Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore reportcdd_20101

reportcdd_20101

Published by em_nih Dmsc, 2020-03-07 21:59:13

Description: reportcdd_20101

Search

Read the Text Version

๑ ส่วนที่ ๑ ขอ้ มูลทว่ั ไปของชมุ ชน รปู แผนที่หมบู่ า้ น

๒ ๑. ประวัติความเป็นมาและภูมิหลงั ของหมูบ่ า้ น หมบู่ ้านบา้ นบงึ สมัยกอ่ นมคี วามอุดมสมบรู ณ์ มคี วามสงบสุขร่มเย็น เป็นสถานท่ีสงบเป็นธรรมชาติ มีบึงน้าเก่าแกห่ ลายชั่วอายุคน ซ่งึ ชาวบา้ นได้น้านา้ จากบงึ ไปใชป้ ระโยชน์ จงึ ใช้ตั้งชอื่ เรยี กหมูบ่ า้ นว่าบ้านบงึ ต้ังแตน่ ้นั เป็นต้นมา ผูใ้ หญ่บ้านคนแรกคอื นาย คง อรชร เปน็ ผ้ใู หญบ่ า้ นคนแรกโดยการคัดเลอื กและเป็นที่ยอมรับของ ชาวบา้ น ด้ารงต้าแหนง่ ตงั้ แต่ พ .ศ.๒๕๑๔ – พ.ศ. ๒๕๔๔ รวมระยะเวลาทั้งสิ้น ๓๐ ปี ปจั จบุ นั นายจอน สทุ ธิบตุ ร ได้รับการคดั เลอื กให้ด้ารงตา้ แหน่งผใู้ หญ่บ้านคนปจั จุบัน ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๔๔ ๒. ขอ้ มูลทั่วไปของหมบู่ า้ นในด้านตา่ งๆ ๑. อาณาเขตของหมู่บ้าน บา้ นบึงตัง้ อยู่ในตา้ บลพระแทน่ หา่ งจากอ้าเภอทา่ มะกา ประมาณ ๑๕ กโิ ลเมตร มีพน้ื ท่ี ท้ังส้นิ ๖๙๒ ไร่ ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ หมทู่ ่ี ๑, ๖ ตา้ บลอโุ ลกส่หี มืน่ ทศิ ใต้ ติดตอ่ หมูท่ ่ี ๙ ตา้ บลตะคร้าเอน ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ หมู่ที่ ๕, ๖, ๑๑ ตา้ บลพระแท่น ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ หมู่ท่ี ๘ ตา้ บลตะคร้าเอน ๒. ลกั ษณะภูมิประเทศ/ภมู ิอากาศ ลักษณะภมู ปิ ระเทศของหมู่บา้ นโดยรวมรอ้ ยละ ๘๐ เปน็ ท่รี าบล่มุ ลกั ษณะเหมาะสมในการประกอบ อาชพี เกษตรกรรมเพราะส่วนใหญ่อยใู่ นเขตพ้ืนท่ีระบบน้าชลประทาน รวมทัง้ ระบบการคมนาคมขนสง่ สะดวกใชส้ ญั จรไปมาไดท้ กุ ฤดกู าล ตลอดจนระยะทางการขนสง่ ผลผลิตเข้าสตู่ ลาดและโรงงาน อย่ใู น ระยะทางระหวา่ ง ๕๐ – ๑๐๐ กโิ ลเมตร ลกั ษณะภมู ิอากาศ สภาพพ้นื ทีข่ องหม่บู า้ น อย่ใู นเขตภาคตะวันตกของประเทศ ในชว่ งฤดรู ้อนอากาศ คอ่ นขา้ งรอ้ นและอบอา้ ว ฤดูฝนจะมีฝนตกชกุ เป็นชว่ ง ๆ ฤดูหนาวอากาศจะมีช่วงหนาวจัดและลดความ หนาวตามล้าดับ ในระยะเวลาทผ่ี ่านมา ๔-๕ ปี ระยะหลงั ฤดกู าลเปลีย่ นไปตามสภาวการณข์ องโลก สภาพ ภูมิอากาศจงึ ไม่แน่นอนเหมอื นในอดีต ๓. จ้านวนครวั เรอื น/ประชากร/ภาษา บา้ นบึง มคี รวั เรอื นทงั้ หมด ๒๑๖ ครวั เรือน มีจา้ นวนประชากรท้งั หมด ๘๙๕ คน แยกเป็น ชาย ๔๒๑ คนและหญงิ ๔๗๔ คน ภาษาท้องถ่นิ ที่ใช้ในปจั จุบนั ภาษาสว่ นใหญ่จะใชภ้ าษาไทย ภาคกลาง ๔. โครงสรา้ งพืน้ ฐาน การคมนาคมและสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาตขิ องชมุ ชน ๔.๑ การคมนาคม (๑) ถนนลูกรัง จา้ นวน ๗ สาย รวม ๓ กิโลเมตร (๒) ถนนลาดยาง จา้ นวน ๕ สาย รวม ๓.๒ กิโลเมตร (๓) ถนนคอนกรีต จา้ นวน ๒ สาย รวม ๗๐๐ เมตร

๓ ๔.๒ การสาธารณูปโภค (๑) ประปาหม่บู ้าน/ชมุ ชน (อบต./ทต. ดา้ เนนิ การ) รวม ๑ แหง่ ครวั เรอื นใช้บริการ รวม ๑๘๐ ครวั เรอื น (๒) ไฟฟ้าของรฐั (ส่วนภูมภิ าค) รวม ๑ แหง่ ครัวเรือนใช้บริการ รวม ๑๙๙ ครัวเรอื น ๔.๓ แหลง่ น้าเพื่อการเกษตรกรรม (๑) จากระบบนา้ ชลประทาน/ครอบคลมุ พนื้ ทเ่ี กษตรกรรม รอ้ ยละ ๔๐ มีคลองส่งนา้ จา้ นวน ๓ แหง่ (๒) จากระบบน้าผิวดิน (แม่น้า, ล้าธาร, ล้าหว้ ย, หนอง, บึง, สระนา้ ฯลฯ) รอ้ ยละ ๖๐ มจี า้ นวน ๒ แห่ง (๓) จากระบบน้าใตด้ ิน (นา้ บาดาล) ภาครัฐ จา้ นวน ๑ บ่อ ๕. การประกอบอาชีพของคนในชุมชน อาชพี หลักของประชาชนบ้านบึง คอื การทา้ เกษตรกรรม อาชพี รอง คอื การรบั จ้าง โดยนบั เฉพาะผทู้ ่ีมี อายุต้งั แต่ ๑๘ ปีขึ้นไป ไมน่ บั นกั เรียนนกั ศึกษา ปรากฏว่าสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี การท้าเกษตรกรรมแบบ ผสมผสาน (ท้าไร่, นา, สวนไม้ผล, พชื ผัก, เลยี้ งสตั ว์) ร้อยละ ๘๐ รองลงมา คอื รบั จา้ ง รอ้ ยละ ๒๐ ๖. ปราชญ์ชาวบ้าน ๖.๑ นายบุญชว่ ย สวา่ งโลก ด้านแพทยแ์ ผนไทย/สมุนไพรพนื้ บ้าน ๖.๒ นางประจบ หาญกล้า ผอู้ นุรักษ์ศลิ ปวฒั นธรรม/ประเพณที ้องถ่นิ ๖.๓ นายมงคล แกว้ ดี ผูม้ ีความร้ทู างดา้ นงานช่าง/งานฝมี ือ ต่าง ๆ ๖.๔ นายวินยั อรชร ผมู้ คี วามรู้ดา้ นการเกษตร เช่น การเพาะปลูก ขยายพนั ธ์ุ การปรับใช้ เทคโนโลยี ๖.๕ นางทองอยู่ พงึ ประสบ ผูม้ ีความรูด้ ้านการถนอมอาหาร ๖.๖ นายจอน สุทธบิ ุตร ผมู้ ีความสามารถทางด้านการบรหิ ารจัดการกลมุ่ คน ๓. วิถชี วี ติ ของชุมชน ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี หมู่บา้ นตง้ั มานานประมาณ ๑๐๐ ปี มีประชาชนดง้ั เดิมทก่ี ่อตัง้ หมูบ่ ้านอยูใ่ นหมู่บา้ นรอ้ ยละ ๘๐- ๙๐ ส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนาพทุ ธ ร้อยละ ๙๙ วถิ ชี ีวติ ของครอบครัว เปน็ ครอบครวั ใหญ่ (ขยาย) สมาชกิ ใน ครอบครัวชว่ ยเหลือกันในการประกอบอาชีพดา้ นเกษตรกรรม และมบี างสว่ นไปประกอบอาชีพอ่นื ๆ นอก หมบู่ า้ น ยังมวี ัฒนธรรมประเพณีทีเ่ หมือนกนั และยังคงสถานภาพในการสบื สานตอ่ กนั มาจนถงึ ปจั จบุ นั บ้านบึงมีลักษณะทางสังคมทีเ่ ป็นท้ังครอบครวั ขยาย และครอบครัวเดย่ี ว ครอบครัวขยายมกี ารต้งั บ้านเรือนทเ่ี ป็นกลุ่มญาตพิ นี่ ้อง มีการช่วยเหลือซึง่ กันและกนั ถอ้ ยทถี ้อยอาศยั เปน็ ลกั ษณะท่ีสา้ คัญ ส่วน ในครอบครวั เดยี่ วมจี า้ นวนไม่มากนักซึ่งมอี าชีพรบั จา้ งท่วั ไปและใช้แรงงานตา่ งจงั หวดั ประชากร มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ทีเ่ ปน็ จดุ เดน่ คือ เมื่อมีเวลาว่างจากการทา้ อาชพี หลัก จะ มกี ารรวมกลุม่ กันทา้ อาชพี เสรมิ เช่น การเล้ียงววั และ สุกร การปลูกผกั สวนครัวส่งขายเปน็ สินค้าท่ีถอื เป็น ตัวชว่ ยเสริมสร้างรายไดอ้ กี ทางหนง่ึ ทง้ั น้เี พราะมีพื้นฐานจากความร่วมมือรว่ มใจของชุมชน

๔ ภาษาส่วนใหญ่จะใชภ้ าษาไทย ประชากรส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาพุทธ มวี ดั ซง่ึ อย่ใู กล้เคยี ง หมู่บ้าน ๑ แหง่ คอื วดั รางกระตา่ ยรงั สรรค์ ซ่ึงมคี วามส้าคญั ต่อวิถกี ารดา้ เนนิ ชวี ิตของชมุ ชน วดั ถอื ว่าเปน็ สถานทป่ี ระกอบพธิ กี รรมทางพระพทุ ธศาสนาในเทศกาลส้าคญั เชน่ การทา้ บญุ ตกั บาตร เวียนเทยี น งาน บวช งานแต่งงาน งานขึน้ บา้ นใหม่ งานศพ เปน็ ต้น นอกจากนน้ั ยังเปน็ สถานทรี่ วมจติ ใจของประชาชนใน หม่บู ้าน การประชาคมและประชาสมั พันธ์ เก่ยี วกับกิจกรรมในชุมชนช่วยให้สงั คมมคี วามรว่ มมอื สมัคร สมานสามัคคี วัฒนธรรมและประเพณีทอ้ งถน่ิ ชาวบา้ นในหมู่บ้านจะเข้ารว่ มในพธิ ตี า่ ง ๆ ท้งั วันสา้ คัญทาง ศาสนาและวันสา้ คัญทางประเพณี เชน่ แหเ่ ทยี นเขา้ พรรษา ประเพณลี อยกระทง ประเพณีวนั สงกรานต์ เป็นตน้ ๔. กจิ กรรมและการขบั เคลือ่ นงานพฒั นาชมุ ชนในหมู่บา้ น ๔.๑ กล่มุ ออมทรพั ย์/เงินสจั จะ ๑ กลุม่ ๔.๒ เงินกองทนุ หมู่บา้ น ๑ กลมุ่ ๔.๓ เงนิ กองทุนกระตุ้นเศรษฐกิจ ๑ กลุ่ม ๔.๔ เงินกองทุน SME ๑ กลมุ่ ๔.๕ กองทนุ แม่ของแผ่นดิน ๑ กลมุ่ ๔.๖ กลมุ่ ฌาปนกิจชาวบ้าน ๑ กลุ่ม มสี มาชกิ ๘๒๐ คน ๔.๗ อาสาสมคั รสาธาณสุข ๑ คณะ มีสมาชกิ ๑๐ คน ๔.๘ กลุ่มข้าวโพดฝกั อ่อน ๑ กลุ่ม ๔.๙ กลุ่มเลี้ยงสตั ว์ ๑ กลุ่ม ๔.๑๐ กลุ่มแม่บา้ น ๑ กลมุ่

๕ สว่ นท่ี ๒ ผลการปฏิบตั ิงานพฒั นาชุมชน ๒.๑) การปฏบิ ตั ิงานในสานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอ ๒.๑.๑) งานและภารกิจของสา้ นักงานพัฒนาชมุ ชนอ้าเภอทา่ มะกา คอื การบรหิ ารงานพฒั นา ชมุ ชนและการบริหารการพฒั นาในส่วนทเี่ กย่ี วข้องในอ้าเภอให้เป็นไปตามนโยบายของอ้าเภอ จังหวดั กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย และรฐั บาล ใหก้ ารสนบั สนุนช่วยเหลอื ให้คา้ ปรกึ ษาแนะนา้ ใน การสง่ เสรมิ ศักยภาพของผนู้ า้ ชมุ ชน องค์กรชมุ ชนและเครือข่ายองคก์ รชุมชนในการบริหารจัดการชมุ ชน การส่งเสริมกระบวนการเรยี นรแู้ ละการมสี ่วนร่วมของชมุ ชน การสง่ เสรมิ วิสาหกจิ ชุมชนในระดับอา้ เภอ ต้าบล หมบู่ ้าน ทั้งในด้านวชิ าการและการปฏิบัติ งานประสานงานและปฏบิ ัติงานรว่ มกับหนว่ ยงานอน่ื ทงั้ ภาครัฐ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น องคก์ รพฒั นาเอกชน ผู้นา้ ชมุ ชน อาสาสมคั ร องคก์ รชุมชนและ เครือขา่ ยองค์กรชมุ ชน จัดทา้ ศนู ยข์ อ้ มูลเพอ่ื การพฒั นาชุมชนระดบั อ้าเภอ จดั เกบ็ และหรือประสานการ จดั เก็บข้อมูลเพ่ือการพัฒนาชมุ ชน รวบรวมและท้าแผนงาน/โครงการของอา้ เภอในส่วนท่ีเก่ยี วขอ้ งตลอดจน ให้ค้าปรกึ ษาแนะน้าองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ และ ใหบ้ ริการองคก์ รชมุ ชนและเครือข่ายองค์กรชมุ ชนใน การบรหิ ารและดา้ เนินงานเก่ยี วกบั ระบบข้อมูลและแผนงาน/โครงการ นอกจากน้ี ยังมหี นา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ เกี่ยวกับงานสารบญั งานธรุ การท่ัวไป งานการเจ้าหน้าท่ี งานงบประมาณการเงนิ และบัญชี งานประชา สัมพนั ธแ์ ละปฏบิ ัติงานอื่นทเี่ กีย่ วข้องตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ๒.๑.๒) การมีสว่ นรว่ มในการปฏบิ ัติงานในอ้าเภอ เริ่มด้วยการมาเปดิ ส้านักงาน เตรียม เครื่องดื่มและเตรยี มภาชนะส้าหรบั ผมู้ าตดิ ตอ่ ราชการ แล้วรับภารกิจและการชแี้ จงการปฏิบัตงิ านจาก พฒั นาการอา้ เภอ โดยได้มอบงานให้ช่วยเหลอื งานของพฒั นากรสา้ นักงานพฒั นากรอ้าเภอทา่ มะกาในดา้ น งานสารบรรณ การเกษยี ณหนังสือราชการ การประชมุ โครงการไทยนิยมยั่งยืน การประชุมกองทุนพฒั นา บทบาทสตรี ๒.๑.๓) งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจากพฒั นาการอา้ เภอพฒั นาการอา้ เภอทา่ มะกาได้มอบหมายงานให้ ปฏิบตั ิ งานในสว่ นของการสารบรรณการเกษียณหนงั สอื ราชการ การประชุมโครงการไทยนยิ มย่ังยนื การ ประชมุ กองทุนพฒั นาบทบาทสตรี โดยให้ช่วยเหลอื พฒั นากรในด้านตา่ งๆ เหล่าน้ัน ๒.๒) การปฏบิ ัตงิ านตามกระบวนการพฒั นาชมุ ชน ๕ ข้ันตอน กระบวนการพัฒนาพัฒนาชุมเป็นกระบวนการหลกั ในการด้าเนินการแก้ไขปญั หาและ ตอบสนองความตอ้ งการของชมุ ชน โดยการใช้คนเข้าสัมผัสพืน้ ทจ่ี ริงเพอ่ื ทจ่ี ะได้รบั รู้ รับทราบสภาพความ เป็นจรงิ ของชมุ ชนดว้ ยการสงั เกต สมั ภาษณ์หรอื สอบถามและการสา้ รวจ แลว้ น้าขอ้ มูลที่ไดม้ าให้การศกึ ษา ชุมชนและร่วมวิเคราะหป์ ัญหาโดยกระบวนการการมสี ว่ นรว่ ม แลว้ น้าปัญหาหรอื ความตอ้ งการที่ได้มา วางแผน แล้วจงึ ด้าเนินการตามแผนเมือ่ เสรจ็ สิ้นการดา้ เนินการกจ็ ะสขู่ น้ั ตดิ ตามและประเมนิ ผล วา่ ได้ บรรลุเปา้ หมายในการแกป้ ญั หาหรอื ความตอ้ งการหรอื ไม่

๖ ๒.๒.๑) ศึกษาชมุ ชน การศกึ ษาชุมชน เปน็ การสา้ รวจและศกึ ษาวิเคราะห์ความจริงในข้อมลู ดา้ นตา่ งๆของ ชุมชน ทงั้ ในด้านสงั คม วฒั นธรรม เศรษฐกิจ การเมอื งการปกครอง ปัญหาและความต้องการของ ประชาชนในชมุ ชน เพ่ือน้ามาใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนาชมุ ชนและความสัมพันธร์ ะหว่างประชาชน ในชุมชนกับหน่วยงาน องคก์ รต่างๆ ทัง้ ภายในและภายนอกชุมชน ความเช่ือ คา่ นยิ ม เจตคติ ขนบ ธรรมเนยี มประเพณีและวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ในชมุ ชนเพอื่ นา้ ข้อมูลที่ไดจ้ ากการศกึ ษาไปใชใ้ นการ ดา้ เนินการพฒั นาชุมชนในด้านตา่ ง ๆ ต่อไป การศึกษาชุมชนทใ่ี ช้ในการปฏบิ ัติงาน โดยใช้เคร่อื งมอื ดังน้ี ๑. การสัมภาษณ์ เปน็ กระบวนการสื่อสารระหว่างบคุ คลด้วยการพบปะกับผใู้ ห้ข้อมูล โดยตรง ซ่ึงอาจโดยการใชค้ า้ พดู ทา่ ทาง สญั ลักษณแ์ ละความรสู้ กึ ท่ีแสดงออกกไ็ ด้ ๒. การศึกษาจากผรู้ ูแ้ ละแหล่งวิชาการต่าง ๆ ทงั้ บุคคลเชน่ นักพัฒนาชุมชน ผ้นู ้า ชุมชน ผทู้ ี่เกย่ี วข้องในเรอื่ งนน้ั ๆ และจากเอกสารข้อมูลตา่ ง ๆ ทีห่ น่วยงานราชการได้ศึกษาไว้แลว้ ๓. การสา้ รวจ เป็นการศกึ ษาชุมชนโดยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์อย่างมรี ะบบ ซงึ่ อาจ ใช้วิธอี น่ื ๆ ร่วมกนั เชน่ การถ่ายรปู การจดบันทกึ เปน็ ต้น จากการศึกษาชมุ ชน โดยการพบปะพูดคุยกับผ้นู า้ ชุมชนและประชาชนในหมบู่ ้าน กไ็ ด้ ขอ้ มูลเก่ียวกบั หมู่บ้านในดา้ นตา่ ง ๆ ดังต่อไปน้ี ๑. จ้านวนครวั เรอื น มจี า้ นวนครัวเรือนทงั้ หมดทอ่ี าศยั อยู่จรงิ ในหมู่บา้ น จา้ นวน ๒๑๖ ครัวเรือน มีประชากรท้ังหมด ๘๙๕ คน แยกเปน็ ชาย ๔๒๑ คนและหญิง ๔๗๔ คน ๒. การประกอบอาชีพในหมู่บ้าน - อาชพี หลัก เกษตรกรรม ได้แก่ ทา้ นา ปลกู ผักสวนครวั ปลูกผลไม้ - อาชีพรอง เลี้ยงปศสุ ตั ว์ ไดแ้ ก่ สุกร ไก่ โค - อาชพี เสริม รบั จา้ งทว่ั ไป ๓. ผู้น้าชุมชน - นายจอน สุทธบิ ุตร ผใู้ หญบ่ า้ น - นายมงคล แก้วดี ผชู้ ว่ ยผใู้ หญบ่ า้ น - นางสาวจนิ ดา แสงศิริ ผชู้ ่วยผ้ใู หญบ่ า้ น - นายชาลี พงึ ประสพ สมาชกิ สภาจังหวัดกาญจนบรุ ี - นายวนิ ัย สทุ ธิบุตร สมาชิก อบต.พระแท่น - นายชุมพล อุ่มน้อย เลขานายก อบต.พระแท่น - นายสมพศิ บัวบาล สมาชกิ อบต.พระแทน่ ๔. กล่มุ องคก์ รชุมชนต่างๆในหมูบ่ ้าน มดี ังน้ี ๑. กลมุ่ ป๋ยุ หมักชีวภาพ ๒. กลุ่มเพาะเหด็ นางฟ้า

๗ ๓. กล่มุ แม่บ้านทา้ ขนมโมจิ ๔. กลมุ่ สานส่มุ สานตระกร้า ๕. กลุม่ นา้ ยาล้างจาน ๖. กลุ่มท้านา้ หมักเพื่อสขุ ภาพ ๒.๒.๒) การให้การศกึ ษาชมุ ชน เปน็ การวเิ คราะหข์ ้อมลู ชุมชนท่ีไดจ้ ากการศึกษา รว่ มกับผู้นา้ ชมุ ชน คณะกรรมการ หมู่บ้าน ตวั แทนกลุ่มองคก์ รและประชาชนในหมูบ่ า้ น เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้รว่ มกนั ในการ พจิ ารณา/เปรียบเทยี บ ข้อมลู ตา่ งๆ ท่ีได้จากการประชาคม เพ่ือวิเคราะหป์ ญั หาและความตอ้ งการ ของชมุ ชน รวมท้ังกา้ หนดเปา้ หมายการพฒั นาที่ชมุ ชนพงึ ประสงค์ โดยมกี ระบวนการดังนี้ ๑. การจัดเวทปี ระชาคม โดยการประชมุ ร่วมกับผู้น้าชุมชนและประชาชนใน หมบู่ ้านเพอ่ื รว่ มกันวิเคราะหศ์ ักยภาพของหมบู่ ้านในด้านต่าง ๆ การสะท้อนปญั หาและความ ตอ้ งการ เพื่อกา้ หนดแนวทางการแก้ไขปญั หาและกา้ หนดเป้าหมายในการพัฒนารว่ มกนั ซ่งึ จาก การจัดเวทปี ระชาคมระดมความคดิ เห็น โดยการมสี ่วนร่วมของคนในหมบู่ า้ นด้วยการใช้เทคนคิ SWOT มาใชใ้ นการวิเคราะหช์ ุมชนเพ่ือการคน้ หาศกั ยภาพของหมบู่ า้ น จดุ แขง็ จุดอ่อน - มคี วามสามคั คี - ขาดแคลนน้าเพ่อื การเกษตร - มีความสะอาด - ประชาชนมีหนส้ี ิน - มีคณะกรรมการหมู่บา้ นรว่ มทา้ งาน - ตดิ เหล้า การพนนั - มกี ารประชมุ หมบู่ ้าน - สมาชกิ ไม่ค่อยใหค้ วามร่วมมอื - นา้ ไหลไฟสว่าง, สาธารณปู โภคสะดวก - มีกลมุ่ สตรีหมบู่ า้ น ปัญหา อุปสรรค - เกิดความร่วมมือของคนในชมุ ชนดา้ น - น้ามันราคาแพง การพฒั นาหมบู่ า้ นอยา่ งต่อเน่อื ง - ค่าครองชีพสงู รายได้ต้่า - มีปราชญ์ชาวบ้าน/ผมู้ คี วามรู้ ความสามารถ/ผ้เู ชี่ยวชาญที่สามารถ ถ่ายทอดความรูไ้ ด้ เช่น เรอื่ งการเพาะ เหด็ การเลย้ี งสุกร การปลูกผัก/สมนุ ไพร เปน็ ตน้ โอกาส - มกี องทนุ หมูบ่ า้ นสร้างโอกาสด้านการ ประกอบอาชีพและสวสั ดิการชุมชน

- กองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ ๘ - มหี น่วยงานภาครัฐ /ท้องถนิ่ ใหก้ าร สนับสนนุ งบประมาณ - ผลผลิตทางการเกษตรราคาตกต่้า พอ่ ค้ากดราคาสนิ ค้า - ภยั แลง้

๙ ที่ สภาพปัญหา/ สาเหตุของปญั หา แนวทางการแกไ้ ข โครงการ/ ความต้องการของ กิจกรรม ประชาชน ๑ ส่งเสรมิ อาชีพ การประกอบอาชีพ จดั ฝกึ อบรมอาชพี ฝกึ นวดแผนไทย หลกั รายไดน้ อ้ ย ไม่ เสริม แน่นอน ๒ ขาดเงนิ ทุนประกอบ ต้นทนุ ในการผลิตมี ลดตน้ ทนุ การผลติ กากมนั หมกั ยีสต์ อาชพี ราคาสงู ๓ ขาดความรูด้ ้านการ เกดิ จากดิน อบรมใหค้ วามรดู้ า้ น ปุ๋ยฮอร์โมนพชื บา้ รุงรักษาดิน เสอื่ มสภาพ การบ้ารุงรักษาดิน ๔ มเี ยาวชนเสพสง่ิ เสพตดิ เกิดจากการอยาก กจิ กรรมเชงิ สร้าง กองทุนแม่ของ ลองและการชกั น้า สรรค์ กีฬา ค่าย แผน่ ดนิ ในทางท่ผี ดิ อาสา ๕ ตอ้ งการท้าเกษตร ขาดองค์ความรู้ ลดการใชส้ ารเคมี ศูนยเ์ รยี นรู้เกษตร อินทรยี ์ อนิ ทรีย์ ๒. การคัดเลอื กปัญหาเพื่อจัดทา้ โครงการ จากการศึกษาและวิเคราะหช์ ุมชนพอ สรปุ ปญั หาและความตอ้ งการของคนในชุมชน ดงั นี้ ๒.๑ กลุม่ อาชพี ออ่ นแอ ๒.๒ ขาดเงินทนุ ประกอบอาชีพ ๒.๓ ขาดความรเู้ ร่ืองการบ้ารงุ ดนิ ๒.๔ เยาวชนเสพสารเสพตดิ ๒.๕ ตอ้ งการท้าการเกษตรอนิ ทรีย์ ๒.๒.๓) การวางแผนงาน/โครงการ เปน็ กระบวนการเก่ยี วกบั การก้าหนดวตั ถปุ ระสงค์ในการดา้ เนินการและก้าหนดแนว ทางสา้ หรบั ปฏิบัตงิ านพฒั นาชุมชน เพ่ือให้บรรลวุ ตั ถุประสงคท์ ว่ี างไว้ ซึ่งมีลา้ ดบั ความคดิ ในการดา้ เนนิ งานท่ี จะต้องปฏิบตั ิร่วมกันวา่ ควรจะทา้ อะไร เม่ือไร ใครเปน็ ผู้ท้า ท้าทไ่ี หน ท้าไมจงึ เลือกทา้ วธิ ีการด้าเนินงาน เชน่ นัน้ การวางแผนกิจกรรม/โครงการจึงเป็นผลมาจากการศึกษาวิเคราะหข์ อ้ เทจ็ จริงของสภาวะทางสังคม เศรษฐกจิ และปญั หาของประชาชนในชุมชนนั้น ๆ ซึ่งตอ้ งอยู่บนพ้ืนฐานความต้องการของประชาชนใน ชุมชน โดยการดา้ เนนิ งานตอ้ งเปน็ ไปตามลา้ ดับความส้าคญั ของปญั หาในชมุ ชนนน้ั ๆ และมีเปา้ หมายท่ี สอดคลอ้ งกับการแก้ไขปญั หาเพอ่ื ตอบสนองความต้องการทีแ่ ท้จรงิ ของคนในชมุ ชน

๑๐ ขัน้ ตอนการวางแผนกิจกรรม/โครงการ ๑. การศึกษาสภาพปจั จุบนั และปญั หาตา่ ง ๆ ของชมุ ชนในพืน้ ที่บ้านบึง มีสภาพพืน้ ที่ โดยทว่ั ไปเหมาะสมกบั การท้าการเกษตร การทา้ นา การปลกู ผักสวนครัว และการเล้ยี งปศสุ ตั ว์ ส่วนปญั หาท่ี มีอยูใ่ นชมุ ชนก็จะเปน็ ต้นทุนการผลติ สูง กลุม่ อาชพี มีความอ่อนแอ ๒. จากการศึกษาขอ้ มลู พบวา่ บา้ นบึงมีทนุ ด้านทรพั ยากรธรรมชาตโิ ดยมีการปลกู มัน สา้ ปะหลังหลายครัวเรือนเพียงพอท่จี ะนา้ มาเปน็ อาหารสัตว์และจัดจ้าหน่ายให้กบั โรงงานรับซ้ือมัน ส้าปะหลังในพน้ื ท่ี ๓. การก้าหนดเปา้ หมายการพฒั นา จากการส้ารวจปญั หาและความตอ้ งการของคนใน ชมุ ชนโดยมีการเสนอโครงการท่ีสอดคล้องกบั ปัญหาและความต้องการ ซง่ึ จะสามารถแกไ้ ขปัญหาที่มีอยใู่ น หมู่บา้ นได้ดังน้ี ๑. โครงการสง่ เสริมการบรหิ ารจดั การกลุ่มเลีย้ งสุกร ๒. โครงการฝกึ อาชีพ ๓. โครงการศูนย์การเรยี นรเู้ กษตรอนิ ทรยี ์ จากการเสนอโครงการผา่ นมติทีป่ ระชมุ ประชาคมหมบู่ ้าน ก็จัดล้าดบั ความส้าคัญและ ประเด็นปญั หาเร่งดว่ นท่คี นในหมูบ่ า้ นสามารถแกไ้ ขปัญหาไดเ้ อง ทป่ี ระชุมกไ็ ด้มีมติคัดเลือกกจิ กรรม โครงการ จา้ นวน ๑ โครงการกค็ ือ โครงการสง่ เสรมิ การบริหารจัดการกลุ่มเล้ียงสุกร มี ๒ กจิ กรรม คอื การ ทบทวนกลมุ่ และการสาธิตการผลติ อาหารสุกรจากกากมันหมกั ยสี ต์ ๒.๒.๔) การดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ การด้าเนินการโครงการส่งเสริมการบรหิ ารจดั การกลุ่มเลย้ี งสุกร บ้านบึง หมทู่ ่ี ๙ ตา้ บลพระแท่น ซึ่งเป็นโครงการเพอ่ื แก้ไขปัญหาการขาดเสถยี รภาพและความต่อเน่อื งของกลุม่ กบั ท้งั ปจั จุบันอาหารสกุ รมรี าคาสงู ข้ึนทา้ ใหส้ มาชิกของกลมุ่ ประสบปัญหาการขาดแคลนตน้ ทุนการผลิต เพอ่ื เป็นการสง่ เสรมิ ให้กลุม่ เล้ียงสุกรมีการบริหารจัดการทด่ี ี และลดต้นทุนการผลิต โดยน้ากากมันมาหมักยสี ต์ จากมนั ทม่ี อี ยูท่ ว่ั ไปในหมู่บ้านปจั จุบันรวมทง้ั การทบทวนกลมุ่ เพอื่ ให้เปน็ ปัจจบุ นั จงึ ได้จัดทา้ โครงการสง่ เสรมิ การบรหิ ารจดั การกลุ่มเลีย้ งสกุ ร บา้ นบึง หมทู่ ี่ ๙ ตา้ บลพระแท่นข้นึ เพอื่ ให้กลุม่ เลยี้ งสุกรน้ามาลดต้นทุนการผลติ และมกี ารบริหารจัดการทดี่ ี โดยมวี ิธีดา้ เนนิ การดังน้ี ๑. การทา้ ประชาคมกบั ชาวบ้านเพือ่ เสนอโครงการ ๒. จัดท้าโครงการ เพอื่ เสนอขออนมุ ตั ิในการด้าเนินการ ๓. ประสานกลมุ่ เป้าหมาย เช่น เกษตรกรกล่มุ เล้ยี งสกุ ร จดั เตรียมสถานที่ วตั ถุดิบ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ทงั้ ประสานวทิ ยากร - ประสานกลมุ่ เป้าหมาย เกษตรกรกลมุ่ เล้ียงสุกร บา้ นบึง หมทู่ ี่ ๙ ตา้ บล พระแทน่ และผูท้ สี่ นใจ -จัดเตรียมสถานที่ วตั ถุดิบ และอปุ กรณต์ ่าง ๆ เช่น กากมัน หวั เชือ้ ผลติ มนั หมักยสี ต์ กากน้าตาล ปยุ๋ เกลอื ถังน้า เป็นต้น

๑๑ -ประสานวทิ ยากร (นายมงคล แกว้ ดี ผ้ชู ว่ ยผู้ใหญบ่ า้ น หมู่ ๙ ตา้ บลพระ แทน่ ) ๔. ดา้ เนินการทบทวนกล่มุ และสาธิตการผลติ อาหารสกุ รจากกากมนั หมักยสี ต์ ในวันท่ี ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๑ ณ บ้านเลขที่ ๑๑๖/๗ บ้านบึง หมู่ที่ ๙ ต.พระแท่น อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบุรี โดยมวี ิธกี ารดา้ เนนิ การ ดงั นี้ การทบทวนกลุม่ มอี ุปกรณ์ดงั นี้ -ฟลิปชารท์ ๑ แผน่ -ปากกาเคมี ๓ ด้าม -ท่ีปดิ ประกาศ ๑ ชุด วิธีท้า นา้ ระเบยี บกลุม่ รายชอ่ื คณะกรรมการและสมาชิกวา่ เปน็ ปัจจุบันหรือไม่ แลว้ จึงเพิม่ เติมระเบียบตามความตอ้ งการของสมาชกิ วัตถุดิบที่ใช้ในการท้ากากมันหมกั ยีสต์ - กากมันสด ๑ ตนั - หัวเชอื้ ผลติ มนั หมักยีสต์ ๑ กโิ ลกรมั - กากนา้ ตาล ๒๐ กโิ ลกรัม - ป๋ยุ เกลอื ๑๐ กิโลกรัม - นา้ สะอาด ๒๐๐ ลติ ร ส่วนประกอบหัวเชื้อผลิตมนั หมกั ยสี ต์ ประกอบด้วย ๑.ยสี ต์ไวน์+ยีสตข์ นมปงั ๒.วิตามินเอ ๓.วิตามีนดี๓ ๔.วติ ามนิ อี ๕.วิตามนิ เค๓ ๖.วิตามนิ บี๑ ๗.วิตามนิ บ๒ี ๘.วิตามนิ บี ๖ ๙.วติ ามนิ บ๑ี ๒ ๑๐. กรดแพนโททนี ิก ๑๑.กรดนิโคทนี กิ ๑๒.กรดโพลิค ๑๓.ไบโอติน ๑๔.เหลก็ ๑๕.สังกะสี ๑๖.ทองแดง ๑๗. แมงกานสี ๑๘.ไอโอดนี ๑๙.โคบอลต์ ๒๐.ทรโี อนีน ๒๑.ทริปโตฟาน ๒๒.ซีลเี นียม ๒๓.ไลซนี ๒๔.เมทไธ โอนนี ๒๕.โซเดยี ม ๒๖.เอนไซม์ไฟเตส ๒๗.เอนไซม์อะไมเลส ๒๘.เอนไซมเ์ ซลลูเลส ๒๙.เอนไซม์ไซลาเนส ๓๐.เอนไซม์บีตา้ -กลคู าเนส ๓๑.เอนไซมเ์ พคตเิ นส ๓๒.เอนไซม์แมนนาเนส ๓๓.ยีสต์แอ็กซ์แทรก ขั้นตอนการทา้ มันหมกั ยีสต์ ๑. ตรวจสอบปริมาณกากมนั สดหรอื วตั ถดุ บิ ตัวอืน่ ๆ ทีต่ อ้ งการผลิตเพือ่ หมกั ยีสต์ ๒. เทส่วนผสมวัตถุดิบท้ังหมดจากดา้ นบน(ยกเว้นกากมันสด)ลงในถังผสม กวนให้ละลาย เขา้ กนั โดยเปดิ ปม้ั น้าหมุนวนหรอื ใชไ้ ม้กวนบอ่ ย ๆ เปน็ เวลาอย่างน้อย ๑ ช่วั โมง (ย่งิ นานยิง่ ดี) ๓. น้าน้าหมกั ยีสตท์ ีไ่ ด้คลกุ เคล้ากบั กากมันสดในอตั ราสว่ น น้าหมักยีสต์ ๑ ลิตรตอ่ กาก มนั สด ๕ กโิ ลกรัม ๔. ปดิ ด้วยพลาสติกใหแ้ นบชดิ กับกากมนั มากท่สี ุดและหมกั เป็นเวลาอย่างนอ้ ย ๑๐ วัน เมอ่ื ครบแลว้ น้าไปผสมใช้เล้ียงสตั วด์ ังตารางดา้ นล่าง มันหมักยสี ต์ทไี่ ด้จะมโี ปรตีนประมาณรอ้ ยละ ๑๒.๓

๑๒ ขอ้ แนะนาวิธใี ช้ สัดสว่ นผสม (กิโลกรัม ต่อ กิโลกรัม) ๑. สุกร อาหารขน้ * มันหมักยีสต์ -นา้ หนกั ต้ังแต่ ๒๐-๔๐ กก. -น้าหนักตงั้ แต่ ๔๑-๖๐ กก. ๑๑ -นา้ หนักตั้งแต่ ๖๑-จับขาย ๑๒ -สุกรแมพ่ นั ธ์ุ/พ่อพนั ธ์ุ ๑๓ ๒. เปด็ เนือ้ ๑ ๓-๔ -อายตุ งั้ แต่ ๓๐ วัน -อายตุ ัง้ แต่ ๖๐ วนั ๑๑ -อายุตง้ั แต่ ๙๐ วนั ๑๒ ๓. เปด็ ไข่ ๑๓ -ระยะไข่ -ระยะไมไ่ ข่ ๑๑ ๔. ไกพ่ ืน้ เมือง ๑ ๒-๓ -อายตุ ั้งแต่ ๓๐ วัน -อายตุ ั้งแต่ ๖๐-๙๐ วัน ๑๑ ๕. ไกไ่ ข่ ๑ ๑-๒ -ระยะไข่ -ระยะไมไ่ ข่ ๑๑ ๖. จง้ิ หรดี /แมงสะดง้ิ ๑ ๑-๒ -อายตุ ง้ั แต่ ๒ สปั ดาหข์ นึ้ ไป ๗. ปลากินพชื ๑ ๑-๒ - อายุ ๔ เดือนขึน้ ไป ๘.โคเน้อื (กนิ เสรมิ ) ๑ ๑-๒ ๙.โคขนุ (กนิ เสริม) ๑๐ กิโลกรัมตอ่ วนั ๑๐.โคนม(กินเสรมิ ) -โครีดนม ๑๐ – ๑๕ กิโลกรมั ตอ่ วนั -โครุ่น -โคสาว ๑๐ – ๑๕ กโิ ลกรมั ตอ่ วนั -โคดราย ๔-๖ กโิ ลกรัมต่อวัน ๑๑.แพะ(กนิ เสรมิ ) ๗-๘ กโิ ลกรมั ต่อวนั ๑๐ – ๑๒ กโิ ลกรัมตอ่ วนั ๑-๒ กิโลกรมั ต่อวัน

๑๓ *อาหารขน้ ยห่ี ้ออะไรก้ไดค้ วรมีโปรตีนตามช่วงระยะการเจรญิ เติบโตของสตั วใ์ นแตล่ ะประเภทหรอื โปรตนี ไม่ น้อยกว่า ๑๘ เปอร์เซ็นตข์ นึ้ ไป ๒.๒.๕) การติดตามและประเมินผล จากการดา้ เนินโครงการส่งเสรมิ การบริหารจัดการกลมุ่ เลย้ี งสกุ รบ้านบึง หม่ทู ่ี ๙ ตา้ บลพระแท่น โดยมเี กษตรสมาชกิ กลุ่มเลย้ี งสุกรเปน็ กลุม่ เป้าหมายในการสง่ เสริมการบริหารจดั การใหก้ ลมุ่ มีเสถียรภาพมีความยั่งยนื และลดตน้ ทนุ การผลิตในการเล้ียงสุกร ซึง่ เมือ่ ได้ดา้ เนินการไปแลว้ โดยสมาชกิ กลมุ่ เล้ียงสกุ รร่วมกนั ติดตามผลการใช้อาหารจากกากมนั หมักยสี ต์ในระยะเวลา ๑๐ วันหลงั จากการหมกั แล้วน้ามาผสมหัวอาหารให้สกุ รกนิ และติดตามวา่ สกุ รเจรญิ เติบโตไดเ้ ทา่ กบั การให้กนิ หัวอาหารท้ังหมด หรอื ไม่ แต่ทปี่ รากฏผลทนั ทีคือมผี ้สู มัครเขา้ เปน็ สมาชกิ กลมุ่ สกุ รเพ่ิมขึ้นนนั่ แสดงถึงว่าชาวบา้ นเกดิ ศรทั ธาใน ความเปน็ กลุ่มและเช่อื ม่ันในศกั ยภาพของกรรมการแล้ว ผลที่คาดว่าจะได้รบั จากโครงการ มดี ังน้ี ๑. ลดรายจ่ายจากการซือ้ อาหารสา้ เรจ็ รูป(หวั อาหาร) ๒. กลุม่ เลยี้ งสกุ รมกี ารบรหิ ารจดั การอย่างมีระบบและมีความยัง่ ยืน ๓. ครัวเรือนในชมุ ชนบา้ นบึง รู้จักการแปรรปู มันส้าปะหลงั มาเป็นวัตถดุ บิ ในการผลิต อาหารสกุ ร ๔. ครวั เรอื นกลุ่มเลย้ี งสุกรมรี ายไดเ้ พ่ิมขนึ้ ๒.๓) การใชเ้ ครอ่ื งมือฝึกปฏบิ ตั ิงานพฒั นาชมุ ชนในพน้ื ทห่ี มูบ่ ้าน การฝึกปฏบิ ตั ิงานพฒั นาชุมชนในพน้ื ทหี่ มูบ่ า้ น ขา้ พเจ้าได้ใช้เครอื่ งมอื SWOT Analysis เป็นเครื่องมอื ในการวิเคราะห์จดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาสและอปุ สรรคของหมูบ่ ้าน โดยผา่ นเวทปี ระชาคมให้ ชาวบา้ นไดร้ ่วมกันวเิ คราะหไ์ ปทีละหวั ข้อจนครบกระบวนการ เพราะชาวบา้ นย่อมรจู้ กั ตัวเองและหมู่บ้าน ของตัวเองดกี วา่ ใคร ๆ แลว้ จึงน้าผลจากการวเิ คราะหด์ ังกล่าวโดยใช้เคร่ืองมอื SWOT Analysis มาคดั เลือก ปัญหาอนั เป็นเปน็ จุดก่อก้าเนิดโครงการ เพือ่ ตอบสนองความต้องการและแกไ้ ขปัญหาใหก้ บั ชาวบ้านได้อย่าง แท้จริง ๒.๔) ปญั หาและอปุ สรรค ระหว่างการฝกึ ปฏิบัตงิ านพฒั นาชมุ ชน จาการปฏบิ ัตงิ านพัฒนาชมุ ชนในพน้ื ทบี่ ้านบึง หมู่ท่ี ๙ ตา้ บลพระแทน่ มปี ัญหา/อปุ สรรค ในการปฏิบัตงิ านดังนี้ ๑. การปฏบิ ัตงิ านในในพื้นที่หมบู่ ้าน มรี ะยะเวลานอ้ ยเกินไป ท้าให้การศึกษาขอ้ มูลชุมชนยัง ไมค่ รบถ้วน และมีเวลาท้าโครงการน้อยเกนิ ไป ยากตอ่ การดา้ เนินการและการประสานงาน ๒. การจดั ประชาคม มผี ูเ้ ข้าร่วมประชุมนอ้ ยเน่ืองจากเหน็ดเหนอ่ื ยจากการทา้ งาน ๓. การเสนอความคิดเห็น ในเวทีประชาคมชาวบา้ นบางคนไม่เสนอความคิดเห็น ๔. ชาวบ้านบางสว่ นทไ่ี ม่ได้เลี้ยงสกุ ร ไม่เหน็ ดว้ ยกบั โครงการเนอื่ งจากไม่เกย่ี วขอ้ งกับ ครวั เรอื นของตนเอง ๕. การด้าเนินงานโครงการสว่ นใหญจ่ ะมผี ูส้ ูงอายุเข้ารว่ มมากกวา่ ผเู้ ป็นสมาชกิ กลมุ่ เปา้ หมาย

๑๔

๑๕ สว่ นท่ี ๓ ถอดบทเรียน โครงการสง่ เสริมการบริหารจดั การกลมุ่ เล้ยี งสกุ ร บ้านบึง หมทู่ ี่ ๙ ตา้ บลพระแทน่ มีความ คาดหวงั ใหก้ ลมุ่ เลีย้ งสกุ รบ้านบึงมีการบริหารจัดการท่ีดี เปน็ กลมุ่ อาชีพทม่ี ีความเข้มแขง็ เปน็ แหลง่ รายได้ ให้กบั สมาชกิ จากการรวมกลมุ่ อาชีพซึ่งจะมกี ารทบทวนกลมุ่ สมาชิก การเงิน กรรมการและกฎระเบียบให้ เป็นปัจจบุ ันเพ่ือแกไ้ ขปญั หาวกิ ฤตศิ รัทธาทเี่ กิดขึ้น และอีกประการส้าคัญคอื การใหส้ มาชกิ ในกลุ่มได้ลด ตน้ ทนุ การผลิตอนั เป็นปญั หาส้าคญั ทีท่ า้ ใหก้ ลมุ่ ขาดเสถียรภาพเพราะการเลิกเลยี้ งสกุ รหรือเล้ียงน้อยลง ซง่ึ จะส่งเสริมการลดต้นทุนการผลติ โดยการใช้กากมันสา้ ปะหลังจากโรงงานมาหมักยีสต์ตามสตู รที่ได้มีการวิจยั จาก ชุมนุมสตั วศาสตร์ สาขาวิชาสตั วศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม มาใช้ลดตน้ ทุนการผลติ ใหแ้ ก่เกษตรกร โดยมคี วามหวงั ที่จะให้สมาชิกกล่มุ เลยี้ งสุกรเข้าร่วมทบทวนกลมุ่ ครบ ทุกรายและใหส้ มาชกิ สามารถผลิตกากมนั หมกั ยสี ต์ได้ด้วยตนเองและน้าไปใช้ในทางปฏบิ ตั ิได้จรงิ ส่ิงท่ีเกิดขึ้นจากการด้าเนนิ โครงการ พบว่าสมาชกิ กลุม่ เล้ยี งสกุ รมาไม่ครบจา้ นวนแต่มีผูท้ สี่ นใจท่ี ไม่ใชส่ มาชิกกลมุ่ มารว่ มรับฟงั การทบทวนกลมุ่ แล้วเข้ามาสมัครเปน็ สมาชิกกลมุ่ ในสว่ นของการใช้กากมัน หมักยีสตล์ ดต้นทุนค่าอาหารสกุ รได้รบั ความร่วมมือเปน้ อย่างดีจากภาคพี ฒั นาต้าบลพระแทน่ อนั ประกอบด้วย ผู้ใหญบ่ ้าน ผ้ชู ่วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้น้า อช., อช., เจา้ หน้าทีเ่ กษตร องค์การบริหารสว่ นต้าบลพระ แทน่ ,พัฒนากรผู้ประสานงานตา้ บลและกรรมการกลุ่มผลติ กากมันหมักยสี ต์ ในการมารว่ มให้ความรู้ สาธติ การผลติ และการใชก้ ากมันหมกั ยีสต์ลดตน้ ทุนการผลิต มีผู้สนใจทไ่ี ม่ใชส่ มาชกิ กลมุ่ เล้ียงสุกรบ้านบึงมารว่ ม เปน็ จ้านวนมาก โดยทุกคนลว้ นเข้าใจวิธีการทา้ และพร้อมน้าไปใช้กบั ปศุสัตว์อื่น ๆ ของตน เช่น โคนม และ ไก่ไข่ สาเหตสุ ้าคัญที่ท้าใหส้ มาชกิ กลุม่ เลยี้ งสกุ รมาร่วมทบทวนกลุ่มไมค่ รบจ้านวน นา่ จะเกิดจากวิกฤติ ศรัทธาต่อกลุ่มทีไ่ ด้ดา้ เนินการในระยะเวลาที่ผ่านมา ขาดการบริหารจดั การทด่ี ี ไมม่ ีระบบบญั ชีท่ตี รวจสอบ ได้ ขาดการประชุมชี้แจงแลกเปลี่ยนปญั หาทา้ ให้สมาชิกเกิดความเบือ่ หน่าย จงึ ท้าใหม้ ารว่ มทบทวนกลุม่ ไม่ ครบ สว่ นสาเหตทุ ี่มีผู้ขอสมคั รเข้ามาเปน็ สมาชิกเพม่ิ น่าจะด้วยเหตผุ ลของการท่มี นั หมกั ยสี ตส์ ามารถน้าไปใช้ เป็นอาหารสตั ว์ได้หลากหลายชนิด ท้งั สกุ ร เป็ดเน้อื เปด็ ไข่ ไก่พ้นื เมือง ไก่ไข่ ปลากินพชื โคเน้ือ โคขนุ โค นม และแพะ รวมถึงเกดิ ความไวว้ างใจตอ่ กลุ่มทีจ่ ะด้าเนินการตามกฎระเบียบ เปลย่ี นแปลงวิธกี ารบรหิ าร จัดการกลุม่ ทา้ ให้มองเห็นลูท่ างการหารายได้จากการรวมกลมุ่ ซง่ึ นา่ จะเปน็ ส่วนหน่งึ ของเหตผุ ลของการ ตัดสินใจ กบั ท้ังได้มีการสาธิตการผลิตอาหารสกุ รจากกากมนั หมักยีสตท์ ีม่ ตี ้นทนุ การผลติ ตา้่ และลดต้นทุน การผลิตลงได้ถงึ รอ้ ยละ ๕๐ โดยท่ีได้ผลผลติ เท่าเดมิ จงึ ท้าใหม้ ผี ้สู นใจเข้าร่วมรบั การสาธิตเป็นจา้ นวนมาก เมื่อได้ดา้ เนินการโครงการดงั กล่าว ท้าให้ข้าพเจา้ รบั ทราบไดว้ ่าความเช่ือม่นั ความศรทั ธาตอ่ ความซอื่ สตั ย์ของผ้นู ้าชมุ ชน การบริหารจัดการที่มธี รรมาภิบาลนั้นมีความส้าคัญตอ่ ดา้ รงอยูข่ องกลมุ่ อาชพี ตา่ ง ๆ ข้าพเจ้าจะนา้ จดุ บกพรอ่ งของกลุม่ เลยี้ งสุกรบา้ นบงึ ไปเป็นกรณศี ึกษาแก่กลมุ่ ต่าง ๆ ในอา้ เภอท่ี ขา้ พเจา้ รบั ผดิ ชอบ ใหม้ กี ารบริหารจดั การที่มีธรรมาภบิ าลเพ่ือให้กลุ่มมีความเข้มแขง็ ม่นั คงเปน็ ทพี่ ง่ึ ของคน ในชมุ ชนและชว่ ยเสริมสรา้ งเศรษฐกจิ ฐานรากใหม้ นั่ คงต่อไปได้

๑๖ การด้าเนินการโครงการสง่ เสรมิ การบริหารจดั การกลุ่มเลี้ยงสกุ ร บ้านบึง หมทู่ ี่ ๙ ตา้ บลพระ แทน่ ไดป้ ระสานงานกบั ผใู้ หญ่บ้านบึงเพ่ือนัดหมายชาวบ้านมาทา้ ประชาคม ในการแสวงหาปญั หา ความ ต้องการของประชาชนและกา้ หนดแนวทางในการแก้ไขปญั หาโดยผลมตปิ ระชาคม ชาวบา้ นมคี วามต้องการ ทจ่ี ะแก้ไขปัญหากลุ่มเล้ยี งสุกร จึงได้ก้าหนดกจิ กรรมทบทวนกลมุ่ และท้ากากมันหมักยสี ต์ โดยการใช้มัน ส้าปะหลังท่ีเปน็ ของเหลือใช้จากโรงงานมาใชใ้ ห้เกิดประโยชนส์ ูงสุดดว้ ยการหมกั กากนา้ ตาล ปุ๋ยเกลือและ ยีสต์เพอื่ ลดตน้ ทนุ การผลติ กลมุ่ เล้ยี งสกุ รโดยได้รบั สนบั สนุนงบประมาณจากชาวบา้ นบา้ นบึงในกิจกรรม สาธติ การผลติ กากมันหมกั ยสี ต์ จากนั้นกไ็ ด้ร่วมแบง่ ปันกนั ไปใชเ้ ป็นอาหารเลี้ยงสกุ รและสตั วช์ นิดอืน่ ๆ ใน ชมุ ชน โครงการส่งเสริมการบรหิ ารจดั การกล่มุ เลย้ี งสุกร บา้ นบงึ หม่ทู ่ี ๙ ตา้ บลพระแทน่ ด้าเนนิ การ ประสบผลส้าเรจ็ กด็ ้วยมีปจั จัยสา้ คัญคอื การประสานงานกับผู้นา้ ชมุ ชนและกลุ่มชาวบา้ น เพื่อก้าหนด แนวทางในการดา้ เนนิ กจิ กรรม/โครงการ การประสานงานกับผู้นา้ ชมุ ชน ผใู้ หญ่บ้าน ผชู้ ว่ ยผ้ใู หญบ่ ้าน นาย มงคล แก้วดี ในการเป็นวิทยากรอบรมชาวบ้านเรื่องการทา้ กากมันหมกั ยสี ต์ และไดร้ ับความรว่ มมือเป็น อยา่ งดีจากเกษตรกรกลมุ่ เลย้ี งสกุ รและประชาชนทว่ั ไปที่ได้เขา้ รว่ มกิจกรรมขบั เคล่ือนโครงการ การปฏบิ ัติงานในพ้นื ทีห่ มู่บ้านมีปญั หา/อปุ สรรค ต่อการปฏิบัติงานคือ การมีระยะเวลาน้อย เกินไปทา้ ให้การศึกษาชมุ ชนนั้นได้ขอ้ มูลไมค่ รบถว้ น มเี วลาเตรียมการด้าเนินโครงการน้อย ท้าใหก้ าร ประสานงานการจัดเตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์ท้าไดจ้ า้ กัด มีผู้มารว่ มประชุมน้อยเนอ่ื งจากเหนด็ เหน่ือยจากการ ท้างาน และมอี ุปสรรคสา้ คัญคือการไม่ได้รบั ความรว่ มมือในการแสดงความคิดเห็นในดา้ นต่าง ๆ การไมไ่ ด้ รบั ความสนใจจากประชาชนทไี่ มไ่ ด้ประกอบอาชพี เล้ยี งสัตว์ โดยมีแนวทางแก้ไขปัญหาคือควรมเี วลาในการ ปฏิบัตงิ านในพ้ืนท่ีชุมชนใหม้ ากกวา่ นี้ เพ่ือระดมสมอง วิเคราะห์ปัญหาชมุ ชนอย่างละเอียด ใหป้ ระชาชนทุก คนมสี ว่ นรว่ มในโครงการใด ๆ โครงการหน่งึ ซง่ึ ตนเองมีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง สว่ นการทชี่ าวบา้ นไม่แสดงความ คิดเหน็ น้นั อาจจะตอ้ งใชก้ ารใชบ้ ัตรค้า เพ่อื ให้กระตนุ้ การมสี ว่ นร่วมและสามารถแสดงความคิดเห็นในเวที ประชาคมได้ ในการดา้ เนนิ งานโครงการส่งเสริมการบรหิ ารจดั การกลมุ่ เลีย้ งสุกร บ้านบึง หมทู่ ี่ ๙ ตา้ บลพระ แท่น ขา้ พเจา้ ได้รว่ มกับผูน้ า้ ชมุ ชน ผใู้ หญ่บา้ น ผชู้ ว่ ยผู้ใหญบ่ ้าน สมาชกิ อบต.พระแท่น และชาวบ้านใน หมู่บ้านในการร่วมกนั ท้ากจิ กรรม ต้ังแตก่ ระบวนการศึกษาชุมชน การใหก้ ารศึกษาชมุ ชน โดยการจัดเวที ประชาคมเพื่อระดมความคิดเห็น รว่ มคดิ รว่ มตัดสินใจ ร่วมวางแผนและรว่ มปฏิบตั ิ ในการกา้ หนดแนว ทางแก้ไขปญั หาท่ีสอดคล้องกับความตอ้ งการของประชาชนในหมู่บา้ น ซ่ึงปญั หาทีเกิดขึน้ ในหมู่บ้านคือ กลมุ่ เล้ียงสกุ รอ่อนแอขาดเสถยี รภาพและตน้ ทนุ การผลิตสงู จงึ ไดด้ ้าเนินโครงการสง่ เสริมการบริหารจดั การกลมุ่ เลยี้ งสุกร บา้ นบึง หม่ทู ่ี ๙ ตา้ บลพระแท่น ขนึ้ ด้วยมวี ตั ถุประสงค์คอื เพอื่ บูรณาการแผนชุมชนระดบั ต้าบลใน การสรา้ งสัมมาชพี ชมุ ชน และลดรายจา่ ย เพ่มิ รายไดใ้ ห้แก่ครัวเรอื นสมาชิกกลุ่มเลย้ี งสุกรและชมุ ชนบา้ นบงึ โดยลดตน้ ทุนการผลิตด้วยการใช้กากมนั หมกั ยีสต์เป็นอาหารสุกรแทนการใชอ้ าหารส้าเรจ็ รปู แตเ่ พียงอย่าง เดียว ทา้ ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในการทบทวนกลุ่มและการฝึกผลติ กากมันหมักยีสต์ ด้วยตนเองเพอ่ื ใชเ้ ปน็ อาหารสตั วใ์ นครวั เรือน

๑๗ ประสบการณท์ ่ีขา้ พเจ้าได้รับ จากการดา้ เนินโครงการส่งเสริมการบรหิ ารจดั การกลมุ่ เล้ยี งสุกร บา้ นบึง หมู่ที่ ๙ ตา้ บลพระแท่น ข้าพเจ้าสามารถเรยี นรู้กระบวนการพัฒนาชุมชน ตั้งแต่ การศกึ ษาชมุ ชน การใหก้ ารศึกษาชุมชนโดยการจดั เวทปี ระชาคม การวางแผนงาน/โครงการโดยจัดล้าดับความสา้ คัญของ ปญั หา การด้าเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการทวี่ างเอาไว้ การติดตามและการประเมินผลโครงการ โดยการ ปฏิบตั ิงานจริงร่วมกับผ้นู ้าชุมชน ผูใ้ หญบ่ ้าน ผชู้ ่วยผูใ้ หญบ่ ้านและประชาชนในหมบู่ า้ น เพอ่ื ขบั เคล่อื นการ ดา้ เนินโครงการในหมบู่ า้ นบา้ นบงึ ซง่ึ ไดร้ ับความรว่ มมอื จากประชาชนในหมบู่ า้ นเป็นอยา่ งดี ท้าให้การ ด้าเนนิ งานโครงการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละส้าเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดี

๑๘ สว่ นท่ี ๔ ความคดิ เหน็ และข้อเสนอ การฝึกปฏบิ ตั ิงานพัฒนาชุมชน ในพ้นื ทห่ี มบู่ ้านบึง หมู่ท่ี ๙ ตา้ บลพระแท่น อ้าเภอทา่ มะกา จังหวดั กาญจนบุรี ระหว่างวันท่ี ๒๐ – ๓๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ท้าให้ข้าพเจ้าไดเ้ หน็ ถึงการท้าหน้าท่จี รงิ ของพฒั นากร ไดเ้ รยี นรู้กระบวนการพัฒนาชมุ ชน ซงึ่ การฝกึ ปฏบิ ัติงานภาคสนามคร้ังนจ้ี ะเปน็ ประสบการณ์ ให้ข้าพเจา้ น้าความรูท้ ี่ได้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุดในการปฏบิ ัติหน้าที่ในพื้นท่ีหมู่บา้ น/ตา้ บล ท่ขี า้ พเจ้า รบั ผิดชอบต่อไป

๑๙ ภาคผนวก รปู ครวั เรอื นรับรอง

๒๐

๒๑ รปู หมู่บ้าน

๒๒ รูปการสร้างความสมั พันธ์กบั ชมุ ชน

๒๓

๒๔ รปู การฝกึ ปฏิบตั ิงานในสา้ นกั งานพฒั นาชุมชนอา้ เภอ

นายชัยทศั น์ จติ แยม้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook