Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Module Wiring Diagram (Motorcycle) การเดินสายไฟจักรยานยนต์

Module Wiring Diagram (Motorcycle) การเดินสายไฟจักรยานยนต์

Published by Pongpipat Khumhom, 2018-07-09 23:43:03

Description: ชุดการสอนเล่มนี้ เป็นชุดการสอนในรายวิชา งานจักรยานยนต์ มีจุดประสงค์เพื่อเป็นแนวทาง และเป็นสิ่งที่ครูอาจารย์ใช้เป็นแนวทางในการสอน และคู่มือชุดการสอนฉบับนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารการสอน รูปแบบการสอนแบบชุดการสอน สำหรับนักเรียนในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แผนกช่างยนต์ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ซึ่งในการเรียนการสอนที่ดีนั้นจำเป็นที่จะต้องมีชุดการสอนที่จะเป็นส่วนช่วยให้การเรียนการสอนนั้น มีประสิทธิภาพสูงสุด

Keywords: Module,Motorcycle,จักรยานยนต์,ไฟฟ้า,วงจรไฟฟ้าจักรยานยนต์

Search

Read the Text Version

ชดุ การสอนเพื่อเสริมสรางทักษะปฏบิ ัติในรายวิชางานจกั รยานยนต รหัสวชิ า 2101-2102เร่อื ง การตอวงจรระบบไฟฟารถจักรยานยนต สวทิ ชไฟสูง-ตำ่ ชารจคอยล M Y L/B G รเี ลยส ตารท มอเตอรส ตารท ไฟสูง ไฟต่ำ สวทิ ชส ตารท LW B ไฟหนา ไฟเขา จาก ไฟเตือนไฟสูง สวทิ ชเบรก - ON วงจรไฟชารจ และไฟสอ งสวา ง ไฟทาย สวิทชไฟเบรก ไฟทา ย วงจรแตร +- สวทิ ชไฟเบรก ไฟเลี้ยวหนา ซาย เร็กกูเรเตอร/ เรก็ ตไิ ฟเออร ไฟเขาจาก วงจรระบบสตารท Magneto วงจรระบบจุดระเบิด สวิทชจุดแตร PB คอยลจดุ ระเบิด - สวทิ ชจุดระเบดิ พลั เชอรค อยล ชารจ คอยล ON R Br ไฟออกไป ไฟออกไป หวั เทยี น สวทิ ชไฟเลยี้ ว OFF ไฟสอ งสวาง เรก็ กเู รเตอร/ เร็กติไฟเออร ON Ch Br/w Dg Capacitive Left ไฟเล้ยี วหลังซาย UNITDischarge _ Right Ignition ไฟเล้ียวหนา ซา ย ไฟเล้ยี วหลังขวา ไฟเตือนไฟเลี้ยว รีเลยไฟเล้ยี ว เกจวดั ระดบั ชุดลกู ลอยวดั ระดบั (แฟลชเชอร) น้ำมันเชือ้ เพลงิ นำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ วงจรระบบไฟเลย้ี ว วงจรเกจวดั นำ้ มัน สวทิ ชไ ฟสูง-ต่ำ Mมอเตอรสตารท Bu W Y ชารจคอยล Hi N รเี ลยสตารท LO สวทิ ชต ัดการทำงาน ของเครื่องยนต ท่ขี างตง้ั ขา งไฟหนา ไฟทา ย สวิทชส ตารท คอยลจุดระเบิด G/Y Y/Gไฟเตือนไฟสูง ฟวส 10 แอมป Capacitive - +- ON UNITDischarge ฟวส 15 แอมป Ignition สวิทชจ ดุ ระเบดิ เร็กกเู รเตอร/เร็กติไฟเออร R R/Bl สวทิ ชไฟเบรก หัวเทียน สวิทชไ ฟเบรก ไฟออกไป OFF ไฟเบรก เรก็ กูเรเตอร/ เร็กตไิ ฟเออร ONวงจรระบบไฟฟา รถจักรยานยนต ไฟออกไป Honda Click ไฟสองสวา ง พัลเชอร คอยล ชารจคอยล สญั ญาณไฟแสดง ล้นิ โชคอัตโนมตั ิ ตวั ตรวจจับอุณหภมู ิ อุณหภูมนิ ำ้ หลอเย็น น้ำหลอเย็นของเคร่อื งยนต ECT สวทิ ชแ ตร ไฟเล้ยี วหนา ขวา สวิทชไ ฟเล้ียว ไฟเลี้ยวหลงั ขวา Lb Gr O Bl Lb Free Ri_ghtแตร Push Left ไฟเลี้ยวหนา ซาย ไฟเลยี้ วหลังซา ยชดุ ลูกลอยวัด เกจวดั ระดับ รีเลยไฟเลีย้ ว สัญญาณไฟเล้ียวขวาระดับน้ำมนั เชอ้ื เพลงิ น้ำมนั เช้ือเพลงิ (แฟลชเชอร) สญั ญาณไฟเล้ียวซา ย ไฟสองเรอื นไมล เรยี บเรียงโดย พงศพ พิ ัฒน คำหอม นกั ศกึ ษาฝก ประสบการณส อนวิทยาลัยเทคนคิ เพชรบุรี

คำนำชุดการสอนเลม่ นี้ เปน็ ชดุ การสอนในรายวิชา งานจกั รยานยนต์ มีจุดประสงค์เพ่ือเป็นแนวทาง และเป็นสง่ิ ท่คี รูอาจารย์ใช้เป็นแนวทางในการสอน และค่มู ือชดุ การสอนฉบับน้ีไดจ้ ดั ทาขนึ้ เพือ่ ใช้เปน็ เอกสารการสอน รูปแบบการสอนแบบชดุ การสอน สาหรบั นกั เรยี นในระดับชน้ั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปีท่ี 2แผนกช่างยนต์ ประเภทวชิ าอุสาหกรรม ซงึ่ ในการเรยี นการสอนทด่ี นี ัน้ จาเป็นทีจ่ ะต้องมีชุดการสอนท่ีจะเป็นสว่ นชว่ ยให้การเรียนการสอนนัน้ มปี ระสิทธิภาพสงู สดุการจัดทาชุดการสอนฉบับน้ีผู้จัดทาได้ใช้ความรู้ความสามารถในด้านทฤษฎี และปฏิบัติท่ีเก่ียวกับงานจักรยานยนต์ ท้ังได้รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ โดยข้อมูลที่ได้มานั้น มาจากเคร่ืองมือ เกี่ยวกับการเรียนการสอน ทมี่ ีอยแู่ ต่ขาดเครอ่ื งมือที่เป็นส่วนชว่ ยในการสอน ผ่านการสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญในรายวิชางานจักรยานยนต์ เพื่อจะได้นาความรู้ที่ได้มานั้นใช้ประกอบในการจัดทาคชุดการสอนให้ดีท่ีสุด เพื่อจะได้นามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอนได้มากที่สุด ซึ่งในชุดการสอนเล่มน้ีประกอบไปด้วยส่วนหลัก ๆ ดังน้ี คือ ส่วนที่เป็นลักษณะ แผนจัดการเรียนรู้ ใบความรู้ ใบงาน ใบบันทึกผล ใบประเมิน ซ่ึงเปน็ สว่ นท่แี สดงรายละเอียดท้ังหมดท่ีจะสอนผู้จัดทาหวังอย่างย่ิงว่าชุดการสอนฉบับนจ้ี ะเป็นประโยชน์ ต่อผู้เรียน บุคคลทั่วไป ท่ีใช้ในการศึกษาหาความรดู้ ้วยตนเอง และคณะครอู าจารย์ผู้สอนในรายวิชางานจกั รยานยนต์ หากคมู่ อื ชดุ การสอนฉบับน้ีมีข้อบกพร่องหรือผิดพลาดประการใด อันอาจจะเกดิ ด้วยเหตุผลใดก็ตาม ต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสน้ีด้วยและทางผู้จัดทากย็ นิ ดรี บั คาติเพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางในการปรับปรุงและแก้ไขในโอกาสตอ่ ไป นายพงศพ์ ิพฒั น์ คาหอม ผู้จดั ทา

สำรบัญ หน้ำคานา ' 1สารบญั 2แผนการจัดการเรยี นรู้ 3คาช้แี จง 8บทนา 8แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 9เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 12จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 14แผนผงั ความสามารถ 14กิจกรรมการเรยี น 15ใบความรู้ระบบไฟฟ้าจกั รยานยนต์ 16สัญญลักษณอ์ ุปกรณ์ระบบไฟฟา้ ในรถจกั รยานยนต์ 28รายละเอียดรหสั สีสายไฟในรถจักรยานยนต์ในแต่ละรุ่น 33แสดงแผนภาพวงจรระบบไฟฟา้ จกั รยานยนต์ HONDA CLICK 35ภาพตาแหน่งอุปกรณก์ ารเดนิ สายไฟภายในระบบไฟฟ้าจักรยานยนต์ HONDA CLICK 43แสดงแผนภาพวงจรระบบไฟฟ้าจกั รยานยนต์ YAMAHA MIO 50ภาพตาแหนง่ อุปกรณก์ ารเดนิ สายไฟภายในระบบไฟฟ้าจกั รยานยนต์ YAMAHA MIO 58ใบงาน 61ใบบนั ทกึ ผลการปฏิบิติงานตามใบงาน 70เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 81เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 84แบบประเมนิ ผลการทดลองภาคปฏิบตั ิ 86เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนการปฏิบัติงาน 88แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานกลุม่ 92แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม 94อ้างองิ 96

แผนกำรจดั กำรเรียนรู้

แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ ชุดการสอนเพือ่ เสริมสรา้ งทักษะการปฏบิ ัติ ในรายวชิ างานจกั รยานยนต์ รหสั วิชา 2101-2102 เรื่อง การตอ่ วงจรระบบไฟฟ้ารถจกั รยานยนต์หัวข้อเรือ่ ง1. หน้าท่ีการทางานของวงจรไฟฟา้ และอุปกรณ์ไฟฟา้ ในรถจกั รยานยนต์2. สญั ลกั ษณ์ทางไฟฟา้ ในรถจักรยานยนต์3. รหสั สีสายไฟในรถจกั รยานยนต์ในแตล่ ะรุน่สำระสำคญัเครอื่ งยนต์เปน็ อุปกรณ์ทเี่ ปลี่ยนพลังงานความร้อนเปน็ พลังงานกล เมื่อเครอื่ งยนต์หมุน ตามวฏั จักรการทางานในจงั หวะอัด กจ็ ะอดั สว่ นผสมไอดี (น้ามนั เช้อื เพลงิ กับอากาศ) ซึ่งในรถจกั รยานยนต์จะใช้น้ามนัเบนซิน (แกส๊ โซลีน) เปน็ เชอ้ื เพลงิ แต่เนอื่ งจากคุณสมบตั ิของนา้ มันเบนซินไม่สามารถเผาไหม้ดว้ ยตัวเองได้ อาศัยความร้อนจากการอัดตัวเพยี งอย่างเดยี ว ไมส่ ามารถเผาไหม้ส่วนผสมไอดไี ด้ ดงั นั้นในเครื่องยนต์เบนซินจึงจะต้องใช้หัวเทียนช่วยในการจุดส่วนผสม ซ่ึงก็จะใช้แรงเคล่ือนไฟฟ้าที่สูง จากวงจรไฟจุดระเบิดที่มีอุปกรณ์ และวงจร ซึ่งจะทาหน้าท่ีเปลี่ยนไฟแรงเคลื่อนต่าเป็นไฟแรงเคลื่อนสูง จ่ายให้กับหวัเทียนตามจังหวะ และรอบการทางานของเครื่องยนต์ นอกจากวงจรจุดระเบิดแล้ววงจรไฟฟ้าในรถจกั รยานยนตป์ ระกอบดว้ ยวงจรไฟชาร์จ วงจรไฟแสงสวา่ ง วงจรไฟสญั ญาณต่างๆ เพือ่ ใช้ในขณะขับขี่เพื่อความปลอดภัย ดังนั้นการศึกษาวงจรไฟฟ้าในรถจักรยานยนต์จะช่วยให้การตรวจสอบแก้ปัญหาในระบบไฟฟ้าไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งรวดเร็วสมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์1. แสดงความรู้เก่ียวกับการทางานวงจรระบบไฟฟ้าในรถจกั รยานยนต์2. แสดงการเขยี นวงจรระบบไฟฟา้ ในรถจักรยานยนต์3. แสดงการตอ่ วงจรระบบไฟฟา้ ในรถจกั รยานยนต์

จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้จดุ ประสงค์ท่ัวไป1. เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นศึกษาหนา้ ทก่ี ารทางานของอปุ กรณ์ไฟฟ้าจักรยานยนต์2. เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นศกึ ษาการทางานของวงจรไฟฟา้ ในรถจักรยานยนต์3. มีกจิ ิสยั ท่ีดใี นการปฏิบตั ิงานจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม1. ผ้เู รยี นอธบิ ายหลกั การทางานของวงจรระบบไฟฟ้ารถจกั รยานยนต์ได้2. ผเู้ รยี นตอ่ วงจรไฟฟ้ารถจกั รยานยนต์ ไดท้ กุ วงจจร3. ผู้เรียนปฏิบัติงานตามข้ันตอนได้อย่างถูกหลักการทางานของอุปกรณ์ ปลอดภัย และสาเร็จภายในเวลาทก่ี าหนดเนือ้ หำสำระ1. หน้าทก่ี ารทางานของวงจรไฟฟา้ และอุปกรณไ์ ฟฟา้ ในรถจักรยานยนต์2. หน้าทก่ี ารทางานของวงจรสตาร์ท3. หนา้ ทก่ี ารทางานของวงจรจุดระเบดิ4. หน้าทขี่ องวงจรไฟชาร์จและไฟสอ่ งสว่าง5. หนา้ ทข่ี องวงจรไฟสัญญาณ6. หนา้ ที่ของวงจรไฟเตอื นสญั ลกั ษณ์ทางวงจรไฟฟ้ารถจกั รยานยนต์รหสั สีสายไฟสาหรบั รถจักรยานยนต์กำรเตรียมกำรสอนของผสู้ อนครูเตรียมการสอนโดยใช้ชุดการสอน และชุดสื่อการสอนรถจักรยานยนต์ พร้อมทั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ารถจกั รยานยนต์ขนั้ ท่ี 1 ขน้ั นำเข้ำสู่บทเรียน1.1 อธบิ ายนาถึงการเผาไหม้ ของเช้ือเพลิง ประกอบดว้ ย ความรอ้ น เชือ้ เพลิง อากาศ วา่ งมีความสาคัญและเก่ยี วเน่ืองกันอยา่ งงไร1.2 นักเรียนช่วยหาเหตุผลให้โยงเขา้ เร่ือง ระบบไฟฟา้ ในรถจกั รยานยนต์

ขน้ั ท่ี 2 ข้ันดำเนินกำร2.1 ใหผ้ ู้เรียนทาการสอนโดยวัดความรู่กอ่ นเรียน จากการเรียนของชุดการสอนฝกึ สมรรถนะรายวิชางานจกั รยานยนต์ รหสั วิชา 2101-2102 เรือ่ งการต่อวงจรระบบไฟฟา้ รถจักรยานยนต์2.2 ให้เอกสารชุดฝึกสมรรถนะรายวิชางานจักรยานยนต์ รหัสวิชา 2101-2102 เรื่องการต่อวงจรระบบไฟฟ้ารถจักรยานยนต์ ได้แก่ ใบความรู้ ใบงาน ผ้เู รียน2.3 แบง่ กลุ่มปฏบิ ัตงิ านออกเป็น 4 กลุ่ม เพอื่ ให้การปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งเต็มทแ่ี ละใหผ้ ู้เรยี นได้มีทกั ษะการปฏบิ ัติงาน โดยครูจัดปฏบิ ตั งิ านออกเปน็ 4 สถานีสถานีที่ 1 เขยี น Wiring diagrams วงจรระบบไฟฟา้ จักรยานยนต์ Honda Clickสถานีท่ี 2 ฝกึ ปฏบิ ตั ิต่อวงจรระบบไฟฟา้ จักรยานยนต์ Honda Clickสถานีที่ 3 เขยี น Wiring diagrams วงจรระบบไฟฟ้าจกั รยานยนต์ Yamaha Mioสถานีท่ี 4 ฝกึ ปฏบิ ตั ิตอ่ วงจรระบบไฟฟา้ จกั รยานยนต์ Yamaha Mio2.4 ผเู้ รียนปฏิบัตงิ านตามใบงานนชุดการสอน ตามสถานที ่ีผู้เรียนในแต่ละกลมุ่ ทาการปฏิบตั ิ เม่อื มีปญั หาให้สอบถามครูผู้เรียน2.5 ขณะฝกึ ปฏิบัติ ครคู อยแนะนา การปฏบิ ตั ใิ นทกุ สถานีขน้ั ท่ี 3 ขัน้ สรุปและประเมนิ ผล3.1 ผเู้ รียนทดสอบความสามารถกับครูผูส้ อน3.2 ประเมนิ ผลคะแนนลงในใบประเมนิ1) แบบบนั ทกึ การปฏิบัติงานตามใบงาน2) แบบประเมินผลการทดสอบภาคปฏบิ ตั ิ3) แบบประเมินผลการปฏบิ ัติงานประจากล่มุ4) แบบประเมินด้านคณุ ธรรม จริยธรรมรายบคุ คลรายบคุ คล5) แบบทดสอบแบบปรนัย 20 ข้องำนท่มี อบหมำยให้ผู้เรียนทาเรียนผ่านชุดการสอนฝึกสมรรถนะ เรื่องการต่อวงจรระบบไฟฟ้ารถจักรยานยนต์ โดยเข้าศกึ ษาและสอบถามลว่ งหน้ากับครูผสู้ อน โดยใชส้ อ่ื ในการเรยี นดังนี้1. ชดุ สอื่ การสอนการตอ่ วงจรระบบไฟฟ้ารถจกั รยานยนต์ HONDA CLICK2. ชดุ สอ่ื การสอนการตอ่ วงจรระบบไฟฟา้ รถจักรยานยนต์ YAMAHA MIO3. ใบความรู้ เร่ือง การตอ่ วงจรไฟฟ้ารถจกั รยานยนต์4. ใบงานชุดการสอน เรอื่ ง การต่อวงจรไฟฟ้ารถจกั รยานยนต์

5. แบบบันทกึ ผลการปฏบิ ตั งิ านตามใบงานชดุ การสอน เรื่อง การตอ่ วงจรไฟฟา้ รถจักรยานยนต์แบบประเมินผล1. แบบบนั ทึกการปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน (สาหรบั ครปู ระเมนิ )2. แบบประเมนิ ผลการทดสอบภาคปฏบิ ตั งิ าน (สาหรบั ครูประเมนิ )3. แบบประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านประจากลุ่มปฏบิ ตั ิ (สาหรบั ผู้เรยี นประเมนิ )4. แบบประเมินด้านคณุ ธรรม จริยธรรมรายบุคคล (สาหรบั ครปู ระเมิน)5. แบบทดสอบปรนัยแบบเลอื กตอบ 20 ข้อ (สาหรับผูเ้ รียนทดสอบ)กำรวดั ผลประเมินผลกอ่ นเรยี น1. สังเกตความมวี ินัย ไดแ้ ก่ การตรงเวลาในการเขา้ เรียน และการแต่งกาย2. สงั เกตความรับผดิ ชอบ ไดแ้ ก่ การเตรียมอปุ กรณ์การเรยี น เชน่ ผา้ เชด็ มอื การจดั เตรยี มเคร่ืองมอืขณะเรียน1. สังเกตการเป็นผ้มู ีความสนใจใฝร่ ู้ ได้แก่ ความสนใจในการเรียน และการซักถามข้อสงสยั ตลอดจนการแสดงความเหน็2. สังเกตการเป็นผมู้ ีความซื่อสัตย์สจุ รติ3. สังเกตการเปน็ ผูม้ คี วามรบั ผดิ ชอบและความมีมนุษยสมั พันธ์ จากการปฏิบตั งิ าน4. ประเมนิ ผลคณุ ธรรมจริยธรรมของนกั เรียนรายบุคคล โดยใช้แบบประเมนิ พฤตกิ รรมขณะปฏิบตั งิ าน5. ประเมินผลการปฏิบัตงิ านนกั เรยี นรายบคุ คลตามหวั ขอ้ การประเมนิ6. นักเรยี นประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านประจากลุ่มปฏิบตั ิหลังเรยี น1. การจดั เกบ็ เคร่อื งมือ อปุ กรณ์ การทาความสะอาดพื้หนทป่ี ฏบิ ัติงาน2. การส่งงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย

ชุดกำรสอนเพ่ือเสรมิ สร้ำงทกั ษะกำรปฏบิ ตั ิ ในรำยวิชำงำนจกั รยำนยนต์ รหัสวชิ ำ 2101-2102 เรอื่ ง กำรต่อวงจรระบบไฟฟำ้ รถจักรยำนยนต์คำชแ้ี จงเวลามาตรฐานที่ใช้ในการเรียน 420 นาที (เวลาเฉล่ียของคนท่ีมีความสามารถปานกลางใช้ในการเรียนเรอื่ งนี้)บทนำระบบวงจรไฟฟ้ารถจกั รยานยนต์ มีความซบั ซอ้ นในการเรยี นรู้ ทาใหเ้ ขา้ ใจยากต่อการเรยี นที่จะทราบถึงหน้าท่ีการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ในการทางานของวงจรไฟฟ้ารถจักรยานยนต์ ชุดการสอนนี้ จะอธิบายตั้งแต่หน้าท่ีการทางานของอุปกรณ์ วงจรในระบบไฟฟ้าจักรยานยนต์ พร้อมทั้งอธิบายลักษณะไดอะแกรมในวงจรระบบไฟฟ้าจกั รยานยนตท์ ีม่ คี วามซบั ซอ้ นเข้าใจยาก ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเขา้ ใจและแยกระบบวงจรในรถจักรยานยนต์ให้ได้ง่ายมากย่ิงข้ึน ด้วยการดัดแปลงไดอะแกรมวงจรระบบไฟฟ้ารถจักรยานยนต์ใหม้ ีความเข้าใจมากยิ่งข้ึน ด้วยการทาชดุ สื่อการสอนที่เป็นของจรงิ คือรถจักรยานยนต์HONDA CLICK และ YAMAHA MIO มาเป็นส่ือในการเรียนรู้ในชุดการสอนน้ี เพื่อสร้างมโนทัศน์ให้ผเู้ รียนได้อย่างชดั เจน และต่อวงจรได้อยา่ งเป็นระบบ

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

แบบทดสอบก่อนเรยี นคำสง่ั ให้ผู้เรยี นทาข้อสอบ โดยใช้เครือ่ งหมาย (X) ลงหนา้ ข้อความทีถ่ กู ตอ้ งท่ีสดุ1. อุปกรณ์ใดที่ไม่มีในระบบจุดระเบิดแบบ ค. 2 แบบ แบบแม่เหล็ก แบบขดลวดความรอ้ นCapacitive discharge ignition (CDI) แ บ บ ง. 2 แบบ แบบแม่เหลก็ แบบรีเลย์ไฟฟา้ กระตรง (DC) ข. Start coil 7. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของระบบจุดระเบิดก. Pulsar coil ง. Secondary coilค. Primary coil แบบซดี ไี อ ก. ล้อแม่เหล็ก ข. ขดลวดจานไฟ2. SCR ภายในกลอ่ ง CDI จะตอ้ งมแี รงดนั ไฟฟา้ ค. หน้าทองขาว ง. คอยล์กระต้นุ ที่ขาใด จึงจะทางาน 8. กระแสไฟสลับจากล้อแม่เหล็กจานไฟจะ เปลยี่ นเปน็ กระแสตรงต้องผา่ นอปุ กรณใ์ ดก. ขา A ข. ขา B ก. คอนเดนเซอร์ ข. ไดโอดค. ขา G ง. ขา K3. ไดโอดมคี ุณสมบตั อิ ย่างไร ค. ฟวิ ส์ ง. คอยล์ก. ยอมใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลยอ้ นกลับได้ 9. กระแสไฟแรงต่าจะถูกเหน่ียวนาเป็นข. ยอมใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านทางเดียว กระแสไฟแรงสงู ทีอ่ ุปกรณ์ใดค. ยอมใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นได้ 2 ทาง ก. คอนเดนเซอร์ ข. ไดโอดง. ยอมให้กระแสไฟฟา้ ไหลผ่านเม่อื แรงดันไฟสูง ค. ฟิวส์ ง. คอยล์4. สญั ลกั ษณ์ หมายถงึ อะไร 10. ระบบจุดระเบิดในรถจกั รยานยนต์แบ่งออกก. Resistanceข. Ignition coil ได้เป็นกี่ชนิดค. Ignition switchง. Silicon control rectifier ก. 2 ชนิด ข. 3 ชนดิ ค. 4 ชนดิ ง. 5 ชนิด5. กล่องควบคุมการฉีดของรถจักรยานยนต์มี 11. ไฟชาร์จมีหนา้ ทอ่ี ะไร ก. ประจุไฟเขา้ แบตเตอรี่ชื่อเรยี กวา่ ท่วั ไปวา่ อะไร ข. ส่งกระแสจา่ ยเขา้ หลอดไฟแสงสวา่ ง ค. ส่งกระแสจ่ายเขา้ หลอดไฟสญั ญาณก. กลอ่ ง EDU ข. กลอ่ ง AC CDI ง. รบั ไฟจากหลอดไฟแสงสวา่ งค. กล่อง CDI ง. กล่อง DC CDI6. รีเลยไ์ ฟเลยี้ ว มกี ีแ่ บบอะไรบ้าง 12. อุปกรณ์หลักใดหากขาดไปแล้วไม่สามารถก. 3 แบบ แบบแรงโน้มถ่วง แบบขดลวด แบบแมเ่ หลก็ ชารจ์ ไฟได้ข. 3 แบบ แบบสังเคราะห์ แบบขดลวด แบบขดลวดความรอ้ น ก. กล่อง CDI ข. ล้อแม่เหล็ก ค. หวั เทยี น ง. สวทิ ชก์ ญุ แจ

13. วงจรควบคุมไฟแสงสวา่ งมีหน้าท่อี ะไร 17. ว ง จร ใดคว ร ทางานเป็น ลาดับต่อไปก. ควบคุมแรงดันไฟฟ้าเข้าสู่หลอดไฟเมื่อรอบ หลังจากเครอื่ งยนตเ์ กดิ การเคลอื่ นทีแ่ ลว้เครอ่ื งยนตส์ ูง ก. วงจรระบบสตารท์ข. ควบคุมแรงดันไฟฟ้าเข้าสู่หลอดไฟเมื่อ ข. วงจรระบบจุดระเบดิแบตเตอรจี่ า่ ยไฟ ค. วงจรระบบไฟส่องสวา่ งค. ควบคุมแรงดันไฟฟ้าเข้าสู้หลอดไฟเม่ือรอบ ง. วงจรไฟชารจ์เคร่ืองยนต์ตัดง. ควบคมุ การสง่ จ่ายไฟฟา้ เข้าสู่คอลย์ 18. มอเตอรส์ ตารท์ ใชแ้ รงดันไฟฟ้ากโี่ วลต์ ก. แรงดนั ไฟ 12 โวลต์ กระแสตรง14. แตรใชก้ ระแสไฟฟ้าแบบใดในการทางาน ข. แรงดนั ไฟ 24 โวลต์ กระแสตรงก. กระแสตรง ค. แรงดนั ไฟ 36 โวลต์ กระแสสลับข. กระแสสลบั 1 เฟส ง. แรงดนั ไฟ 48 โวลต์ กระแสสลับค. กระแสสลับ 3 เฟสง. กระแสตรงและกระแสสลบั 19. ขอ้ ใดคอื ชิน้ ส่วนของมอเตอร์สตารท์ ก. ชดุ แปรงถา่ น15. ความถ่ีท่ีเกิดขึ้นจากแผ่นไดอะแฟรม ข. ฟวิ ส์ประมาณเทา่ ใด ค. แบตเตอรี่ก. 200-400 Hz ง. สวิทช์กุญแจข. 400-600 Hzค. 600-800 Hz 20. วงจรใดทาให้ลูกสูบเพียงเคลื่อนท่ีอย่างง. 800-1000 Hz เดยี วแต่ไมไ่ ดส้ ามารถทาใหเ้ กิดการจดุ ระเบิดได้ ก. ระบบวงจรสตาร์ท16. อุปกรณ์ใดทาหน้าท่ีเกิดการกะพริบของไฟ ข. ระบบวงจรจุดระเบดิ ค. ระบบวงจรไฟชาร์จและไฟส่องสวา่ งเลีย้ ว ง. ระบบวงจรไฟสัญญาณและไฟเตือนก. Flasher Relay ข. Diodeค. Regulator ง. CDI Unit

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 11. ก. ประจุไฟเข้าแบตเตอรี่ 12. ข. ล้อแม่เหลก็1. ข. Start coil 13. ก. ควบคุมแรงดันไฟฟ้าเข้าสู่หลอดไฟเม่ือ2. ค. ขา G3. ข. ยอมใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านทางเดยี ว รอบเคร่ืองยนต์สงู4. ง. Silicon control rectifier 14. ก. กระแสตรง5. ค. กล่อง CDI 15. ง. 800-1000 Hz6. ค.2 แบบ แบบแม่เหล็ก แบบขดลวดความ 16. ก. Flasher Relay 17. ข. วงจรระบบจุดระเบิด ร้อน 18. ก. แรงดันไฟ 12 โวลต์ กระแสตรง7. ค. หน้าทองขาว 19. ก. ชุดแปรงถ่าน8. ข. ไดโอด 20. ก. ระบบวงจรสตาร์ท9. ง. คอยล์10. ก. 2 ชนิดจานวนข้อทท่ี า่ นตอบถูกต้อง……………………ข้อ คิดเป็น…………………………% (ตอบถูก 1 ข้อเทา่ กบั 5 %)เกณฑก์ ำรประเมิน[ ] ต่ากวา่ 50 % (10 ข้อ) แสดงวา่ ทา่ นไมผ่ า่ นการประเมินซง่ึ ทา่ นไม่มคี วามรู้พน้ื ฐานผา่ นเกณฑ์[ ] 50-60 % (10-12 ขอ้ ) แสดงวา่ ทา่ นผา่ นการประเมนิ โดยมีความรพู้ ื้นฐานบา้ ง[ ] 60-80 % (12-16 ขอ้ ) แสดงว่าท่านผ่านการประเมินโดยมคี วามรู้พื้นฐานอยา่ งดี[ ] 80 % (17 ขอ้ ) ขึน้ ไป แสดงวา่ ท่านผ่านการประเมนิ โดยมีความรพู้ ื้นฐานอยา่ งดีเยยี่ ม

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม1. ผู้เรยี นอธิบายหลกั การทางานของวงจรระบบไฟฟา้ รถจกั รยานยนต์ได้2. ผู้เรยี นตอ่ วงจรไฟฟ้ารถจกั รยานยนต์ ได้ทกุ วงจจร3. ผู้เรียนปฏิบัติงานตามข้ันตอนได้อย่างถูกหลักการทางานของอุปกรณ์ ปลอดภัย และสาเร็จภายในเวลาทก่ี าหนดแผนผงั ควำมสำมำรถ ควำมรู้พื้นฐำนทผี่ ้เู รียนต้องมี ในกำรต่อวงจรไฟฟำ้ รถจักรยำนยนต์ควำมรพู้ นื้ ฐำนกำรทำงำนของอุปกรณ์ ควำมร้พู ้ืนฐำนกำรทำงำนของระบบไฟฟำ้ ในระบบวงจรไฟฟ้ำจักรยำนยนต์ วงจรไฟฟำ้ จักรยำนยนต์ควำมรู้พ้ืนฐำนในกำรใชอ้ ปุ กรณไ์ ฟฟำ้ ใน ควำมรู้พ้ืนฐำนในกำรอำ่ นไดอะแกรม ระบบวงจรไฟฟำ้ จกั รยำนยนต์ วงจรระบบไฟฟ้ำจักรยำนยนต์

กจิ กรรมกำรเรียน 1. ผเู้ รยี นควรอำ่ นจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมให้เขำ้ ใจว่ำ เมอื่ ทำกำรเรยี นชดุ กำรสอนนเ้ี สรจ็ แลว้ ต้องทำอะไรไดแ้ ละจะต้อง พัฒนำด้ำนใด 2. ผเู้ รียนควรตรวจแผนผงั ควำมสำมำรถแลว้ ตรวจสอบว่ำ ถ้ำเรยี นเรอื่ งน้ีแล้ว ผเู้ รียนมีควำมสำมำรถพ้ืนฐำนครบถว้ น แลว้ หรอื ยงั ถ้ำยังให้ปรกึ ษำครูผู้สอน 3. ผู้เรยี นควร อำ่ น คิด วิเครำะห์ ทำตำมข้ันตอนในใบควำมรู้ ทบทวนก่ีครง้ั ก็ได้ ใชเ้ วลำตำมผเู้ รยี นตอ้ งกำร 4. ทำตำมใบงำน และหดั ลองเขยี นวงจรไล่ตำมแบบฝึดหดั จนมน่ั ใจวำ่ มีควำมรู้เพยี งพอsและตรงตำมจุดประสงคน์ ้นั ๆ 5. ปรกึ ษำครู อำจำรย์ผ้สู อน ในกำรทดสอบควำมสำมำรถ ของผ้เู รยี น ในกำรเรียน เร่อื งระบบไฟฟ้ำจักรยำนยนต์

ใบควำมรู้

ใบควำมรู้ ชุดกำรสอนเพอื่ เสรมิ สรำ้ งทกั ษะกำรปฏิบตั ิ ในรำยวชิ ำงำนจักรยำนยนต์ รหสั วชิ ำ 2101-2102 เร่อื ง กำรต่อวงจรระบบไฟฟำ้ รถจักรยำนยนต์ระบบไฟฟ้าจักรยานยนต์ มีส่วนสาคัญต่อการทางานของเคร่ืองยนต์และความปลอดภัยในการขับขี่ทั้งกลางวันและกลางคืน ซ่ึงมีแบตเตอรเ่ี ป็นจุดเริ่มต้น ในการให้แรงดันไฟฟ้าแก่ระบบต่าง ๆ สามารถแยกระบบต่างออกมาไดด้ งั นี้1. ระบบวงจรสตารท์2. ระบบวงจรจดุ ระเบดิ3. ระบบวงจรไฟชาร์จและไฟส่องสวา่ ง4. ระบบวงจรไฟสัญญาณและไฟเตือน1. ระบบวงจรสตำรท์การสตารท์ เครื่องยนต์ ขน้ั แรกผขู้ ับขจ่ี ะต้องเปิดสวิทช์กุญแจ เพ่ือต่อวงจรจุดระเบดิ ใหพ้ ร้อมท่ีจะทางานและสตารท์ มอเตอร์สตาร์ทให้เพลาขอ้ เหว่ยี งหมุน จะทาให้เกดิ การอัดตวั ของไอดีในกระบอกสูบเกิดการเผาไหม้และส่งกาลัง โดยการสตาร์ทด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าเป็นวิธีหนึ่งท่ีผู้ผลิตรถนิยมนามาติดตั้งกับรถจักรยานยนตซ์ งึ่ ทาให้เกดิ ความสะดวกสบาย รูปท่ี 1 แสดงชน้ิ สว่ นมอเตอร์สตารท์

รปู ที่ 2 แสดงวงจรการทางานของมอเตอรส์ ตาร์ทหลักการทางานของวงจรมอเตอร์สตาร์ท เม่ือกดสวิทช์สตาร์ทกระแสไฟฟ้าจะเข้าไปขดลวดรีเลย์ครบวงจร ทาให้เกิดอานาจแม่เหล็ก ทาให้หน้าสัมผัส ขั้ว B กับ ต่อถึงกัน โดยตรง กระแสไฟฟ้าจะไหลไปท่ีมอเตอร์สตาร์ท ขบั เพลาข้อเหวย่ี วใหเ้ คล่ือนที่2. ระบบวงจรจุดระเบิดระบบจุดระเบิดจะทาหน้าท่ีนาเอาไฟแรงเคลื่อนต่าจากแบตเตอร่ีหรือแมกนิโตซึ่งมีแรงเคลื่อน 6-30โวลต์ มาเปล่ียนเป็นไฟแรงเคล่ือนสูงประมาณ 5,000-30,000 โวลต์ ส่งไปยังหัวเทียน เพ่ือทาให้เกิดประกายไปจดุ ระเบิดส่วนผสมระหวา่ งน้ามันเช้อื เพลงิ กบั อากาศภายในกระบอกสูบ การทาให้เกดิ ไฟแรงเคลือ่ นสงู และสง่ ไปจุดระเบดิ ในจังหวะจดุ ระเบดิ ดงั กล่าว จะต้องตรงตามเวลาทก่ี าหนด ซ่งึ โดยทั่วไปแลว้จะเกดิ ขน้ึ เมื่อลกู สูบเคลอ่ื นที่ใกล้ศูนย์ตายบนปลายจงั หวะอัด ระบบจดุ ระเบิดแบบ CDI แบง่ ออกเป็น 2ชนดิ คือ1) Capacitive discharge ignition (CDI) แบบไฟฟา้ กระแสสลับ (AC)2) Capacitive discharge ignition (CDI) แบบไฟฟ้ากระตรง (DC)โดยมีอุปกรณ์หลกั ในการทางานของวงจรจดุ ระเบิดแบบ CDI ทต่ี อ้ งรู้ ตามตารางที่ 1ตำรำงท่ี 1 แสดงสญั ลักษณอ์ ปุ กรณ์หลกั ภายในระบบ CDIสญั ลกั ษณ์ หน้ำทก่ี ำรทำงำน ไดโอด (Diode) ทาหน้าท่ีเปลี่ยนกระแสไฟสลับ เป็นกระแสตรง ไดโอดจะมีคุณสมบัติคือยอมให้ กระแสไฟบวกไหลผา่ นไดท้ างเดียวจากข้ัวบวกไป ยังขว้ั ลบ กระแสจะไมส่ ามารถไหลย้อนกลับจาก ขัว้ ลบมายังข้ัวบวกได้

คอนเดนเซอร์ (Condenser or capacitor) ทา หน้าที่เก็บและจ่ายประจุไฟฟ้า เพ่ือสร้าง กระแสไฟฟา้ แรงเคลอ่ื นตา่ ไปยังขวดลวดไพรมารี ในชุดคอยล์จดุ ระเบิด SCR (Silicon Control Rectifier) มีชื่อเรียกอีก อย่างหนึ่งวา่ ไทรีสเตอร์ (Thyristor) เป็นสารกึ่ง ตั ว น า มี ขั้ ว อ ยู่ 3 ขั้ ว คื อ Anode (A) ขั้ ว Cathode (K) ขั้ว Gate (G) มีคุณสมบัติ คือจะ ยอมให้กระแสไหลผ่านจากขั้ว A ไปยังข้ัว K ได้ ตอ้ งมีกระแสไฟจานวนหนง่ึ กระตุ้นที่ขั้ว G จงึ จะ กลายสภาพเป็น ตัวนา (กระแสไฟจะไหล ยอ้ นกลับจาก ขว้ั K ไปยังขว้ั A ไมไ่ ด้)1) Capacitive discharge ignition (CDI) แบบไฟฟา้ กระแสสลับ (AC)1.1) การทางานของระบบจุดระเบิดแบบ CDI แบบไฟฟา้ กระแสสลบั (AC) ไมม่ พี ชั เชอร์คอยล์ (CDI แบบ1 Coil) รูปที่ 3 วงจรจุดระเบิด CDI แบบไมม่ ีพชั เชอรค์ อลย์ระบบจุดระเบดิ แบบไม่มี พัลเซอรค์ อยล์ หรือ ปิคอัพคอยล์ กลอ่ ง CDI จะได้รบั ต้นกาเนดิ ไฟแรงต่าและสัญญาณจังหวะจุดระเบิดมาจากขดลวดขดเดียว คือขดลวดไฟแรงต่า (EC) หลักการทางานคือ เม่ือล้อแม่เหล็กหมุนตัดขดลวดทาให้เกิดกระแสไฟขึ้นในขดลวดซ่ึงจะเป็นไฟฟ้ากระแสสลับคือ จะมีทั้งคลื่นไฟฟ้าบวกและคลืน่ ไฟฟ้าลบเกดิ ขึน้ ในขดลวด ขณะท่เี กิดคลนื่ ไฟฟ้าบวกทางด้าน (A) ของชุดขดลวดไฟแรงตา่ (EC) กระแสไฟฟา้ จะไหลไปตามทิศทาง (1) ผา่ นไดโอด (D1) เขา้ ประจุในคาปาซิเตอร์ เม่อื ลอ้แมเ่ หล็กหมุนต่อไป คลื่นไฟฟ้าบวกจะไหลกบั ทิศทางโดยจะไหลออกมาทางดา้ น (B) ขอชดุ ขดลวดไฟแรงต่า (Exciter coil) กระแสไฟจะไหลไปทางทิศทาง (2) ผ่านตัวต้านทาน R เพื่อลดความเข้มของกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวต้านทาน R มาแล้วจะถูกส่งไปกระตุ้นขา G ของ SCR ทาให้ SCR กลายสภาพ

เป็นตัวนาคาปาซิเตอร์ (C) สามารถคายประจุโดยกระแสไฟจะไหลตามทศิ ทาง (3) ไปยงั ขดลวดปฐมภูมิ(PW) เกิดอานาจแม่เหล็กเหน่ียวนาร่วมกับขดลวดทุติยภูมิ (SW) ทาให้เกิดกระแสไฟแรงเคลื่อนสูงจนสามารถเกิดประกายไฟกระโดดข้ามเข้ยี วหัวเทียนได้ ตามทิศทาง (4)1.2) การทางานของระบบจดุ ระเบดิ CDI แบบไฟฟ้ากระแสสลับมพี ชั เชอร์คอยล์ (CDI แบบ 2 COIL) รปู ที่ 4 วงจรจุดระเบดิ CDI แบบมีปิคอัพคอยล์เม่อื ล้อแมเ่ หลก็ หมุนติดกับขดลวดไฟแรงต่า (Exciter coil) ทาใหเ้ กิดกระแสไฟฟา้ ขน้ึ ในขดลวด (EC) ซึ่งจะเป็นไฟฟ้ากระแสสลับจะไหลไปตามทิศทาง 1 ผ่านไดโอด (D1) กระแสไฟที่ผ่านไดโอด (D1) แล้วจะเป็นไฟฟ้ากระแสตรงข้ัวบวกเข้าประจุในคาปาซิเตอร์ (C) เม่ือล้อแม่เหล็กหมุนต่อไป แกนเหล็กท่ีล้อแม่เหล็กตัดกับแกนกลางของขดลวดสัญญาณ (PC) ทาให้เกิดกระแสไฟจานวนหนึ่งออกมาจากขดลวดสัญญาณไหลตามทิศทาง (2) ผ่านไดโอด (D2) ไหลต่อไปยงั ขา G ของ SCR กลายสภาพเป็นตวั นาไฟฟ้ากระแสไฟท่ีประจุอยู่ในคาปาซิเตอร์ (C) สามารถจ่ายประจุได้โดยผ่าน SCR ตามทิศทาง (3) กระแสไฟตอ้ งการจะไหลไปครบวงจรยังอีกขัว้ หนง่ึ ของคาปาซเิ ตอร์ โดยวิง่ ผ่านขดลวดปฐมภูมิ (PW) ทาใหข้ ดลวดปฐมภูมิ (PW) เกิดอานาจแม่เหล็กเหนี่ยวนาร่วมกับขดลวดทุติยภูมิ (SW) ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าแรงเคลื่อนสูงขึ้นในขดลวดทุติยภูมิ (SW) จนสามารถเกดิ ประกายไฟกระโดดข้ามเข้ียวหัวเทียนได้ คอยล์จุดระเบดิ (Ignition coil) ทาหนา้ ท่เี หมอื นกับคอยลจ์ ดุ ระเบิดของระบบหนา้ ทองขาว แต่จะให้ประสิทธิภาพทดี่ กี ว่า ภายในประกอบด้วยขดลวดทองแดง 2 ชุด คือ ขดลวดปฐมภูมิ (Primary welding) และขดลวดทุติยภูมิ (Secondary welding) ขดลวดทุติยภูมิเป็นขดลวดขนาดเล็กพันอยดู่ ้วนในรอบแกนเหลก็ อ่อนในจานวนรอบที่มาก ขดลวดปฐมภูมิจะมีขนาดใหญ่พันทับขดลวดทุติยภูมิอีกทีในจานวนรอบที่ไม่มากคอยล์จดุ ระเบดิ จทางานโดยอาศยั หลักการเหน่ยี วนารว่ มของขดลวด 2 ชดุ บนแกนเหล็กชุดเดียวกนั คือขดลวดปฐมภูมิจะรับกระแสไฟมาจากการคายประจุไฟของกล่อง ซี.ดี.ไอ. เกิดอานาจแม่เหล็กขึ้นอยา่ งรวดเร็วเกินการเหน่ยี วนารว่ มกับขดลวดทุติยภูมิ ทาให้เกดิ กระแสไฟแรงเคลือ่ นสูงถงึ ประมาณ 20,000- 30,000 โวลทข์ ้นึ ในขดลหวดทตุ ิยภูมซิ งึ่ สามารถท่ีจะทาใหเ้ กิดประกายไฟที่เข้ียวหัวเทียนได้

2) Capacitive discharge ignition (CDI) แบบไฟฟ้ากระตรง (DC)ระบบจุดระเบิดแบบดิจิตอล ซี.ดี.ไอ. นี้ ถ้าดูจากหลักการทางานแล้วจะมสี ่วนคล้ายกบั ระบบจุดระเบดิซี.ด.ี ไอ. แต่ระบบจดุ ระเบิดแบบดจิ ิตอล ซ.ี ดี.ไอ. นีเ้ ป็นระบบท่ีไดม้ กี ารพัฒนาใหด้ ีขน้ึ มากกวา่ เดิม ในด้านความเท่ียงตรงแมน่ ยาในการให้จังหวะจุดระเบิด และเป็นทน่ี ิยมใช้กับรถจกั รยานยนต์ในปัจจุบัน ระบบจุดระเบิดแบบดิจิตอล ซี.ดี.ไอ. จะให้ความเท่ียงตรงแมน่ ยาสูงในทุกความเรว็ รอบของเครื่องยนต์ซ่ึงจะส่งผลให้ได้กาลังงานเต็มท่ีในทุกความเร็วรอบการทางานของเครื่องยนต์ ดิจิตอล ซี.ดี.ไอ.จะทาหน้าที่ควบคุมและกาหนดจังหวะองศา การจุดระเบิดล่วงหน้าโดยใช้ไมโครโปรเซส เซอร์ เข้ามาเป็นส่วนประกอบในกล่อง ซี.ดี.ไอ. ตาแหน่งการติดตั้งของไมโครโปรเซสเซอร์จะอยู่ระหว่างปิคอัพคอยลก์ ับไทริสเตอร์ ซึ่งตัวไมโครโปรเซสเซอร์จะอยู่ในชุดเดียวกันกับกล่อง ซี.ดี.ไอ. ดิจิตอล ซี.ดี.ไอ.จะทาการกาหนดหจังหวะองศาการจุดระเบิดในตาแหน่งที่เหมาะสม โดยไดร้ บั สัญญาณมาจากปิคอัพคอยล์ หรอืพัลเซอร์ คอยล์ ซึง่ ไมโครโปรเซสเซอรเ์ ป็นตัวรับสญั ญาณก่อนและจะทาการวเิ คราะห์สญั ญาณก่อนท่ีจะส่งสัญญาณไปยังขา GATE ของไทริสเตอร์ ในแต่ละช่วงความเร็วรอบของเคร่ืองยนต์น้ัน เครื่องยนต์ต้องการจังหวะองศาการจุดระเบิดล่วงหน้าที่แตกต่างกนั เพ่ือให้เกิดความหมดจดสมบูรณ์ของการเผาไหม้ซ่ึงจะมีผลไปถึงกาลังท่ีเคร่ืองยนต์ผลิตออกได้ระบบจุดระเบิดแบบดิจิตอล ซี.ดี.ไอ. เป็นระบบท่ีสามารถปรบั เปลย่ี นองศาการจดุ ระเบดิ ไดต้ ามความเรว็ รอบของเคร่อื งยนต์ รูปท่ี 5 วงจรจุดระเบดิ แบบ DC.CDIหลักการทางานของระบบจุดระเบดิ แบบ DC.CDI ชุด CDI จะแปลงแรงเคล่ือนไฟฟ้าท่มี าจากแบตเตอร่ีให้เป็นไฟฟา้ แรงเคลื่อนสูงประมาณ 150 V จ่ายเข้าประจุท่ีคอนเดนเซอร์ (C) และ SCR ท่ีต่อร่วมกบัคอนเดนเซอร์ซ่ึงจะคอยควบคุม (เปิดยอมให้ไฟผ่าน) เมื่อได้รับสัญญาณมากระตุ้นท่ีขาเกจของ SCRคอนเดนเซอร์จะจ่ายประจุไฟออก แล้วจ่ายไปยังขดลวด ไพรมาร่ีของคอยล์จุดระเบิด ทาให้เกิดอานาจแม่เหล็กเหนี่ยวนาเกิดไฟฟ้าแรงเคลื่อนสูงขึ้นท่ีขดลวด เซกกันดารี่ของคอยล์จุดระเบิด ประมาณ20,000 V ไฟแรงเคลื่อนสูงน้ีจะจุด ประกายไฟท่ีเข้ยี วหวั เทยี น จงั หวะการจุดระเบดิ จะถูกควบคุมโดย

วงจรควบคมุ จงั หวะการจุดระเบดิ ซึง่ ไดร้ ับไฟสญั ญาณมาจาก ขดลวด ปิค อัพคอยล์ ซึง่ ไฟสัญญาณน้ีจะไปกระตุน้ ขาเกจของ SCR เมือ่ เพลาข้อเหว่ียงหมุนไปได้ตาแหน่งของการจุดระเบิด ทาใหต้ าแหน่งจุดระเบิดเท่ียงตรงแม่นยาทุกความเรว็ รอบ3. วงจรไฟชำรจ์ และไฟส่องสวำ่ งวงจรไฟชาร์จ เป็นวงจรสาคัญวงจรหนึ่งในรถจักรยานยนต์ ผู้ใช้ควรตรวจสอบและดูแลอย่างสม่าเสมอเพอ่ื ลดปัญหาการซ่อมเพ่อื ความสะดวกความปลอดภัยในการใช้รถ โดยทางานไปพร้อมกับ วงจรไฟแสงสว่าง เป็นวงจรไฟท่ีให้ความสว่างในเวลากลางคืนท้ังด้านหน้าและด้านหลัง (ไฟสูง-ต่า ไฟท้าย ไฟเตือนไฟสงู หลอดไฟเรอื นไมล์) รปู ที่ 6 แสดงภาพขดลวดบรเิ วณล้อแมเ่ หล็ก รูปท่ี 7 แสดงภาพวงจรไฟชาร์จและไฟแสงสวา่ ง

ขดลวดไฟชาร์จและขดลวดไฟแสงสว่างเป็นขดลวดเดียวกันที่ติดต้ังอยู่ในล้อแม่เหล็กจานไฟ เมื่อล้อแม่เหล็กหมุนตัดขดลวดจะให้กระแสสลับ (AC) วงจรไฟชาร์จและแสงสว่างจะครบวงจรเมื่อเปิดสวิตช์กุญแจกระแสไฟสลบั ทก่ี าเนิดจากขดลวดไฟชารจ์ จะแปลงเป็นไฟกระแสตรง (DC) ด้วยแผ่นชาร์จเพ่ือไปชาร์จเข้าแบตเตอรี่ ส่วนอีกทางหน่ึงซ่งึ เป็นขดลวดแสงสว่างจะจ่ายกระแสไฟสลับที่ควบคุมแรงดันไฟไปยงั ไฟหน้า ไฟทา้ ยและไฟส่องหนา้ ปดั ขดลวดไฟชารจ์ และขดลวดไฟส่องสวา่ ง จะเปน็ ขดลวดทีพ่ นั อยู่กับแกนอันเดียวกันติดตั้งอยแู่ คร้งภายนอก มีล้อช่วยแรง หรือล้อแม่เหล็กหมุนตัดกับขดลวด ทาให้ขดลวดไฟชาร์จผลิตไฟฟ้ากระแสสลับโดยผ่านไดโอด เพื่อแปลงกระแสใหเ้ ป็นไฟฟ้ากระแสตรง ก่อนท่ีจะถกู ไปยังแบตเตอรี่ และอุปกรณ์ไฟฟ้า ด้วยเหตุน้ีเลยใช้เรียงกระแสแบบออกเต็มคล่ืน เพ่ือทาให้เกิดการเรียงกระแสอย่างมีประสิทธิภาพดีข้ึน ล้อแม่เหล็ก จึงเป็นตัวเหน่ียวนาขดลวดกาเนิดไฟฟ้ามากขึ้นโดยการหมุน ดงั น้นั กระแสไฟฟา้ ทผ่ี ลติ ออกมาจงึ ถูกควบคมุ โดยอตั โนมตั ิ รูปท่ี 8 แสดงภาพภายในวงจรไฟชาร์จหลักการทางานของวงจรไฟชารจ์ และไฟส่องสวา่ งก.วงจรควบคุมไฟชาร์จ เมอื่ แรงดนั ไฟของแบตเตอรีท่ ่ีจุด A และจุด B ต่ากว่าคา่ กาหนด แรงดันไฟของSCR กระแสสลับท่ีมาจากขดลวดไฟชาร์จจะไปกระตุ้นท่ีขาเกทของ SCR 1 ทาให้กระแสไฟฟ้าสลับไหลผ่าน SCR 1 ไปได้ และถูกเปลี่ยนให้เป็นกระแสไฟตรงเข้าชาร์จแบตเตอร่ี เมื่อความเร็วรอบของเครื่องยนต์สูงข้ึน แรงดันไฟที่จุด A และ B ก็จะสูงขึ้นจึงเป็นผลให้วงจรควบคุมไฟชาร์จตัดไฟท่ีขาเกทของ SCR 1 ไฟจะไม่ชาร์จเขา้ แบตเตอรีเ่ ปน็ การป้องกนั ไฟชารจ์ เกินข.วงจรควบคมุ ไฟแสงสว่าง เมื่อเปดิ สวติ ชไ์ ฟแสงสว่าง กระแสไฟทีม่ าจากขดลวดไฟแสงสว่างจะผ่านเข้าไปยังหลอดไฟต่างๆและในขณะเดียวกันนั้น จะมีกระแสไฟส่วนหนึ่งเข้าไปในวงจรควบคุมไฟแสงสวา่ งเมื่อความเร็วรอบของเครื่องยนต์สูงข้ึน แรงดันไฟสูงตามไฟไปด้วย เป็นผลให้วงจรสามารถสร้างกระแสไฟส่วนหน่ึงไฟกระตุ้นท่ีขาเกทของ SCR 2 ดังน้ันกระแสไฟที่มาจากขดลวดไฟแสงสว่างจะสามารถไหลผ่าน SCR 2 เปน็ การรกั ษาระดับแรงดนั ไฟให้เหมาะสมอยู่ตลอดเวลา จงึ ชว่ ยให้สามารถยืดอายุการใชง้ านของหลอดไฟต่างๆใหย้ าวนานยง่ิ ข้ึน

4. วงจรไฟสญั ญำณและไฟเตอื นวงจรไฟฟ้าทอี่ ย่ใู นรถจักรยานยนต์ ทาใหผ้ ู้ขบั ขี่และผู้ใช้ถนนรว่ มทางได้ทราบพฤติกรรมในการขับขี่ ทัง้ น้ีเพือ่ ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพย์สินวงจรสญั ญาณในรถจกั รยานยนต์ปจั จบุ นั มดี งั นี้1) วงจรแตร. รปู ที่ 9 แสดงรูปส่วนประกอบภายในแตร รปู ท่ี 10 แสดงภาพวงจรสญั ญาณแตรหลักการทางานของแตร เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าให้สัญญาณด้วยเสียงโดยอาศัยการส่ันเทือนของแผ่นไดอะแฟรมใช้เป็นสัญญาณร่วมกับไฟเตือน ไฟเลี้ยว จากภาพกระแสไฟจากแบตเตอรี่ ไหลผ่านขดลวดไปครบวงจรท่ีคอนแทค จะเกิดอานาจแม่เหล็กข้ึนดึงดูดให้คอนแทค แยกออกจากแผ่นไดอะแฟรมกระแสไฟท่ีไหลผ่านขดลวดจะหยุดไหลวงจรขดลวดถูกตัด เส้นแรงแม่เหล็กท่ีเกิดข้ึนในขดลวดถูกตัดเส้นแรงแม่เหล็กทเี่ กิดขนึ้ ในขดลวดหมดสภาพไป คอนแทคจะเคล่ือนตัวเองกลับเข้าสู่สภาพเดิม ขณะท่ีคอนแทคเคล่ือนตัวกลับ คอนแทคจะกระทบกับแผ่นไดอะแฟรมทาให้แผ่นไดอะแฟรมเกิดการสั่นสะเทือนหรือจารกระพือ เน่ืองจากตัวแผ่นไดอะแฟรมเป็นสปริง เสียงท่ีเกิดขึ้นจากไดอะแฟรมตกกระทบที่ฝาครอบทาให้เกิดเสยี งดงั ขณะเดียวกนั เม่อื คอนแทคกลับสู่สภาพเดมิ กระแสไฟไหลผ่านขดลวด

ไดเ้ หมอื นเดมิ เกิดอานาจแม่เหล็กดึงดูดคอนแทคแยกออกอีกเชน่ เคย ความถที่ เ่ี กดิ ขนึ้ จาแผน่ ไดอะแฟรมประมาณ 800 – 1000 Hz ซึ่งเป็นเสียงทไี่ ม่รบกวนประสาทหูหลักการทางานของวงจรแตร เมอ่ื กดสวิทชแ์ ตร กระแสไฟฟ้าจะไหลออกจากข้วั บวก ของแบตเตอร่ีผ่านฟวิ ส์ ผา่ นสวิทชก์ ุญแจ ในตาแหน่ง ON เข้าขัว้ แตร ไฟลผา่ นขดลวดในแตรออกไปที่สวิทช์แตร ในขณะที่กดสวิทช์แตร กระแสไฟฟา้ จะลงดินเพื่อครบวงจร ทาให้ขดลวดแตรเกิดเป็นอานาจแมเ่ หล็ก แกนโลหะเคลอ่ื นที่ขึ้นลงในแนวด่ิง แผ่นไดอะเฟรมจะสนั่ และเกิดเป็นเสยี ง2) วงจรไฟเลยี้ ว.ไฟเลี้ยวจะเป็นไฟกะพริบ เพ่ือเตือนให้ผู้ขับข่ีรถคนอ่ืนรู้ว่ารถท่ีสัญจรไป มากาลังจะเลี้ยวหรือแซงสัญญาณไฟเลี้ยวกะพริบจะถูกสร้างขึน้ จากรเี ลย์ไฟเล้ียวในวงจร รปู ที่ 11 แสดงรูปแบบวงจรไฟเล้ยี วหลักการทางานของวงจรไฟเลย้ี วก) วงจรใช้รีเลย์ไฟเลีย้ วแบบแมเ่ หลก็ เมื่อเปิดสวิตชไ์ ฟเล้ยี ว กระแสไฟจากแบตเตอรี่ 1 ผา่ นสวิตช์กุญแจ2 เขา้ ขดลวดรเี ลย์ไฟเลี้ยวผ่านคอนแทคครบวงจรท่ีสวิตชไ์ ฟเลี้ยวหลอดไฟเลยี้ วติด ในเวลาเดียวกัน เกดิอานาจแมเ่ หล็กมาก ในรีเลยไ์ ฟเลี้ยว ดดู คอนแทคจากหลอดไฟเลีย้ วดับ

ข) วงจรรีเลย์ไฟเลี้ยวแบบขดลวดความร้อน เม่ือเปิดสวิตช์ไฟเลี้ยว หลอดไฟเลี้ยวจะยังไม่ติด เพราะกระแสไฟต้องไหลผ่านทางตวั ตา้ นทาน จนกว่าขาคอนแทคจะร้อนและขยายตัว คอนแทคจงึ จะตอ่ กันได้กระแสไฟผ่านคอนแทคไดห้ ลอดไฟเลยี้ วจึงติดสวา่ ง4) วงจรไฟเบรก.ไฟเบรกจะติดอยู่กับชุดโคมไฟท้าย เม่ือใช้ไฟเบรกไฟเบรกจะทางาน เพื่อเตือนผู้ขับขี่ที่ร่วมสัญจร ไปมาหรือรถคนั หลงั ได้ทราบ หลกั การทางานของวงจรไฟเบรก ในตาแหน่ง ON ของสวทิ ช์กุญแจ กระแสไฟฟา้จะไหลจากข้วั บวกของแบตเตอรีผ่ า่ นฟวิ ส์ สวิทชก์ ญุ แจ ไปรอท่ขี ั้วไฟเบรกทั้งดา้ นหน้า และดา้ นหลงั เมื่อมีการใช้เบรก กระแสไฟจะไหลเข้าไปที่หลอดไฟเบรก ไฟเบรกจะมกี าลงั สอ่ งสวา่ งมากกวา่ ไฟท้าย5) วงจรไฟบอกตำแหน่งเกียร์.มหี น้าบอกใหผ้ ้ขู ับขท่ี ราบถึงสถานะของการขับข่ีว่าขณะนั้นกาลงั ใช้เกียร์ใดอยู่ หลักการทางานของวงจรไฟบอกตาแหน่งเกียร์ เม่ือเปิดสวิทช์กุญแจ กระแสไฟฟ้า จากข้ัวบวกแบตเตอรี่ จะไหลผ่านฟิวส์เข้าสวิทช์กุญแจ กระแสไฟฟ้าออกจากสวิทช์กุญแจเข้าไปที่ข้ัวไฟของหลอดไฟบอกตาแหน่งเกียรท์ ุกหลอด(แบบขนาน) กรณีทเี่ ข้าเกยี ร์วา่ งกระแสไฟฟ้าก็จะผ่านไส้หลอดบอกตาแหน่งเกียรว์ ่าง ครบวงจรท่ีสวิทช์ไฟบอกตาแหน่งเกียร์ หลอดไฟบอกเกียรว์ า่ งก็จะสว่าง6) วงจรเกจวดั น้ำมนั เช้ือเพลิง. รูปที่ 12 แสดงรปู แบบวงจรเกจวัดน้ามันเช้ือเพลิงมหี น้าท่ีวัดระดบั นา้ มันเชอ้ื เพลิงในถงั ว่ามีปริมาณมากน้อยเพยี งใด ซง่ึ ในปจั จุบันนรี้ ถจกั รยานยนต์ทุกคันจะมีเกจวัดระดับน้ามันเช้ือเพลิง ซ่ึงเป็นอุปกรณ์อานวยความสะดวกในการขับข่ี สามารถใช้งานอย่างสะดวกสบาย

การทางานของเกจวัดน้ามันเช้ือเพลิงแบบขดลวด ในชุดเกจวัดจะมีขดลวด N1, N2, N3, N4 และเข็มหน้าปัด ซ่ึงที่ปลายด้านล่างของเข็มจะมีแม่เหล็กติดอยู่ตัวลูกลอยท่ีอยู้ในถังจะเป็นตัวต้านทานท่ีเปล่ยี นแปลงค่าไดต้ ามการเคลอ่ื นทีข่ ้ึนลงของลกู ลอย เมอื่ เปิดสวิทช์ ON ลูกลอยในถงั น้ามนั เช้อื เพลิงจะเคล่ือนที่ข้ึนลงตามความเปลี่ยนแปลงของระดบั นา้ มันเช้ือเพลิง ทาให้ค่าความต้านทานเปลี่ยนค่าไป ซ่ึงกระแส I1และ I2 ท่ไี หลเขา้ ขดลวด N1,N2,N3,N4 เปลีย่ นแปลงไปดว้ ยความเขม้ ของสนามแม่เหล็กรวมH เปลี่ยนแปลง มีผลให้แม่เหล็กหมุนไปตามความเข้มของขดลวดนั้นๆ ซึ่งทาให้เข็มบอกระดับน้ามันเชือ้ เพลิง ช้ีบอกปริมาณน้ามนั ในถังเชอื้ เพลิงได้ รูปที่ 13 แสดงการทางานของเกจวัดนา้ มนั เชื้อเพลงิ

สญั ลักษณอ์ ุปกรณร์ ะบบไฟฟำ้ ในรถจักรยำนยนต์

ตำรำงท่ี 2 แสดงสัญญลกั ษณ์ทางไฟฟา้ ในระบบจักรยานยนต์อุปกรณไ์ ฟฟ้ำ สญั ลกั ษณ์ทำงไฟฟ้ำ หน้ำท่กี ำรทำงำน แม่เหล็กจำนไฟ (Flywheel Magneto) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าในระบบจุดระเบิดภายใน ล้อแม่เหล็กประกอบด้วยแมเ่ หล็กถาวรอย่าง น้อย1 ซึ่งจะแผ่อานาจแม่เหล็กตลอดเวลา เพ่ือตัดกับขดลวด ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า เมอ่ื เคร่อื งยนต์ทางาน แบตเตอร่ี (Battery) เป็นอุปกรณ์ทางเคมที ่ี ใช้สาหรบั เปล่ยี นพลงั งานเคมีใหเ้ ป็นพลงั งาน ไ ฟ ฟ้ า โ ด ย ไ ม่ จ า เ ป็ น ต้ อ ง ติ ด เ ค ร่ื อ ง ย น ต์ ตัวอย่าง เช่น ระบบไฟเล้ียว ไฟเบรก แตร ไฟเตอื นตาแหน่งเกียร์ เป็นต้น ฟิวส์ (Fuse) เปน็ อปุ กรณห์ อ้ งกันวงจรไฟฟ้า เบื้องต้น โดยจะมีคุณสมบัติ คือจะยอมให้ กระแสไฟ ไหลผ่านได้จานวนหนึ่ง ถ้ามี กระแสไฟไหลเกนิ ขนาด (จุดหลอมเหลวของ ฟิวส์จะต่า) ซ่ึงจะเป็นการป้องกันอุปกรณ์ ของวงจรไฟฟา้ เบื้องต้น สวิทช์กุญแจ (Ignition switch) มีหน้าท่ี สาคัญคือตัดและต่อวงจรไฟฟ้าโดยจะต่อ วงจรระหว่างแบตเตอร่ีกับอุปกรณ์ไฟฟ้า ต่างๆ ท่ีต้องการใช้งานต้องการและจะตัด วงจรไฟท้ังหมดเมื่อการใช้ สิ้นสุดลงโดยการ ปดิ สวทิ ชก์ ุญแจตาแหนง่ OFF สวิทช์แฮนด์ข้ำงขวำ (Right switch) เป็น อุ ป ก ร ณ์ ใ น ร ะ บ บ ไ ฟ แ ส ง ส ว่ า ง ท า ห น้ า ท่ี ควบคุมการปิด-เปิดวงจรไฟฟ้ารวมถึงการ ดบั เครื่องอยา่ งฉุกเฉนิ

ตัวต้ำนทำน (Resistance) เป็นอุปกรณ์ไ ฟ ฟ้ า ท่ี มี ห น้ า ที่ ต้ า น ท า น ก า ร ไ ห ล ข อ งกระแสไฟในวงจรเรกกูเลเตอร์ (Regulator) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าใช้สาหรับควบคุมแรงเคล่ือนระบบไฟแสงสว่าง เพ่ือมิให้อุปกรณ์อื่น ๆ ในระบบแสงสว่างชารุด ขณะเร่งเคร่ืองยนต์ ในรอบสงูเรกติไฟเออร์ (Rectifier) หรือ ไดโอด(Diode) เป็นอุปกรณ์ในระบบไฟชาร์จทาหน้าท่ีเป็นกระแสไฟสลับให้เป็นกระแสตรงซึ่งตัวไดโอดนี้จะมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งคือยอมให้กระแสไฟบวกไหลผ่านไปทางเดียว(จากบวกไปลบ) กระแสจะไม่ไหลย้อนกลบัหลอดไฟ (Lap) เป็นอุปกรณ์หลักในระบบไฟฟ้าประกอบด้วยไส้หลอดและแก้วหลอดซ่ึงภายในจะบรรจุด้วยก๊าชเฉ่ือย หลอดไฟสามารถให้แสงสว่างออกมาได้ โดยอาศัยการครบวงจรในการไหลของแรงเคล่ือนไฟฟ้าจานวนหนึง่ ผา่ นไส้หลอดทาใหร้ ้อนแดง จึงเกดิ แสงสวา่ งออกมาข้อต่อสำยไฟเดี่ยว (Single Connecterline) เป็นอุปกรณ์ในการต่อสายไฟเข้าด้วยกัน (ในกรณีที่มีการถอดแยกช้ินส่วนซ่ึงเป็นสายไฟเส้นเดียวกัน) จากรูปทางซ้ายจะเปน็ ข้อตอ่ ตวั ผู้ ดา้ นขวาเป็นตวั เมยีข้อต่อสำยไฟรวม (Coupler) เป็นอุปกรณ์ในการต่อสายไฟเข้าด้วยกัน แต่เป็นการต่อสายไฟจานวนมาก เพ่ือความสะดวกในการถอด ประกอบ

สำยดิน (Ground) เป็นจุดต่อรวมของอุปกรณ์ไฟต่างๆ ซ่ึงจะครบวงจรได้ต้องต่อลงดิน ดังรปูแตร (Horn) เปน็ อปุ กรณ์ไฟฟ้าในระบบของไฟสัญญาณซึ่งจะเป็นลักษณะของเสยี ง เกิดจากการส่ันสะเทือนของแผ่นไดอะแฟรมด้วยความเร็ว(การส่ันสะเทือนของแผ่นไดอะแฟรมน้ีเกิดจากอานาจแม่เหล็กที่พันรอบขดลวด เกดิ การตัดและตอ่ อยา่ งรวดเร็ว)สวิทช์ไฟเตือนน้ำมันเบนซิน ( Fuel levelwarning switch) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าในระบบไฟสัญญาณซึ่งเปน็ สัญญาณไฟในการเตือนระดับน้ามันเชื้อเพลิงให้ผู้ขับขี่ทราบสวิตชไ์ ฟเตือนจะประกอบอยกู่ บั แผงหนา้ ปัดเกจวัดระดับน้ำมันเชื้อเพลิง ( Fuel levelswitch) เ ป็ น อุ ป ก ร ณ์ ไ ฟ ฟ้ า ใ น ร ะ บ บไฟสัญญาณที่ติดตั้งอยู่ที่ถังน้ามันเชื้อเพลิงเพื่อให้ทราบถึงปริมาณน้ามันเช้ือเพลิง เกจวดั ชนดิ น้ีจะทางานสัมพันธก์ ับเกจวัดบนแผงหนา้ ปทั ม์ส วิ ท ช์ ไ ฟ เ ตื อ น ตำ แ ห น่ งเ กี ย ร์ (Gearposition switch) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าในระบบสัญญาณทาหน้าที่เป็นสะพานไฟเพ่ือตั ด แ ล ะ ต่ อ วง จ ร ไ ฟ เ ตื อ น ต า แ ห น่ ง เ กี ย ร์ ที่กาหนดรีเลย์ไฟเลี้ยว (Turn signal relay) ทาหน้าท่ีตดั และตอ่ สัญญาณไฟเล้ยี ว ซ่ึงการตัดและต่อสญั ญาณไฟจะส่งผลใหห้ ลอดไฟเลี้ยวติดและดับ ลักษณะดังกล่าว คือ การกระพริบของหลอดไฟเลี้ยว

สวิท ช์ไ ฟ เ บรกห ลัง (Rear brake lightswitch) เ ป็ น อุ ป ก ร ณ์ ไ ฟ ฟ้ า ใ น ร ะ บ บไฟสัญญาณลักษณะการทางานจะคล้ายกับสะพานไฟ ดังรูป เมื่อเหยียบเบรกสวิทช์จะทาหน้าท่ีต่อสายไฟท้ังสองให้ถึงกัน ไฟจึงสว่างสวิทช์ไฟเบรกหน้ำ (Front brake lightswitch) เป็นอุปกรณ์ระบบไฟสัญญาณหน้าที่การทางานจะเป็นลักษณะเดียวกับสวิทช์ไฟ เบรกหลัง เพียงแต่ลักษณะและการตดิ ตง้ั แตกตา่ งกัน

รำยละเอยี ดรหสั สสี ำยไฟในรถจกั รยำนยนต์ในแตล่ ะร่นุ

ตำรำงท่ี 3 แสดงรหัสสีทางไฟฟ้าในระบบจกั รยานยนต์ HONDA CLICKสี รหสั สี สี รหัสสีBl ดา O สม้ ฟ้าY เหลอื ง Lb เขยี วอ่อน ชมพูBu น้าเงนิ Lg เทา นา้ ตาลG เขียว P แดง/ดา ดา/เหลืองR แดง Gr เหลือง/เขียว แดง/ขาวW ขาว Br รหสั สีG W เขียว/ขาว R Bl ส้ม ฟ้าBu Y น้าเงิน/เหลอื ง B Y ชมพู นา้ ตาลBu G นา้ เงนิ /เขียว Y G สนี ้าตาลเข้ม เทาLg R เขยี วออ่ น/แดง R W ขาว/นา้ เงนิ เหลอื ง/แดงตำรำงที่ 4 แสดงรหสั สีทางไฟฟา้ ในระบบจกั รยานยนต์ YAMAHA MIO นา้ เงนิ /ขาว เขียว/เหลอื ง สี รหสั สี สี B ดา O Y เหลอื ง Lb L นา้ เงนิ P G เขียว Br R แดง Ch W ขาว GyRW แดง/ขาว WRWR ขาว/แดง YRBr W นา้ ตาล/ขาว LWLB น้าเงนิ /ดา LY

แสดงแผนภำพวงจรระบบไฟฟ้ำจกั รยำนยนต์ HONDA CLICK

รปู ท่ี 14 แสดงแผนภาพวงจรระบบไฟฟา้ จักรยานยนต์ HONDA CLICK

วงจรระบบสตำร์ทและระบบจุดระเบดิ HONDA CLICKรูปที่ 15 แสดงวงจรระบบสตาร์ทและระบบจุดระเบดิ รถจกั รยานยนต์ HONDA CLICKอปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นวงจรระบบสตำรท์ และระบบจุดระเบิด1. แบตเตอรี่ 10. กลอ่ ง CDI Unit2. ฟวิ ส์ 10 แอมป์ 11. สัญญาณไฟแดงอณุ หภูมินา้ หลอ่ เยน็3. ฟวิ ส์ 15 แอมป์ 12. ล้นิ โช๊คอตั โนมัติ4. สวิทช์จุดระเบิด 13. ตัวตรวจจับอณุ หภูมนิ า้ หล่อเยน็ เครือ่ งยนต์ ECT5. รีเลย์สตารท์ 14. พัชเชอร์คอยล์6. มอเตอรส์ ตาร์ท 15. คอยล์จุดระเบิด7. สวทิ ช์ไฟเบรก 16. หัวเทียน8. ไฟเบรก 17. สวิทช์ตัดการทางานของเคร่ืองยนต์ทีข่ าต้ัง9. สวทิ ช์สตารท์ 18. ล้อแม่เหลก็ (Magneto)

ข้นั ตอนกำรทำงำนของระบบสตำรท์อปุ กรณ์แรกแบตเตอร่ี แรงดันไฟออกมาจากแบตเตอรร์ ี่ 12 โวลต์ กระแสตรงเข้ามารอที่ สวทิ ชจ์ ดุ ระเบิดโดยผ่านฟิวส์เข้ามา (สายไฟขนาดเล็ก) อีกทางหน่ึงสายกระแสไฟไหลเข้าไปรอยังรีเลย์ (สายไฟขนาดใหญ่) โดยไม่ผา่ นฟิวส์ ในขณะท่ีเราหมนุ สวิทช์จุดระเบิดให้อยู่ในสถานะ ON กระแสไฟจะไหลออกมา 3เสน้ ทาง1. ไหลเข้าไปยังรเี ลย์และออกไปเขา้ กลอ่ ง C.D.I.2. ไหลเข้าไปยงั กลอ่ ง C.D.I.3. ไหลผ่านเข้าฟิวส์ 10 แอมป์ เข้าสวิทช์เบรก (เบรกจะต่อแบบขนาน เพื่อสาหรับให้กดข้างใดขา้ งหน่งึแล้วไฟจะไหลเข้าไปทางานยังรีเลย์ โดยไม่ต้องกดสวิทช์ทั้ง 2 ตัว ถ้าต่อแบบอนุกรมต้องกดสวิทช์ท้ัง 2ตัว เพื่อท่ีจะให้กระแสไฟไปลงกราวน์ในที่เดียวกัน) เม่ือกดสวิทช์เบรกแล้วไฟจะไหลเข้าไปสองสายคือออกไปยังไฟทา้ ย ไฟเบรกเพอ่ื บอกสัญญาณ และเขา้ ไปยังสวิทชส์ ตารท์ เพ่ือรอผู้ขบั ขีก่ ดลงไปในตาแหนง่สตาร์ทให้ ON แลว้ กระแสจะไหลเข้าไปยงั กล่อง C.D.I. และจากนนั้ ผู้ขบั ข่ีต้องทาการยกขาตง้ั ขน้ึ เพ่ือทาให้การทางานของกระแสส่วนขาต้ังไหลเขา้ ไปยงั กล่อง C.D.I. หน้าสมั ผสั ของรีเลย์ทางานจากปกติปิดเป็นปกติเปิด (หน้าสัมผัสจากห่างอยู่เข้ามาชิดกัน) กระแสไฟไหลเข้ามอเตอร์สตาร์ททางานในการสตาร์ทเคร่ืองยนต์ แตไ่ ม่ไดจ้ ดุ ระเบิด เพยี งแค่ทาใหเ้ ครอ่ื งยนตเ์ กิดการเคล่ือนท่ีข้ึนลง โดยอาศัยอุปกรณ์ตอ่ ไปน้ี1. แบตเตอร่ี 7. กล่อง CDI Unit2. ฟวิ ส์ 10 แอมป์ 8. สวทิ ชไ์ ฟเบรก3. ฟวิ ส์ 15 แอมป์ 9. ไฟเบรก4. สวทิ ช์จดุ ระเบิด 10. สวทิ ช์สตารท์5. รเี ลยส์ ตาร์ท 11. สวิทช์ตดั การทางานของเคร่ืองยนต์ที่ขาต้ัง6. มอเตอรส์ ตาร์ท 12. ลอ้ แม่เหล็ก (Magneto)ขั้นตอนกำรทำงำนของระบบจดุ ระเบิดจากการทางานของระบบสตาร์ทแล้วน้ัน จะเห็นได้ว่าในรถจักรยานยนต์ HONDA CLICK นั้นมีความสัมพันธ์กันของระบบสตาร์ทและระบบจุดระเบิด โดยใช้กล่อง CDI เป็นตัวส่ังการด้วยการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ที่เพิ่มข้ึนมาจากรถจักรยานยนต์สมัยอดีต กล่อง CDI จะเป็นตัวควบคุมการส่งจ่ายแสไฟไหลเขา้ ไปยังคอยลจ์ ุดระเบดิ เพือ่ สง่ เขา้ ไปในหัวเทยี น โดยแปลงแรงดนั ไฟจาก 6-12 โวลต์ มาเปลี่ยนเปน็แรงดันไฟสูงประมาณ 8000-30,000 โวลต์ เข้าไปในหัวเทียน เพ่ือทาให้ ในหลักการทางานของวงจรระบบจุดระเบดิ ทางานโดยตอ้ งคานึงถงึ การทางานของอปุ กรณ์ดังตอ่ ไปนี้

1. แบตเตอรี่ 9. กล่อง CDI Unit2. ฟวิ ส์ 10 แอมป์ 10. สัญญาณไฟแดงอุณหภูมินา้ หลอ่ เย็น3. ฟวิ ส์ 15 แอมป์ 11. ลนิ้ โช๊คอัตโนมตั ิ4. สวิทช์จุดระเบิด 12. ตวั ตรวจจบั อุณหภมู นิ า้ หลอ่ เย็นเครื่องยนต์5. กล่อง CDI Unit 13. พชั เชอร์คอยล์6. สัญญาณไฟแดงอุณหภูมินา้ หล่อเยน็ 14. คอยลจ์ ุดระเบดิ7. ล้อแม่เหล็ก (Magneto) 15. หัวเทยี นวงจรระบบไฟชำรจ์ และไฟส่องสวำ่ ง HONDA CLICKรูปที่ 16 แสดงวงจรระบบไฟชาร์จและไฟส่องสวา่ งรถจักรยานยนต์ HONDA CLICKอปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นวงจรระบบไฟชำร์จและไฟส่องสว่ำง1. แบตเตอรี่ 6. สวทิ ช์ไฟสงู -ต่า2. ฟิวส์ 15 แอมป์ 7. ไฟหน้า3. เรก็ กเู รเตอร์/เรก็ ตไิ ฟเออร์ 8. ไฟทา้ ย4. ชาร์จคอยล์ ลอ้ แม่เหลก็ 9. ไฟเตอื นไฟสูง

ขั้นตอนกำรทำงำนของวงจรระบบไฟชำร์จและไฟสอ่ งสว่ำงขณะท่ีรถจักรยานยนต์สตาร์ททาให้เคร่ืองยนต์หมุน เมื่อเคร่ืองยนต์หมุน เกิดการเหน่ียวนาของสนามแม่เหล็กในการเกิดกระแสไฟฟ้า ในชาร์จคอยล์ออกมาเป็นไฟกระแสสลับ โดยจะถูกแปลงเป็นกระแส ไฟตรงด้วยเรกตไิ ฟเออร์หรือไอโอดเพื่อเข้าชาร์จแบตเตอร่ี (แรงเคล่ือนไฟฟ้าที่เกิดข้ึนในขดลวดจะเพิ่มข้ึนเม่ือรอบเคร่ืองยนต์สูงขึ้น เมื่อแบตเตอร่ีได้รับประจุไฟเต็มที่แล้ว SCR ในเรกูเลเตอร์จะเร่ิมทางานโดยให้กระแสไฟไหลยอ้ นกลับเขา้ ขดลวดเปน็ การปอ้ งกันการชาร์จของแบตเตอร่มี ากเกนิ ไป โดยที่เรกกูเลเตอร์ก็จะควบคุมแรงเคลื่อนของไฟแสงสว่างไม่ให้ออกมามากเกินไปเป็นการป้องกันไม่ให้หลอดไฟขาด ถา้ แบตเตอรเ่ี สียหรอื ไม่มีแบตเตอร่ี จะทาให้กระแสไฟไม่สามารถไหลเข้าประจไุ ด้กระแสไฟจะไหลยอ้ นไปท่หี ลอด ทาใหห้ ลอดไฟขาดได้ง่ายวงจรระบบไฟเลย้ี ว HONDA CLICKรปู ท่ี 17 แสดงวงจรระบบไฟเล้ยี วรถจักรยานยนต์ HONDA CLICKอุปกรณท์ ี่ใช้ในวงจรระบบไฟเลยี้ ว 6. ไฟเลย้ี วหน้า (ซ้าย, ขวา) 7. ไฟเลี้ยวทา้ ย (ซา้ ย, ขวา) 1. แบตเตอรี่ 8. สญั ญาณไฟเล้ียว (ซา้ ย, ขวา) 2. ฟิวส์ 10 แอมป์ 9. ไฟสอ่ งเรอื นไมล์ 3. ฟิวส์ 15 แอมป์ 10. สวทิ ชไ์ ฟเลี้ยว 4. สวทิ ช์จดุ ระเบดิ 5. รเี ลย์ไฟเลีย้ ว(แฟลชเชอร์)

ขั้นตอนกำรทำงำนของวงจรระบบไฟเลยี้ วเม่ือกระแสไฟไหลผ่านสวิทชจ์ ุดระเบิดไหลเข้าไปยงั รีเลยไ์ ฟเลี้ยว จะส่งสญั ญาณในการเกิดไฟกระพรบิ ไปรอในสวิทช์ไฟเลย้ี ว เพอื่ รอคาสัง่ ในการเลือกสง่ กระแสไฟไปยงั ส่วนของหลอดไฟด้านใด เมอ่ื ส่งกระแสไฟเขา้ ไปแล้ว จะเหน็ ไดว้ า่ ไฟจะออกมา โดยมีสญั ญาณไฟเตือนไฟเล้ียวในการบอกบนหน้าปัดเรอื นไมล์ ซ่ึงในการบอกเล้ยี วซ้ายหรอื เลีย้ วขวา ขึน้ อยกู่ ับวา่ กระแสจะมาจากด้านใด (จากการเลอื กในการเล้ยี วของผู้ขับข่ี) เมื่อเลือกด้านใดกระแสไฟจะไหลเข้าไปส่ังไฟเล้ียวด้านน้ัน และกระแสจะไหลไปในสัญญาณไฟเลี้ยวบนหน้าปัดด้วย ส่วนไฟส่องเรือนไมล์จะรับกระแส 10 แอมป์ จากสวิทช์จุดระเบิด แล้วทาการลงกราวน์ ในวงจรนี้อปุ กรณ์หลกั ในการทางานของระบบไฟเลีย้ วคอื รเี ลยไ์ ฟเลย้ี ว หรอื แฟลชเชอรน์ ัน้ เองวงจรระบบแตร HONDA CLICK รูปท่ี 18 แสดงวงจรระบบแตรรถจกั รยานยนต์ HONDA CLICKอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นวงจรระบบไฟเลี้ยว1. แบตเตอรี่ 4. สวทิ ช์จดุ ระเบิด2. ฟวิ ส์ 10 แอมป์ 5. สวิทช์แตร3. ฟิวส์ 15 แอมป์ 6. แตรข้นั ตอนกำรทำงำนของวงจรระบบแตรการทางานของระบบแตร เมื่อกดสวิทช์จุดระเบิดกระแสไฟจะไหล เข้าฟวิ สผ์ า่ นเข้าไปรอทีแ่ ตร แตไ่ ม่สามารถไหลเขา้ แตรได้ เน่ืองจากมีสวทิ ชแ์ ตรนัน้ ขวางทางของกระแสแรงดันไฟไว้ ทาใหต้ ้องกดสวทิ ช์แตร ใหส้ วิทชแ์ ตรเป็นสะพานไฟ ในการไหลของกระแส และจะเกิดการไหลลงกราวน์ เมือ่ ผา่ นไปยังแตร

วงจรระบบเกจวดั นำ้ มันเชอ้ื เพลงิ HONDA CLICK รปู ที่ 19 แสดงวงจรระบบเกจวดั น้ามนั เช้อื เพลิงอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นวงจรระบบเกจวดั น้ำมันเชอ้ื เพลิง1. แบตเตอร่ี 4. สวทิ ช์จุดระเบดิ2. ฟิวส์ 10 แอมป์ 5. เกจวดั ระดบั น้ามันเชื้อเพลงิ3. ฟวิ ส์ 15 แอมป์ 6. ชุดลูกลอยวัดระดบั น้ามนั เชือ้ เพลิงขน้ั ตอนกำรทำงำนของวงจรระบบเกจวัดระดบั น้ำมันเชอ้ื เพลงิการทางาน เมื่อกดสวิทช์จุดระเบิดกระแสไฟจะไหลไปรอท่ีเกจวัดระดับน้ามันเชื้อเพลิง โดยที่ตัวเกจวดัระดับน้ามันเช้ือเพลิง จะรับกระแสการเปล่ียนระดับตัวตา้ นทานมาจากชุดลูกลอยระดับน้ามนั เชื้อเพลิงเพ่ือส่งมาเป็นแปลงค่าความต้านทาน เมื่อระดับน้ามันเช้ือเพลิงในถังต่า วงจรไฟฟ้ามีความต้านทานสูงกระแสไฟฟ้าสามารถไหลได้น้อยมาก เมื่อถังมีน้ามันเต็มลูกลอย เคลื่อนท่ีสูงขึ้น ทาให้ความต้าน ทานลดลง กระแสไฟฟา้ จานวนมากข้ึนไหลผ่านทาให้เกิดการแกว่งตวั ของหนา้ ปัดเรอื นไมลไ์ ด้

ภำพตำแหน่งอปุ กรณ์กำรเดนิ สำยไฟภำยในระบบไฟฟำ้ จกั รยำนยนต์ HONDA CLICK รูปท่ี 20 ตาแหน่งอปุ กรณ์ในรถจกั รยานยนต์

รปู ที่ 21 ตาแหนง่ อุปกรณใ์ นรถจักรยานยนต์รปู ที่ 22 ตาแหน่งอปุ กรณใ์ นรถจกั รยานยนต์

รูปที่ 23 ตาแหนง่ การเดนิ สายไฟโครงส่วนหน้าของรถจกั รยานยนต์รูปท่ี 24 ตาแหน่งการเดินสายไฟสว่ นหน้าหนา้ ปดั แฮนดร์ ถจักรยานยนต์

รูปท่ี 25 ตาแหนง่ การเดนิ สายไฟส่วนหนา้ รถจักรยานยนต์รปู ที่ 26 ตาแหนง่ การเดนิ สายไฟสว่ นหลงั หนา้ ปดั แฮนด์รถจกั รยานยนต์

รปู ที่ 27 ตาแหน่งสายไฟบริเวณอัลเตอรเ์ นเตอร์ รปู ที่ 28 ตาแหนง่ สายไฟบรเิ วณเครอ่ื งยนต์

รปู ท่ี 29 ตาแหนง่ การเดนิ สายไฟบรเิ วณโครงหลังรถจกั รยานยนตด์ ้านซา้ ย

รปู ท่ี 30 ตาแหน่งการเดนิ สายไฟบริเวณโครงหลงั รถจกั รยานยนต์ดา้ นขวา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook