาพร่างกายแข็งแรง โดยให้ทุกภาคส่วน จะต้องร่วมมือกัน ในการจัดกิจกรรมให้กับผู้สูงอายุน้ัน ทั้งน้ี กระทรวงศึกษาธิการได้มุ่งเน้นให้ร่วมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตสาหรับผู้สูงอายุ เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงในการ ขับเคล่ือนนโยบายสร้างความเข้มแข็งของสังคม ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและอบายมุข ฉะนั้นเพ่ือให้การดาเนินงาน เป็นไปตามนโยบายและบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ น้นั สังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วจากระบบเกษตรกรรมไปสู่ระบบอุตสาหกรรมทาให้เกิ ด ภาวะที่มีการแข่งขันกันมากขึ้น ต่างคนต่างอยู่มากข้ึน พึ่งพาอาศัยกันน้อยลงครอบ ครัวเปล่ียนแปลงจากการอยู่กัน เป็นครอบครัวใหญ่มีปู่ย่าตายาย พ่อแม่ลูก กลายเป็นครอบครัวเล็กๆ ลาพังพ่อแม่ลูก ทาให้ผู้สูงอายุขาดความสนใจ จากลูกหลาน นอกจากนี้ ภาระหน้าที่ทางสังคมท่ีเคยกระทามาก็ขาดหายไปจะเน่ืองจากเกษียณอายุหรือจากบุตร หลานไมอ่ ยากใหท้ างานตอ่ ไปด้วยความหวงั ดีว่าทางานหนักมานานแล้ว สมควรท่ีจะพักผ่อนให้สบายก็ตาม การขาด ภาระหน้าท่ีความรับผิดชอบในสังคมนี้ อาจเป็นเหตุให้กระทบต่อความรู้สึกในคุณค่าของผู้สูงอายุเอง ทาให้เกิด ความรูส้ ึกน้อยใจ เสียใจ เบ่ือหน่าย แยกตวั ออกจากสังคมได้ กศน.ตาบลชาติตระการ จึงได้จัดทาโครงการตามนโยบายและ จัดทาสรุปผลการจัดโครงการให้ ผู้บริหารและบุคคลท่ีสนใจได้ทราบในภาพรวม โดยประมวลรายละเอียดและผลการจัดโครงการในครั้งน้ีไว้ หากมี ข้อผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทาขออภัยมา ณ โอกาสน้ี นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาตติ ระการ มีนาคม ๒๕๖๔

3 ข หนา้ สารบัญ 1 1 เรื่อง ๓ - สรปุ ผลการดาเนินงาน ๔ - สว่ นที่ ๑ รายละเอยี ดโครงการ 14 - สว่ นที่ ๒ วิธกี ารดาเนนิ การ ๒๐ - ส่วนที่ ๓ เนื้อหาสาระ - สว่ นที่ ๔ ผลการดาเนนิ งาน 24 - สว่ นท่ี ๕ สรุปผลโครงการ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ภาคผนวก - โครงการฯ - ภาพกจิ กรรม - แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ - แบบตดิ ตามผู้เรียนหลงั จบหลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง - จดั ทาโดย

4 สรุปผลการดาเนนิ โครงการ โครงการการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพ่อื คงพฒั นาการทางกาย จิต และสมอง ของผู้สงู อายุ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ *************************************************************************************************** สว่ นท่ี 1 1. หลักการและเหตุผล ตามที่รัฐบาลกาหนดนโยบายในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ผู้สูงอายุมีอาชีพเสริม มีรายได้และมีสุขภาพ ร่างกายแข็งแรง โดยให้ทุกภาคส่วน จะต้องร่วมมือกัน ในการจัดกิจกรรมให้กับผู้สูงอายุน้ัน ท้ังน้ี กระทรวงศึกษาธิการได้มุ่งเน้นให้ร่วมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตสาหรับผู้สูงอายุ เพื่อเป็นส่วนหน่ึงในการ ขับเคลื่อนนโยบายสร้างความเข้มแข็งของสังคม ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและอบายมุข ฉะน้ันเพ่ือให้การดาเนินงาน เปน็ ไปตามนโยบายและบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ นน้ั สงั คมทม่ี ีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ จากระบบเกษตรกรรมไปสู่ระบบอุตสาหกรรมทาให้เกิดภาวะท่ีมีการ แขง่ ขันกันมากข้ึน ต่างคนต่างอยู่มากขึ้น พึง่ พาอาศัยกนั นอ้ ยลงครอบ ครัวเปลี่ยนแปลงจากการอยู่กันเป็นครอบครัว ใหญ่มีปู่ย่าตายาย พ่อแม่ลูก กลายเป็นครอบครัวเล็กๆ ลาพังพ่อแม่ลูก ทาให้ผู้สูงอายุขาดความสนใจจากลูกหลาน นอกจากนี้ ภาระหน้าท่ที างสงั คมทีเ่ คยกระทามาก็ขาดหายไปจะเนื่องจากเกษียณอายุหรือจากบุตรหลานไม่อยากให้ ทางานตอ่ ไปด้วยความหวงั ดีว่าทางานหนักมานานแลว้ สมควรท่ีจะพักผ่อนให้สบายก็ตาม การขาดภาระหน้าที่ความ รบั ผิดชอบในสังคมน้ี อาจเป็นเหตใุ หก้ ระทบตอ่ ความรู้สกึ ในคณุ คา่ ของผูส้ ูงอายุเอง ทาให้เกิดความรู้สึกน้อยใจ เสียใจ เบ่ือหน่าย แยกตัวออกจากสงั คมได้ ปัญหาทางด้านจิตใจ มักจะเกิดจากความรู้สึกสูญเสียโดยเฉพาะเก่ียวข้องกับความสามารถของตนเอง เช่น การเคยเป็นทพี่ ่งึ เป็นผ้นู าให้กับคนอ่นื การเปน็ ท่ียอมรับและยกย่องจากคนข้างเคียงเพ่ือนฝูงหรือสังคมการขาดที่พึ่ง เช่น ผู้ใกล้ชิด เพ่ือนสนิทถึงแก่กรรม เป็นต้น นอกจากนี้ การท่ีสุขภาพไม่แข็งแรงพอที่จะปฏิบัติภารกิจต่างๆใน ชวี ติ ประจาวนั ได้ ขาดการตดิ ต่อไปมาหาสู่กับผ้อู น่ื บุตรหลานก็เติบโตมีครอบครัวแยกย้ายกันไป ทาให้เกิดความรู้สึก เหงา ว้าเหว่ ไม่สบายตามร่างกาย ปวดเม่ือย ไม่มีแรง นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ปัญหาทางด้านสังคม ก็เป็นอีกด้าน หนงึ่ ทีก่ อ่ ให้เกดิ ความเครียดทางจติ ใจไดม้ าก ดงั นน้ั กศน.ตาบลชาตติ ระการ จงึ ได้จัดทาโครงการการจัดและสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพ่ือคง พัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลตนเองได้ท้ังทางร่างกายและจิตใจและสมอง และดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ในวันท่ี ๑๐ มนี าคม ๒๕๖๔ ณ วดั ชาตติ ระการ ม.๑ ต.ชาตติ ระการ อ.ชาตติ ระการ จังหวดั พษิ ณุโลก ๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอื่ ให้ผ้สู งู อายุมคี วามรู้ความเข้าใจสามารถดูแลตนเองได้ทัง้ ทางรา่ งกายและจิตใจและสมอง ๒. เพือ่ สง่ เสริมใหผ้ ูส้ งู อายุมีความรูเ้ ก่ียวกบั การดแู ลสุขภาพของตนเอง 3. เปา้ หมายของตัวชี้วดั ความสาเรจ็ จานวน ๔๐ คน เชิงปริมาณ - กลมุ่ เปาู หมายประชาชนทั่วไป จานวน ๔ คน - วิทยากร/บคุ ลากรทเ่ี ก่ียวข้อง รวม ๔๔ คน

5 เชงิ คุณภาพ ผู้สงู อายมุ ีความรู้ความเข้าใจสามารถดแู ลตนเองไดท้ ง้ั ทางรา่ งกายและจิตใจและสมอง มี ความรู้เกย่ี วกบั การดแู ลสขุ ภาพของตนเอง ทายาดมสมนุ ไพรไดแ้ ละดารงชวี ติ ในสงั คมได้อย่างมีความสุข 4. สถานท่ี - ณ วัดชาติตระการ ม.๑ ต.ชาตติ ระการ อ.ชาตติ ระการ จงั หวัดพษิ ณุโลก วันท่ี ๑๐ มนี าคม ๒๕๖๔ 5. งบประมาณทีไ่ ด้รับ ๒,๘๐๐.- บาท 6. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ - งานการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชาติตระการ - ครู กศน.ตาบลชาติตระการและครู อาสาสมคั รฯ

6 สว่ นท่ี 2 วธิ กี ารดาเนินการ ผู้ดาเนนิ การจัดทาโครงการการจัดและสง่ เสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวติ เพือ่ คงพฒั นาการทาง กาย จติ และสมอง ของผ้สู งู อายุ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ได้ดาเนินการในการอบรมเก็บรวบรวมข้อมูล และ การวเิ คราะห์ข้อมลู ดงั น้ี การดาเนินการจัดกิจกรรม 1. เตรียมการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน - ประชุมวางแผนรปู แบบการจัดกิจกรรม - เลอื กกิจกรรมท่ีจะจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน - มอบหมายงานให้บุคลากรที่เกยี่ วข้อง - ตดิ ตอ่ ประสานงานในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 2. วธิ กี ารดาเนนิ งาน - เขียนเสนอโครงการ - เสนอโครงการ - เตรียมการจดั กิจกรรมโครงการ 1. เตรียมการกอ่ นการจัดกจิ กรรมโครงการ - การจัดเตรียมเอกสารโครงการ - ตดิ ต่อสถานที่ - จัดชดุ วทิ ยากร - อนื่ ๆ 2. ติดตอ่ ประสานงานเครือข่าย - จดั การกิจกรรมโครงการตามแผนท่วี างไว้ - ลงทะเบยี นผูเ้ ขา้ รว่ มการกจิ กรรมโครงการ - วทิ ยากรให้ความรู้ - จดั กจิ กรรมกล่มุ ย่อย - สรุปกิจกรรมยอ่ ย - ปิดโครงการ - สรปุ รายงานผลการจดั กิจกรรมโครงการเป็นรปู เล่ม - รายงานผลการจดั กิจกรรมโครงการใหผ้ ทู้ ี่เก่ยี วข้องรบั ทราบ

7 สว่ นท่ี 3 เนอื้ หาสาระ ผูด้ าเนินการจดั ทาโครงการจัดและส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวติ เพอื่ คงพฒั นาการทางกาย และจิตและสมองของผสู้ งู อายุ ไดอ้ บรมศกึ ษา ดังน้ี การการดูแลสขุ ภาพ และส่งเสรมิ สุขภาวะและสขุ อนามยั ๑. การการดูแลสขุ ภาพ ๑.๑ การดแู ลสุขภาพตนเองในสภาวะปกติ เปน็ การดูแลสขุ ภาพตนเอง และสมาชกิ ในครอบครัว ให้มีสขุ ภาพแขง็ แรง สมบรู ณ์อยู่เสมอ ไดแ้ ก่ ๑. การดูแลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง สามารถดาเนินชวี ิตไดอ้ ย่างปกติสขุ เชน่ การออกกาลังกาย การสร้างสุขวทิ ยาสว่ นบุคคลที่ดี ไมด่ ม่ื สุรา ไมส่ ูบบหุ ร่ี หลีกเล่ียงจากสิ่งท่ีเป็นอันตรายตอ่ สขุ ภาพ ๒. การปูองกนั โรค เพ่ือไมใ่ ห้เจ็บปุวยเป็นโรค เช่น การไปรบั ภมู ิคมุ้ กนั โรคต่างๆ การไปตรวจ สขุ ภาพ การปูองกนั ตนเองไม่ใหต้ ิดโรค ๑.2 การดแู ลสุขภาพตนเองเม่อื เจ็บปวุ ย - การดแู ลสขุ ภาพตนเอง ให้มสี ุขภาพสมบูรณ์ และแข็งแรงอยเู่ สมอ จะตอ้ งปฏิบตั ิกิจกรรม ในด้าน การสง่ เสรมิ สขุ ภาพอยา่ งสม่าเสมอ ในชวี ติ ประจาวนั โดยยดึ หลักสุขบญั ญัติ 10 ประการ และสารวจสุขภาพตนเอง ดังน้ี 1. ดูแลรักษาร่างกาย และของใช้ให้สะอาด ๑.๑ อาบน้าทุกวัน อย่างน้อยวนั ละ 2 คร้ัง ๑.๒ การรักษาอนามัยของดวงตา ดวงตาเป็นอวยั วะสาคัญ เราควรหวงแหน และใหค้ วามเอา ใจใส่ ควรปฏบิ ตั ิดังน้ี ๑.๒.๑ อา่ น หรือเขียนหนังสอื ในระยะห่างประมาณ 1 ฟุต โดยมีแสงสว่างเพียงพอ แสงเขา้ ทางดา้ น ซา้ ยหรอื ตรงข้ามกับมอื ทถ่ี นดั หากรู้สกึ เพลียสายตา ควรพักผอ่ นสายตา โดยการหลบั ตา หรือมองไปไกลๆ ชวั่ ครู่ ๑.๒.๒ ดโู ทรทัศน์ในระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตรครึ่ง ๑.๒.๓ บารุงสายตาด้วยการรับประทานอาหารที่มีคุณค่า เชน่ มะละกอสุก ฟักทอง และผักบ้งุ เปน็ ตน้ ๑.๒.๔ ใสแ่ วน่ กันแดด ถา้ จาเป็นตอ้ งมองในท่ีๆ มแี สงสว่างมากเกินไป ๑.๒.๕ ตรวจสายตาอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครัง้ โดยแผน่ ทดสอบสายตา (E-Chart) ถ้าสายตาผดิ ปกติ ให้พบจักษแุ พทย์ เพื่อตรวจสอบ และประกอบแว่นสายตา ๑.๓ การรักษาอนามัยของหู หเู ป็นอวัยวะท่ีสาคญั อย่างหนึง่ ของร่างกาย ท่ีจะต้องเอาใจใส่ ดแู ลให้ถกู ต้อง ดงั น้ี ๑.๓.๑ เชด็ บริเวณใบหู และรหู ู เท่าทน่ี ิว้ จะเขา้ ไปได้ ห้ามใช้ของแขง็ แคะเข่ยี ใบหู รูหู ๑.๓.๒ คนทีม่ ีประวตั วิ ่า มกี ารอักเสบของหู ต้องระวังไม่ใหน้ า้ เขา้ หูเด็ดขาด ๑.๓.๓ หากมนี ้าเข้าหู ให้เอียงหูขา้ งนั้นลง น้าจะค่อยๆ ไหลออกมาได้เอง หรอื ใช้ไม้พันสาลเี ช็ดบรเิ วณ ช่องหดู ้านนอก ๑.4 ใส่เส้อื ผ้าทสี่ ะอาด ไม่อับช้นื และให้ความอบอนุ่ เพียงพอ การรักษาความสะอาดของเสื้อผ้า เครื่องนงุ่ ห่ม และเคร่ืองนอนเป็นสิ่งสาคญั เส้ือผ้าที่ใช้แล้วทง้ิ ชัน้ นอก และชั้นใน ตอ้ งมกี ารทาความสะอาดด้วยสบู่ หรอื ผงซักฟอกทกุ ครงั้ นาไปผึง่ หรือตากแดดใหแ้ ห้ง ประการสาคญั การสวมเส้อื ผ้า ตอ้ ใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั สภาพอากาศ ไม่ใส่เสื้อผา้ ซา้ ๆ หรอื ซกั ไมส่ ะอาด อับชน้ื เพราะจะทาใหเ้ กิดโรค ผิวหนังได้

8 2. รักษาฟนั ใหแ้ ข็งแรง และแปรงฟนั ทุกวนั อยา่ งถกู ต้อง - แปรงฟันอยา่ งน้อยวนั ละ 2 ครง้ั หลีกเลีย่ งขนมหวาน เช่น ลูกอม แปรงฟัน หรอื บ้วนปากหลงั รบั ประทานอาหาร ไม่ใช้ฟนั ขบเคย้ี วของแขง็ 3. ล้างมอื ให้สะอาดก่อนรบั ประทานอาหาร และหลงั การขับถ่าย - ควรล้างมือให้สะอาดทุกคร้ัง กอ่ นและหลงั การปรุงอาหาร รวมท้ังกอ่ นรบั ประทานอาหาร และหลงั การขบั ถา่ ย เป็นการปอู งกนั การแพรเ่ ช้อื และติดเชอ้ื โรคได้ ควรลา้ งมือใหถ้ ูกวิธี ดังนี้ ๓.๑ ใหม้ ือเปียกน้า ฟอกสบู่ ถใู ห้ทว่ั ฝุามือ ด้านหน้า และด้านหลงั มอื ๓.๒ ถตู ามง่ามนว้ิ มือ และซอกเล็บใหท้ ่ัว เพื่อใหส้ ิ่งสกปรกหลดุ ออกไป พร้อมทง้ั ถูกข้อมือ ๓.๓ ล้างน้าให้สะอาด แลว้ เชด็ มอื ให้แหง้ ดว้ ยผา้ ที่สะอาด 4. รบั ประทานอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลย่ี งอาหารรสจดั สีฉดู ฉาด ๔.๑ เลอื กซอ้ื อาหารสด สะอาด ปลอดสารพิษ โดยคานึงถึงหลัก 3 ป. คือ ประโยชน์ ปลอดภยั ประหยัด ๔.๒ ปรงุ อาหารท่ถี กู สขุ ลักษณะ และใชเ้ คร่ืองปรุงรสที่ถูกตอ้ ง โดยคานึงถึงหลกั 3 ส. คอื สงวนคณุ ค่า สุกเสมอ สะอาดปลอดภยั ๔.๓ รบั ประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพียงพอต่อความต้องการของรา่ งกาย ๔.๔ รบั ประทานอาหารปรงุ สักใหม่ และใช้ชอ้ นกลางในการรบั ประทานอาหารร่วมกัน ๔.๕ หลีกเลยี่ งการรบั ประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ อาหารรสจัด อาหารใส่สฉี ดู ฉาด ๔.๖ ด่มื น้าสะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว 5. งดบุหรี่ สรุ า สารเสพยต์ ดิ การพนนั และการสาส่อนทางเพศ ๕.๑ ไมเ่ สพสารเสพยต์ ิดทุกชนิด เชน่ บหุ รี่ สุรา ยาบ้า กัญชา กาว ทินเนอร์ ๕.๒ งดเลน่ การพนันทุกชนิด ๕.๓ ไมม่ ัว่ สมุ ทางเพศ 6. สรา้ งความสัมพันธใ์ นครอบครวั ให้อบอุน่ ๖.๑ ทกุ คนในครอบครัวชว่ ยกันทางานบ้าน ๖.๒ มกี ารปรกึ ษาหารอื และแสดงความคิดเหน็ ร่วมกนั ๖.๓ การเผือ่ แผ่น้าใจซึ่งกันและกัน ๖.๔ การทาบญุ และได้ทากิจกรรมสนุกสนานรว่ มกัน 7. ปูองกนั อุบัตเิ หตดุ ้วยความไมป่ ระมาท ๗.๑ ดแู ล ตรวจสอบ และระมดั ระวงั อุปกรณเ์ คร่อื งใช้ภายในบา้ น เชน่ ไฟฟูา เตาแกส๊ ของมี คม ธปู เทียนที่จุดบชู าพระ และไม้ขีดไฟ ๗.๒ ระมดั ระวังเพ่ือปอู งกนั อุบัตภิ ัยในทส่ี าธารณะ เชน่ การใชถ้ นน โรงฝึกงาน สถานท่กี ่อสรา้ ง และชมุ ชนแออัด เป็นต้น 8. ออกกาลังกายสมา่ เสมอ และตรวจสขุ ภาพประจาปี - การออกกาลงั กายชว่ ยใหร้ ่างกายแขง็ แรง เจริญเติบโตสมวยั กระตนุ้ ให้กระดูกยาวข้ึน และ เข็งแรงขึ้น ทาให้สงู สง่า บคุ ลิกดี และยงั ช่วยผ่อนคลายความเครยี ด จากการทางาน ตลอดจนเพ่มิ ภมู ติ ้านทานแก่ รา่ งกาย โดย ๘.๑ ออกกาลงั กายอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 3 วนั ครั้งละ 20-30 นาที ๘.๒ ออกกาลงั กาย และเลน่ กฬี าใหเ้ หมาะสมกบั สภาพร่างกาย และวยั ๘.๓ ตรวจสอบสุขภาพประจาปอี ย่างน้อยปีละครัง้

9 9. ทาจติ ใจใหร้ า่ เริงแจม่ ใสอยู่เสมอ ๙.๑ พกั ผ่อน และนอนหลบั ให้เพยี งพอ ๙.๒ จดั ส่ิงแวดล้อมทัง้ ในบา้ น และนอกบา้ นใหน้ ่าอยู่ ๙.๓ มองโลกในแง่ดี ให้อภัย และยอมรับข้อบกพรอ่ งของคนอ่ืน ๙.๔ เม่อื มีปัญหาไมส่ บายใจ ควรหาทางผอ่ นคลาย ในทางทีถ่ กู ต้องเหมาะสม 10. มีสานกึ ต่อสว่ นรวม ร่วมสรา้ งสรรค์สังคม - ใช้ทรพั ยากร เชน่ น้า ไฟ อย่างประหยดั หลีกเลี่ยงการใช้วสั ดุ อุปกรณท์ ี่ก่อใหเ้ กิดพิษต่อ สง่ิ แวดลอ้ ม เช่น ถงุ พลาสติก โฟม ตลอดจนการร่วมมือกัน รักษาความสะอาด และเปน็ ระเบียบของสถานทที่ างาน และที่พัก เป็นตน้ ๒. การส่งเสริมสขุ ภาพผู้สูงอายุ ควรอาศัยหลกั การเดยี วกับแนวปฏิบัติในการส่งเสริมสขุ ภาพ 5 ประการ ดังน้ี ๑. การสรา้ งนโยบายสาธารณะเพ่อื ผสู้ ูงอายุ โดยเนน้ ให้ทุกคนในชุมชน หรือสงั คม มขี ้อตกลงทางสังคม รว่ มกนั รับหลักการเดียวกันในการทจี่ ะปฏิบตั เิ พื่อใหท้ ุกคนในชมุ ชน หรือสงั คมมสี ุขภาพทดี่ ี เชน่ การกาหนด นโยบาย ไมใ่ ห้มีการทอดท้งิ ผู้สงู อายใุ นชมุ ชน นโยบายหมู่บ้านปลอดอุบัตเิ หตุ นโยบายครอบครัวอบอุ่น เปน็ ต้น ๒. สรา้ งสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อื้อต่อสุขภาพผ้สู ูงอายุ สิง่ แวดลอ้ มในที่นี้อาจจะเปน็ สิง่ แวดลอ้ มทีเ่ ป็นรูปธรรม หรือนามธรรม ส่ิงแวดลอ้ มทเี่ ป็นรปู ธรรมท่ีใกลต้ วั ผ้สู ูงอายุ ไดแ้ ก่ ครอบครัว ซึ่งจะต้องให้ความรกั ความเอาใจใส่ มี การเกื้อหนนุ ดแู ลผสู้ ูงอายุ ขณะเดยี วกันต้องมีปฏิสัมพนั ธใ์ นเชงิ รกุ มคี วามเข้าใจกัน ชมุ ชน กเ็ ปน็ สงิ่ แวดล้อมท่ีอยู่ รอบๆ ตัวผู้สูงอายุนน่ั เอง ซงึ่ ต้องมีสว่ นร่วมในการดแู ลผู้สูงอายุในทุกๆ ดา้ น การดแู ลความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อยของ บ้าน และส่ิงที่อยอู่ าศยั รอบๆ บา้ น กจ็ ะทาให้ผูอ้ ยู่อาศยั รวมถึงผสู้ ูงอายดุ ว้ ยมีความอบอุน่ มีสุขภาพดี และปลอดจาก อุบัตเิ หตุต่างๆ สว่ นสง่ิ แวดลอ้ มทีเ่ ปน็ นามธรรม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณวี ัฒนธรรมในสังคม ซง่ึ สังคมไทยมขี ้อ ดกี ว่าประเทศอืน่ ๆ ในหลายๆ ดา้ น เช่น ให้ความเคารพกตัญญกู ตเวทีต่อผูส้ ูงวัยปปี ระเพณีรดนา้ ดาหัว รดนา้ สงกรานต์ เปน็ ต้น ๓. การมีส่วนรว่ มของชมุ ชนในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ชมุ ชน จะตอ้ งมีการรวมตัวกัน หรือ รวมกล่มุ กันเพ่อื ท่จี ะดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สงู อายุ โดยการรวบรวมปัญหาต่างๆ นามาวเิ คราะห์วางแผน ดาเนนิ การ เพ่อื สง่ เสรมิ สุขภาพผ้สู ูงอายุ ให้เปน็ ผู้สงู อายทุ ีส่ ามารถแสดงศกั ยภาพได้ตามความถนัด เพ่ือใหเ้ กิดความภาคภมู ิใจใน ตนเอง เช่น การจดั ให้มกี ารรวมกลมุ่ เพื่อให้มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ กิจกรรมทางดา้ นประเพณวี ัฒนธรรม ต่างๆ เชน่ การฟงั เทศน์ฟังธรรม เปน็ ตน้ ๔. พัฒนาทักษะในการดูแลสง่ เสรมิ สุขภาพผูส้ ูงอายุ โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผ้สู ูงอายุ บุคคลใน ครอบครวั และชุมชน ในเรอื่ งการเปลีย่ นแปลงทางสรีระตา่ งๆ ตลอดจนการเปล่ยี นแปลงทางดา้ นจิตใจ อารมณ์ และ สงั คมของผสู้ ูงอายุ ตลอดจนแนวทางการดแู ลสง่ เสรมิ สุขภาพโดยผา่ นส่ือต่างๆ ๕. ปรบั เปลยี่ นบรกิ ารทางดา้ นสาธารณสุข โดยเน้นทางด้านสขุ ภาพในเชิงรุกมากข้ึน เชน่ มกี ารคัดกรอง สุขภาพใหก้ ารดูแล ใหค้ าปรึกษาดา้ นสุขภาพ โดยใหบ้ ริการในลักษณะองคร์ วม ให้ครอบคลุมทกุ ๆ ด้าน ๓. สขุ อนามัย การมีสุขภาพทด่ี ี เป็นส่งิ ท่ีทุกคนต่างก็พึงปรารถนาท่ีจะมี ก่อนอืน่ เรากค็ วรจะเข้าใจในความหมายทแี่ ทจ้ รงิ ของคาว่า \"สุขภาพ\" กันก่อน ว่าสขุ ภาพนัน้ มคี วามหมายวา่ อยา่ งไร และคุณเข้าใจความหมายของคาวา่ สุขภาพท่ี ถูกต้องแล้วหรือยงั ?? สขุ ภาพ มีความหมาย 3 ประการ คอื 1. ความปลอดภยั (Safe) 2. ความไม่มโี รค (Sound)

10 3. ความปลอดภัย และไมม่ ีโรค (Whole) องค์กรอนามยั โลกไดใ้ หค้ านิยามคาวา่ สขุ ภาพ ในความหมายกวา้ งขน้ึ ว่า สขุ ภาพ หมายถึง สขุ ภาวะที่ สมบรู ณ์ทง้ั ทางกาย ทางจิต และทางสังคม ตามร่างพระราชบญั ญตั สิ ุขภาพแห่งชาติ 2545 ให้ความหมายของคาวา่ สขุ ภาพ คือ ภาวะที่มีความ พร้อมสมบรู ณ์ทั้งทางร่างกาย คอื ร่างกายทสี่ มบูรณ์แข็งแรง คล่องแคลว่ มีกาลัง ไมเ่ ปน็ โรค ไม่พิการ ไมม่ ีอุบตั ิเหตุ อนั ตราย มีสงิ่ แวดลอ้ มท่ีสง่ เสรมิ สุขภาพ ดังน้นั \"สุขภาพ\" จึงหมายถึง \"การ มีร่างกายแขง็ แรงปราศจากโรคภยั ไข้เจบ็ ในทุกสว่ นของร่างกาย มสี ุขภาพจติ ดี และสามารถปรบั ตวั ใหอ้ ยรู่ ่วมกับผอู้ ่ืนในสังคมได้อย่างปกติสขุ ผู้มสี ขุ ภาพดีถือ ว่าเป็นกาไรของชีวิต เพราะทาให้ผเู้ ปน็ เจา้ ของชวี ิตดารงชวี ิตอยู่อย่างเปน็ สุขได้\" นัน่ เอง ดงั นัน้ ปจั จบุ นั คาวา่ สุขภาพ มไิ ด้หมายเฉพาะสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตเท่าน้ัน แต่ยังหมายรวมถงึ สุขภาพ สังคม และสุขภาพศีลธรรมอกี ด้วย สรุปวา่ ในความหมายของ \"สขุ ภาพ\" ในปจั จบุ นั มีองค์ประกอบ 4 ส่วน ด้วยกันคอื 1. สุขภาพกาย หมายถึง สภาพท่ดี ขี องร่างกาย กล่าวคือ อวยั วะตา่ งๆอยู่ในสภาพทดี่ ีมีความแข็งแรงสมบูรณ์ ทางานได้ตามปกติ และมคี วามสมั พนั ธก์ บั ทุกส่วนเปน็ อย่างดี และก่อใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพทด่ี ใี นการทางาน 2. สุขภาพจิต หมายถึง สภาพของจติ ใจที่สามารถควบคมุ อารมณ์ได้ มีจติ ใจเบิกบานแจ่มใส มิให้เกิดความคับ ข้องใจหรือขดั แยง้ ในจติ ใจ สามารถปรับตวั เข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้อยา่ งมคี วามสุข 3. สขุ ภาพสงั คม หมายถึง สภาวะทด่ี ีของปญั ญาที่มีความรู้ทั่ว รเู้ ทา่ ทนั และความเขา้ ใจอยา่ งแยกไดใ้ นเหตุผล แห่งความดีความช่วั ความมีประโยชน์และความมโี ทษ ซง่ึ นาไปส่คู วามมีจติ อันดีงามและเออื้ เฟ้ือเผ่ือแผ่ 4. สุขภาพศีลธรรมหมายถึง บุคคลท่มี ีสภาวะทางกายและจิตใจที่สขุ สมบรู ณ์ สามารถปฏสิ มั พันธ์และปรบั ตัว ใหอ้ ยู่ในสังคมได้เป็นอยา่ งดแี ละมีความสุข เพื่อทีเ่ ราจะได้มจี ิตใจท่ีมคี วามสขุ รนื่ เริง ไมต่ ิดขัด มเี มตตา มสี ติ มสี มาธิ และการท่คี รอบครัวจะมีความ อบอนุ่ ชมุ ชนเข้มแข็ง และสงั คมมคี วามยตุ ิธรรมได้นั้น จะต้องเกดิ ข้ึนจากการจดั การทางสขุ ภาพในระดบั ตา่ งๆท้งั สุขภาพในระดบั ของ ปัจเจกบุคคล (Individual Health) สขุ ภาพของครอบครวั (Family Health) อนามัยชุมชน (Community Health) และสขุ ภาพของสาธารณะ (Public Health) นน่ั เอง การออกาลงั กายในผสู้ ูงอายุ และการดูแลสุขภาพของตัวเองและการดูแลสขุ ภาพผู้สูงอายุ การดแู ลตนเองยามปกติในผสู้ ูงอายุ คือ การทาให้ชีวติ มสี ุขภาพที่ดี ซ่ึงแนวทางการ มีสุขภาพท่ดี สี ามารถ ปฏบิ ัติตามหลัก 10 อ. ประกอบด้วย 1. อาหาร ผูส้ ูงอายุยังคงต้องการสารอาหารตา่ ง ๆ ท่ใี กลเ้ คยี งกับวัยผใู้ หญ่ แต่ควรลดอาหารประเภทไขมนั และคารโ์ บไฮเดรตลง สว่ นอาหารประเภทโปรตีนควรเปน็ เนอ้ื สัตวท์ ่ีย่อยง่าย เชน่ เนื้อปลาและไขข่ าว ส่วนไขแ่ ดง ควรกินไมเ่ กินสปั ดาหล์ ะ 3 ฟอง นอกจากน้ีควรกนิ ผกั และถวั่ รวมทง้ั ผลไม้ให้มาก แต่ควรเป็นผลไม้ทไ่ี มม่ รี สหวานจดั จนเกนิ ไป เพราะอาจเปน็ สาเหตุทาใหเ้ กิดโรค เชน่ โรคเบาหวาน ได้ 2. ออกกาลังกาย เพ่ือให้มีรา่ งกายแข็งแรง สามารถเคล่ือนไหวไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ ซึง่ จะทาให้การทรงตวั ดี ข้ึน ไม่หกล้มงา่ ย ผู้สงู อายจุ งึ ควรออกกาลังกายสัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง 3. อนามยั ผู้สงู อายคุ วรรจู้ กั สังเกตการทางานของระบบตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย เชน่ ระบบขบั ถ่าย ควรพยายาม ลด ละ เลกิ ส่งิ ทีจ่ ะเป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพ เช่น เหลา้ บุหร่ี และพฤตกิ รรมเส่ยี งตา่ ง ๆ สาหรบั ผู้ทอ่ี ายุ 65 ปีข้นึ ไป ควรตรวจสขุ ภาพเปน็ ประจาทกุ ปี 4. อจุ จาระ ปัสสาวะ ผู้สูงอายจุ ะตอ้ งใหค้ วามสนใจเรื่องการขับถา่ ยให้มากเปน็ พิเศษ หากมีปญั หาขบั ถา่ ย ยาก ถา่ ยลาบาก หรอื กลนั้ การขบั ถ่ายไมไ่ ด้ ก็ควรรีบแก้ ปัญหาไปตามสาเหตุ 5. อากาศ และแสงอาทิตย์ ผู้สงู อายคุ วรได้อย่ใู นสถานท่ีที่มีสภาพแวดลอ้ มท่ีดี เปน็ ธรรมชาติ มอี ากาศ บริสทุ ธิ์ และควรไดร้ ับแสงแดดบ้าง

11 6. อารมณ์ ผสู้ ูงอายจุ ะมีอารมณ์เปลยี่ นแปลงงา่ ย เช่น หงุดหงิด โมโห โกรธง่าย ทาให้ขาดสตใิ นการ พิจารณาไตรต่ รองเหตุผล ก่อให้เกดิ ความขดั แย้งกบั บคุ คลอนื่ ได้ งา่ ย และต้องหาวิธคี วบคุมอารมณซ์ ่ึงมหี ลายวิธี เชน่ การทาสมาธิ การศึกษาธรรมะ จะช่วยให้ผอ่ นคลาย มสี ติมากข้ึน 7. อดเิ รก ผูส้ งู อายุควรหางานอดิเรกทาเพื่อเบีย่ งเบนความสนใจหรอื ลดการหมกมุ่นในส่ิงท่ีทาให้ไมส่ บายใจ เปน็ การใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ 8. อบอุ่น การเปน็ บุคคลท่ีมีบุคลกิ โอบออ้ ม เอ้ือเฟ้ือเผอื่ แผ่ ช่วยเหลือสมาชกิ ใน ครอบครัวและบคุ คลอืน่ เพอื่ ใหเ้ กดิ สัมพนั ธภาพท่ดี ีตอ่ กัน 9. อุบัติเหตุ ระมัดระวงั ไม่ให้เกดิ อุบัติเหตุโดยวีการต่าง ๆ เชน่ สายตายาวต้องใสแ่ วน่ สายตา ได้ยินไม่ ชัดเจนต้องไปตรวจหเู พ่ือแก้ไข ถ้ามสี ่งิ แวดล้อมไม่เหมาะสมต้อง ไปปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม 10. อนาคต ผูส้ งู อายุต้องเตรียมเงนิ และทีอ่ ยู่อาศัยเพื่อเป็นหลักประกนั ในการดาเนินชวี ติ การออกกาลังกายสาคญั อย่างไร? ๑. เป็นท่ีทราบกนั อยา่ งแพร่หลายวา่ การออกกาลังกายอย่างสมา่ เสมอช่วยใหส้ ขุ ภาพร่างกายแข็งแรง การที่ ไมไ่ ดอ้ อกกาลังกายเป็นประจา ส่งผลใหร้ ะบบตา่ งๆ ในร่างกายถดถอย และนาไปสูภ่ าวะตา่ งๆ ท่ที าให้ร่างกายทรุด โทรมตามมา ๒. สาหรับผสู้ ูงอายซุ ่งึ เป็นวยั ที่มีการเปลี่ยนแปลงของสรรี ะร่างกายตา่ งไปจากวัยทางาน หากขาดการออก กาลังกาย จะยง่ิ ส่งเสริมให้มีการถดถอยของระบบตา่ งๆ ในรา่ งกาย เชน่ กลา้ มเน้ือฝุอลีบลง ความแขง็ แรงของ กลา้ มเนือ้ ลดลง เหน่ือยงา่ ย จนส่งผลต่อความสามารถในการทากิจวัตรประจาวนั และสุขภาพโดยรวม ๓. การถดถอยของสมรรถภาพการเดนิ และการทรงตัว เป็นการเปลย่ี นแปลงท่ีทาสาคัญในผสู้ ูงอายุ ซ่งึ ทา ใหเ้ กดิ ปัญหาในการใช้ชวี ติ ประจาวัน ผสู้ งู อายทุ ีม่ ปี ัญหาการเดนิ เชน่ เดินชา้ ลง ไมม่ ่ันคง ทรงตัวลาบาก ส่งผลให้ จากัดกจิ กรรมทางกายและอาจเกิดการหกล้มได้ ๔. หากคณุ เป็นผสู้ ูงอายุที่มีกิจกรรมทางกายและออกกาลงั กายอยูเ่ สมอ ก็เปรียบกับการไดร้ บั ยาทดี่ ี รา่ งกายจะมสี มรรถภาพสมบูรณ์พร้อมสาหรบั การใชช้ วี ติ ตามที่ตนเองปรารถนา ผู้สูงอายุ ควรออกกาลังกายอยา่ งไร การออกกาลังกายน้ันมดี ้วยกันหลายประเภท และไดป้ ระโยชนต์ ่อรา่ งกายต่างกัน สาหรับบทความนี้จะ กลา่ วถึงการออกกาลงั กายเพื่อเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพการเดินและการทรงตวั ในผสู้ งู อายุ มกี ารออกกาลังกายท่ี แนะนาดงั นี้ 1. Balance Exercise เปน็ การออกกาลังกายทฝี่ ึกการทรงตวั และสมรรถภาพในการเดนิ จะชว่ ยปอู งกนั การหกลม้ ในผสู้ งู อายุ การออกกาลงั กายแบบ Balance สามารถทาได้หลายอย่าง เชน่ - ไทชิ เปน็ การออกกาลังกายทไ่ี ด้ประสิทธผิ ลในเรื่องของการทรงตัว เพราะผู้สูงอายุจะได้ฝกึ การรักษาสมดุลเมื่อ ร่างกายมีการเคลื่อนไหวในทิศทางต่างๆ เมื่อฝึกจนเกดิ การปรับตัวกส็ ามารถนามาใชใ้ นปรบั การทรงตวั ในการเดินใน ชวี ติ ประจาวันได้ - การเตน้ ลลี าศ โดยให้ผู้สูงอายเุ ต้นราแบบ beguin ซึ่งเปน็ จงั หวะดนตรที ่ีสมา่ เสมอ มีการกา้ วเท้าให้สัมพนั ธ์กับ จังหวะ ในทิศทางต่างๆ เม่ือสามารถเตน้ เขา้ จงั หวะจะไดฝ้ ึกการทรงตัวขณะทีร่ ่างกายมีการเคลอื่ นไหว - ฝกึ ออกกาลงั กายพื้นฐานเพ่ือเพ่ิมการทรงตวั เชน่ การยนื ทรงตวั ขาเดยี ว การเดนิ ต่อเท้า การเดินเปน็ วงกลม หรือรปู เลขแปด เป็นการฝึกการทรงตัวขณะรา่ งกายอยู่น่ิงและเคล่ือนไหวตามลาดับ เพอ่ื เพ่ิมทักษะการทรงตวั จาก ง่ายไปยาก 2. Aerobic Exercise เป็นการออกกาลงั กายของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เชน่ การว่ิง ปัน่ จักรยาน วา่ ยน้า ซึ่ง ล้วนเปน็ การใชก้ ลา้ มเนื้อ ซง่ึ เปน็ กล้ามเน้ือมัดใหญ่ ท้ังยังกระตุ้นใหเ้ กิดการเผาผลาญพลงั งานในร่างกาย ทาให้หัวใจ สบู ฉีดเลอื ดไปเลยี้ งส่วนตา่ งๆ ได้ดี ทาใหส้ ามารถทากิจกรรมตา่ งๆ ได้ดี

12 สาหรบั ผู้สงู อายุทีไ่ ม่สามารถว่ิง ปนั่ จกั รยาน หรอื ว่ายน้าได้ กเ็ ลือกเป็นการเดิน โดยเดนิ ต่อเน่อื งกัน 10 นาที หากเหนื่อยก็พัก และเดินตอ่ จนครบ 30 นาที สง่ิ สาคัญคอื ระหวา่ งที่ออกกาลังกาย ควรหายใจเป็นปกติ หา้ ม กลน้ั หายใจ เพราะจะทาให้หัวใจทางานหนักข้ึน และเปน็ อันตรายสาหรบั ผ้ปู วุ ย โดยเฉพาะผู้ปวุ ยโรคหวั ใจ และทุกๆ ครัง้ ท่อี อกกาลังกายควรมีการวอรม์ อัพรา่ งกายก่อนโดยการยา่ เท้าอยู่กับที่ หมุนแขน ยกขา งอแขน งอขา ประมาณ 3-5 นาทีแล้วจึงค่อยๆ เริม่ เดินช้าๆ แลว้ ปรับความเรว็ ข้นึ เรื่อยๆ และเมื่อออกกาลงั กายเสร็จกค็ วรย่าเท้าอยู่กับที่ ยืด เหยยี ดขาและแขน จะทาใหป้ ลอดภยั จากอาการบาดเจ็บท่ีอาจเกิดขึน้ ได้ 3. Strength Exercise เป็นการออกกาลังกายทเ่ี พ่ิมความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือ และเพ่มิ มวลกลา้ มเนื้อให้ รา่ งกาย เพราะผู้สงู อายุ เม่อื อายมุ ากขึน้ เรอื่ ยๆ มวลกลา้ มเนื้อกจ็ ะลดลง ส่งผลให้แขน ขาเลก็ ลง หรือกล้ามเนอ้ื บางส่วนก็ถกู แทนที่ด้วยไขมนั การทก่ี ล้ามเน้ือมีความแข็งแรงจะสง่ ผลใหก้ ารใชง้ านของกลา้ มเนือ้ มปี ระสิทธิภาพ สามารถเดินหรอื ทากจิ วตั รประจาวนั ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ - การออกกาลังกายเพือ่ เพม่ิ ความแข็งแรงใหก้ ล้ามเนื้อ โดยมหี ลกั ในการออกกาลงั กาย ดังน้ี - ออกกาลังกายโดยใหก้ ล้ามเนื้อเกิดแรงตา้ นเชน่ การใช้ยางยดื การยกดรัมเบล ขวดน้า เป็นต้น - มกี ารเพม่ิ ความหนกั ของแรงตา้ น โดยเรมิ่ จากน้าหนักเบาๆ และค่อยๆ เพิ่มน้าหนักขนึ้ ไปทีละนิดๆ - ทาทา่ ละ 8-10 ครั้ง 2 รอบต่อวนั และทาอย่างสมา่ เสมอ 4. Flexibility Exercise การออกกาลังกายเพื่อคงพิสยั การเคล่อื นไหวของขอ้ ต่อต่างๆ เช่น ข้อไหล่ข้อเขา่ ขอ้ สะโพก หากมกี ารจากัดหรือข้อต่อไมส่ ามารถเคล่ือนไหวได้ดี จะสง่ ผลต่อการเดินและการใชช้ ีวติ ประจาวันได้ ยกตวั อยา่ งเชน่ ผปู้ ุวยข้อเข่าเส่ือมหากมขี ้อยดึ ตดิ ผดิ รูป จะสง่ ผลตอ่ ท่าทางการเดินการก้าวเท้า เปน็ ต้น ผสู้ งู อายุควรออกกาลังกายในประเภทตา่ งๆ ดงั ที่กลา่ วไปข้างตน้ เพ่ือให้เกิดประโยชนร์ า่ งกายสูงสุดสาหรับ ผูส้ งู อายุที่ไมเ่ คยออกกาลังกาย สามารถเร่มิ ตน้ ด้วยการเดินช้าๆ ตามความเร็วในการเดินในชีวติ ประจาวนั และเพ่ิม ระยะเวลาในการเดินใหม้ ากขึ้นจาก 15 นาทเี ป็น 30 นาที และสามารถพักระหวา่ งการเดนิ ได้ ขอ้ ควรระวังในการออกกาลังกายในผ้สู งู อายุ ผสู้ งู อายทุ ม่ี โี รคประจาตัว คนท่เี ป็นโรคหลอดเลือดหวั ใจ มอี าการเจบ็ หนา้ อก แนน่ หนา้ อกเปน็ ประจา เปน็ โรคหัวใจล้มเหลว ลิ้นหัวใจรวั่ รนุ แรง หัวใจเตน้ ผดิ จังหวะ ความดนั โลหติ สงู มาก หลอดเลือดโปงุ พองในท้อง หลอด เลือดโปงุ พองในสมอง เปน็ โรคกระดูกพรนุ โรคสมองเส่ือม หรอื โรคเรอื้ รงั อน่ื ๆ หากอาการไมค่ งท่คี วรปรกึ ษาแพทย์ กอ่ นออกกาลงั กาย เพื่อความปลอดภยั ของตัวเอง การทายาดมสมนุ ไพร ยาดมสมนุ ไพร เปน็ ยาแผนโบราณทีใ่ ช้ประโยชนแ์ ละสรรพคณุ จากกลิ่นของสมนุ ไพรต่างๆ เพ่อื ใชบ้ รรเทา อาการผิดปกติตา่ งๆ เช่น วิงเวียนศรษี ะ หนา้ มดื ตาลาย เป็นลม อาการเมาต่างๆ รวมถงึ อาการจุกเสยี ด แน่นท้อง และยังสามารถชว่ ยขับลม ชว่ ยใหร้ า่ งกายต่นื ตัวและสดชน่ื ข้ึนไดอ้ ีกด้วย เน่ืองด้วยอากาศของประเทศไทยท่รี อ้ นอบ อ้าวเกือบตลอดทง้ั ปี อาจจะทาให้มีอาการเหลา่ น้ไี ด้งา่ ย ยาดมสมนุ ไพรจึงเป็นของท่ีใครหลายคนขาดไม่ได้ มพี กติด ตวั กนั ไวต้ ลอดเวลา โดยยาดมสมุนไพรนั้นกจ็ ะมีความแตกต่างกนั ไปตามแตล่ ะทอ้ งถ่ิน อาจจะดว้ ยความชอบของคนในท้องถน่ิ นน้ั ๆ รวมถึงสมนุ ไพรทส่ี ามารถหาไดจ้ ากในพน้ื ที่ ทาใหส้ ตู รของยาดมแตกตา่ งกันไปและมใี หเ้ ลอื กหลากหลายมาก ทาใหห้ ลายคนอาจจะไดท้ ดลองยาดมสมุนไพรหลากหลายสตู รท่มี าจากทอ้ งถ่ินต่างๆ เช่น ยาดมสมุนไพรจาก ประเทศตา่ งๆ อย่าง ไทย พม่า จีน หรอื อนิ เดยี เปน็ ต้น โดยกล่ินนั้นกจ็ ะแตกตา่ งกันไปตามสมุนไพรที่นามาใช้ แต่ ทงั้ หมดกจ็ ะใช้กล่ินเพอ่ื ชว่ ยบรรเทาอาการผดิ ปกติต่างๆ คลา้ ยๆกนั เหน็ ไดว้ า่ ยาดมสมุนไพรนน้ั มีหลากหลายสตู ร ทาใหเ้ ราสามารถเลอื กใชไ้ ดต้ ามความชอบกลิ่นของสมนุ ไพร ตา่ งๆ แตส่ รรพคณุ ที่ใหน้ ้ันก็จะคล้ายๆกัน เพื่อชว่ ยบรรเทาอาการต่างๆ ท่ีกล่าวมาแล้ว โดยสมุนไพรทใี่ ช้กจ็ ะ

13 สมนุ ไพรหลักๆ เหมอื นกัน ยกตวั อยา่ งเช่น พมิ เสน หรอื อาจจะเปน็ เมนทอล ก็ได้ ในยาดมสมนุ ไพรบางตวั อาจจะใช้ ทั้ง ๒ อย่าง สมุนไพรทั้ง ๒ อยา่ งนีจ้ ะเปน็ สารสกัดจากสมนุ ไพร แต่กจ็ ะมสี มุนไพรบางส่วนที่จะทาการอบแห้ง และนามาบดหยาบเพื่อให้ได้กลน่ิ ของนา้ มันหอมระเหยออกมาจากตัวสมนุ ไพร โดยสมุนไพรสว่ นนี้มักจะเป็นสมนุ ไพร ทขี่ ึ้นอยู่กบั ความชอบและหาไดจ้ ากแต่ละทอ้ งถนิ่ ทาให้กลิ่นของยาดมสมุนไพรแตกต่างกันไป ยกตวั อย่างเช่น ยาดมสมนุ ไพรไทยก็มกั จะใช้สมนุ ไพรท่เี ป็นเครอ่ื งเทศของไทย เช่น พริกไทย กระวาน ตะไคร้ เป็นต้น เพราะเป็นสมุนไพรท่ีหาได้ในท้องถ่ินและเป็นกล่นิ ทีค่ นในท้องถ่นิ ชอบ หรืออยา่ งยาดมสมุนไพรของ จีนกจ็ ะใช้สมนุ ไพรจีน อย่างเช่น โปย๊ ก๊ัก กุ้ยพ้วย เป็นสว่ นประกอบทจี่ ะใหก้ ลิน่ ไปในอีกรปู แบบนงึ แต่อย่างท่ีกล่าว มาแลว้ ว่าสรรพคุณที่ใหข้ องสมนุ ไพรเหลา่ น้ีทถี่ ึงแมจ้ ะแตกต่างกัน แต่ก็ต้องการชว่ ยบรรเทาอาการ คล้ายๆกนั อาจจะตา่ งกนั เพยี งแค่กล่นิ เท่านนั้ เอง อาจจะพอทราบถึงทมี่ าและสรรพคุณของยาดมสมนุ ไพรคร่าวๆไปบางแลว้ จะเห็นได้วา่ ยาดมสมนุ ไพรที่ทา จากสมุนไพรตา่ งๆเหลา่ นจี้ ะมีสรรพคุณใกลเ้ คียงกันในบทความถัดไปจะมาลงลึกในรายละเอยี ด รวมไปถงึ ประโยชน์ และสรรพคุณของสมุนไพรที่นามาเปน็ สว่ นประกอบของยาดมสมุนไพรกันทั้งของไทยและจีน สรรพคณุ และประโยชน์ กานพลู ชว่ ยขับลมและเปน็ ยาระบาย ช่วยในการขับถา่ ย แกโ้ รคเหน็บชา แกห้ ดื ขบั เสมหะ ชว่ ยลดกลิ่นปากและ รักษาอาการเลือดออกตามไรฟนั ใชเ้ ปน็ ยาชาเฉพาะแห่ง แกป้ วดฟนั ฆา่ เชื้อทางทนั ตกรรม เป็นยาระงบั การชกั กระตุก ทาใหผ้ ิวหนงั ชา กระวาน

14 ชว่ ยฟอกเลือดและบารุงรา่ งกาย รกั ษาโรคโลหิตเป็นพิษ แก้ลมและลดอาการจกุ เสียด รักษาโรครามะนาด โกฐหวั บัว มีกล่ินหอม รสมัน สรรพคุณแก้ลมในกองริดสดี วง และกระจายลมทงั้ ปวง(หมายถงึ ลมทค่ี ่ังอยู่ในลาไส้เปน็ ตอนๆ ทาใหผ้ ายหรือเรอออกมา) ยาไทยมักไม่ใช้โกฐหวั บัวเดี่ยวแตม่ กั ใชร้ ว่ มกบั ยาอื่นในตารบั ตารายาไทย : เหง้า แกล้ มในกองริดสีดวง กระจายลมท้ังปวง (หมายถงึ ลมที่คง่ั อยใู่ นลาไส้เป็นตอนๆทาให้ผาย ออกมา) ขับลมแก้ปวดศรี ษะ ปวดขอ้ ปวดกระดกู จนี ใชโ้ กฐหัวบวั เป็นยาแก้หวดั แก้ปวดศีรษะ แกโ้ รคโลหิตจาง แก้ ปวดประจาเดอื น แกป้ ระจาเดือนมาไมป่ รกติ ปวดเจ็บตา่ งๆรวมทัง้ ปวดฟนั อาเจียนเปน็ เลือด ไอ วัณโรค โรคเข้าข้อ ตกเลอื ด ดอกจนั ทน์เทศ ช่วยในการบารงุ โลหติ ชว่ ยขบั ลม และบารุงธาตุ ใหร้ สเผด็ รอ้ น

15 พริกไทยดา มีประโยชน์ ในการรกั ษาโรคต่าง ๆ เช่น โรคกระเพาะ ลาไส้ แกป้ วด แก้อักเสบ เป็นตน้ ทางตาราจีน จะใช้ พรกิ ไทยดา ในการรักษา โรคทอ้ งเดินจากอหวิ าต์ โรคมาลาเรีย และแก้ไข้ นา้ มนั ในพริกไทยดา (สารพเิ พอรนี ) ก็ นามาเจอื จางกบั นา้ เอามาสดู ดม หรอื ทาถผู วิ หนัง เพื่อลดอาการไข้ หนาวสัน่ ทาใหห้ ายใจโลง่ ขน้ึ และฆ่าเชื้อโรคได้ดี สามารถนามาผสมกบั น้ามนั แลว้ นวดบรเิ วณ ทปี่ วดกล้ามเน้อื นอกจากน้ีกลนิ่ ของพริกไทย ยังเข้าไปกระตนุ้ สมอง ใหร้ สู้ กึ ตื่นตัวอยู่เสมอ สว่ นในตาราไทย จะนาพริกไทยดา มาทาเป็นสมนุ ไพร เพื่อแก้อาการ จุกเสียด แนน่ เฟ้อจาก อาหารไมย่ อ่ ย แก้อ่อนเพลีย และลดอาการอยากบุหร่ี ในรายที่ตอ้ งการเลิกบหุ รี่ พมิ เสน ซง่ึ ระเหิดเมื่อถูกความรอ้ น มีกลิน่ หอม ใชแ้ ตง่ กลน่ิ บารงุ หัวใจ แก้โรคผวิ หนงั ผสมในลูกประคบเพื่อช่วย แตง่ กลนิ่ มีฤทธ์แิ ก้พพุ อง แก้หวัด นอกจากน้ียงั ผสมอยู่ในยาหม่อง นา้ อบไทย ในยาหอมจะมีใบพมิ เสนและพิมเสน ผสมอย่ดู ว้ ย

16 การบูร ใชผ้ สมในยาน้า มีสรรพคุณบารงุ ธาตุ ขบั เสมหะ ขับลม แก้จุกเสยี ดแน่นเฟ้อ แกป้ วดท้อง ทอ้ งร่วง ขับเหง่ือ ใชผ้ สมในยาหมอ่ ง ยาขผ้ี ง้ึ ยาครีมทาแก้เคลด็ บวม ขดั ยอก แพลง แก้พษิ แมลงสัตวก์ ัดต่อย และโรคผิวหนงั เรอ้ื รัง เมนทอล เป็นสารสกดั จากน้ามันสะระแหน่ (peppermint oil) ซ่งึ ได้มาจากพืช Mentha piperita ใช้เป็นยา ภายนอกเกี่ยวกับการลดอาการปวดเมอ่ื ย ฆ่าเช้ือ และใชเ้ ป็นยาขบั ลม ส่วนผสม ๑. เมนทอล ๓ ขดี 2. พมิ เสน 1 ขดี 3. การบรู 1 ขีด 4. กานพลู 1 ขดี 5. กระวาน 1 ขีด 6. โกศหัวบัว 1 ขดี 7. ดอกจันทนเ์ ทศ 1 ขีด 8. พริกไทยดา 1 ขดี

17 ส่วนท่ี 4 ผลการดาเนินงาน ผดู้ าเนินการจดั ทาโครงการการจดั และส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชวี ิต เพ่อื คงพัฒนาการทาง กาย จิต และสมอง ของผ้สู ูงอายุ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เก็บรวบรวมขอ้ มูล และการวิเคราะห์ข้อมลู ดังน้ี 1. เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการจัดกิจกรรม ข้อมลู ปฐมภมู ิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม ขอ้ มลู ทุติยภมู ิ ศึกษาจากเอกสาร ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วข้อง 2. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 2.1 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 2.1.1 ประชาชน หมู่ ๑ ตาบลชาติตระการ 2.2 วธิ ีดาเนนิ การในการติดตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ งานได้ดาเนนิ การดงั น้ี 2.2.1 เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ เป็นแบบสอบถาม แบง่ ออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมลู สถานภาพท่ัวไปเกยี่ วกบั ผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการฯ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ 2.2.2 วเิ คราะห์ขอ้ มูล ในการวเิ คราะห์ ดาเนนิ การดังนี้ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามวิเคราะหผ์ ลด้วยการหาค่ารอ้ ยละ คา่ รอ้ ยละ (%) P =  100 เม่อื p แทน ร้อยละ F แทน จานวนผ้ตู อบแบบสอบถาม n แทน จานวนทัง้ หมด ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลเก่ยี วกบั การดาเนนิ งานตามโครงการ ใช้คา่ เฉลี่ย x = เมือ่ x แทน คา่ เฉลย่ี แทน จานวนผตู้ อบแบบสอบถาม x แทน จานวนทัง้ หมด n

18 ตอนท่ี 3 สรปุ ข้อเสนอแนะ โดยใชค้ วามถี่ ( f ) 2.2.3 การแปลผลข้อมูล ในการแปลความหมายของข้อมลู แปลผลจากค่าเฉลีย่ เลขคณิต x โดยใชห้ ลักเกณฑด์ ังนี้ ค่าเฉลีย่ เลขาคณติ x ความหมาย 1.00 – 1.50 1.51 – 2.50 น้อยท่ีสุด น้อย 2.51 – 3.50 ปานกลาง 3.51 – 4.50 มาก 4.51 – 5.00 มากทสี่ ุด 3. ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน จากการจัดกิจกรรมโครงการการจัดและส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ เพื่อคงพัฒนาการทาง กาย จติ และสมอง ของผู้สงู อายุ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ไดม้ ีการสารวจความพงึ พอใจของผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม ท่มี ีต่อรูปแบบการจัดกิจกรรม จานวน ๔๐ คน โดยวิธกี ารตอบแบบสอบถาม จงึ ได้มกี ารนาเสนอข้อมลู ในรปู ตาราง ประกอบคาบรรยาย โดยแบ่งออกเป็น 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนบุคคล ตอนท่ี 2 ประเมินความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (กจิ กรรมการเรียนการสอน) ตอนที่ 3 สรุปขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะ สรุปเป็นประเดน็ ที่สาคญั 3.1 ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามเพศ เพศ จานวน ( n = ๔๕ ) ร้อยละ ชาย ๑๔ ๓๑.๑๑ หญิง ๓๑ ๖๘.๘๙ รวม ๔๕ ๑๐๐ จากตารางท่ี 1 ผลการศึกษาพบวา่ ผู้เข้ารว่ มอบรมส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง คดิ เปน็ ร้อยละ ๖๘.๘๙ รองลงมาคอื เพศชาย คดิ เป็นร้อยละ ๓๑.๑๑ ตารางที่ 2 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามอายุ อายุ จานวน ( n = ๔๕) ร้อยละ 15 – 39 ปี - - 40 – 59 ปี ๑ ๒.๒๒ 60 ปขี น้ึ ไป ๔๔ ๙๗.๗๘ รวม ๔๕ ๑๐๐ จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบวา่ ผูเ้ ขา้ ร่วมอบรมส่วนใหญ่ คืออายรุ ะหว่าง ๖๐ ปีข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๗๘ รองลงมา คือ อายุระหวา่ ง ๔๐ – ๕๙ ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒.๒๒

19 ตารางที่ 3 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามระดบั การศึกษาสูงสุด ระดับการศึกษาสูงสุด จานวน ( n = ๔๕) รอ้ ยละ ต่ากว่าประถมศึกษา 39 86.67 ประถมศกึ ษา 6 13.33 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ - - มัธยมศกึ ษาตอนปลาย - - รวม 45 100 จากตารางที่ 3 ผลการศึกษาพบว่า ผเู้ ข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาสงู สุด คือ ตา่ กวา่ ประถมศกึ ษา คดิ เป็นร้อยละ 86.67 รองลงมา คือ ประถมศกึ ษา คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.33 ตารางท่ี 4 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามอาชพี อาชพี จานวน ( n = ๔๕) ร้อยละ เกษตรกร ๒๙ ๖๔.๔๔ รบั จา้ ง - ค้าขาย - - ๑๖ - อ่ืนๆ ๔๕ ๓๕.๕๖ รวม ๑๐๐ จากตารางท่ี 4 ผลการศึกษาพบวา่ ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๔๔ และอน่ื ๆ คิดเปน็ ร้อยละ ๓๕.๕๖ล

20 3.2 ตอนท่ี 2 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เก่ยี วกบั ความพงึ พอใจในการจดั กจิ กรรม ตารางที่ 6 แสดงจานวน รอ้ ยละ และค่าเฉล่ียของความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการทมี่ ตี ่อการจดั กจิ กรรม ระดบั ความพึงพอใจ/ความรู้ความเขา้ ใจ/การนาความรไู้ ปใช้ ประเด็นความคิดเหน็ มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อย อยู่ใน 5 4 32 ที่สดุ ระดบั 1 ค่าเฉลย่ี 1. ด้านหลักสตู ร = 4.๕๙ 1.1 ท่านได้มีส่วนร่วมในการ 35 ๘ ๒ - - 4.๖๐ มาก เสนอความตอ้ งการและวางแผนจัด (77.๗๘%) (๑๗.๗๘%) (๔.๔๔%) ที่สุด กจิ กรรมตามหลักสตู รอาชพี นี้ 1.2 เน้ือหาหลักสูตรการจัด 34 ๙ ๒ - - 4.๕๘ มาก (๔.๔๔%) ที่สุด กิจกรรมอาชีพนี้ตรงกับความ (๗๕.๕๖%) (๒๐.๐๐%) - ๒ - = 4.๕๗ ตอ้ งการของทา่ น (๔.๔๔%) - - 4.๕๖ มาก - 2. ดา้ นกระบวนการเรียนรู้ ๑ - ท่ีสดุ (๒.๒๒%) - - 4.๖๙ มาก 2.1 ส่อื /วสั ดุอุปกรณ์ประกอบ ๓๓ ๑๐ - ๓ - ที่สดุ กจิ กรรมเรยี นรู้มเี พยี งพอ (๗๓.๓๓%) (๒๒.๒๒%) (๖.๖๗%) - 4.๔๔ มาก 2.2 สื่อ/วัสดุอุปกรณ์การ 35 ๙ ๓ - 4.๔๗ มาก (๖.๖๗%) เรียนร้ตู รงกับความตอ้ งการ (77.๗๘%) (๒๐.๐๐%) - 4.71 มาก ๑ ทส่ี ดุ 2.3 ท่านได้ใช้ทรัพยากรใน 32 ๑๐ (๒.๒๒%) = 4.๖๒ ท้องถ่ินเป็นสื่อ/วัสดุประกอบการ (๗๑.๑๑%) (๒๒.๒๒%) ๒ - 4.๕๘ มาก (๔.๔๔%) เรียนรู้ ทส่ี ุด ๒ 2.4 ท่านได้ใช้แหล่งเรียนรู้/ ๓๓ ๙ (๔.๔๔%) - 4.๖๐ มาก ท่ีสดุ ภูมิปัญญาท้องถ่ินประกอบการ (๗๓.๓๓%) (๒๐.๐๐%) ๑ (๒.๒๒%) - 4.๖๙ มาก เรยี นรู้ ท่สี ุด 2.5 ท่านสามารถเรียนรู้และ 36 ๘ ได้ฝกึ ทักษะการปฏิบัติจรงิ (๘๐.๐๐%) (๑๗.๗๘%) 3. ดา้ นครู/วทิ ยากร 3.1 วิทยากรผู้สอนมีความรู้ 34 ๙ ความชานาญและประสบการณ์ (๗๕.๕๖%) (๒๐.๐๐%) ตรงตามหลักสตู ร 3.2 ความสามารถในการ 35 ๘ ถ่ายทอดความรูข้ องวทิ ยากรผสู้ อน (77.๗๘%) (๑๗.๗๘%) 3.3 วิทยากรรับผิดชอบการ 35 ๙ สอนครบตรงตามเวลาท่ีกาหนด (77.๗๘%) (๒๐.๐๐%) ตามแผน

21 ระดับความพงึ พอใจ/ความรู้ความเขา้ ใจ/การนาความรู้ไปใช้ ประเด็นความคดิ เหน็ มากทีส่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ย อยู่ใน 5432 ทส่ี ดุ ระดับ 1 คา่ เฉล่ยี 4. ด้านสถานที่ / ระยะเวลา = 4.๖๐ 4.1 สถานที่สะอาดและมี ๓๔ ๘ ๓ - - 4.๔๙ มาก ความเหมาะสม (๗๕.๕๖%) (๑๗.๗๘%) (๖.๖๗%) 4.2 ระยะเวลาในการอบรม ๓๖ ๘ ๑ - - 4.๗๑ มาก มีความเหมาะสม (๘๐.๐๐%) (๑๗.๗๘%) (๒.๒๒%) ทีส่ ดุ 5. ด้านการให้บรกิ ารของเจ้าหน้าท่ี = 4.๖๘ 5.1 การบรกิ ารของ 35 ๙ ๑ - - 4.๖9 มาก เจา้ หน้าท่ี (๗๗.๗๘%) (๒๐.00%) (๒.๒๒%) ที่สดุ 5.2 การประสานงาน/ ๓๔ ๑๐ ๑ - - 4.๖๗ มาก อานวยความสะดวกของ (๗๕.๕๖%) (๒๒.๒๒%) (๒.๒๒%) ที่สุด เจ้าหนา้ ท่ีโครงการ 6. ด้านความรคู้ วามเข้าใจ = 4.๕๔ 6.1 ความรู้ ความเข้าใจใน ๓๐ ๑๒ ๓ -- ๔.๔๐ มาก เรอ่ื งนก้ี ่อนการอบรม (๖๖.๖๗%) (๒๒.๖๗%) (๖.๖๗%) 6.2 ความรู้ ความเข้าใจใน ๓๖ ๙ - - - 4.48 มาก เรอื่ งนห้ี ลงั การอบรม (๘๐.๐๐%) (๒๐.00%) 6.3 สามารถบอกประโยชน์ 35 ๗ ๓ - - 4.51 มาก ได้ (๗๗.๗๘%) (๑๕.๕๖%) (๖.๖๗%) ท่ีสุด 6. 4 สามารถจัดระบบ ๓๓ ๙ ๓ - - 4.๔๗ มาก ความคิดสู่การพัฒนางานอย่าง (๗๓.๓๓%) (๒๐.00%) (๖.๖๗%) เป็นระบบได้ 7. ดา้ นการนาความรู้ไปใช้ = 4.๕๒ 7.1 สามารถนาความรู้ที่ ๓๖ ๘ ๑ - - 4.๗๑ มาก ได้รับไปประยกุ ต์ใชใ้ นการ (๘๐.๐๐%) (๑๗.๗๘%) (๒.๒๒%) ที่สดุ ปฏิบตั ิงานได้ 7.2 สามารถนาความรู้ไป 32 ๙ ๔ - - 4.๓๖ มาก เผยแพร่/ถ่ายทอดแกช่ มุ ชนได้ (๗๑.๑๑%) (๒๐.00%) (๘.๘๙%) 7.3 มีความมัน่ ใจและ ๓๔ ๘ ๓ - - 4.49 มาก สามารถนาความรู้ทไี่ ด้รับไป (๗๕.๕๖%) (๑๗.๗๘%) (๖.๖๗%) ใชไ้ ด้ รวมทง้ั ส้ิน ๗๑๗ 186 ๔๒ - - 4.๕๘ มาก ที่สดุ (๗๕.๘๘%) (๑๙.๖๘%) (๔.๔๔%) ค่าเฉล่ียถว่ งน้าหนกั 4.58 ระดบั ความคิดเหน็ มากทส่ี ดุ

22 จากตารางท่ี 6 จากการศึกษาพบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ โดยแยกเป็น ขอ้ ๆ ดังน้ี 1. ด้านหลกั สตู ร ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากท่สี ดุ คา่ เฉลี่ย = 4.๕๙ 2. ดา้ นกระบวนการเรยี นรู้ ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากที่สุด คา่ เฉล่ยี = 4.๕๗ 3. ดา้ นครู/วิทยากร ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากที่สุด คา่ เฉลยี่ = 4.๖๒ 4. ดา้ นสถานท/ี่ ระยะเวลา ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับ มากที่สุด ค่าเฉล่ีย = 4.๖๐ 5. ดา้ นการใหบ้ ริการของเจ้าหนา้ ที่ ความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด ค่าเฉลยี่ = 4.๖๘ 6. ดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ ค่าเฉล่ีย= 4.๕๔ 7. ดา้ นการนาความร้ไู ปใช้ ความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ ค่าเฉล่ยี = 4.๕๒ สรปุ ภาพรวมความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการ ท้ังหมด อยู่ในระดบั มาก มคี า่ เฉลย่ี = 4.58 ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ - หมายเหตุ คดิ คะแนนเฉพาะทค่ี วามพึงพอใจอย่ใู นระดบั มากขน้ึ ไป

23 สว่ นท่ี 5 สรุปผลโครงการ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การจดั กิจกรรมโครงการการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ เพอ่ื คงพฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผสู้ งู อายุ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ มจี ดุ ประสงค์ในการจดั กิจกรรมดังน้ี ๑. เพอื่ ใหผ้ สู้ งู อายุมีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลตนเองได้ท้งั ทางรา่ งกายและจิตใจและสมอง ๒. เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหผ้ สู้ งู อายุมีความรเู้ ก่ียวกบั การดแู ลสขุ ภาพของตนเอง การดาเนนิ การจัดกิจกรรม 1. ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ จานวน ๔๐ คน - เพศชาย จานวน ๑๔ คน - เพศหญงิ จานวน ๓๑ คน 2. เครื่องมอื ท่ีใช้ในการอบรม ข้อมลู ปฐมภมู ิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม ขอ้ มลู ทุติยภูมิ ศกึ ษาจากเอกสาร ขอ้ มูลต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง 3. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล วิเคราะหแ์ บบสอบถามในแต่ละส่วน ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลส่วนบคุ คล ตอนที่ 2 ประเมนิ ความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ สรุปเป็นประเด็นที่สาคญั ๔. วธิ ีการวเิ คราะหข์ ้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมลู ผู้จดั ได้ดาเนินการ 2 ลักษณะ คือ 4.1 การสังเคราะหเ์ ชงิ คุณลักษณะ ผจู้ ัดกิจกรรมทาการสังเคราะห์โดยใช้วิธกี ารวิเคราะห์สังเคราะห์ 3 ดา้ น คอื ข้อมลู ทั่วไป ขอ้ มลู ความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน และขอ้ เสนอแนะ 4.2 การสังเคราะหก์ ารอบรมเชงิ ปริมาณ ในการสงั เคราะหก์ ารจดั กจิ กรรมเชงิ ปรมิ าณ ผูจ้ ัดกจิ กรรมแยกออกเปน็ คุณลกั ษณะตา่ ง ๆ ใน การ สังเคราะหข์ ้อมูลดังนี้ ๑. ขอ้ มูลเก่ยี วกบั เพศ / อายุ ๒. ขอ้ มลู ระดบั ความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ๓. ข้อเสนอแนะ โดยเปรยี บเทียบจานวนคนคดิ เปน็ ร้อยละในแตล่ ะส่วนของข้อมลู การอบรม พร้อมการบรรยายประกอบ

24 สรุปผลการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ผลการจัดกจิ กรรมโครงการการจัดและส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผสู้ ูงอายุ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ โดยใช้วิธกี ารวเิ คราะห์ สงั เคราะห์จากแบบประเมินความพึง พอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน และรูปแบบการจดั กิจกรรม สามารถสรปุ ได้ดังนี้ การสังเคราะห์ข้อมลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง เน่ืองเป็นเพศท่ีอยู่เฝูาบา้ นเล้ยี งลกู หลาน ทาให้รอ้ ยละ ของเพศหญิงสูงกว่ารอ้ ยละของเพศชาย ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมส่วนใหญเ่ ป็นมอี ายุ ๖๐ ปีขนึ้ ไป เน่ืองมาจากเปน็ ผ้สู ูงอายุ จึงมผี ลทาใหก้ ารหา ค่ารอ้ ยละในชว่ งนสี้ งู กวา่ ชว่ งอ่ืน ๆ และอกี อย่างกจิ กรรมนี้เนน้ ผู้สงู เป็นอยา่ งมาก การวิเคราะหข์ ้อมูลเกย่ี วกับความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จากการศึกษาพบวา่ ผเู้ ข้ารว่ มอบรมสว่ นใหญ่มีความพึงพอใจต่อการจดั กิจกรรมโครงการการจดั และสง่ เสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชวี ิต เพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผู้สูงอายุ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ โดยรวมอย่ใู นระดับ ( x = 4.๕๘ ) มากทีส่ ุด 1. ดา้ นหลกั สูตร ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ ค่าเฉลีย่ = 4.๕๙ 2. ด้านกระบวนการเรยี นรู้ ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากท่สี ุด ค่าเฉล่ยี = 4.๕๗ 3. ดา้ นคร/ู วิทยากร ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับ มากทส่ี ุด คา่ เฉลี่ย = 4.๖๒ 4. ด้านสถานที่/ระยะเวลา ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากที่สุด ค่าเฉลี่ย = 4.๖๐ 5. ดา้ นการใหบ้ รกิ ารของเจ้าหนา้ ท่ี ความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากทสี่ ุด คา่ เฉลี่ย = 4.๖๘ 6. ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากทสี่ ดุ ค่าเฉล่ีย= 4.๕๔ 7. ดา้ นการนาความรูไ้ ปใช้ ความพึงพอใจอย่ใู นระดบั มากท่ีสดุ คา่ เฉลย่ี = 4.๕๒ สรุปภาพรวมความพงึ พอใจของผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ ทงั้ หมด อยูใ่ นระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย = 4.58 อภิปรายผล จากการดาเนนิ การพบประเด็นสาคัญท่สี ามารถนามาอภปิ รายผลไดด้ งั นี้ 1. ดา้ นกลมุ่ เปาู หมาย 1.1 กลมุ่ เปูาหมายทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ มีความรู้ความเขา้ ใจในการดแู ลสขุ ภาพ และการดารงชีวิต ในวยั ของผสู้ งู อายุ ๑.๒ กลมุ่ เปูาหมายมกี ารพัฒนาคุณภาพชีวติ และ อยรู่ ่วมกนั ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ 2. ด้านงบประมาณ 2.1 จากการดาเนินงานพบว่างบประมาณท่ใี ชใ้ นจัดกิจกรรมโครงการจัดและส่งเสรมิ การ จดั การศกึ ษาตลอดชวี ิต เพ่อื คงพัฒนาการทางกายและจติ และสมองของผูส้ งู อายุ เพยี งพอต่อการจดั กจิ กรรม โครงการในครั้งนี้ 3. ด้านกจิ กรรมการเรียนการสอน 3.1 จากการดาเนนิ งานพบว่ากิจกรรมยืดหยนุ่ ตามสภาพกลุ่มเปูาหมาย 4. ดา้ นสถานที่

25 4.1 การดาเนนิ การเปน็ ไปด้วยความสะดวกเรยี บร้อย เนื่องจากไดใ้ ช้พ้นื ที่ของ ศาลาวัด บ้านชาติตระการ หมู่ท่ี ๑ ตาบลชาติตระการ อาเภอชาตติ ระการ จังหวัดพิษณุโลก ซ่งึ เหมาะสมกับการจดั กิจกรรมโครงการการจดั และส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของ ผสู้ ูงอายุ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ 4.2 การใช้สถานทีข่ องผู้เรยี น/ผ้รู ับบรกิ ารเปน็ จดุ เรียนรูใ้ นชมุ ชนทาใหเ้ กิดความเชื่อมโยง สมั พนั ธ์กันระหวา่ ง กศน. ผู้เรยี น และชมุ ชน ขอ้ มลู ความตระหนัก ในการจัดกิจกรรมโครงการการจดั และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงพฒั นาการทาง กาย จติ และสมองของผู้สูงอายุ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ไดด้ าเนินการเพ่ือให้ประชาชนเกดิ การเรยี นรบู้ รู ณา การ ความรู้ การพึงพาตนเองอยา่ งย่งั ยนื การดูแลสขุ ภาพ และการใช้ชีวติ อยา่ งมคี ุณภาพ ขอ้ มูลการปฏบิ ัติ (ความพยายาม) ผสู้ งู อายุ เกิดการเรียนรูบ้ ูรณาการความรู้ การพึงพาตนเองอยา่ งย่งั ยนื การพ่ึงพาตนเองอย่างยง่ั ยืน การดูแลสขุ ภาพ และการใชช้ วี ติ อย่างมีคุณภาพ จุดเด่น 1. กลมุ่ เปาู หมายมคี วามรบั ผิดชอบ 2. กจิ กรรมตรงตามความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย 3. กลมุ่ เปูาหมายมคี วามสนใจในกจิ กรรมของโครงการ 4. กลุ่มเปูาหมายสามารถนาความรู้ทไี่ ดไ้ ปใชใ้ นการดาเนินชวี ิตประจาวนั ของตนเองได้ จดุ ควรพฒั นา (จดุ ด้อย) ผ้เู รยี นมีเปน็ ผู้สูงอายุจึงทาให้การเข้ารว่ มโครงการค่อยข้างช้าในการจัดกิจกรรมเปน็ ไปได้ชา้ กวา่ กาหนดที่ได้ ตง้ั ไว้ความเขา้ ใจในรายละเอียดบางส่วนอาจทาให้เขา้ ใจได้ช้าบ้าง แนวทางการพัฒนา 1. ควรมกี ารจดั ให้จัดกิจกรรมทเี่ หมาะสมกับวัย 2. ควรจัดให้กจิ กรรมหลากหลายรปู แบบ วธิ ีการพัฒนา 1. สรา้ งความรู้ ความเข้าใจทดี่ ใี นการจดั โครงการจดั และส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือคง พัฒนาการทางกายและจติ และสมองของผู้สงู อายุ กลุ่มเปูาหมายมคี วามรับผดิ ชอบในการจดั กิจกรรมการเรยี นการ สอน ใหผ้ ้เู รยี น/ผรู้ บั บรกิ ารเห็นความสาคัญ ๒. ปรบั วธิ ีการจดั กจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกับผู้เรยี น/ผู้รับบริการ ใหม้ ีความยืดหยุ่นโดยไมเ่ นน้ หน่วยการ เรยี นรู้ตามหลักสูตร แต่ให้ยดึ ตวั ผู้เรยี นเปน็ สาคญั แล้วจึงนาผลการดาเนนิ งานมาปรบั ปรุงในคร้งั ต่อไป

26 ข้อเสนอแนะในการดาเนินการครั้งต่อไป 1. ควรทาการศึกษาความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย โดยใช้เคร่ืองมือท่ีหลากหลายรูปแบบ เพ่ือให้ได้ ขอ้ มูลท่ีถกู ตอ้ ง ตรงตามความต้องการของผเู้ รยี นมากทส่ี ุด 2. ควรศึกษาความต้องการของกลุ่มเปูาหมายในด้านต่าง ๆ ท่ีต้องการรับบริการจาก กศน. เพื่อให้ทราบ และสามารถจัดกจิ กรรมตามหลักสูตรให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของท้องถิ่นได้ 3. ควรศึกษาผลกระทบจาการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการศึกษาจากกลุ่มเปูาหมาย และชมุ ชน 4. ควรเกบ็ ข้อมูลของผู้เข้ารบั การอบรมหลงั การอบรมด้วยทุกคร้ัง

27 ภาคผนวก - เอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง - ภาพประกอบกจิ กรรม

28 ภาพประกอบ โครงการการจดั และสง่ เสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จิต และสมอง ของผสู้ งู อายุ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ วนั ท่ี ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ วัดชาติตระการ หมู่ท่ี ๑ ตาบลชาติตระการ อาเภอชาตติ ระการ อาเภอชาติตระการ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก

29

30 คณะทางาน ทีป่ รึกษา กันตง ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอชาติตระการ ภาศรี ครู ชานาญการ 1. นางพรสวรรค์ ล้วนมงคล ครผู ู้ชว่ ย 2. นางร้งุ ภูธร ๓. นางสาวชมพูนชุ คณะทางาน ยศปัญญา ครูอาสาสมคั รฯ บุญประกอบ ครูอาสาสมคั รฯ 1. นางสาวภาณมุ าศ พระคาสอน ครู กศน.ตาบล 2. นางสาวประยรู 3. นางสาวนภิ าพร ผู้รบั ผิดชอบ/ผู้เรียบเรยี บ/ผู้จดั รปู เล่ม/ออกแบบปก 1. นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook