Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 ไม้

หน่วยที่ 1 ไม้

Published by janecute420, 2021-08-20 07:22:18

Description: หน่วยที่ 1

Search

Read the Text Version

1

2 จงเลือกคําตอบท่ถี ูกที่สดุ เพยี งขอ้ เดยี วจากคําถามตอ่ ไปน้ี 1. ไม้ หมายถงึ ข. วัสดใุ ดๆ ทม่ี ีสว่ นประกอบทาํ มาจากไม้ ก. เนื้อเยือ่ ไซเลม็ ชนั้ ที่สอง (Xylem) ของตน้ ไม้ ง. ถกู ทุกขอ้ ค. วัสดแุ ขง็ ทที่ าํ จากแก่นลาํ ตน้ ของต้นไม้ 2. ข้อใดคอื สว่ นของต้นไม้ที่ทาํ หนา้ ทีล่ ําเลียงสารอาหารไปยังใบทุกส่วน ก. ลําตน้ ข. ใบ ค. ราก ง. กง่ิ ไม้ 3. เซลลท์ เี่ รยี งตวั ไปตามแนวขวางของลาํ ตน้ เรยี กวา่ ก. เซลล์กงิ่ ไม้ ข. เซลลค์ าํ้ จุน ค. เซลล์รงั สี ง. เซลลส์ ะสม 4. Wood Cell คอื อะไร ก. เซลลใ์ บ ข. เซลลไ์ ม้ ค. เซลลต์ น้ ไม้ ง. เซลล์กงิ่ ไม้ 5. เซลลท์ ท่ี าํ หน้าทใ่ี ห้ความแขง็ แรงแก่ลาํ ต้นคอื ข. เซลลค์ ํ้าจุน ก. เซลล์รงั สี ง. เซลล์ไม้ ค. เซลลล์ าํ เลยี ง ข. เปลือกช้ันใน 6. Cambium คอื ง. เปลือกชัน้ นอก ก. เสน้ วงรอบปี ค. เยอ่ื เจรญิ ข. Sapwood ง. Heartwood 7. ไมแ้ กน่ มชี ื่อภาษาองั กฤษว่าอยา่ งไร ก. Pith ค. Inner Bark

3 8. เซลล์บาง ๆ ทม่ี ีชวี ิตอยรู่ ะหว่างกระพ้กี ับเปลือกชน้ั ในคือ ก. ไมแ้ กน่ ข. ไสไ้ ม้ ค. กระพี้ ง. เย้อื เจรญิ 9. ไม้แดงจดั เป็นไม้ประเภทใด ก. ไม้เน้ืออ่อนมาก ข. ไมเ้ น้อื อ่อน ค. ไมเ้ น้อื แข็ง ง. ไม้เนอ้ื แข็งปานกลาง 10. ข้อใดคอื คณุ สมบตั ขิ องไมม้ ะคา่ ก. นา้ํ หนกั โดยเฉลยี่ 1,090 กโิ ลกรมั ต่อลกู บาศก์เมตร ข. น้าํ หนักโดยเฉลย่ี 850 กิโลกรมั ตอ่ ลกู บาศก์เมตร ค. นา้ํ หนักโดยเฉลย่ี ประมาณ 800 กิโลกรมั ต่อลกู บาศก์เมตร ง. นํ้าหนักโดยเฉลีย่ ประมาณ 750 กโิ ลกรัมต่อลูกบาศกเ์ มตร 11. ซุงมีชอ่ื เป็นภาษาองั กฤษว่าอย่างไร ก. Lug ข. Look ค. Log ง. Lag 12. การเรยี กช่ือขนาดไม้ คือข้อใด ก. ความกว้าง × ความหนา × ความยาว ข. ความยาว × ความกวา้ ง × ความลึก ค. ความหนา × ความกว้าง × ความยาว ง. ความลกึ × ความยาว × ความกวา้ ง 13. ขนาดของไมเ้ สาของบ้านพักอาศยั ที่นยิ มใช้ คอื ข้อใด ก. 4 × 4 นิว้ ข. 3 × 3 นิ้ว ค. 2 × 2 นว้ิ ง. 1 × 1 นิ้ว 14. การเสียรปู ของไม้แปรรูปโดยการบดิ เปน็ เกลยี ว เรยี กวา่ อะไร ก. รอยปริ ข. บดิ ค. โก่ง ง. เบยี้ ว 15. รอยรา้ วท่ีเริม่ แตกจากใจไม้ออกไปตามแนวรศั มี เรยี กว่าอะไร ก. รอยร้าวเสี้ยน ข. รอยร้าวรูปดาว ค. รอยรา้ วกลม ง. รอยรา้ วจากไส้

4 16. ไม้ทีน่ ําไปใชใ้ นงานโครงสรา้ งทั่วไป คอื ข้อใด ก. ไม้ชงิ ชนั ข. ไมเ้ ตง็ ค. ไม้ยาง ง. ไมก้ ะบาก 17. ขอ้ ใดคือ ไม้ทน่ี ิยมใชท้ าํ ไม้ฝา ไมค้ รา่ ว ฝา้ เพดาน คร่าวฝาผนงั ก. ไม้สกั ข. ไมก้ ะบาก ค. ไมย้ าง ง. ไม้แดง 18. ขนาดจริงของไม้อัด คือเทา่ ไหร่ ก. 1.22 x 2.4 เมตร ข. 1.21 x 2.4 เมตร ค. 1.22 x 2.42 เมตร ง. 1.20 x 2.40 เมตร 19. หนว่ ยของไมอ้ ดั มาตรฐานทั่วไป เชน่ 4, 6, 10, 15 และ 20 คอื อะไร ก. เซนติเมตร ข. มิลลิเมตร ค. โดซิเมตร ง. เดซิเมตร 20. การทาหรอื พน่ นํ้ายา เพือ่ ปอ้ งกันรกั ษาเนอ้ื ไม้ ควรทาํ กี่ครั้ง ก. 4 คร้งั ข. 3 คร้ัง ค. 2 ครั้ง ง. 1 คร้งั

5 1.1 ความหมายของไม้ 1.2 โครงสร้างและองคป์ ระกอบของเน้อื ไม้ 1.3 ประเภทของไม้ 1.4 คณุ สมบตั ิของไม้ 1.5 ขนาดของไม้แปรรูป 1.6 ความเสยี หายของไม้ 1.7 การนําไมไ้ ปใชใ้ นงานกอ่ สรา้ ง 1.8 ผลิตภณั ฑจ์ ากอุตสาหกรรมไมอ้ ดั 1.9 การรักษาเนื้อไม้ . ป่าไม้ และไม้มปี ระโยชนม์ ากมายแกท่ รัพยากรมนุษย์ ซ่ึงไม้เป็นวัสดุชนิดเดียวในโลกท่ีมีคุณประโยชน์ต่อ มนษุ ยค์ รบท้งั 4 ปัจจัยหลกั คือ (1) ไมใ้ ชท้ ําเปน็ โครงสร้างอาคารเพื่อใช้เปน็ ทอ่ี ยู่อาศัยของมนุษย์ (2) ไม้ทําเป็น ส่ิงทอเพื่อเป็นเคร่ืองนุ่งห่มของมนุษย์ (3) ไม้ยังสามารถนําเอาดอกผลมาทําเป็นอาหาร เพ่ือรับประทานอย่างมี คุณภาพ และ (4) มนุษย์ได้คิดค้นและนําส่วนต่างๆ ของต้นไม้มาทํายา เพ่ือการรักษาอาการเจ็บไข้ได้ป่วย หรือ รกั ษาโรคต่าง ๆ ได้เป็นอยา่ งดี ปจั จบุ ันมนุษย์มีเทคโนโลยมี ากยง่ิ ข้ึน และใชเ้ คร่ืองจกั รในการผลติ ผลติ ภณั ฑ์ออกมาจําหน่ายให้แก่มนุษย์ ด้วยกันเอง เพ่ือนําผลิตภัณฑ์ต่างๆ ไปใช้อํานวยความสะดวกได้เป็นอย่างดี เช่น เฟอร์นิเจอร์ไม้ เคร่ืองเรือน กระดาษ การต่อเรือ และผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไม้อัด เน่ืองจากไม้เป็นวัสดุธรรมชาติ เม่ือมนุษย์ได้แปรรูป ปรับแต่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานต่าง ๆ แล้วปรากฏว่า ไม้มีความเป็นธรรมชาติ สวยงาม สีสันสดใส แขง็ แรง ทนทาน มกี ารรักษาเนอ้ื ไม้ ทาํ ใหอ้ ายุการใชง้ านยาวนาน 1. แสดงความรเู้ กีย่ วกับประเภท และคณุ สมบัติของไม้ 2. เลือกใชไ้ มใ้ นงานกอ่ สรา้ ง

6 1. บอกความหมายของไม้ได้ถกู ตอ้ ง 2. อธิบายโครงสร้างและองคป์ ระกอบของเน้อื ไม้ไดถ้ ูกต้อง 3. จาํ แนกประเภทของไมไ้ ดถ้ กู ต้อง 4. อธิบายคณุ สมบัติของไม้ไดถ้ ูกต้อง 5. บอกขนาดของไมแ้ ปรรปู ได้ถกู ตอ้ ง 6. บอกความเสียหายของไมไ้ ด้ถูกตอ้ ง 7. เลอื กใชไ้ มใ้ นงานก่อสร้างได้ถูกตอ้ ง 8. เลือกผลติ ภณั ฑจ์ ากอตุ สาหกรรมไม้อัดไปใชง้ านจริงได้ถกู ต้อง 9. บอกวธิ กี ารรกั ษาเนื้อไม้ไดถ้ ูกตอ้ ง

7 ไม้ หมายถึง วัสดุแข็งที่ทําจากแก่นลําต้นของต้นไม้ ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้น โดยนิยามไม้ หมายถึง เนอ้ื เยอื่ ไซเล็มชั้นทสี่ อง (Xylem) ของตน้ ไม้ หรือหมายรวมไปถงึ วสั ดุใดๆ ท่มี สี ว่ นประกอบทํามาจากไม้ด้วย ไมส้ ามารถใช้ประโยชนไ์ ด้หลากหลาย คือ ใช้เป็นเช้ือเพลิง เช่น ถ่านหรือฟืน บางคร้ังใช้ในงานศิลปะ ทํา เฟอร์นิเจอร์ ทําอาวุธ หรือเป็นวัสดุก่อสร้าง ไม้ยังคงเป็นส่วนประกอบสําคัญในการก่อสร้าง ตั้งแต่มนุษย์เริ่ม สามารถสร้างบ้านที่อยู่อาศัยหรือเรือ โดยเรือแทบทุกลําในช่วงปี 80 ทํามาจากไม้ โดยปัจจุบันมีการนําวัสดุอื่น มาใช้ในการสร้างแทน แต่ว่าไม้ยังคงมีส่วนสําคัญในด้านการเสริมโครงสร้าง หรือเป็นวัสดุเสริม โดยการสร้าง หลงั คาและของประดบั นอกบ้าน ไมท้ ี่ใชใ้ นงานก่อสรา้ งร้จู กั กันในชอ่ื ไมแ้ ปรรูป 1.2.1 โครงสรา้ งของต้นไม้ โครงสรา้ งของต้นไม้มสี ว่ นประกอบที่สาํ คญั 3 สว่ นคือ 1. ราก รากของต้นไม้ทุกต้นมีหน้าท่ียึดกับพื้นดินไม่ให้ต้นไม้ล้ม ทําให้ต้นไม้ยืนอยู่ได้ และทํา หนา้ ท่ีดูดสารอาหารสง่ ผ่านลําต้นไปสใู่ บ 2. ลําตน้ ลําต้นของตน้ ไมท้ กุ ตน้ มีหนา้ ทเ่ี ป็นโครงสร้างของต้น และทําหน้าท่ีลําเลียงสารอาหาร ไปยังใบทุกส่วน 3. ใบ ใบของต้นไม้ทุกต้นทําหน้าท่ีรับแสงอาทิตย์เพื่อนํามาปรุงอาหาร เม่ือเสร็จแล้ว จะส่งไป ยังเยอ่ื เจรญิ ซ่ึงอยู่ในลําต้น ทาํ ให้ลําต้นมีการเจริญเติบโตตามลาํ ดับ ดังรูปที่ 1.1

8 รูปท่ี 1.1 สว่ นตา่ ง ๆ ของตน้ ไม้และหนา้ ที่ (ที่มา : http:// www.sana-anong.com,2558) โครงสร้างของต้นไม้ประกอบด้วยเซลล์ (Cell) หรือเส้นใย (Fiber) ในลักษณะต่าง ๆ เพ่ือทําการยึดเกาะ กันจนเป็นรูปต้นไม้ข้ึนมา ดังแสดงในรูปที่ 1.2 เซลล์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ เซลล์ท่ีเรียงตัวไปตาม แนวขวางของลําต้น เรียกว่า เซลล์รังสี (Ray Cell) และเซลล์ท่ีเรียงตัว ยาวไปตามลําต้น เรียกว่า เซลล์ไม้ (Wood Cell) โดยท่วั ไปเซลล์ต่าง ๆ ของตน้ ไม้ ยังสามารถแบง่ ออกตามหนา้ ทก่ี ารทํางานออกได้อกี 3 ชนิด คือ (1) เซลล์สะสม (Storage Tissue) ทําหน้าที่สะสมอาหารไว้ในลําต้น โดยทั่วไปผนังของ เซลล์จะบาง และมรี ูปรา่ งเป็นเหลีย่ มแบน (2) เซลล์ลําเลียง (Conducting Tissue) ทําหน้าท่ีลําเลียงธาตุอาหารต่าง ๆ จะมีขนาด เซลล์ใหญ่ และมผี นงั เซลลบ์ าง (3) เซลล์คํ้าจุน (Supporting Tissue) ทําหน้าที่ให้ความแข็งแรงแก่ลําต้น จะเป็นเซลล์ที่มี ขนาดเล็ก แต่มีผนังเซลลห์ นา รูปท่ี 1.2 ลกั ษณะการเรียงตัวของเซลล์ต่าง ๆ ของไม้ (ทีม่ า : http:// www.pas-funmui.exteen.com/page/7,2554)

9 ลักษณะการเรียงตัวของเซลล์ อาจจะเรียงตัวตามแนวยาวขนานกับลําต้น หรือขวางกับลําต้นได้ ซ่ึงขึ้นอยู่กับชนิดของไม้ ตัวเซลล์จะประกอบด้วยผนังเซลล์ (Cell Wall) และเยื่อชีวิต (Protoplasm) อยู่ ภายในเซลล์ โดยเม่ือเซลล์เจริญเต็มท่ีจะตาย และเย่ือชีวิตจะกลายเป็นเน้ือไม้ ดังน้ันผนังเซลล์จะมี ส่วนประกอบของสารเซลลูโลส (Cellulose) อยู่ประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ที่ผนังเซลล์และ ลิกนิน (Lignin) อยู่ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ โดยอยู่ระหว่างเซลล์ต่อเซลล์ ซ่ึงทําหน้าท่ีเชื่อมประสานเซลล์ให้ ติดกันเป็นเนื้อไม้ นอกจากน้ันจะเป็นส่วนประกอบจากสารอื่น ๆ การเจริญเติบโตของต้นไม้จะเกิดจากการเพิ่ม เซลล์ทางสูงของลําต้นมากกว่าทางด้านข้าง ทําให้การเจริญเติบโตของต้นไม้ในแต่ละรอบปีจะเกิดเส้นวงรอบปี ข้ึน แต่ถ้าในปีใดมีความแล้งมากเส้นวงรอบปี จะมีสีจางลง ดังรูปที่ 1.3 แสดงโครงสร้างของเซลล์ไม้เนื้อแข็ง และรูปที่ 1.4 แสดงโครงสรา้ งของเซลลไ์ ม้เนื้อออ่ น รปู ที่ 1.3 โครงสร้างของเซลลไ์ มเ้ นือ้ แขง็ (ท่ีมา : http://www.108wood.com,2550) รูปท่ี 1.4 โครงสร้างเซลล์ไมเ้ นอ้ื อ่อน (ท่ีมา : http://www.108wood.com,2550)

10 1.2.2 ลกั ษณะหนา้ ตัดของไม้ ต้นไม้ขนาดใหญ่ (ที่มีอายุ 10 ปีข้ึนไป) หากตัดขวางลําต้น ให้เป็นแผ่นบางคล้ายเขียง ลักษณะ หนา้ ตดั ไม้ ดงั รูปท่ี 1.5 จะมองเห็นได้ว่า ลําต้นไม้ประกอบด้วยส่วนใหญ่ ๆ 2 ส่วน คือ เปลือกไม้กับเน้ือไม้ โดย มีเย่ือเจริญ (Cambium) เป็นเซลล์ช้ันบาง ๆ กั้น ทําหน้าท่ีเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของต้นไม้ แต่หากพิจารณา ให้ละเอียดมากข้ึนจากเปลือกชั้นนอกเข้าหาไส้ หรือใจไม้ท่ีอยู่กลางลําต้น จะเห็นว่าลําต้นของต้นไม้จะ ประกอบด้วยส่วนตา่ ง ๆ ทีส่ ําคัญ 7 ส่วน ดงั ต่อไปนี้ 1. เปลือกไม้ช้ันนอก (Outer Bark) ซ่ึงเป็นส่วนท่ีอยู่นอกสุดของลําต้น โดยเป็นเซลล์ท่ีตาย แล้วและแห้งแข็ง มหี น้าทห่ี ่อหุ้มลําต้นไว้เพ่ือปอ้ งกันอันตรายใหก้ บั ลําตน้ เชน่ การกดั แทะ และการเสยี ดสี เปน็ ตน้ 2. เปลือกช้ันใน (Inner Bark) เป็นเซลล์ท่ียังมีชีวิต มีหน้าที่ลําเลียงอาหารท่ีผ่านการ สงั เคราะห์แลว้ จากใบโดยสง่ ไปเลยี้ งสว่ นต่าง ๆ ของลําต้น เพอื่ ให้ไม้มกี ารเจริญเติบโต 3. เส้นวงรอบปี (Annual Growth Ring) คือ เส้นที่บ่งบอกถึงแนวต่อของไม้ ท่ีเจริญเติบโต ข้ึนมาในแต่ละรอบปีหรือแต่ละฤดู ซึ่งถ้าไม้อยู่ในท้องถิ่นท่ีมีความอุดมสมบูรณ์มาก จะมีระยะห่างของเส้น วงรอบปีน้ีก็จะห่างมาก สีของเส้นจะจาง (Early Wood หรือ Spring Wood) แต่ถ้าในท้องถ่ินที่ใดไม่มีความ สมบูรณ์หรือแห้งแล้ง เสน้ วงรอบปีจะถี่ ซ่ึงบ่งบอกถงึ การเจริญเติบโต ท่ีช้าสีของเส้นจะเข้ม (Late Wood หรือ Summer Wood) โดยปกติ เส้นวงรอบปีหนึ่งเส้นจะเท่ากับอายุของต้นไม้หนึ่งปี แต่ยกเว้นต้นไม้บางชนิด เช่น ไม้สัก ในบางปีท่ีสมบูรณ์มากเส้นวงรอบปีอาจจะมีถึง 2 วง หรือกรณีต้นไม้ที่เกิดใบร่วงหมดต้น อาจจะทําให้ การเจรญิ เติบโต ไมค่ รบวงรอบ 4. เย่ือเจริญ (Cambium) ซ่ึงเป็นเซลล์บาง ๆ ที่มีชีวิตอยู่ระหว่างกระพ้ีกับเปลือกช้ันใน ซ่ึง การเจริญเติบโตของเน้ือไม้และเปลือกไม้จะเกิดจากการแบ่งเซลล์ของเย่ือเจริญ เซลล์เย่ือเจริญท่ีแบ่งอยู่ด้านใน จะกลายเป็นเนือ้ ไม้ ซงึ่ เซลลท์ แี่ บ่งตวั ด้านนอกกจ็ ะกลายเป็นเปลอื กชัน้ ใน โดยจะค่อยๆ ขยายตัวตามการเติบโต ของลาํ ตน้ โดยจะไปดนั เปลอื กชนั้ นอกให้แตกเปน็ ลายหรอื เป็นรอ่ งตา่ งๆ ตามทเี่ ราไดเ้ หน็ กนั ทัว่ ไป 5. กระพ้ี (Sapwood) เป็นส่วนที่อยู่ถัดออกมาจากไม้แก่น ซึ่งอยู่ระหว่างเปลือกชั้นในและไม้ แก่ โดยเนื้อกระพี้จะมีสีจางกว่าไม้แก่น มีหน้าท่ีลําเลียงธาตุอาหารต่าง ๆ ไปสู่ใบและเป็นที่เก็บสะสมอาหาร จําพวกแป้งและนํ้าตาล โดยเมื่อต้นไม้เจริญเติบโต เนื้อไม้ท่ีงอกข้ึนมาใหม่ จะทําหน้าท่ีแทนกระพี้เดิม โดย กระพี้เดิมก็จะกลายเป็นไม้แกน่ แทนตอ่ ไป 6. ไมแ้ กน่ (Heartwood) เปน็ สว่ นทอี่ ยู่ถดั ออกมาจากไสไ้ ม้ แก่นไม้คือ เซลล์ต่าง ๆ ของต้นไม้ ท่ีไม่ทํางานแล้ว โดยไม้แก่นจะเป็นส่วนท่ีแข็งท่ีสุด มีหน้าที่เป็นโครงสร้างให้กับลําต้น ดังน้ัน ไม้แก่นจะมีเน้ือสี เข้ม เนื่องจากยังมีสารอาหารต่าง ๆ ตกค้างอยู่ ซึ่งไม้แก่นเป็นไม้ที่นํามาใช้รับน้ําหนักได้เป็นอย่างดีในงาน กอ่ สรา้ งตา่ ง ๆ

11 7 ไส้ไม้ (Pith) เรียกอีกช่ือหนึ่งว่า ใจไม้ เป็นส่วนที่อยู่ตรงกลางลําต้นของต้นไม้ ซึ่งเป็น จุดเริ่มต้นของการเจริญเติบโตของต้นไม้ โดยจะทําให้เกิดลําต้น กิ่งก้าน และใบ ดังน้ันเม่ือต้นไม้มีอายุมากข้ึน ไส้ไม้จะกลายเป็นโพรง โดยถ้ามองในแง่กลสมบัติของไม้ หากไม้ที่มีโพรงจะสามารถรับนํ้าหนักได้ตํ่าไม่เหมาะที่ จะนาํ มาใชใ้ นงานกอ่ สร้าง รูปที่ 1.5 ลกั ษณะหนา้ ตดั ของไม้ (ที่มา : http:// www.function-planty.exteen.com/20110119/entry-7,2559) ในปัจจุบันนี้เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันจึงควรใช้เรียกแยกประเภทของไม้ตามหนังสือของกรมป่าไม้ ท่ี กส. 0702/6979 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2517 เร่ืองข้อกําหนดเก่ยี วกับไม้ทใี่ ช้ในการสร้างในส่วนราชการกรมป่าไม้ ซ่ึงมีดงั ต่อไปนี้ 1.3.1 การแยกประเภทของไม้ ใหแ้ บ่งไมอ้ อกเปน็ 3 ประเภท โดยถอื เอาคา่ ความแขง็ แรงในการดัด ของไมแ้ หง้ และความทนทานตามธรรมชาติของไม้นน้ั ๆ เปน็ เกณฑ์ ดังแสดงในตารางท่ี 1.1 ตารางท่ี 1.1 การแบ่งประเภทของไมโ้ ดยยึดคา่ ความแข็งแรง ประเภทของไม้ ความแขง็ แรง ความทนทาน (ป)ี ช่อื มาตรฐาน 1. ไมเ้ น้อื แข็ง (กก.ซม.2) สงู กวา่ 6 สูงกวา่ 100 ไม้สกั , ไมต้ ะเคยี นทอง, ไม้แดง, ไมเ้ ต็ง ไมร้ งั , ไมช้ นั , ไมป้ ระดู่ ฯลฯ

12 ตารางที่ 1.1 (ต่อ) การแบ่งประเภทของไมโ้ ดยยดึ คา่ ความแข็งแรง ประเภทของไม้ ความแข็งแรง ความทนทาน (ป)ี ชือ่ มาตรฐาน (กก.ซม.2) 2. ไม้เนื้อแขง็ ปานกลาง 600–1000 2–6 ไมย้ าง, ไม้กระบาก, ไมต้ ะกู ฯลฯ 3. ไม้เน้ืออ่อน ตาํ่ กวา่ 600 ต่ํากวา่ 2 ไม้ฉาํ ฉา, ไมม้ ะพรา้ ว, ไม้ไผ,่ ไม้มะยมปา่ ฯลฯ (ทม่ี า : ข้อกําหนดเก่ียวกบั ไม้ทใี่ ช้ในการก่อสร้างของกรมป่าไม,้ 2517) สําหรับไม้ที่มคี วามทนทานตา่ํ หากได้อาบน้ํายาเสยี ก่อน โดยมีปริมาณน้ํายาที่กําหนดไว้ ให้เลอ่ื นขั้นขนึ้ ไปตามค่าความแข็งแรงได้ 1.3.2 ไมส้ าํ หรบั งานกอ่ สร้างถาวร ไม้สําหรับงานก่อสร้างถาวร หากมีการกําหนดในรายละเอียดแบบแปลนให้มีการใช้ไม้เน้ือแข็ง ปานกลางหรือไม้เนื้ออ่อนได้ จะต้องผ่านการอาบนํ้ายาซ่ึงมีปริมานตัวยาเป็นกิโลกรัมต่อหน่วย ปริมาตรเป็น ลกู บาศก์เมตรของไม้ที่อาบเสยี ก่อน หรือไมต่ ่าํ กว่าทกี่ ําหนด ดงั แสดงในตารางที่ 1.2 ตารางที่ 1.2 การกาํ หนดการอาบนํา้ ยาของไม้ การใช้งาน ยาประเภทนาํ้ มนั ยาประเภทเกลือ ยาประเภทเกลอื (กก./ลบ.ม) ละลายนาํ้ มัน ละลายนา้ํ ใช้ในรม่ (กก./ลบ.ม) (กก./ลบ.ม) ใช้กลางแจ้ง – 5.6 ใช้ท่ีแฉะชืน้ 96 – 8.0 ใชใ้ นนํา้ จดื 128 4.8 12.0 ใช้ในนํา้ ทะเล 192 6.4 320 16.0 10.0 24.0 -

13 1.3.3 ไม้ท่ใี ชเ้ ป็นสว่ นประกอบที่สําคัญ ไม้ท่ีใช้เป็นส่วนประกอบสําคัญ เป็นวงกบประตูหน้าต่าง บานประตูหน้าต่าง แม่บันได และพื้น ในร่ม เป็นต้น สําหรับงานที่เห็นว่าต้องการความเรียบร้อยสวยงามเป็นพิเศษให้กําหนดชนิดไม้ไว้ให้ชัดเจน โดย ไมใ่ หใ้ ช้ไม้เนื้อแขง็ แทน สําหรับพื้นท่ีใชไ้ มท้ อ่ี บแห้งแลว้ เสมอ 1.3.4 การนําไม้ไปใช้งาน การนาํ ไม้ไปใช้งานไม้ทใ่ี ช้จะต้องไม่มีตาํ หนทิ ี่ทําให้ไมเ้ สยี กาํ ลงั อย่างสําคัญ กระพีไ้ ม้ทุกชนิดไม่ให้ มตี า เว้นแตเ่ ปน็ ไม้อาบยาตามเกณฑ์ 1.3.5 ข้อกาํ หนดให้บงั คบั ใช้ ข้อกําหนดให้บังคับใช้ เฉพาะในท้องท่ีกรุงเทพ สมุทรปราการ นนทบุรี เชียงใหม่ และลําปาง นอกเหนือจากจังหวัดดังกล่าวน้ี เมื่อใดมีโรงงานอาบนํ้ายาขึ้นในจังหวัดใดแล้ว ให้ถือปฏิบัติตามกําหนดนํ้า สาํ หรบั ทอ้ งทใ่ี นจังหวัดนน้ั ๆ การนําไม้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด จําเป็นต้องรู้ถึงคุณสมบัติของไม้แต่ละชนิด เพื่อที่จะได้ เลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท เพราะไม้เกิดจากต้นไม้หลายชนิดท่ีมีคุณสมบัติในด้านต่าง ๆ แตกต่างกัน ไม้แต่ละชนิดย่อมเหมาะสมกับงานแต่ละอย่างไม่เหมือนกัน เช่น ในงานก่อสร้าง ไม้จะต้องมีความ แข็งแรงและทนทาน ในการประดิษฐ์เครื่องเรือนท่ีต้องการความสวยงามและความละเอียดในการเข้าไม้ ไม้ จะต้องมสี แี ละลวดลายเน้ือไม้ท่ีสวยงาม เป็นต้น ซงึ่ คุณสมบัตขิ องไมท้ ค่ี วรทราบ มีดังนี้ 1.4.1 ไม้เน้ือแข็ง ไมเ้ น้ือแข็ง มหี ลายชนดิ เช่น ไมเ้ ตง็ ไม้รัง ไม้แดง ซึ่งมีคณุ สมบัติที่ควรทราบดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ไม้เต็ง เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขึ้นเป็นหมู่ตามป่าแดดท่ัวไปยกเว้นภาคใต้ ลักษณะเนื้อไม้เป็นสีนํ้าตาลอ่อน จนถึงนํ้าตาลแก่แกมแดง เสี้ยนสับสน เน้ือหยาบ แต่สม่ําเสมอแข็งแรงและ ทนทานมาก เมือ่ ผึง่ ให้แหง้ แล้วเลือ่ ยไสตกแตง่ ไดย้ าก นา้ํ หนกั โดยเฉลย่ี ประมาณ 1,040 กิโลกรัมต่อลกู บาศกเ์ มตร 2. ไมแ้ ดง เป็นต้นไมข้ นาดใหญ่ ขน้ึ ทัว่ ไปในปา่ เบญจพรรณแลง้ และชืน้ ลกั ษณะของเนอ้ื ไม้มสี ี แดงเร่อื ๆ หรือ สีนา้ํ ตาลอมแดง เสยี้ นแขง็ แรงและทนทาน เล่ือยไสตกแตง่ ได้เรียบร้อย ขัดชักเงาได้ดี นาํ้ หนัก โดยเฉลย่ี ประมาณ 960 กิโลกรัมต่อลกู บาศกเ์ มตร ไม้แดงนยิ มในการกอ่ สร้างในสว่ นทไี่ มใ่ ช่โครงสรา้ ง

14 3. ไม้ตะแบก เป็นต้นไม้สูงใหญ่ ตอนโคนมีลักษณะเป็นพู ข้ึนในป่าเบญจพรรณช้ืนและแล้ง ทั่วไป ลักษณะเน้ือไม้สีเทาจนถึงสีนํ้าตาลอมเทา เส้ียนตรงหรือเกือบตรง เนื้อละเอียดปานกลาง เป็นมัน แข็ง เหนยี ว แข็งแรงทนทานดี ขดั ชักเงาได้ดี น้ําหนักโดยเฉลีย่ ประมาณ 850 กโิ ลกรมั ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร 4. ไม้ตะเคียน มีสีเหลืองอ่อนหรือเหลืองเทา และจะเปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลอ่อนเมื่อถูกแสงแดด แกน่ ไมต้ ะเคยี นมสี ีเหลืองอมน้ําตาลจนถึงน้ําตาลอมแดง อาจมจี ดุ เข้มบนเนอ้ื ไมด้ ว้ ย และจะเปล่ียนเป็นสนี ํ้าตาล อมมว่ งเมอ่ื ถูกแสงแดดจะมียางสีขาวไหลออกมาเป็นระยะ และแห้งในท่ีสุดมีน้ําหนักโดยเฉลี่ย 750 กิโลกรัมต่อ ลกู บาศกเ์ มตร 5. ไม้มะค่า เป็นไม้ท่ีมีความแข็งแรง ทนทานมาก มีน้ําหนักโดยเฉล่ียประมาณ 1,090 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร ลักษณะเน้ือไม้มีสีนํ้าตาลอ่อนถึงสีนํ้าตาลแก่ เน้ือค่อนข้างหยาบเป็นมันเล่ือม ไม้มะค่ามีการ ยืดหดคอ่ นขา้ งนอ้ ยมาก 6. ไมป้ ระดู่ เป็นไม้ต้นสูงใหญ่ ลักษณะเนื้อไม้สีแดงอมเหลืองถึงสีแดงอย่างสีอิฐแก่ เส้ียนสับสน เป็นร้ิว เนื้อละเอียดปานกลาง แข็งและทนทาน น้ําหนักโดยเฉล่ีย 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ไสกบตบแต่ง ได้ดี และชักเงาได้ดี 1.4.2 ไม้เนื้อแขง็ ปานกลาง ไม้เน้ือแข็งปานกลาง มีหลายชนิด เช่น ไม้สัก ไม้กระบากหรือไม้กะบาก ไม้นนทรี และอ่ืนๆ ซึ่ง มคี ณุ สมบัตทิ คี่ วรทราบดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ไม้สกั เป็นตน้ ไม้ขนาดใหญ่ ขึน้ เปน็ หมู่ในปา่ เบญจพรรณทางภาคเหนอื และบางส่วนของภาค กลางและตะวันตก ลักษณะเน้ือไม้สีเหลืองทองนานเข้าจะกลายเป็นสีน้ําตาลแก่ มีกลิ่นเหมือนหนังฟอกเก่าๆ และมีน้ํามันในตัว มักมีเส้นแก่แทรกเส้ียนตรงเนื้อหยาบและไม่สม่ําเสมอ แข็งพอประมาณ ทนทานที่สุดปลวก มอดไม่ทําอันตรายนําไปเล่ือยไสตกแต่งง่าย แกะสลักได้ดี ชักเงาได้ง่ายและดีมาก เป็นไม้ท่ีผึ่งให้แห้งได้ง่ายและ อยู่ตวั ดี นา้ํ หนัก โดยประมาณ 640 กโิ ลกรมั ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร 2. ไม้กระบากหรือไม้กะบาก เป็นต้นไม้สูงใหญ่ ขึ้นประปรายในป่าดิบช้ืนและป่าเบญจพรรณ ชื้นท่ัวประเทศ ทางพฤกษศาสตร์จะมีอยู่ หลายชนิด ลักษณะเนื้อไม้โดยรวมมีสีตั้งแต่นวลเหลืองถึงนํ้าตาลอ่อน แกมแดงเร่อื ๆ เส้ียนตรงเนื้อหยาบสม่าํ เสมอ แขง็ เหนยี ว เลื่อยไสตกแต่งได้ไม่ยาก แต่มีข้อเสียคือ เน้ือเป็นทราย ทําไห้กดั คมเคร่อื งมอื แห้งง่าย น้าํ หนกั โดยเฉล่ยี ประมาณ 600 กโิ ลกรัมตอ่ ลูกบาศก์เมตร

15 3. ไม้ซุมแพรก เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นประปรายตามป่าดิบชื้นทางภาคตะวันออก เช่นทาง อําเภอศรีราชา จังหวัด ชลบุรี และในภาคกลางบางแห่ง ลักษณะเน้ือไม้เม่ือเลื่อย หรือตัด ใหม่ ๆ จะเป็นสีแดง เข้มเมื่อท้ิงไว้ถูกอากาศจะเป็นสีน้ําตาลอมแดงเป็นมันเล่ือม เส้ียนมักตรงและสมํ่าเสมอ เป็นร้ิวห่าง ๆ เหนียว แข็ง นํ้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 640 กโิ ลกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร เลื่อยใสกบตกแต่งได้ง่าย ชักเงาได้ดี 4. ไม้นนทรี เป็นต้นไม้ขนาดกลาง ขึ้นในป่าดิบช้ืนและป่าโป่รงช้ืน ลักษณะไม้สีชมพูอ่อน ถึง นํา้ ตาลแกมชมพู เป็นมันเลื่อม เส้ียนตรงหรือเป็นลูกคลื่น หรือสับสนบ้างเล็กน้อย เน้ือหยาบปานกลาง น้ําหนัก โดยเฉลี่ยประมาณ 575 กโิ ลกรมั ต่อลูกบาศก์เมตร เลื่อยไสงา่ ย 5. ไม้ยาง เป็นต้นไม้สูงใหญ่สูงชะลูด ไม่มีกิ่งท่ีลําต้น มักข้ึนเป็นหมู่ในป่าดิบช้ืน และท่ีตํ่าชุ่มชื้น ตามบริเวณใกล้เคียงแม่น้ําลําธาร ในป่าดิบและป่าอื่นๆ ทั่วไป ต้นบางชนิดสามารถ เผาเอาน้ํามันยางได้ (แต่เป็นคนละชนิดกับต้นยางพารา) ลักษณะเน้ือไม้สีแดงเรื่อสีนํ้าตาลหม่น เสี้ยนมักตรง เนื้อหยาบ แข็งปาน กลางใชใ้ นร่ม ทนทานดี เลื่อยไสตกแตง่ ได้ดี น้าํ หนักโดยเฉลยี่ ประมาณ 650-720 กโิ ลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร 1.4.3 ไมเ้ นื้อออ่ น ไม้เน้ืออ่อน มีหลายชนิด เช่น ไม้ยาง ไม้ก้านเหลือง ไม้มะยมป่า ไม้ต้นมะพร้าว ซ่ึงคุณสมบัติท่ี ควรทราบตอ่ ไปน้ี 1. ไม้สยาขาว เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ขึ้นตามไหล่เขาและบนเขาในป่าดิบทางภาคใต้บางจังหวัด เช่น ยะลา นราธิวาส ลักษณะเนื้อไม้สีชมพูอ่อนแกมขาวถึงตาลอ่อนแกมแดง มีร้ิวสีแก่กว่าสีพื้น เป็นมันเลื่อม เส้ียนสับสน เนื้อหยาบอ่อนค่อนข้างเหนียว ทนทานในร่ม เล่ือยไสผ่าได้ง่าย นํ้าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 480 กิโลกรมั ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร 2. ไม้มะพร้าว เป็นไม้ที่เน้ือมีความหนาแน่นใช้เป็นโครงสร้างได้ ความหนาแน่นตรงริม มีมากกว่าตรงกลางต้น ตอนกลางๆ มีความหนาแน่น 400 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร แต่ตอนริมมีความ หนาแน่นถึง 600 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร 3. ไม้ก้านเหลือง เป็นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ข้ึนตามริมแม่นํ้าลําธารหรือในท่ีชุ่มช้ืนท่ัวไป ลักษณะเน้ือไม้ป็นสีเหลืองเข้มถึงสีเหลืองปนแสด เสี้ยนตรง ละเอียดพอประมาณ นําไปเล่ือยและไสกบได้ง่าย ชักเงาได้ดี นํ้าหนกั โดยเฉลี่ยประมาณ 540 กโิ ลกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร 4. ไม้มะยมป่า เป็นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขึ้นประปรายในป่าดิบชื้นหรือป่าเบญจพรรณ ช้ืนท่ัวไป ลักษณะเนื้อไม้ไม่มีแก่น สีจาง ถูกอากาศนาน ๆ สีจะนวลข้ึน เสี้ยนตรง เนื้อหยาบแต่สมํ่าเสมอและ ออ่ น ไสกบไดง้ ่าย น้าํ หนักโดยเฉลีย่ ประมาณ 400 กิโลกรัมตอ่ ลกู บาศก์เมตร

16 ในการนําไม้มาใช้งานก่อสร้าง จะต้องเร่ิมจากการตัดโค่นต้นไม้ให้เป็นท่อน หรือเรียกว่า ซุง (Log) เม่ือ นําซุงมาแปรรูป โดยการผ่าหรือเล่ือยจะได้ไม้แปรรูป ตามลักษณะของการผ่า ซึ่งในการแปรรูปไม้มีลักษณะ และวิธกี ารต่าง ๆ ดงั น้ี 1.5.1 การแปรรูปไมข้ นาดเล็ก การใชไ้ ม้ขนาดเล็กในลักษณะไม้แปรรปู ขนาดต้องโตพอสมควร เพ่ือท่ีจะได้เน้ือไม้ส่วนของแก่น มากกว่าส่วนของกระพ้ี โดยควรมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 น้ิวข้ึนไป มีลําต้นตรงปลายกลม ไม่คดงอ แต่ เน่ืองจากไม้แปรรูปท่ีได้จากไม้ขนาดเล็ก เมื่อยังสดอยู่จะมีการโค้งงอขณะเลื่อยและการแตกร้าวค่อนข้างมาก ดังน้ันเพ่ือช่วยลดปัญหาการโค้งงอ ควรเล่ือยไม้ขนาดส้ัน ความยาวประมาณ 1.50–2.50 เมตร ไม้ท่อน ขนาดเล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6-9 น้ิว เล่ือยเป็นไม้แปรรูปแล้วได้ผลผลิต 25–35 เปอร์เซ็นต์ โดยรวมไม้ที่ โค้งงอ ติดไส้และแตกร้าวด้วย เมื่อนําไปใช้งานคงเหลือประมาณ 20–25 เปอร์เซ็นต์ ลักษณะการใช้งานเหมาะ สําหรับผลิตภัณฑ์ที่ใช้ไม้ชนิดเล็ก ซ่ึงหากต้องการไม้ที่มีขนาดใหญ่และหน้ากว้างข้ึน จะใช้วิธีการต่อความยาว หรืออดั ประสานขนาดความหนาและความกว้างเขา้ ด้วยกัน 1.5.2 เทคนิคการแปรรปู ไม้ การเลื่อยไม้ซุงเพ่ือเป็นไม้แปรรูปมีวิธีการเล่ือยหลายวิธีด้วยกัน แต่วิธีท่ีเป็นที่นิยมมากที่สุด เน่อื งจากให้ผลผลิตสูงสุด มีอยู่ 2 วิธี คือ 1. การเล่อื ยดะ (Through & Through) การนําไม้ซุงมาเล่อื ยเปิดปกี ออกดา้ นหนึง่ ดังรูปที่ 1.6 จากนนั้ กลบั ไม่ซงุ โดยดา้ นท่ีเปดิ ปกี วางบนแทน่ เลอื่ ย ดังรปู ท่ี 1.7 แล้วทาํ การเล่อื ยตามขนาดทตี่ ้องการ การเล่อื ยไมว้ ิธีนี้ นยิ มใช้แปรรูปไม้เพ่อื ใช้ในงานอุตสาหกรรมไม้ทาํ เครอ่ื งเรือนหรืองานฝมี อื หรือบางกรณที ่ี ต้องการเลือ่ ยไมข้ นาดเล็ก ๆ ข้อดี การปรบั เปลยี่ นดา้ นเพื่อเล่ือยไมน้ อ้ ย ข้อเสียเปอร์เซ็นต์ผลิตผลทไ่ี ด้คอ่ นข้าง นอ้ ย การซอยขา้ งไม้แผ่นมากกว่าปกติ ทาํ ให้สูญเสียเนอื้ ไม้ 2. การเลือ่ ยเปิดปกี 2 ขา้ ง (Cant sawing) การเลื่อยวธิ นี ้ีจะนําไม้ซุงมาเลื่อยเปิดปีกทีละด้าน จนได้ไม้เหล่ียมที่สามารถเล่ือยออกตามขนาดและคุณภาพที่ต้องการ การเล่ือยไม้วิธีนี้นิยมเลื่อยมากที่สุด เพราะมขี อ้ ดี คือ (1) ไม้แปรรปู ทไี่ ดห้ รือปกี ไม้ มีการซอยขา้ งน้อย (2) สามารถกําหนดความกว้างตามความตอ้ งการ (3) เปอรเ์ ซน็ ตไ์ ม้แปรรูปท่ไี ดค้ ่อนขา้ งสูง

17 1.5.3 การเลอ่ื ยไมซ้ งุ กรณีรูปทรงผิดปกติ 1. รูปทรงต้นตาล หัวและท้ายโตกว่ากันมาก ไม้ซุงที่มีความโตของโคนท่อนโตกว่าปลายท่อน มาก จะต้องนํามาเลอื่ ยตามวธิ กี ารดังนี้ (1) การเลื่อยไม้กรณีน้ีถ้าท่อนซุงยาวมากเราควรท่ีจะต้องทอนไม้ซุงนั้นออกเป็น 2 หรือ 3 ตามความยาวเพ่ือลดความแตกตา่ งของส่วนหวั และทา้ ยของท่อนซุง นําไม้ซงุ ข้นึ บนรถเลอ่ื ยเพ่อื เลอื่ ย (2) เมื่อทําการเล่ือยไม้ซุงจนได้ขนาดหน้าไม้ท่ีกําหนด หรือคุณภาพที่ดีแล้ว จึงทําการพลิก ซุงลงโดยใหด้ า้ นท่เี ปดิ ปกี ตง้ั อย่บู นแทน่ รถเล่อื น (3) เลอ่ื ยไมไ้ ด้หนา้ ไม้ตามทกี่ ําหนด และได้คุณภาพของไม้แปรรูปแล้ว ทําการพลิกด้านที่ 2 และควา่ํ ลงบนแท่นเลอื่ ยแทนด้านที่ 1 จากน้ันทาํ การเลอ่ื ยไม้ตามวธิ ีการอยา่ งท่เี ล่ือยทง้ั สองครัง้ ทีผ่ ่านมา (4) ทําการเลื่อยซุงนี้อีกคร้ังหนึ่งเป็นครั้งที่ 4 โดยการพลิกซุงน้ีอีกครั้ง โดยส่วนท่ีต่างกัน ของส่วนหัวและท้ายหายไป จะได้ไมเ้ หลีย่ มท่สี ามารถออกตามขนาดและคุณภาพท่ตี อ้ งการ 2 ซุงโค้ง หรือ งอ ถา้ ทอ่ นซงุ มลี กั ษณะโค้งหรืองอและค่อนข้างยาว แก้ไขโดยการทอนไม้ซุงให้ ได้ความยาวตามความเหมาะสม โดยให้ส่วนท่ีตรงอยู่ในท่อนเดียวกันมากที่สุด จากการศึกษาการเลื่อยไม้คดกับ การเล่ือยไม้ตรง พบว่า ไม้คดให้แปรรูปน้อยกว่าการเล่ือยไม้ตรงประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์ คุณภาพไม้แปรรูป จากไม้คดตํ่า และไม้แปรรูปที่ได้ค่อนข้างสั้นอีกประการหนึ่งเวลา ที่ใช้เล่ือยไม้ซุงท่ีคดโค้งน้ีใช้เวลานานกว่าการ เลือ่ ยไมต้ รงประมาณ 28 เปอรเ์ ซ็นต์ 3. หน้าตัดไม้ซุงแตกหรือปริ การนําไม้ซุงประเภทน้ีเข้าเลื่อยใช้เวลาในการปรับซุงมากพอควร อาศยั หลกั การว่ารอยแตกหรอื ปริตรงใจไม้ตอ้ งตั้งฉากหรือขนานกบั ใบเลื่อย เพื่อให้ตําหนิดังกล่าวมีอยู่ในไม้แปร รูปนอ้ ยแผ่นท่สี ดุ 4 ไม้ซุงที่มีตากิ่ง หรือ บางส่วนผุ ไม้ซุงที่นํามาเลื่อยมีตําหนิเกิดขึ้นที่ท่อนซุง เช่น ตากิ่ง ผุ แผลไฟไม้ เป็นต้น เมื่อนําไม้เข้าเลื่อยควรหลีกเลี่ยงตําหนิดังกล่าว โดยให้ตําหนิเหล่านั้นติดอยู่กับไม้แปรรูป ให้น้อยแผ่นมากท่ีสุด

18 รูปท่ี 1.6 รปู แบบของการผา่ ซงุ ลกั ษณะต่าง ๆ (ทม่ี า : http:// www. Woodworking For Industry, John L.Feirer,2558) รูปท่ี 1.7 ลายไมใ้ นลกั ษณะต่าง ๆ (ท่ีมา : http:// www.meplushobby.com, 2553)

19 1.5.4 มาตรฐานไม้กอ่ สรา้ ง มาตรฐานของไม้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของกระทรวงอุตสาหกรรมหรือ มอก.ใน ปัจจบุ นั มดี ังน้ี 1. มอก.421–2525 หมายถึง ไมแ้ ปรรูป และขอ้ กําหนดทวั่ ไป 2. มอก.422–2525 หมายถึง ไม้สักแปรรูป 3. มอก.423–2525 หมายถึง ไม้กระยาเลยแปรรูป 4. มอก.424–2525 หมายถงึ ไมแ้ ปรรปู สาํ หรบั งานกอ่ สร้างทั่วไป 5. มอก.497–2526 หมายถึง ไมแ้ ปรรูปอบ 6. มอก.516–2527 หมายถงึ ไมอ้ ดั นํ้ายา CCA ซง่ึ ในมาตรฐานดังกลา่ วจะมหี ัวขอ้ ท่ีกล่าวถงึ คือ 1. ขอบขา่ ย 2. บทนยิ าม 3. ช้นั คณุ ภาพ 4. วสั ดุและการทาํ 5. คณุ ลกั ษณะทีต่ ้องการ 6. เครอื่ งหมายและฉลาก 7. การชักตัวอยา่ งและเกณฑ์ตัดสนิ มาตรฐานของไม้แปรรปู นั้นมมี ติ ิ (ขนาด) เปน็ มิลลเิ มตร ซึง่ กาํ หนดตาม มอก.421-2525 ดงั นี้ 1.5.5 ขนาด ไมแ้ ปรรปู ตามมาตรฐานน้ี มีขนาดดังต่อไปนี้ 1. ความหนา : 12, 16, 19, 22, 25, 32, 38, 44, 50, 63, 75, 88, 100, 113, 125, 138, 150 และ200 2. ความกว้าง : 25, 38, 50, 63, 75, 88, 100, 113, 125, 150, 175, 200, 225, 250, 275, 300, 350 และ400 มิลลิเมตร (ยกเว้นไม้สักเหล่ียม ให้ถือตามขนาดไม้สักเหล่ียมแปรรูป มาตรฐาน ผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรมไมส้ กั แปรรปู มาตรฐานเลขท่ี มอก.422) 3. ความยาว : สําหรับไม้สัก เริ่มต้ังแต่ 0.30 เมตร และให้มีความยาวเพ่ิมขึ้นช่วงละ 0.15 เมตร สว่ นไมก้ ระยาเลย เร่ิมตัง้ แต่ 0.30 เมตร และให้มคี วามยาวเพมิ่ ข้ึนช่วงละ 0.30 เมตร

20 1.5.6 การเรยี กชอื่ ขนาด การเรยี กช่ือขนาดให้เรยี กชือ่ ขนาดไมเ้ รยี งลําดับ ความหนา × ความกวา้ ง × ความยาว 1.5.7 การแปรรูป การแปรรูปต้องแปรรูปให้ส่วนยาวของไม้แปรรูป ขนานกับความยาวของท่อนซุง ด้านทั้ง 4 ด้านต้องเรียบเป็นแนวเส้นตรง มีขนาดสมํ่าเสมอกันตลอดความยาวของแผ่น และภาคตัดขวางหัวท้ายต้องเป็น สี่เหล่ียมมุมฉาก ไม้แปรรูปท่ีจําหน่ายภายในประเทศแบ่งออกเป็นชนิดและขนาดตามความนิยมในวงการค้าไม้ และการก่อสรา้ งท่ัวๆ ไปดังน้ี 1. ไม้ฝาขนาดหนา ½ ถึง ¾ กว้าง 4 ถงึ 6 น้ิว และ 8 นิ้ว ถงึ 10 นิ้ว 2. ไมพ้ น้ื ขนาดหนา 1 น้ิว 3. ไมห้ นาขนาด 1 ½ ถึง 2 นวิ้ และ 2 ½ ถึง 3 นวิ้ กว้าง 3, 4, 5, 6, 8 และ 12 น้ิว 4. ไมเ้ สาขนาดหนา 4 × 4 นวิ้ , 5 × 5 น้วิ , และ 6 × 6 นิ้ว 5. ไม้ระแนงขนาดหนา 1 × 1 นว้ิ 6. ไม้กลอนขนาดหนา ½ ถึง ¾ นวิ้ × 2 ถึง 3 น้วิ และ 1 ถึง 2 นิ้ว × 1 ½ ถึง 2 น้ิว ไม้เป็นผลผลิตท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ จึงมีคุณสมบัติบางประการที่ไม่เหมาะสมในการนํามาใช้เพ่ือการ ก่อสร้างคือ ตําหนิของไม้ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ได้แก่ ตาไม้ รอยแตกและรอยปริเปลือกไม้ ความเอียงของ เสี้ยนไม้ รอยเสียและรอยเป้ือน และความเสียหายเนื่องจากแมลง เป็นต้น ซึ่งโดยท่ัวไปตําหนิของไม้อาจจะเกิด จาก 4 สาเหตุใหญ่ ๆ คอื 1.6.1 ทางฟสิ ิกส์ ได้แก่ 1. ตาไม้ (Knot) คือ ส่วนที่กิ่งไม้ย่ืนออกมาจากลําต้น โดยตาไม้จะทําให้ความต่อเนื่องของ เสี้ยนต้องสะดุด ไม่ราบเรียบ ซ่ึงขนาดของตาไม้จะมีผลเสียของการรับกําลังในงานก่อสร้าง โดยอาจจะมีผลเสีย น้อยในด้านการรับแรงอัดถ้าเกิดอยู่ในไม้เสา แต่ถ้านําไม้ท่ีมีตาไม้ไปทําคานหรือตง จะมีผลเสียต่อการต้านทาน แรงดัดของคานหรือตงเปน็ อย่างมาก ดงั รูปที่ 1.8

21 (ก) เปลอื กฝงั ใน (ข) รอยนกจกิ (ค) รอยปริ (ง) รอยผุ (จ) ตาผุ (ฉ) ตาแขง็ ตนั รปู ท่ี 1.8 ตาํ หนิของตาไม้ลกั ษณะต่าง ๆ (ทีม่ า : http:// www.meplushobby.com, 2556) 2. รอยร้าว (Shake) เป็นรอยแยกในไม้ตามเสี้ยนและตามแนววงปี ส่วนใหญ่จะเห็นชัดเจนที่ วงงอกประจําปีต่อกัน รอยแตกขนานกับวงงอกประจําปีจะเกิดข้ึนในขณะที่ต้นไม้ยังยืนต้นอยู่ และในขณะที่วง งอกประจําปีใหม่ยังไม่ประสานกันดี แล้วถูกลมพายุโยกต้นไม้นั้นไปมาทําให้เกิดรอยแตกข้ึน ดังรูปที่ 1.9 ซ่ึง รอยร้าวมีด้วยกนั หลายชนดิ เช่น (1) รอยร้าวกลม หมายถึง รอยร้าวรอบใจที่ปลายท้งั สองมาบรรจบกันเปน็ รูปวงกลมหรอื วงรี (2) รอยร้าวเสี้ยนหรือรอยร้าวตามวงปี (Cup Shake) หมายถึง รอยร้าวท่ีไม่บรรจบเป็น วงรอบใจ (3) รอยร้าวจากไส้หรือไส้ร้าว (Heart Shake) หมายถึง รอยร้าวท่ีเร่ิมแตกจากใจไม้ออกไป ตามแนวรศั มี (4) รอยร้าวไส้ทแยง (Diagonal Heart Shake) หมายถึง รอยไส้ร้าวที่เป็นแนวทํามุมกับ หน้า หรอื ขอบของไม้เหล่ียมหรอื ไม้แปรรปู (5) รอยรา้ วรปู ดาว (Star Shake) หมายถึง รอยไส้ร้าวทมี่ ีต้งั แต่ 2 แนวข้นึ ไป

22 รปู ที่ 1.9 ลักษณะของรอยร้าวชนิดตา่ ง ๆ (ทมี่ า : http://www.geoffswoodwork.co.uk,2559) 3. รอยปริ (Check) หมายถึง รอยแยกเล็ก ๆ ตามแนวเส้ียน และแนวรัศมีของไม้แปรรูป แต่ ไม่ลึกจนถึงด้านตรงข้ามหรือด้านข้างเคียง รอยปริส่วนมากเกิดขวางวงงอกประจําปีของต้นไม้ รอยปริอาจแยก ได้หลายชนิด เช่น รอยปรทิ ่ีปลายของทอ่ นไม้ (end check) รอยปรทิ ีต่ ง้ั ตน้ จากส่วนท่ีใกลใ้ จและลามไปยงั ผวิ ไม้ (heart check) รอยปริจากผิวด้านนอกเข้าไปภายในต้นไม้ (surface check) รอยปริแตกจากผิวด้านหน้าเข้า ภายในและทะลุไปอกี ดา้ นหนึ่ง (through check) 4. บิด (Twist) หมายถึง การเสียรูปของไม้แปรรูปโดยการบิดเป็นเกลียว เนื่องจากไม้เสีย ความชื้น จะเกิดในไม้ที่มีแนวเส้ียนไม่สม่ําเสมอ หรืออาจมีโค้งหรือโก่งรวมด้วย ไม้ชนิดน้ีไม่เหมาะในการ นํามาใช้ในงานก่อสร้าง 5. เบี้ยว (Diamond) หมายถึง การเสียรูปของไม้ เน่ืองจากไม้เสียความชื้น ทําให้การได้มุม ฉากของด้านทตี่ ่อเนือ่ งของไม้แปรรปู ตอ้ งเสียไป จะเห็นไดช้ ดั ทางดา้ นตดั ขวาง 6. โก่ง (Spring) หมายถึง การเสียรูปของไม้แปรรูปจากการโค้งตัวตามความยาวของแผ่น จะ เห็นไดช้ ดั ทางดา้ นกว้าง

23 1.6.2 ทางด้านชวี วิทยา ไดแ้ ก่ 1. ปลวก (Termites) ปลวกเป็นสัตว์สังคมอยู่ร่วมกันมากและช่วยกันทํางาน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือพ่อแม่พันธุ์ ปลวกทหาร และปลวกงาน ลักษณะทั่วไปของปลวก จะกินเย่ือไม้ เยื่อพืช กระดาษ ไม้ เนื้ออ่อนเป็นอาหาร ปลวกจะอยู่ในป่าบริเวณท่ีมีความชื้นในที่ร่มหรือที่แสงแดดส่องน้อย ปลวกหรือแมลงเม่า จะมีอยู่ 2 ชนิด คอื ปลวกทีม่ ปี ีกชอบทาํ รังใตห้ ลงั คาบา้ น และปลวกทช่ี อบอย่ใู ตด้ ินจะค่อย ๆ ทํารังโดยไตข่ ้นึ มา ตามผนังบ้าน ดังนั้นปลวกเป็นแมลงท่ีกัดกินและทําลายไม้ทั้งท่อนใช้เวลาอย่างรวดเร็ว ดูวงจรชีวิตของปลวก แสดงดงั รูปท่ี 1.10 รปู ที่ 1.10 วงจรชวี ิตของปลวก (ที่มา : https:/ www./sites.google.com ,2559) 2. เชื้อรา (Fungi) เช้ือราเป็นศัตรูที่สําคัญ มีลักษณะเป็นรากฝอยลุกลามไปเร่ือยๆ โดยเจาะกิน เซลลูโลสในเน้ือไม้เป็นอาหาร ซ่ึงทําให้ไม้ผุ เช้ือราจะเจริญเติบโตได้ต้องอาศัยความชื้น อุณหภูมิและอากาศที่ พอเหมาะ โดยสามารถสงั เกตได้ว่าไม้ท่ีอยูใ่ กล้ๆ พ้ืนดนิ หรอื พนื้ ท่กี ง่ึ เปียกแหง้ จะช่วยใหเ้ ชือ้ ราเจรญิ เติบโตไดด้ ี 3. แบคทีเรีย (Bacterial) แบคทีเรียเปน็ พวกท่ีเกาะกินอาหารอยู่บนผิวไม้ ซึ่งไม่ใช่สาเหตุท่ีทํา ใหไ้ ม้ผุโดยตรง แตถ่ า้ แบคทีเรียเกาะกนั กนิ อาหารอยู่บนผวิ ไม้นาน จะทําใหไ้ มเ้ กดิ ความเสยี หายได้เหมอื นกัน

24 4. มอด (Weevils) เป็นแมลงปีกแข็งตัวเล็กๆ ชอบกินเฉพาะแป้งท่ีมีในเน้ือไม้ โดยไม่กินเน้ือ ไม้เหมือนกับปลวก มอดจะเจาะเน้ือไม้เป็นรูเล็กๆ เท่ารูเข็มเข้าไปกินแป้งแล้วถ่ายมูลออกมาเป็นผงแป้งล่วง หลน่ เปน็ กองเล็ก ๆ ใกล้ ๆ กับช้นิ ไม้ 5. เพรียง (Barnacles) เพรียงเป็นตัวทําลายไม้ท่ีใช้งานอยู่ในนํ้าแยกออกเป็น 2 ชนิด คือ เพรียงทะเล และเพรียงนํ้าจืด เพรียงทะเล จะอาศัยอยู่ตามไม้ที่ปักอยู่ในทะเล เช่น เสาบ้านชายทะเล ท่าเทียบ เรือ สะพานเรือ ฯลฯ ซึ่งจะกัดเจาะไม่ให้เป็นรูเพื่อฝังตัวอยู่ข้างใน โดยไม้ท่อนใดท่ีมีเพรียงเกาะอยู่มาก อาจถูก เจาะจนหกั พังไปได้ สําหรับเพรียงนํ้าจืด เป็นช่ือเรียกตัวอ่อนของแมลงชีปะขาว ซึ่งจะพบการทําลายของเพรียง น้ําจดื ในไมท้ ่จี มอยู่ในนํ้าจดื ส่วนประกอบของบ้านเรือน หรอื เรอื ทใ่ี ชง้ านอยู่ในน้าํ จืด 1.6.3 ทางด้านเคมี ไม้ที่ใช้ในท่ีที่ไม่เหมาะสมไม่สามารถทนต่อกรดหรือด่างหรือสารละลายอื่น ๆ ได้ เช่น การใช้ไม้ ทําตู้เก็บนํ้ายาเคมีในห้องปฏิบัติการทางเคมี หรือการใช้ไม้กรุฝาห้องนํ้าซึ่งอาจเสียหายได้ อาจป้องกันได้ โดย การทาผิวไม้ดว้ ยสารพิเศษ หรอื นํ้ามันเคลือบเนื้อไม้เพอื่ รักษาไม้ให้คงทน 1.6.4 ทางด้านกล ไม้ท่ีเสียหายทางด้านกล เนื่องจากการสึกหรอ เช่น พื้นบ้านพักอาศัยที่ใช้มานาน อาจถูกการ เสียดสีจากการเดินของคนที่อาศัยอยู่ทุกวัน หรืออาคารที่รับนํ้าหนักบรรทุกมากเกินไป อาคารบางส่วนอาจพัง ลงมาได้ การนําไมไ้ ปใช้งาน จะต้องคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดตามคุณสมบัติของไม้แต่ละประเภท ในที่น้ีจะกล่าวถึง คณุ สมบตั ิและประโยชนข์ องไมเ้ นอ้ื แข็ง ไมเ้ นือ้ แข็งปานกลาง และไมเ้ นอ้ื ออ่ น ทคี่ วรทราบตามลาํ ดบั ดังต่อไปน้ี 1.7.1 ไมเ้ น้ือแข็ง 1 ไม้แดง เป็นไม้เน้ือแข็ง นิยมนํามาใช้ในงานปูพื้นท่ีต้องการความคงทน ทําไม้บันได ระแนง ไม้แดง ทําวงกบ ทํารั้ว งานระเบียงนอกบ้าน ใช้ได้ทั้งภายนอก ภายใน ดังรูปที่ 1.11 การใช้ประโยชน์จาก ไมแ้ ดง

25 (ก) ลักษณะของไมแ้ ดง (ข) พ้นื จากไมแ้ ดง รูปที่ 1.11 การใชป้ ระโยชนจ์ ากไม้แดง (ท่ีมา : http:/ www./maingamtimber.com,2559) 2. ไม้เต็ง เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความแข็งน้อยกว่าไม้แดง มีน้ําหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 1,040 กิโลกรัมต่อลกู บาศกเ์ มตร ราคาไม่แพง และมีความแข็งแรงทนทาน ใช้สาํ หรบั งานโครงสร้างท่ัวไป เช่น ตง คาน วงกบ ประตหู นา้ ต่าง โครงหลังคา เสา ดังรปู ที่ 1.12 การใช้ประโยชนจ์ ากไม้เตง็ (ก) ลกั ษณะของไม้เตง็ (ข) วงกบหนา้ ต่างจากไม้เต็ง รปู ท่ี 1.12 การใช้ประโยชน์จากไม้เตง็ (ที่มา : http://www.nanagarden.com,2559)

26 3. ไม้มะค่า เป็นไม้ที่มีความแข็งแรง ทนทานมาก นิยมนําไม้มะค่าไปทําไม้หมอนรางรถไฟ ทํา เครอ่ื งเกวียน เครอื่ งไถนา และเครอ่ื งเรอื น ดงั รูปที่ 1.13 การใชป้ ระโยชนจ์ ากไม้มะคา่ (ก) ลกั ษณะของไมม้ ะคา่ (ข) เฟอร์นิเจอรจ์ ากไมม้ ะคา่ รูปท่ี 1.13 การใช้ประโยชนจ์ ากไม้มะค่า (ทมี่ า : http://www.suratsakthong.com/tabil.html,2552) 4. ไม้ประดู่ เป็นไม้ต้นสูงใหญ่ แข็งและทนทาน ไสกบตบแต่งได้ดี และชักเงาได้ดี ใช้ในการ ก่อสร้าง ทําเกวียน เครื่องเรือน ไม้ประดู่ท่ีมีขนาดเล็กนิยมนําไปใช้ทําไม้ปาร์เก้ ไม้ประสานแผ่นชิ้นไม้อัด และ แผ่นไม้ชบุ ซเี มนต์ ดงั รูปท่ี 1.14 การใช้ประโยชน์จากไมป้ ระดู่ (ก) ลกั ษณะของไมป้ ระดู่ (ข) เฟอร์นเิ จอร์จากไมป้ ระดู่ รปู ที่ 1.14 การใช้ประโยชนจ์ ากไมป้ ระดู่ (ที่มา : http://www.thaitechno.net/t1/productdetails.php,2556)

27 5. ไม้ตะเคียน มีสีเหลืองอ่อนหรือเหลืองเทา นิยมใช้ต่อเรือ และงานก่อสร้างอื่นๆ ท่ีต้อง คํานึงถึงความคงทนและความแข็งของไม้เป็นหลัก ใช้ทํารถลาก ไม้ปูพ้ืน ฝ้า หลังคา ร้ัวไม้ และนิยมใช้ทําเรือ เป็นตน้ ดงั รูปท่ี 1.15 การใชป้ ระโยชนจ์ ากไม้ตะเคียนทอง (ก) ลักษณะของไม้ตะเคียนทอง (ข) เรอื จากไมต้ ะเคียนทอง รูปท่ี 1.15 การใชป้ ระโยชน์จากไม้ตะเคยี นทอง (ทมี่ า : http://www.boat.in.th,2559) 6. ไม้สัก เป็นไม้ท่ีสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้แทบทุกรูปแบบตามอายุและขนาดของไม้ที่ตัด ออกมาจําหน่ายตั้งแต่ไม้ซุงขนาดใหญ่ นํามาแปรรูปใช้ในการก่อสร้างอาคาร บ้านเรือน เครื่องเรือน ไม้ปาร์เก้ ไมอ้ ัด ไม้แกะสลกั ต่อเรอื ฯลฯ ลกั ษณะเนอื้ ไมส้ ักจะมีสนี ้ําตาลทอง (สกั ทอง) ถงึ สนี า้ํ ตาลแก่ และมเี ส้นสีนํ้าตาล แก่แทรก (สักทองลายดํา) เน้ือไม้มีเสี้ยนตรง เน้ือหยาบ แข็งปานกลาง เลื่อยไสกบ ตกแต่งง่าย ไม่ค่อยยืดหด หรือบิดงอง่ายเหมือนไม้ชนิดอื่น มีความทนทานต่อการทําลายของมอดและปลวกตลอดจนเชื้อราได้ดี จึงมี ความทนทาน ตามธรรมชาติสูง และมีลวดลายสวยงาม มีการแบ่งคุณลักษณะของไม้สักโดยพิจารณาจากสีของ เนอื้ ไม้ การตกแตง่ ความแข็ง ความเหนยี วของเนื้อไม้ออกเปน็ 5 ชนิด คอื (1) สักทอง เนื้อไม้จะเป็นเส้นตรงผา่ งา่ ย เป็นสีนํา้ ตาลเหลอื งหรือทเี่ รยี กว่า สที อง (2) สักหนิ เนื้อไม้จะแขง็ กวา่ ไม้สักทวั่ ไป สีของเน้ือไมเ้ ปน็ สนี ้ําตาลเขม้ (3) สกั หยวก เนือ้ ไม้หรือแกน่ จะมสี ีน้ําตาลออ่ นหรือสจี าง ถากหรือฟนั ง่าย (4) สกั ไข่ เนอื้ ไมจ้ ะมีไขปนยากแก่การขัด สเี น้อื ไมจ้ ะเป็นสนี า้ํ ตาลเข้มปนเหลือง (5) สกั ขคี้ วาย เนือ้ ไม้มสี เี ขียวปนนา้ํ ตาลแก่ และนา้ํ ตาลอ่อน ในอดีตไม้สักค่อนข้างหาง่ายและราคาไม่แพง สามารถนํามาสร้างบ้านทั้งหลังได้ แต่ในปัจจุบัน ไม้สักในป่าธรรมชาติกําลังจะหมดไป เพราะความต้องการใช้สูง รัฐบาลจึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรหันมา ปลูกไมส้ กั เพอ่ื ใชเ้ องหรือเพ่ือการค้าได้ ประโยชนข์ องไม้สกั ดงั รูปที่ 1.16 ประโยชน์ของไมส้ กั

28 (ก) ลักษณะของไม้สกั (ข) บ้านทรงไทยจากไม้สัก รปู ที่ 1.16 ประโยชน์ของไมส้ กั (ท่มี า : http://www.banidea.com/nivasa-prebuilt-house,2557) 1.7.2 ไม้เนื้อแขง็ ปานกลาง 1. ไม้ยาง เป็นต้นไม้สูงใหญ่ แข็งปานกลางใช้ในร่มทนทานดี เลื่อยไสกบตกแต่งได้ดี นิยม นาํ มาใช้ในงานก่อสรา้ ง เชน่ ทําเป็นไม้ฝา ไมค้ รา่ ว ฝ้าเพดาน คร่าวฝาผนัง ไม้คํ้ายัน เป็นต้น ดังรูปที่ 1.17 การ ใช้ประโยชนจ์ ากไม้ยาง (ก) ลักษณะของไมย้ าง (ข) ฝาบ้านทําจากไม้ยาง รูปที่ 1.17 การใชป้ ระโยชน์จากไมย้ าง (ท่มี า : http : //www.oknation.net,2552)

29 2. ไม้กระบากหรือไม้กะบาก เป็นไม้ท่ีมีความแข็ง เหนียว เด้งพอประมาณ เล่ือยและไสกบ ตกแตง่ ได้ไมย่ าก สว่ นมากนยิ มนําไปใช้ในการทาํ แบบหล่อคอนกรตี เพราะถกู นํ้าแล้วไม่บิดงอหรือโค้ง ทําเคร่ือง เรือนราคาถกู ทํากลอ่ งใส่ของ ดงั รูปที่ 1.18 การใช้ประโยชนจ์ ากไม้กระบาก (ก) ลักษณะของไมก้ ระบาก (ข) แบบหลอ่ ไมก้ ระบากใช้ในงานก่อสรา้ ง รูปท่ี 1.18 การใชป้ ระโยชนจ์ ากไมก้ ระบาก (ท่มี า : http://www.prorawat.com,2558) 3. ไม้นนทรี เป็นต้นไม้ขนาดกลาง เล่ือยผ่าไสกบตกแต่งได้ง่ายๆ ใช้ทําไม้พื้นเพดานและฝา ทํา เคร่อื งเรือน หบี ใส่ของตา่ งๆ ดงั รูปท่ี 1.19 การใช้ประโยชน์จากไม้นนทรี (ก) ลกั ษณะของไม้นนทรี (ข) ชุดโต๊ะ–เกา้ อี้ จากไมน้ นทรี รปู ที่ 1.19 การใช้ประโยชน์จากไม้นนทรี (ท่ีมา : http://board.trekkingthai.com,2557)

30 4. ไม้ซุมแพรก เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นประปรายตามป่าดิบช้ืน นิยมนํามาใช้ในงานก่อสร้าง เช่น กระดานพ้นื ฝา ประตู หนา้ ตา่ ง เคร่ืองเรือน และไม้บุผนังท่ีสวยงาม ทําไม้บาง ไม้อัด ดังรูปท่ี 1.20 การใช้ ประโยชน์จากไมช้ มุ แพรก (ก) ลักษณะของไม้ชุมแพรก (ข) เฟอร์นิเจอร์จากไม้ชมุ แพรก รูปที่ 1.20 การใช้ประโยชนจ์ ากไม้ชุมแพรก (ท่มี า : http://www.prizeofwood.com,2558) 1.7.3 ไมเ้ นอื้ ออ่ น 1 ไม้ฉําฉาหรือต้นจามจุรี ส่วนมากนิยมนําไปใช้ทําลัง กล่องใส่วัสดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือต่างๆ เคร่อื งเรือน เครื่องใช้ตา่ งๆ ดงั รปู ท่ี 1.21 การใช้ประโยชน์จากไม้ฉําฉา (ก) ลกั ษณะของไมฉ้ ําฉาหรอื ตน้ จามจุรี (ข) ฝาบา้ นจากไม้ฉําฉาหรือต้นจามจุรี รูปท่ี 1.21 การใช้ประโยชนจ์ ากไมฉ้ าํ ฉา (ทมี่ า : http://www.bansuanpa-chara.com,2557)

31 2. ไม้มะพร้าว เป็นไม้ท่ีเน้ือมีความหนาแน่นใช้เป็นโครงสร้างได้ ก่อนนํามาใช้งานต้องนําไม้มา ผ่ึงธรรมชาติ นิยมนํามาใช้ทําพ้ืน ซ่ึงขนาดไม้แปรรูปของไม้มะพร้าว ท่ีใช้สําหรับทําพ้ืนท่ีดีท่ีสุดคือ 13 นิ้ว และ ความยาว 2.50 เมตร การขัดพื้นไม้มะพร้าวจะแตกต่างจากไม้ปกติ เน่ืองจากมีเสี้ยนมากจึงต้องขัดด้วยกระดาษทราย แล้วทานํ้ายาผนึกเสี้ยน ทับหน้าด้วยน้ํายาเคลือบเงาตามความต้องการ ดังรูปที่ 1.22 การใช้ประโยชน์จากไม้ มะพรา้ ว (ก) ลกั ษณะของไมม้ ะพรา้ ว (ข) พน้ื จากไม้มะพร้าว รปู ที่ 1.22 การใชป้ ระโยชนจ์ ากไม้มะพร้าว (ท่ีมา : http://www.siamdecor.co.th,2558) 3. ไม้สยาขาว เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ทนทานในร่ม เล่ือย ไส ผ่าได้ง่าย ใช้ทําเคร่ืองเรือนและ สว่ นของอาคารที่อย่ใู นรม่ เปลอื กใช้ทาํ ไม้อัดได้ ดังรปู ที่ 1.23 การใชป้ ระโยชนจ์ ากไม้สยาขาว (ก) ไม้สยาขาว (ข) การใชไ้ มส้ ยาขาวตกแตง่ ภายในอาคาร รปู ท่ี 1.23 การใชป้ ระโยชน์จากไม้สยาขาว (ที่มา : http://www.decorreport.com,2557)

32 4. ไม้ไผ่ เป็นไม้เมืองร้อน นําไปใช้ในการก่อสร้างเป็นไม้น่ังร้าน ใช้เสริมคอนกรีตแทนเหล็กเส้น ใช้จักสานภาชนะ ใช้ทําเครื่องดนตรี ใช้เป็นอาวุธ ใช้เป็นเครื่องมืออุปกรณ์การเกษตร เป็นต้น แสดงดังรูปที่ 1.24 (ก) แสดงลกั ษณะของไมไ้ ผ่ และรปู ที่ (ข) การใช้ไม้ไผ้สรา้ งอาคาร (ก) ลักษณะของไมไ้ ผ่ (ข) การใช้ไม้ไผ้สรา้ งอาคาร รูปท่ี 1.24 การใชป้ ระโยชนจ์ ากไม้ไผ่ (ทมี่ า : http:// www.arsomsilp.ac.th/bambooartgallery/?p=9,2559) ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมไม้อัด ได้เกิดข้ึนเนื่องจากป่าไม้ถูกทําลายและมีจํานวนเหลือน้อยลงทุกปี ใน สมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรตั น์ จงึ ไดม้ นี โยบายทีจ่ ะปฏริ ปู การใชไ้ มข้ องประเทศให้เป็น ไปโดยประหยัดตาม หลักวิชาการ เศรษฐกิจ พร้อมทั้งสะดวกแก่การใช้งานต่าง ๆ เช่น งานก่อสร้าง งานเคร่ืองเรือนต่างๆ งาน อุตสาหกรรมต่างๆ ด้วยเหตุนี้บริษัท ไม้อัดไทย จํากัด ได้กําเนิดขึ้นเม่ือวันที่ 4 พฤศจิกายน 2494 เพื่อสนอง นโยบายของรฐั ดงั กลา่ ว โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้ 1.8.1 กรรมวธิ กี ารผลติ ไม้อดั กรรมวิธีการผลิตไม้อัด เริ่มจากการนําเอาไม้แผ่นบางหรือวีเนียร์ (Veneer) โดยการตัดท่อนซุง ให้มีความยาวตามท่ีต้องการ แล้วกลึงปอกท่อนซุงหรือผ่า ให้ได้แผ่นไม้เป็นแผ่นบาง ๆ หลายแผ่นมาอัดเข้า ด้วยกัน โดยใช้กาวเป็นวัสดุยึดตรึง แผ่นไม้ที่นํามาอัดเข้าด้วยกันจะต้องวาง ในลักษณะท่ีแนวเส้ียนขวางตั้งฉาก ซง่ึ กนั และกนั ท้ังนเ้ี พอื่ เพมิ่ คณุ สมบัติในด้านความแข็งแรง ท้ังยังช่วยลดการขยาย และหดตัวในแนวระนาบของ แผ่นไม้ให้เหลือน้อยที่สุด จํานวนชั้นของแผ่นไม้จะต้องเป็นจํานวนค่ีเสมอไป เพ่ือให้เกิดความสมดุลและแนว

33 เส้ียนไปในทางเดียวกัน ซ่ึงจากกระบวนการน้ีจะทําให้แผ่นไม้อัดมีความหนาแน่นสูง กระบวนการผลิตไม้อัดที่ ผ่านการอัดดว้ ยความรอ้ นและแรงดนั น้ัน นอกจากจะทําให้ความหนาแน่นของเน้ือไม้สูงกว่าไม้จริง (Solid) เป็น อยา่ งมากแลว้ ลวดลายบนผวิ หน้าท่ีเป็นแผน่ ใหญ่และตอ่ เนือ่ งของ Veneer ยงั ให้ความสวยงามอีกดว้ ย 1.8.2 กรรมวิธกี ารผลติ ไม้บาง ไม้บาง หรือ ไม้วีเนียร์ (อังกฤษ : veneer) เป็นวัสดุที่ทําจากไม้เนื้ออ่อน โดยกรรมวิธีการผลิต เริ่มจากปอกผิวเนื้อไม้ออกเป็นแผ่นบาง ๆ ออกจากท่อนซุง และนําไปอบและรีด โดยมากทําจากไม้ยางพารา ใช้เป็นวัสดุทําไม้อัดและเฟอร์นิเจอร์ ไม้วีเนียร์จะมีความหนาไม่เกิน 3 มิลลิเมตร นํามาใช้เป็นวัสดุตกแต่งบ้าน ท่พี กั อาศยั ทําให้เกิดความภูมิฐาน หรอื ใชเ้ ป็นส่วนประกอบในการผลติ เฟอรน์ ิเจอร์ไม้ 1.8.3 ไม้อัดสามารถแบ่งออกตามลกั ษณะการใช้งานได้ 3 ประเภท คอื 1 ประเภทใช้งานภายใน โดยไม้อัดที่ยึดติดด้วยกาวยูเรียฟอร์มาดีไฮด์ โดยมีความทนทานต่อ สภาพลมฟ้าอากาศได้ปานกลาง ซึ่งเหมาะสําหรับใช้งานภายในอาคารหรือในที่ซึ่งไม่ถูกกับความชื้น หรือฝน เช่น ประตู ฝ้าเพดาน งานเฟอรน์ ิเจอร์ กั้นผนังห้องภายในอาคาร ฯลฯ โดยใช้สญั ลกั ษณ์ประทบั ตราด้วยหมึกสมี ่วง 2. ประเภทใช้งานภายนอก โดยไม้อัดที่ยึดติดด้วยกาวพีนอลฟอร์มาดีไฮด์ โดยมีความทนทาน ตอ่ สภาพลมฟ้าอากาศไดด้ ี เหมาะสําหรับใช้งานภายนอกอาคาร หรอื ในที่ถูกนํ้าหรือเปียกช้ืน เช่น ประตูห้องน้ํา งานต่อเรือ งานแบบหลอ่ คอนกรีต กัน้ ผนังหอ้ งภายนอกอาคาร ฯลฯ โดยใช้สัญลกั ษณ์ประทบั ตราดว้ ยหมึกสีแดง 3. ประเภทใช้งานช่ัวคราว โดยไม้อัดท่ีผลิตด้วยกาว ไม่ทนต่อความเปียกชื้น ซ่ึงเหมาะสําหรับ ใช้งานชั่วคราวเท่าน้ัน เช่น กั้นห้องคนงานช่ัวคราว ลังบรรจุภัณฑ์ที่ไม่สัมผัสกับความช้ืน และใช้ในงานทําป้าย โฆษณาในระยะส้ัน ฯลฯ ไม้อัดที่บริษัทผู้ผลิตออกมาจําหน่าย มีขนาดมาตรฐานท่ัวไป คือ 1.20 x 2.40 เมตร (โดยมีขนาดจริงคือ 1.22 x 2.44 เมตร) โดยมีความหนามาตรฐานทั่วไปคือ 4, 6, 10, 15 และ 20 มิลลิเมตร ดังรูปท่ี 1.25

34 รปู ท่ี 1.25 ไมอ้ ดั ขนาดต่าง ๆ (ทม่ี า : http://paandcasecenter.blogspot.com,2558) ในการใช้ไม้ให้มีคุณภาพและมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน จึงมีความจําเป็นจะต้องมีการรักษาเนื้อไม้อย่าง ดที ีส่ ดุ สว่ นปญั หาทีท่ าํ ให้ไม้เกดิ การเสียหายหรอื ผนุ น้ั จะเกิดจากปัจจยั ดังต่อไปนี้ 1. มีอาหารที่เช้ือราชอบ 2. มีปริมาณอากาศท่เี คลอ่ื นไหวนอ้ ย 3. มีสภาพความชื้นท่ีพอเหมาะ 4. มอี ุณหภมู ทิ พี่ อเหมาะกบั ฟังใจ การผุของไม้เกิดจากการกระทําของเช้ือรา ซ่ึงเป็นจุลินทรีย์ท่ีมุ่งทําลายใยไม้ โดยจะกัดกินเย่ือไม้ (Tissue) เป็นอาหาร โดยปัจจัยดังกล่าวข้างต้นถ้าขาดปัจจัยหน่ึงปัจจัยใด การทําลายของเชื้อรา จะไม่เกิดข้ึน ทาํ ใหไ้ ม้อายุการใชง้ านทย่ี าวนาน 1.9.1 การปอ้ งกนั รักษาเนอื้ ไม้ การปอ้ งกันรกั ษาเน้ือไมท้ ด่ี ีทสี่ ดุ คอื การทาํ ให้อาหารของฟังใจเป็นพิษ โดยการทาหรือพ่นนํ้ายา หรือการอาบน้ํายา ท่เี ปน็ พษิ เข้าไปในเนือ้ ไม้ เราสามารถแบ่งการป้องกนั รักษาเน้อื ไม้ออกเป็น 2 วิธีใหญๆ่ คอื 1. วิธีการทาหรือพ่นนํ้ายา เป็นวิธีการป้องกันรักษาเนื้อไม้ที่ง่ายและค่าใช้จ่ายต่ํา โดยการเอา แปรงทาหรอื ใช้เครือ่ งพ่นท่ไี ม้ โดยการทาหรือใชเ้ คร่ืองพ่น ควรทําอย่างน้อยสองครั้ง เพราะว่าจะทําให้นํ้ายาซึม เข้าไปในเนอ้ื ไมอ้ ย่างท่ัวถงึ ทําใหไ้ ม้มีความคงทนใช้งานได้ยาวนาน ดังรูปท่ี 1.26

35 รปู ที่ 1.26 การทานา้ํ ยารกั ษาเนอ้ื ไมเ้ พ่อื ปกปอ้ งไม้จากศตั รไู ม้ต่าง ๆ (ท่ีมา : http://www.baannatura.com/th/mat/content/detail/110.html,2550) 2. วธิ ีการอาบน้ํายา เปน็ วธิ กี ารป้องกนั รักษาเนื้อไม้ทั้งที่เป็นซุงหรือท่ีผ่านการแปรรูปมาแล้วได้ วิธีการคือ การนําไม้ท่ีต้องการอาบน้ํายาลงไปแช่ในถังอัดนํ้ายา โดยจะทําการอัดน้ํายาด้วยแรงอัดภายในถัง ซึ่ง จะทําใหน้ ้ํายาสามารถซึมเข้าไปในเนื้อไมไ้ ดอ้ ยา่ งท่วั ถึง วิธีการอัดนํ้ายาสามารถแบ่งออกได้อีก 2 วิธีดงั น้ี (1) การอัดนํ้ายาแบบเต็มเซลส์ (Full Cell Process) การอัดนํ้ายาด้วยวิธีนี้เพื่อต้องการให้ นํ้ายาสามารถซึมเข้าไปเน้ือไม้มากที่สุดเท่าท่ีจะมากได้ กรรมวิธีเริ่มจากการนําไม้เข้าไปในถึง แล้วทําการไล่ อากาศ และน้ําภายในเซลสส์ไม้ออกให้หมดด้วยระบบสูญญากาศ แล้วปล่อยนํ้ายาเข้าถังด้วยแรงดันถึง 7-13 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร ท่ีอุณหภูมิ ประมาณ 80-100 องศาเซลเซียส เพื่อให้น้ํายาอัดเข้าไปในเนื้อไม้ได้ทุก เซลล์ นานประมาณ 2–3 ช่ัวโมง จากน้ันจะลดแรงดัน แล้วปล่อยนํ้ายาออกจากถัง ขณะเดียวกันจะทํา สญุ ญากาศอกี ครั้ง เพอ่ื ใหเ้ น้ือไมแ้ หง้ แตใ่ นภายหลังอาจมนี า้ํ ยาเย้มิ มาได้ (2) การอัดนํ้ายาแบบไม่เต็มเซลล์ (Empty Cell Process) เป็นการอัดน้ํายาเพียงเพ่ือให้ นํ้ายาซึมเข้าไปในเซลล์ และเกาะติดอยู่ตามผิวของผนังเซลล์เท่าน้ัน โดยภายในช่องเซลล์ไม้จะว่างเปล่าไม่มี น้ํายา กรรมวิธีจะเร่ิมจากการนําไม้เข้าไปในถัง แล้วให้อากาศอัดเข้าไปในถัง อากาศที่อัดเข้าไปจะเข้าไปอยู่ใน เซลลต์ า่ ง ๆ ของเนื้อไม้ ด้วยแรงอดั ประมาณ 2–7 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร จากน้ันจะปล่อยน้ํายาเข้าตัวถัง ดว้ ยแรงอดั ทีส่ งู กวา่ ครัง้ แรก ประมาณ 7–14 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ปล่อยให้น้ํายาซึมเข้าไปในเน้ือไม้จน เต็ม แล้วค่อย ๆ ลดความดันภายในถังลง และปล่อยน้ํายาออกจากถัง ขณะเดียวกัน เซลล์ไม้ที่ถูกอัดอากาศไว้ ตอนแรกจะขยายตัว และขบั เอานาํ้ ยาออกมาจากช่องเซลล์ จากน้นั จะทาํ สูญญากาศอีกประมาณ 30 - 45 นาที ซ่ึงจะทาํ ให้เหลือเฉพาะนํ้ายาท่ผี ิวของเซลล์ไม้ทําใหไ้ ม้แหง้ และไม่มีน้ํายาเยิ้มออกมาภายหลัง วิธีนี้เป็นที่นิยมใน ปจั จบุ นั ดงั รูปที่ 1.27

36 รปู ที่ 1.27 การ นําไม้เขา้ เคร่ืองอัดน้ํายา (ท่มี า : http://www.baannatura.com/th/mat/content/detail/110.html,2550) 1.9.2 น้าํ ยารกั ษาเนือ้ ไม้ น้ํายารักษาเน้ือไม้ เป็นนํ้ายาหรือสารเคมีที่นํามาใช้ในการป้องกันรักษาเนื้อไม้ให้มีอายุการใช้ งานทย่ี าวนาน มีอยูห่ ลายชนิด ผใู้ ช้จะต้องเลอื กใช้ให้เหมาะกับลักษณะของงาน ซงึ่ มรี ายละเอียด ดงั น้ี 1. ครีโอโสต (Coal–Tar Creosote) เปน็ นา้ํ มันท่ีได้มาจากการกล่ันนํ้ามันดิบและถ่านหิน มีสี ดําหรือสีนํ้าตาล โดยมีคุณสมบัติในการรักษาเน้ือไม้ เพราะว่าเป็นสารท่ีมีพิษต่อเชื้อราและแมลงต่าง ๆ สามารถแทรกซึมเข้าเนื้อไม้ได้ง่าย หาซ้ือได้ง่าย แต่มีกล่ินเหม็นไม่ละลายในน้ํา ทาสีบ้านไม่ได้ เหมาะสําหรับ การทาเสาเข็มไม้ โคนเสาใตถ้ นุ บ้าน หรือโครงหลงั คาไมบ้ นผ้าเพดาน 2. น้ํามันปิโตรเลียม (Petroleum) เป็นนํ้ามันปิโตรเลียมดิบ หรืออาจจะใช้น้ํามันเคร่ืองเก่าท่ี ผ่านการใชง้ านมาแลว้ ทเ่ี รยี กว่า นาํ้ มนั ข้ีโล้ โดยนาํ มาผสมกับน้าํ มันครโี อโสตในสดั สว่ นครง่ึ ต่อครึ่ง เพ่ือทําให้ทา ได้ง่ายขึ้น มีคุณสมบตั ปิ อ้ งกนั แมลงเจาะไช และปอ้ งกันการผุ ใช้ในการทาไมห้ รือเสาไมท้ ่สี ัมผสั กบั พื้นดนิ 3. ซิงค์คลอไรด์ (Zine Choride) เปน็ ผงสขี าวหาซื้อได้ง่าย มีราคาถูก ไม่มีกล่ิน สามารถทาสี บา้ นได้ เน้ือไมท้ ี่ได้รับสารนี้เข้าไปจะช่วยทําให้ทนไฟได้ดีขึ้น ละลายในนํ้าได้ แต่จะไม่เหมาะกับงานในที่โล่งแจ้ง ต้องเป็นไม้ท่ีแห้ง โดยมีคุณสมบัติในการป้องกันพวกเห็ดรา และแมลงเจาะไม้ต่าง ๆ ยกเว้นปลวก เหมาะ สําหรับงานไมท้ ่อี ยู่ในทีร่ ม่ ท่ไี ม่สัมผัสกับพนื้ ดนิ 4. สารหนู (Arsenic) เปน็ สารท่เี ปน็ พิษตอ่ แมลง และเชื้อราต่าง ๆ การทาสารหนลู งบนเน้ือไม้ จะตอ้ งทาํ อยา่ งระมดั ระวัง เพราะสารหนูจะมแี ก๊สทเ่ี ปน็ อันตรายต่อสขุ ภาพของผู้คนทีอ่ ย่อู าศยั บริเวณนนั้ ๆ

37 5. โซเดยี มฟลอู อไรด์ (Sodium Fluoride) เป็นผลกึ สขี าวละลายนา้ํ ได้ดี แต่ไม่ควรใช้ในท่ีที่มี หินปูน เพราะจะทําให้เกิดปฏิกิริยาจับตัวเป็นก้อน ไม่เหมาะกับงานท่ีอยู่ในท่ีโล่งแจ้ง มีคุณสมบัติในการป้องกัน พวกเหด็ ราและแมลงเจาะไมต้ า่ ง ๆ เหมาะสาํ หรบั งานไมท้ ี่อย่ใู นทร่ี ม่ ท่ีไมส่ ัมผัสกับพื้นดนิ นอกจากนี้ยังมีน้ํายา หรือสารเคมีอีกหลายชนิดที่ใช้ในการรักษาเนื้อไม้ สําหรับผลิตภัณฑ์ที่ รักษาเนื้อไม้ที่เป็นท่ีรู้จักกัน เช่น สารเซลล์ไดรท์ ของบริษัท เซอร์วู้ด ใช้ป้องกันปลวก มอด เช้ือรา และแมลง ต่าง ๆ และสารทิมเบอร์ซิลด์ของ TOA ใช้ป้องกันเชื้อรา และกันน้ําซึมเข้าเนื้อไม้ ฯลฯ และผลิตภัณฑ์ท่ีป้องกัน เฉพาะผิวไม้ เชน่ เชลแล็ก แล็กเกอร์ ยนู เิ ทน นาํ้ มันวานชิ และสีน้ํามันต่าง ๆ เปน็ ต้น 1. โครงสรา้ ง และองค์ประกอบของเน้ือไม้ โครงสร้างของต้นไม้มีส่วนประกอบที่สําคัญ 3 ส่วนคือ ราก ลําต้น ใบ โครงสร้างของต้นไม้ ประกอบด้วยเซลล์ (Cell) หรือเส้นใย (Fiber) ในลักษณะต่าง ๆ เพื่อทําการยึดเกาะกันจนเป็นรูปต้นไม้ข้ึนมา เซลล์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ เซลล์ท่ีเรียงตัวไปตามแนวขวางของลําต้น เรียกว่า เซลล์รังสี (Ray Cell) และเซลล์ที่เรียงตัว ยาวไปตามลําต้น เรียกว่า เซลล์ไม้ (Wood Cell) โดยทั่วไปเซลล์ต่าง ๆ ของต้นไม้ ยังสามารถแบ่งออกตามหน้าที่การทํางานออกได้อีก 3 ชนิด คือ เซลล์สะสม (Storage Tissue) เซลล์ลําเลียง (Conducting Tissue) และเซลล์คาํ้ จนุ (Supporting Tissue) 2. ลกั ษณะหนา้ ตดั ของไม้ ต้นไม้ขนาดใหญ่ (ท่ีมีอายุ 10 ปีขึ้นไป) หากตัดขวางลําต้น ให้เป็นแผ่นบางคล้ายเขียง จะมองเห็นได้ วา่ ลําต้นไมป้ ระกอบดว้ ยส่วนใหญ่ ๆ 2 ส่วน คือ เปลือกไม้กบั เนอื้ ไม้ โดยมีเยื่อเจรญิ (Cambium) เป็นเซลล์ช้ัน บาง ๆ คั่นอยู่ แต่หากพิจารณาให้ละเอียดมากข้ึนจากเปลือกช้ันนอกเข้าหาไส้ หรือใจไม้ที่อยู่กลางลําต้น จะ เห็นว่าลําต้นของต้นไม้จะประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ท่ีสําคัญ 7 ส่วน ได้แก่ 1. เปลือกไม้ช้ันนอก (Outer Bark) 2. เปลือกช้ันใน (Inner Bark) 3. เส้นวงรอบปี (Annual Growth Ring) 4. เยื่อเจริญ (Cambium) 5. กระพ้ี (Sapwood) 6. ไม้แก่น (Heartwood) และ 7. ไส้ไม้ (Pith) 3. ประเภทของไม้ ในปัจจุบันนี้เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันจึงควรใช้เรียกแยกประเภทของไม้ตามหนังสือของกรม ป่าไม้ ที่ กส. 0702/6979 ลงวันท่ี 3พฤษภาคม 2517 เรื่องข้อกําหนดเก่ียวกับไม้ที่ใช้ในการสร้างในส่วนราชการ กรมปา่ ไม้ ใหแ้ บ่งไมอ้ อกเป็น 3 ประเภท คือ 1) ไม้เนื้อแข็ง 2) ไม้เนือ้ แข็งปานกลาง และ 3) ไม้เนือ้ อ่อน

38 4. คณุ สมบัตขิ องไม้ การนําไม้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด จําเป็นต้องรู้ถึงคุณสมบัติของไม้แต่ละชนิด เพื่อที่จะได้ เลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท เพราะไม้เกิดจากต้นไม้หลายชนิดที่มีคุณสมบัติในด้านต่างแตกต่าง กัน ไม้แต่ละชนิดย่อมเหมาะสมกับงานแต่ละอย่างไม่เหมือนกัน เช่น ในงานก่อสร้าง ไม้จะต้องมีความแข็งแรง และทนทาน ในการประดิษฐ์เคร่ืองเรือนท่ีต้องการความสวยงามและความละเอียดในการเข้าไม้ ไม้จะต้องมีสี และลวดลายเนือ้ ไมท้ ส่ี วยงาม เป็นต้น 5. ขนาดของไมแ้ ปรรปู การแปรรูปไม้ ในการนําไม้มาใช้งานก่อสร้าง จะต้องเริ่มจากการตัดโค่นต้นไม้ให้เป็นท่อน หรือเรียกว่า ซุง (Log) เม่ือนาํ ซงุ มาแปรรูป โดยการผ่าหรือเลื่อยจะไดไ้ ม้แปรรูป ตามลกั ษณะของการผ่า การใช้ไม้ขนาดเล็กในลักษณะ ไม้แปรรูป ขนาดต้องโตพอสมควร เพื่อที่จะได้เน้ือไม้ส่วนของแก่นมากกว่าส่วนของกระพ้ี โดยควรมีขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 8 น้ิวขึ้นไป มีลําต้นตรงเปลากลม ไม่คดงอ ไม้ท่อนขนาดเล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6-9 นิ้ว เลื่อยเป็นไมแ้ ปรรปู แล้วไดผ้ ลผลติ 25–35 เปอร์เซ็นต์ การเลอ่ื ยไมซ้ ุงเพอื่ เป็นไม้แปรรูปมีวิธีการเล่ือยหลายวิธีด้วยกัน แต่วิธีท่ีเป็นท่ีนิยมมากท่ีสุด เน่ืองจาก ให้ผลผลิตสูงสุด มีอยู่ 2 วิธี คือ 1) การเล่ือยดะ (Through & Through ) และ 2) การเลื่อยเปิดปีก 2 ข้าง (Cant sawing ) มาตรฐานไม้กอ่ สร้าง มาตรฐานของไม้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของกระทรวงอุตสาหกรรมหรือ มอก. ในปัจจบุ ันมีดังนี้ 1. มอก.421–2525 หมายถงึ ไม้แปรรปู และข้อกาํ หนดทัว่ ไป 2. มอก.422–2525 หมายถงึ ไม้สกั แปรรูป 3. มอก.423–2525 หมายถึง ไมก้ ระยาเลยแปรรูป 4. มอก.424–2525 หมายถึง ไมแ้ ปรรปู สําหรับงานกอ่ สร้างทวั่ ไป 5. มอก.497–2526 หมายถงึ ไมแ้ ปรรปู อบ 6. มอก.516–2527 หมายถึง ไม้อัดนา้ํ ยา CCA ขนาด ไมแ้ ปรรปู ตามมาตรฐานน้ี มีขนาดดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ความหนา : 12, 16, 19, 22, 25, 32, 38, 44, 50, 63, 75, 88, 100, 113, 125, 138, 150 และ200

39 2. ความกว้าง : 25, 38, 50, 63, 75, 88, 100, 113, 125, 150, 175, 200, 225, 250, 275, 300, 350 และ400 มิลลเิ มตร (ยกเว้นไมส้ กั เหล่ียม ให้ถอื ตามขนาดไม้สักเหลีย่ มแปรรูป มาตรฐาน ผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรมไม้สกั แปรรูปมาตรฐานเลขท่ี มอก.422) 3. ความยาว : สําหรับไม้สัก เริ่มตั้งแต่ 0.30 เมตร และให้มีความยาวเพ่ิมขึ้นช่วงละ 0.15 เมตร ส่วนไมก้ ระยาเลย เริ่มตงั้ แต่ 0.30 เมตร และให้มคี วามยาวเพิม่ ขน้ึ ช่วงละ 0.30 เมตร การเรียกชื่อขนาด ใหเ้ รียกช่ือขนาดไม้เรยี งลาํ ดับ ความหนา × ความกวา้ ง × ความยาว การแปรรปู ต้องแปรรปู ให้ส่วนยาวของไมแ้ ปรรูป ขนานกบั ความยาวของท่อนซุง ด้านท้ัง 4 ด้านต้อง เรียบเป็นแนวเส้นตรง มีขนาดสมํ่าเสมอกันตลอดความยาวของแผ่น และภาคตัดขวางหัวท้ายต้องเป็นสี่เหล่ียม มุมฉาก ไม้แปรรูปที่จําหน่ายภายในประเทศแบ่งออกเป็นชนิดและขนาดตามความนิยมในวงการค้าไม้และการ กอ่ สรา้ งท่ัวๆ ไปดงั นี้ 1. ไมฝ้ าขนาดหนา ½ ถงึ ¾ กว้าง 4 ถงึ 6 นวิ้ และ 8 นิ้ว ถึง 10 น้ิว 2. ไม้พืน้ ขนาดหนา 1 นิว้ 3. ไม้หนาขนาด 1 ½ ถึง 2 นิ้ว และ 2 ½ ถงึ 3 นิว้ กว้าง 3, 4, 5, 6, 8 และ 12 น้ิว 4. ไม้เสาขนาดหนา 4 × 4 น้วิ , 5 × 5 นวิ้ , และ 6 × 6 นิ้ว 5. ไมร้ ะแนงขนาดหนา 1 × 1 น้วิ 6. ไม้กลอนขนาดหนา ½ ถึง ¾ นว้ิ × 2 ถงึ 3 น้ิว และ 1 ถึง 2 นว้ิ × 1 ½ ถึง 2 นิ้ว 6. ความเสยี หายของไม้ ไม้เป็นผลผลิตที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จึงมีคุณสมบัติบางประการที่ไม่เหมาะสมในการนํามาใช้เพ่ือ การก่อสร้างคือ ตําหนิของไม้ท่ีเกิดข้ึนโดยธรรมชาติ ได้แก่ ตาไม้ รอยแตกและรอยปริเปลือกไม้ ความเอียงของ เส้ียนไม้ รอยเสียและรอยเป้ือน และความเสียหายเน่ืองจากแมลง เป็นต้น ซ่ึงโดยทั่วไปตําหนิของไม้อาจจะเกิด จาก 4 สาเหตใุ หญ่ ๆ คอื 1) ทางฟิสิกส์ 2) ทางชีววทิ ยา 3) ทางเคมี และ 4) ทางกล 7. การนําไมไ้ ปใชง้ าน การนําไม้ไปใช้งาน จะต้องคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดตามคุณสมบัติของไม้แต่ละประเภท ไม้เนื้อแข็ง ส่วนมากจะนิยมนํามาใช้ในงานก่อสร้างท่ีเป็นงานโครงสร้าง ไม้เน้ือแข็งปานกลางนิยมนํามาใช้ทําเครื่องเรือน และไม้เนอ้ื อ่อนนยิ มนํามาใชก้ บั งานทอี่ ยูใ่ นร่ม 8. ผลิตภัณฑ์จากอตุ สาหกรรมไม้อัด (Plywood) (1) กรรมวิธีการผลิตไม้อัด กรรมวิธีการผลิตไม้อัด เร่ิมจากการนําเอาไม้แผ่นบางหรือวีเนียร์ (Veneer) โดยการตัดท่อนซุงให้มีความยาวตามท่ีต้องการ แล้วกลึงปอกท่อนซุงหรือผ่า ให้ได้แผ่นไม้เป็นแผ่น บาง ๆ หลายแผ่นมาอัดเข้าด้วยกัน โดยใช้กาวเป็นวัสดุยึดตรึง แผ่นไม้ที่นํามาอัดเข้าด้วยกันจะต้องวาง ใน

40 ลักษณะท่ีแนวเส้ียนขวางต้ังฉากซ่ึงกันและกัน ท้ังนี้เพ่ือเพิ่มคุณสมบัติในด้านความแข็งแรง ท้ังยังช่วยลดการ ขยาย และหดตัวในแนวระนาบของแผน่ ไมใ้ ห้เหลอื น้อยที่สุด จํานวนช้ันของแผ่นไม้จะต้องเป็นจํานวนค่ีเสมอไป เพอื่ ให้เกดิ ความสมดลุ และแนวเสย้ี นไปในทางเดียวกนั (2) กรรมวิธีการผลิตไม้บาง ไม้บาง หรือ ไม้วีเนียร์ (อังกฤษ: veneer) เป็นวัสดุท่ีทําจากไม้เนื้ออ่อน โดยกรรมวิธีการผลิตเร่ิมจากปอกผิวเนื้อไม้ออกเป็นแผ่นบาง ๆ ออกจากท่อนซุง และนําไปอบและรีด โดยมาก ทําจากไม้ยางพารา ใช้เป็นวัสดุทําไม้อัดและเฟอร์นิเจอร์ ไม้วีเนียร์จะมีความหนาไม่เกิน 3 มิลลิเมตร นํามาใช้ เป็นวสั ดุตกแตง่ บา้ น ทพ่ี ักอาศัยทําให้เกิดความภมู ิฐาน หรือใชเ้ ปน็ ส่วนประกอบในการผลติ เฟอรน์ เิ จอรไ์ ม้ ไม้อัดสามารถแบ่งออกตามลักษณะการใช้งานได้ 3 ประเภท คือ 1) ประเภทใช้งานภายใน 2) ประเภทใช้งานภายนอก และ 3) ประเภทใช้งานชัว่ คราว ไม้อัดทบี่ รษิ ทั ผ้ผู ลิตออกมาจาํ หนา่ ย มีขนาดมาตรฐาน ทวั่ ไปคือ 1.20 × 2.40 เมตร (โดยมีขนาดจริงคือ 1.22 × 2.44 เมตร) โดยมีความหนามาตรฐานท่ัวไปคือ 4, 6, 10, 15 และ 20 มิลลเิ มตร 9. การรกั ษาเน้ือไม้ (1) การป้องกันรักษาเนื้อไม้ ในการใช้ไม้ให้มีคุณภาพและมีอายุการใช้งานท่ียาวนาน จึงมีความ จําเป็นจะตอ้ งมีการรักษาเนือ้ ไม้อย่างดีท่สี ุด การป้องกันรกั ษาเนื้อไม้ท่ีดีท่ีสุด คือ การทําให้อาหารของฟังใจเป็น พิษ โดยการทาหรอื พ่นนํา้ ยาหรือการอาบนาํ้ ยา ที่เป็นพิษเข้าไปในเนื้อไม้ เราสามารถแบ่งการป้องกันรักษาเนื้อ ไม้ออกเปน็ 2 วิธใี หญๆ่ คือ ก. วิธกี ารทาหรอื พ่น ข. วธิ ีการอาบน้ํายา (2) น้ํายารักษาเนื้อไม้ น้ํายารักษาเนื้อไม้ เป็นนํ้ายาหรือสารเคมีท่ีนํามาใช้ในการป้องกันรักษาเนื้อ ไม้ให้มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน มีอยู่หลายชนิด ผู้ใช้จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะกับลักษณะของงาน ซึ่งมี นํ้ายา หรือสารเคมีอกี หลายชนิดท่ใี ช้ในการรกั ษาเนือ้ ไม้ สําหรบั ผลติ ภณั ฑ์ทร่ี ักษาเน้ือไม้ท่ีเป็นที่รู้จักกัน เช่น สารเซลล์ไดรท์ ของบริษัท เซอร์วู้ด ใช้ป้องกันปลวก มอด เชื้อรา และแมลงต่าง ๆ และสารทิมเบอร์ซิลด์ของ TOA ใช้ป้องกัน เชื้อรา และกันน้ําซึมเข้าเน้ือไม้ ฯลฯ และผลิตภัณฑ์ท่ีป้องกันเฉพาะผิวไม้ เช่น เชลแล็ก แล็กเกอร์ ยูนิเทน น้าํ มนั วานิช และสนี า้ํ มนั ตา่ ง ๆ เป็นต้น

41 1. ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าความรู้เก่ียวกับคุณสมบัติเชิงกลของไม้จากห้องสมุดและอินเตอร์เน็ต เขียน รายงานฉบบั สมบรู ณส์ ง่ 2. ให้ผู้เรียนไปศึกษาเน้ือหาเพ่ิมเติมจากร้านขายวัสดุ อุปกรณ์งานก่อสร้าง เพ่ือความเข้าใจยิ่งขึ้น และ ฝกึ ทําแบบฝึกปฏบิ ัติ

42 จงตอบคําถามต่อไปน้มี าพอสังเขป 1. ไม้ หมายถงึ 2. โครงสร้างของตน้ ไม้มสี ่วนประกอบที่สําคัญก่ีส่วน อะไรบ้าง 3. ตน้ ไม้จะประกอบด้วยสว่ นตา่ ง ๆ ทส่ี ําคัญกสี่ ว่ น อะไรบา้ ง 4. การแบง่ ประเภทของไม้ตามหนงั สอื ของกรมปา่ ไม้ แบง่ ได้ 3 ประเภท อะไรบา้ ง 5. ไมก้ ระบากจดั เป็นไมป้ ระเภทใด 6. ไม้ตะแบกมีคณุ สมบัติอย่างไร 7. การเรียกชือ่ ขนาดของไม้โดยเรียงลาํ ดับอยา่ งไร 8. ตาํ หนิของไม้อาจจะเกดิ จาก 4 สาเหตุใหญ่ ๆ คอื 9. ไม้ยางเมอ่ื แปรรูปแล้วสามารถนําไปใชง้ านอะไรบ้าง เขยี นมา 3 งาน 10. การปอ้ งกนั รกั ษาเน้อื ไมส้ ามารถแบง่ ออกเป็น 2 วิธใี หญ่ ๆ คอื

43 จงเลือกคําตอบทถ่ี กู ท่ีสุดเพยี งขอ้ เดียวจากคําถามต่อไปน้ี 1. การทาหรือพน่ น้ํายา เพ่อื ป้องกันรักษาเนื้อไม้ ควรทํากค่ี ร้งั ก. 4 คร้งั ข. 3 ครงั้ ค. 2 ครงั้ ง. 1 ครัง้ 2. หนว่ ยของไมอ้ ดั มาตรฐานท่ัวไป เชน่ 4, 6, 10, 15 และ 20 คืออะไร ก. เซนติเมตร ข. มลิ ลิเมตร ค. โดซิเมตร ง. เดซิเมตร 3. ขนาดจริงของไมอ้ ัด คอื เทา่ ไหร่ ก. 1.22×2.4 เมตร ข. 1.21×2.4 เมตร ค. 1.22×2.42 เมตร ง. 1.20×2.40 เมตร 4. ขอ้ ใดคอื ไม้ทน่ี ยิ มใช้ทําไมฝ้ า ไมค้ รา่ ว ฝ้าเพดาน คร่าวฝาผนัง ก. ไม้สัก ข. ไม้กะบาก ค. ไมย้ าง ง. ไมแ้ ดง 5. ไมท้ ่นี ําไปใชใ้ นงานโครงสร้างท่ัวไป คือขอ้ ใด ก. ไม้ชิงชนั ข. ไมเ้ ต็ง ค. ไมย้ าง ง. ไมก้ ะบาก 6. รอยรา้ วท่ีเรม่ิ แตกจากใจไม้ออกไปตามแนวรัศมี เรียกวา่ อะไร ก. รอยรา้ วเสีย้ น ข. รอยร้าวรปู ดาว ค. รอยรา้ วกลม ง. รอยรา้ วจากไส้ 7. การเสียรปู ของไม้แปรรปู โดยการบิดเป็นเกลียว เรยี กว่าอะไร ก. รอยปริ ข. บิด ค. โก่ง ง. เบีย้ ว

44 8. ขนาดของไม้เสาของบา้ นพักอาศยั ทน่ี ยิ มใช้ คอื ข้อใด ก. 4×4 นวิ้ ข. 3×3 น้วิ ค. 2×2 นิ้ว ง. 1×1 น้วิ 9. การเรยี กชือ่ ขนาดไม้ คือขอ้ ใด ก. ความกว้าง×ความหนา×ความยาว ข. ความยาว×ความกว้าง×ความลกึ ค. ความหนา×ความกว้าง×ความยาว ง. ความลึก×ความยาว×ความกว้าง 10. ซุงมีช่อื เป็นภาษาองั กฤษว่าอย่างไร ก. Lug ข. Look ค. Log ง. Lag 11. ข้อใดคอื คุณสมบตั ิของไมม้ ะคา่ ก. นาํ้ หนักโดยเฉลีย่ 1,090 กโิ ลกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร ข. นํ้าหนกั โดยเฉลีย่ 850 กโิ ลกรัมต่อลกู บาศก์เมตร ค. นํ้าหนกั โดยเฉล่ยี ประมาณ 800 กโิ ลกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร ง. นํ้าหนกั โดยเฉลย่ี ประมาณ 750 กโิ ลกรมั ต่อลูกบาศก์เมตร 12. ไมแ้ ดงจดั เป็นไมป้ ระเภทใด ก. ไม้เนอื้ อ่อนมาก ข. ไม้เนอื้ อ่อน ค. ไมเ้ นอื้ แข็ง ง. ไมเ้ นอื้ แขง็ ปานกลาง 13. เซลล์บาง ๆ ทม่ี ชี วี ติ อยรู่ ะหว่างกระพ้กี ับเปลือกชน้ั ในคอื ก. ไม้แกน่ ข. ไส้ไม้ ค. กระพี้ ง. เยอ้ื เจริญ 14. ไม้แก่น มีชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ อยา่ งไร ก. Pith ข. Sapwood ค. Inner Bark ง. Heartwood 15. Cambium คือ ก. เส้นวงรอบปี ข. เปลอื กช้ันใน ค. เยอ่ื เจรญิ ง. เปลอื กชน้ั นอก

45 16. เซลลท์ ่ที าํ หนา้ ทใ่ี ห้ความแขง็ แรงแก่ลาํ ต้นคอื ก. เซลลร์ ังสี ข. เซลลค์ า้ํ จนุ ค. เซลลล์ ําเลียง ง. เซลล์ไม้ 17. Wood.Cell.คืออะไร ก. เซลลใ์ บ ข. เซลล์ไม้ ค. เซลลต์ น้ ไม้ ง. เซลลก์ งิ่ ไม้ 18. เซลลท์ ี่เรียงตวั ไปตามแนวขวางของลาํ ตน้ เรยี กว่า ก. เซลล์กง่ิ ไม้ ข. เซลลค์ ํา้ จนุ ค. เซลล์รังสี ง. เซลลส์ ะสม 19. ข้อใดคือ สว่ นของต้นไม้ท่ที ําหน้าทีล่ ําเลยี งสารอาหารไปยังใบทกุ สว่ น ก. ลาํ ต้น ข. ใบ ค. ราก ง. ก่ิงไม้ 20. ไม้ หมายถงึ ก. เน้อื เยอ่ื ไซเล็มชั้นทส่ี อง (Xylem) ของตน้ ไม้ ข. วัสดุใดๆ ทม่ี ีสว่ นประกอบทาํ มาจากไม้ ค. วัสดแุ ขง็ ทีท่ าํ จากแกน่ ลาํ ต้นของตน้ ไม้ ง. ถูกทุกขอ้

46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook