Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 3 ม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 3 ม.2

Published by ๋Jiratchaya Chaitheeratham, 2021-05-08 03:36:27

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 3 ม.2

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนการสอน หน่วยทื่ 3 วชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว 22101 กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 จัดทำโดย นำงสำวจิรชั ญำ ชัยธีรธรรม ตำแหนง่ พนักงำนรำชกำร โรงเรียนรำชประชำนเุ ครำะห์ 31 ตำบลชำ่ งเค่ิง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ สำนักบริหำรงำนกำรศึกษำพิเศษ สำนักงำนกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ สารละลาย ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3.1 องค์ประกอบของสารละลาย ร หั ส – ชื่ อ ร า ย วิ ช า ว 322102 วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1/2564 เวลา 6 ชัว่ โมง ผู้สอน ครจู ริ ัชญา ชยั ธรี ธรรม โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 31 อ.แม่แจม่ จ.เชียงใหม่ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกบั โครงสรา้ งและแรงยึดเหนยี่ วระหว่างอนภุ าค หลกั และธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลง สถานะของ สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี ว 2.1 ม.2/4 ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธิบายผลของชนดิ ตวั ละลาย ชนดิ ตัวทาละลาย อุณหภูมิที่มีต่อสภาพละลายได้ของสารรวมทั้งอธิบายผลของความดันท่ีมีต่อสภาพละลายได้ของสาร โดยใช้ สารสนเทศ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายลกั ษณะสาคัญของสารละลายได้ (K) 2. บอกองค์ประกอบของสารละลายแต่ละชนดิ ได้ (K) 3. ทดลองและสรปุ ผลเรอื่ งองคป์ ระกอบของสารละลายได้ (P) 4. มีความกระตอื รือรน้ และพยายามในการแสวงหาความรู้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ สารละลาย หมายถงึ ของผสมเนือ้ เดียวที่เกิดจากการผสมกนั ของสารบริสทุ ธ์ิต้ังแต่ 2 ชนดิ ขึ้นไป มา ละลายรวมเปน็ เนือ้ เดียวกนั 4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด สารละลาย หมายถึง ของผสมเน้ือเดียวท่ีเกิดจากการผสมกันของสารบริสุทธ์ิต้ังแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มา ละลายรวมเป็นเน้ือเดียวกัน โดยสารละลายประกอบด้วยตัวละลายและตัวทาละลาย ถ้าตัวทาละลายและตัว ละลายมีสถานะต่างกัน ใหพ้ จิ ารณาวา่ สารใดทมี่ สี ถานะเหมอื นกับสารละลายให้ถือว่า สารน้ันเป็นตัวทาละลาย ถา้ ตวั ทาละลายและตัวละลายมีสถานะเหมอื นกัน ใหพ้ ิจารณาวา่ สารท่มี ีปรมิ าณมากกว่าเป็นตัวทาละลาย และ สารทมี่ ีปรมิ าณนอ้ ยกวา่ เป็นตัวละลาย สารละลายมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดไม่คงที่ โดยสารละลายจะมีจุดหลอมเหลวต่ากว่า ตัวทา ละลายบรสิ ทุ ธ์ิ และสารละลายจะมจี ุดเดือดสงู กวา่ ตัวทาละลายบริสทุ ธ์ิ

5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวนิ ยั รับผดิ ชอบ 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ขัน้ นา ข้นั ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) นักเรียนร่วมกันอภิปรายแยกกลุ่มของสาร 10 ชนิด ได้แก่ น้านม น้าเช่ือม น้าแป้ง น้าโคลน น้าตาลทราย น้าเหล็ก น้าอัดลมที่ไม่ผสมสี น้าเกลือ น้าส้มสายชูและเหรียญบาท โดยให้นักเรียนนาเสนอ เกยี่ วกับเกณฑ์และเหตผุ ลท่ีใช้ในการจาแนกกลุ่มของสาร เกณฑท์ ่ีใชใ้ นการจาแนก คอื ........................................................................................................... จาแนกไดเ้ ป็น ................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ คาถามชวนคิด นกั เรยี นคิดวา่ สารต่อไปน้ีประกอบด้วยองค์ประกอบก่ีชนิด อะไรบา้ ง ชนิดของสาร จานวนสารทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบ ชนิดขององค์ประกอบในสารตัวอย่าง นา้ น้าเชื่อม น้าเกลอื แอลกอฮอล์ นา้ อดั ลมท่ไี ม่ผสมสี น้าส้มสายชู

นกั เรียนสังเกตลกั ษณะของสารละลายท้งั 3 บีกเกอร์ดงั ภาพ 1 และทานายว่าสารละลาย ท้งั 3 บีกเกอร์เป็ น สารละลายชนิดเดียวกนั หรือไม่ แลว้ นกั เรียนมวี ธิ ีการตรวจสอบอยา่ งไร ............................................................................................................................. ............................................ ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ................................................................................................................................. ........................................ ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ..................................................................................................................................... .................................... ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................

ขั้นที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore) ให้นักเรยี นแบ่งกล่มุ ๆ ละ 5 - 6 คน ทากิจกรรม เรอ่ื ง องค์ประกอบของสารละลาย พรอ้ มทั้ง บันทกึ ผลการทดลอง กิจกรรมเรือ่ ง องค์ประกอบของสารละลาย จดุ ประสงค์การทดลอง 1. ทดลองและอธบิ ายองคป์ ระกอบของสารละลาย 2. อธิบายวิธีการตรวจสอบองค์ประกอบของสารละลาย 3. มีความใฝเ่ รียนรแู้ ละมงุ่ มั่นในการทางาน รายการ ปรมิ าณ 1. น้าเกลอื 5% โดยมวลตอ่ ปริมาตร 1 cm3 2. นา้ เชื่อม 5% โดยมวลตอ่ ปริมาตร 1 cm3 3. นา้ อัดลม (ชนดิ ไมผ่ สมส)ี 1 cm3 4. น้าโซดา 1 cm3 5. กระบอกตวง ขนาด 10 cm3 4 ใบ 6. จานหลมุ โลหะ 1 อัน 7. ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่ก้นั ลม 1 ชุด 8. คีมคีบโลหะ 1 อัน วธิ ีการทดลอง 1. สังเกตลักษณะของน้าเกลอื นา้ เชอ่ื ม น้าอดั ลม และนา้ โซดา 2. นาของเหลวทง้ั 3 ชนดิ ชนิดละ 1 cm3 ใส่ในจานหลุมโลหะ ชนดิ ละหลมุ ดังภาพ 2 3. นาจานหลุมไปตัง้ บนตะเกียงแอลกอฮอล์ ดงั ภาพ 4. ให้ความร้อนจนของเหลวระเหยแห้งไปหมด สังเกตและบนั ทึกผลการเปลีย่ นแปลง ภาพ 2 ขน้ั ตอนการทดลอง เร่ือง องคป์ ระกอบของสารละลาย

แบบบันทึกกิจกรรมเรื่อง องคป์ ระกอบของสารละลาย ปญั หา.................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. สมมตฐิ าน............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ตวั แปร ตัวแปรตน้ ...................................................................................................................................................... ตัวแปรตาม..................................................................................................................................................... ตัวแปรควบคุม.............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ตารางบนั ทึกผลการทากจิ กรรม สารละลายตวั อยา่ ง ลกั ษณะสารละลายที่สงั เกตได้ ผลการสงั เกตเม่ือนาสารละลายไประเหยแห้ง นา้ เกลือ น้าเชอื่ ม นา้ อดั ลม นา้ โซดา สรุปผลและอธบิ ายผลการทดลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ขั้นท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันวิเคราะหข์ ้อมลู จากผลการทดลอง อภปิ รายและลงข้อสรุป 2. ตวั แทนนกั เรยี นแต่ละกลุ่ม ออกมาน าเสนอผลการทดลอง อภปิ รายผลและสรุปผล 3. ใหน้ ักเรียนตอบคาถามจากผลการทดลองในกิจกรรม ดังนี้ 1.1 ลักษณะสารละลายทั้ง 4 ชนดิ ที่สงั เกตไดม้ ลี ักษณะเหมือนหรอื แตกต่างกนั อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 1.2 เมอ่ื นานา้ เกลือไประเหยแห้งในจานหลมุ มีสารใดเหลอื อยู่ในจานหลุมหรือไม่ ถา้ มีสารที่ เหลืออยมู่ ี ลกั ษณะอยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 1.3 เมื่อนาน้าเชื่อมไประเหยแหง้ ในจานหลมุ มีสารใดเหลอื อยู่ในจานหลมุ หรือไม่ ถ้ามีสาร ทเ่ี หลอื อยู่มี ลกั ษณะอยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 1.4 เมอ่ื นานา้ อดั ลมไประเหยแห้งในจานหลมุ มีสารใดเหลอื อยู่ในจานหลมุ หรอื ไม่ ถ้ามสี าร ท่เี หลอื อยมู่ ี ลกั ษณะอยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 1.5 เม่อื นาน้าโซดาไประเหยแห้งในจานหลมุ มีสารใดเหลอื อยู่ในจานหลมุ หรือไม่ ถา้ มีสารท่ี เหลอื อยมู่ ี ลักษณะอยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

1.6 ถ้านาของเหลวชนิดหนงึ่ ไปใหค้ วามรอ้ น แลว้ ปรากฏว่ามขี องแขง็ เหลอื อยู่ในภาชนะ นกั เรียนจะ สรุปผลการทดลองว่าอยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 1.7 ถ้านาของเหลวชนิดหน่ึงไปให้ความรอ้ น แลว้ ปรากฏวา่ ไม่มสี ารใดเหลอื อย่ใู นภาชนะเลย นกั เรยี น จะสรุปผลการทดลองวา่ อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้ันท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) บัตรเนอื้ หา เรอื่ ง องค์ประกอบของสารละลาย ความหมายของสารละลาย สารละลาย (Solution) หมายถึง ของผสมเน้ือเดียวท่ีเกิดจากสารบริสุทธ์ิต้ังแต่ 2 ชนิดข้ึนไป มาผสมจน เป็นเน้ือเดียวกัน ซ่ึงสารละลายประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ตัวทาละลาย(Solvent) และตัว ละลาย (Solute) ภาพ 3 ตัวทาละลายและตวั ละลาย ท่ีมา : พเิ ชษฐ์ อย่ยู งค์

เกณฑก์ ารพจิ ารณาตัวทาละลายหรือตวั ละลาย การพจิ ารณาวา่ สารใดเป็นตวั ทาละลาย หรอื ตัวละลาย มีหลกั การพิจารณา ดังนี้ 1. ถา้ ตวั ทาละลายและตวั ละลายมสี ถานะต่างกัน ใหพ้ จิ ารณาวา่ สารใดที่มสี ถานะเหมือนกบั สารละลายให้ถือว่า สารนั้นเป็นตัวทาละลาย เช่น เม่ือนาน้าที่มีสถานะเป็นของเหลวผสมกับเกลือที่มีสถานะเป็นของแข็ง จะได้ สารละลายน้าเกลือทมี่ ีสถานะของเหลว ดังนน้ั น้าที่มสี ถานะเป็นของเหลวเหมือนกับสารละลายน้าเกลือจึงจัด วา่ เป็นตัวทาละลาย ภาพ 4 การพจิ ารณาตวั ทาละลายทเ่ี กดิ จากการผสมของสารบริสุทธ์ทิ ่มี สี ถานะต่างกนั 2. ถ้าตัวทาละลายและตัวละลายมีสถานะเหมือนกัน ให้พิจารณาว่าสารท่ีมีปริมาณมากกว่าเป็นตัวทาละลาย และสารทมี่ ีปริมาณนอ้ ยกวา่ เป็นตัวละลาย เช่น สารละลายแอลกอฮอล์ 40 % ประกอบด้วย แอลกอฮอล์ท่ีมี สถานะเป็นของเหลว 40 สว่ น ผสมกบั น้ าที่มีสถานะเป็นของเหลวเหมือนกับสารละลายแอลกอฮอล์ 60 ส่วน เนื่องจากน้ามปี รมิ าณมากกว่าแอลกอฮอล์ จึงจัดวา่ นา้ เป็นตวั ทาละลายและแอลกอฮอลเ์ ปน็ ตัวละลาย ภาพ 5 การพิจารณาตวั ทาละลายทเี่ กดิ จากการผสมของสารบริสุทธ์ิทีม่ ีสถานะเหมือนกนั

เกณฑก์ ารจาแนกสารละลาย เกณฑ์ทีน่ ิยมใชใ้ นการจาแนกสารละลาย มี 3 เกณฑ์ ดังนี้ 1. จาแนกตามสถานะของสารละลาย 1.1 สารละลายทมี่ สี ถานะของแข็ง ตวั อยา่ งสารละลาย องค์ประกอบของสารละลาย ตัวละลาย ตวั ทาละลาย ทองแดง ทองสาริด ทองแดง+ดบี กุ ดบี กุ ทองแดง ทองคา ทองเหลอื ง ทองแดง+สังกะสี สังกะสี ทองแดง บสิ มัท ทองขาว ทองคา+เงนิ +แพลเลเดียม เงนิ +แพลเลเดียม เหลก็ นาก ทองคา+ทองแดง+เงนิ ทองคา+เงนิ ฟวิ ส์ ตะกัว่ +ดีบกุ +บสิ มัท ตะก่ัว+ดบี ุก เหล็กกล้าไรส้ นมิ เหล็ก+นิกเกลิ +โครเมยี ม+คารบ์ อน นกิ เกลิ +โครเมียม+คาร์บอน 1.2 สารละลายที่มีสถานะของเหลว ตวั อย่างสารละลาย องคป์ ระกอบของสารละลาย ตวั ละลาย ตัวทาละลาย น้าเกลอื เกลือ นา้ นา้ เช่อื ม นา้ +เกลอื นา้ ตาล น้า น้าโซดา แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ นา้ นา้ อัดลม นา้ +นา้ ตาล น้าตาล+สีผสมอาหาร+แก๊ส น้า คาร์บอนไดออกไซด แอลกอฮอล์ล้างแผล น้า+แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2 ) นา้ แอลกอฮอล์ แกส๊ โซฮอล์ น้า+น้าตาล+สีผสมอาหาร+แก๊ส เอทานอล น้ามันเบนซิน คารบ์ อนไดออกไซด์ น้า+แอลกอฮอล์ น้ามนั เบนซนิ +เอทานอล 1.3 สารละลายที่มสี ถานะแกส๊ ตัวอยา่ งสารละลาย องค์ประกอบของสารละลาย ตวั ละลาย ตวั ทาละลาย อากาศ O2+N2+CO2+CH4+ฯลฯ O2+CO2+CH4+ฯลฯ N2 แก๊สหงุ ต้ม โพรเพน+บิวเทน บวิ เทน โพรเพน 2. จาแนกตามปรมิ าณของตัวละลาย มดี งั น้ี 2.1 สารละลายอ่ิมตวั (Saturated Solution) คอื สารละลายที่ตวั ละลายไม่สามารถ ละลายในตัวทา ละลายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ อกี เมอื่ อณุ หภมู ิคงทีแ่ ละเป็นตวั ทาละลายชนิดเดมิ 2.2 สารละลายไมอ่ ิ่มตัว (Unsaturated Solution) คือ สารละลายทต่ี ัวละลายยัง สามารถละลายใน ตวั ทาละลายได้อกี เมือ่ อณุ หภมู ิคงท่ีและเป็นตวั ทาละลายชนิดเดมิ

3. จาแนกตามความเขม้ ข้นของสารละลาย มดี ังน้ี 3.1 สารละลายเขม้ ขน้ คอื สารละลายที่ประกอบด้วยตวั ละลายปรมิ าณมาก หรอื มตี วั ทาละลาย ปริมาณนอ้ ย 3.2 สารละลายเจอื จาง คือ สารละลายทป่ี ระกอบด้วยตัวละลายปริมาณนอ้ ย หรอื มตี วั ทาละลาย ปริมาณมาก ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจสอบผลการทาใบงาน เรอื่ ง องค์ประกอบของสารละลาย 2. ครตู รวจแบบฝกึ หดั เรื่อง องคป์ ระกอบของสารละลาย จากแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 3. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกีย่ วกับสารละลาย ซงึ่ ไดข้ อ้ สรปุ รว่ มกันว่า “สารละลาย หมายถึง ของ ผสมเน้ือเดียวท่ีเกิดจากการผสมกันของสารบริสุทธ์ิต้ังแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มาละลายรวมเป็นเน้ือเดียวกัน โดย สารละลายประกอบด้วยตัวละลายและตัวทาละลาย ถ้าตัวทาละลายและตัวละลายมีสถานะต่างกัน ให้ พิจารณาว่าสารใดที่มีสถานะเหมือนกับสารละลายให้ถือว่า สารนั้นเป็นตัวทาละลาย ถ้าตัวทาละลายและตัว ละลายมีสถานะเหมือนกัน ให้พิจารณาว่าสารที่มีปริมาณมากกว่าเป็นตัวทาละลาย และสารที่มีปริมาณน้อย กวา่ เปน็ ตัวละลาย สารละลายมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดไม่คงท่ี โดยสารละลายจะมีจุดหลอมเหลวต่ากว่า ตัวทา ละลายบรสิ ุทธิ์ และสารละลายจะมีจุดเดือดสูงกว่าตวั ทาละลายบริสทุ ธิ์” 7. การวดั และประเมินผล รายการวัด วธิ ีการ เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน - ใบงาน เกณฑ์ร้อยละ 70 % 1. อธิบายลักษณะสาคัญ - ตรวจใบงาน - สมุดประจาตวั หรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ ของสารละลายได้ (K) - ตรวจสมุดประจาตวั ม.2 เล่ม 1 เกณฑร์ อ้ ยละ 70 % หรือแบบฝกึ หดั - แบบประเมินทักษะ ผ่านเกณฑ์ กระบวนการ วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เกณฑ์ร้อยละ 70 % - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ เลม่ 1 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 2. บอกองค์ประกอบของ - สังเกตพฤตกิ รรมการ สารละลายแต่ละชนิดได้ ปฏบิ ัติงานของนักเรยี น (K) 3. ทดลองและสรปุ ผลเรื่อง องค์ประกอบของ สารละลายได้ (P 4. มีความกระตอื รอื ร้น - สงั เกตพฤตกิ รรมการ และพยายามในการ ปฏิบตั ิงานของนักเรยี น แสวงหาความรู้ (A)

8. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เรอื่ ง สารละลาย 3) ใบงาน เรอื่ ง สารละลาย 4) Power Point เร่อื ง สารละลาย 5) สมดุ ประจาตัวนักเรยี น 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) อนิ เทอรเ์ นต็ 9. ขอ้ เสนอแนะ  ใช้สอนได้  ควรปรับปรุง ………………………………………………………………………………..……………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 10. บนั ทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ ช้ัน ................  พอใช้  ปรบั ปรงุ ………………………. ความเหมาะสมของกิจกรรม  ดี  พอใช้  ปรับปรงุ ……………………… ความเหมาะสมของเนอ้ื หา  ดี  พอใช้  ปรับปรงุ ……………………… ความเหมาะสมของเวลา  ดี  พอใช้  ปรบั ปรุง……………………… ความเหมาะสมของสื่อ  ดี อื่น ๆ……………………………………………………………………………………………………... 11. สรุปผลการประเมนิ ผเู้ รยี นด้านความรู้ นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดับ 1 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรยี นร้ฯู อยูใ่ นระดับ 2 นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดบั 3 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยู่ในระดับ 4 12. สรปุ ผลการประเมินผเู้ รยี นด้านทักษะกระบวนการ นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มีผลการเรียนรู้ฯ อยูใ่ นระดับ 1 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 2 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรียนรฯู้ อยู่ในระดบั 3 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรยี นร้ฯู อยู่ในระดับ 4

13. สรุปผลการประเมินผ้เู รียนด้านคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยู่ในระดบั 1 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มีผลการเรียนรู้ฯ อยูใ่ นระดบั 2 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดับ 3 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรียนร้ฯู อยูใ่ นระดับ 4 14. สรุปผลการประเมินผ้เู รยี น นักเรียนจานวน…….คน คดิ เป็นร้อยละ……….. มีผลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดบั 1 (ปรบั ปรงุ ) นักเรียนจานวน…….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……….. มผี ลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดับ 2 (พอใช้) นกั เรียนจานวน…….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……….. มีผลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดบั 3 (ด)ี นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ……….. มผี ลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดบั 4 (ดมี าก) สรุปโดยภาพรวมมีนกั เรียน จานวน………คน คดิ เป็นรอ้ ยละ……….ท่ผี ่านเกณฑร์ ะดับ 2 ขึ้นไป ซง่ึ สูง (ต่า) กวา่ เกณฑท์ ก่ี าหนดไว้ร้อยละ………มนี ักเรียนจานวน……คน คดิ เป็นรอ้ ยละ…… ท่ไี ม่ผา่ นเกณฑท์ กี่ าหนด 15. ข้อสังเกต/ค้นพบ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 16. แนวทางแกไ้ ขปัญหาเพ่อื ปรบั ปรงุ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 17. ผลการพฒั นา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ................................................ (นางสาวจิรชั ญา ชัยธีรธรรม) ผู้สอน

ใบงาน เรอ่ื ง สารละลาย คาช้แี จง : ใหน้ ักเรยี นทาเคร่อื งหมาย √ หน้าขอ้ ทถ่ี กู และทาเครอ่ื งหมาย X หนา้ ข้อทผ่ี ิด ...............1. สารละลายเปน็ ของผสม ...............2. สาละลาย คอื สารเนื้อเดียวที่ไม่บริสุทธิ์ ...............3. สารละลายประกอบด้วยสาร 2 ชนดิ ...............4. สารทไ่ี มล่ ะลายน้า คอื สารละลาย ...............5. สารละลายมี 3 สถานะ คือ ของแขง็ ของเหลว และกา๊ ซ ...............6. สารละลายคือสารท่อี ยู่ในสถานะของเหลวเทา่ นัน้ ...............7. ไอนา้ ในอากาศคอื สารละลายท่ีเปน็ ของเหลว ...............8. การละลายไดข้ องสาร หมายความวา่ รวมเปน็ เนอื้ เดียวกัน ...............9. ตัวละลายต่างชนิดกัน ละลายในน้าไดเ้ หมือนกนั ...............10. การละลายของสารข้ึนอยกู่ บั ชนดิ ของตวั ละลายและตวั ทาละลาย

เฉลยใบงาน เรอ่ื ง สารละลาย คาชแี้ จง : ให้นกั เรยี นทาเครอื่ งหมาย √ หนา้ ข้อที่ถกู และทาเครือ่ งหมาย X หน้าขอ้ ทผ่ี ิด √ 1. สารละลายเป็นของผสม √ 2. สาละลาย คือ สารเน้อื เดยี วที่ไม่บริสทุ ธ์ิ √ 3. สารละลายประกอบดว้ ยสาร 2 ชนิด X 4. สารทไี่ ม่ละลายน้า คอื สารละลาย √ 5. สารละลายมี 3 สถานะ คอื ของแขง็ ของเหลว และก๊าซ X 6. สารละลายคอื สารทีอ่ ย่ใู นสถานะของเหลวเทา่ นน้ั X 7. ไอนา้ ในอากาศคอื สารละลายท่เี ป็นของเหลว √ 8. การละลายไดข้ องสาร หมายความว่า รวมเปน็ เนอื้ เดียวกนั X 9. ตวั ละลายตา่ งชนิดกัน ละลายในน้าได้เหมอื นกัน X 10. การละลายของสารข้ึนอยูก่ บั ชนดิ ของตัวละลายและตวั ทาละลาย

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ สารละลาย ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3.2 สภาพละลายได้และปัจจัยท่ีมีผลต่อสภาพ ล ะ ล า ย ไ ด้ ร หั ส – ชื่ อ ร า ย วิ ช า ว 322102 วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1/2564 เวลา 7 ช่วั โมง ผู้สอน ครจู ริ ชั ญา ชยั ธรี ธรรม โรงเรยี น ราชประชานุเคราะห์ 31 อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกบั โครงสร้างและแรงยดึ เหนย่ี วระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปล่ียนแปลง สถานะของ สสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี ว 2.1 ม.2/6 ตระหนักถึงความสาคัญของการนาความรู้เรื่อง ความเข้มข้นของสารไปใช้โดย ยกตวั อย่างการใช้สารละลายในชีวติ ประจาวนั อยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภัย 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกบั สารละลายอม่ิ ตวั และการนาไปใช้ประโยชน์ได้ (K) 2. นกั เรียนสามารถนาความร้เู ก่ียวกบั ความเข้มขน้ มาใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ (P) 3. นักเรียนสามารถนาความรู้เกี่ยวกับความนักเรียนมีจิตวิทยาศาสตร์และมีทักษะในการทดลอง สงั เกต (A) 3. สาระการเรียนรู้ ปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่ การละลายของสาร ได้แก่ 1. ชนดิ ของตวั ทาละลาย 2. ความเขม้ ข้นของตัวทาละลาย 3. อุณหภูมิ 4. ความดนั 5. พ้ืนทีผ่ วิ ของตวั ละลาย 4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด สภาพละลายไดข้ องสารแตล่ ะชนิดแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ปัจจัยตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. ชนิดของตัวทาละลายและตวั ละลาย ในชีวิตประจา วัน นา้ เปน็ ตัวทา ละลายทถ่ี กู นามา ใช้มากที่สุด นอกจากน้า แล้วยังมีสารอื่นท่ีเป็นตัวทา ละลายด้วย เช่น ทองแดง บิสมัท แก๊ สโพรเพนและ แอลกอฮอล์ ตวั ละลายท่เี ป็นของแข็งบางชนิด เช่น โซเดียมคลอไรด์สามารถละลายได้ดีในตัวทาละลายที่เป็น น้า สารละลายอม่ิ ตวั คือ สารละลายทไ่ี ม่สามารถละลายตวั ละลายไดอ้ ีกต่อไป ณ อุณหภูมิขณะนั้น ซ่ึงถ้า ใสต่ วั ละลายเพมิ่ ลงไปอีก จะเหลือตะกอนอยทู่ กี่ ้นภาชนะ

ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการละลายของสาร ได้แก่ 1. ชนิดของตัวทาละลาย ตัวทาละลายต่างกันมีความสามารถในการละลายต่างกัน เช่น โซเดียมคลอไรด์ ละลายในน้าแต่ไม่ ละลายในแอลกอฮอล์ กามะถนั ละลายในโทลูอนี แตไ่ ม่ละลายในน้า 2. ความเข้มขน้ ของตัวทาละลาย ถ้าตวั ทาละลายมคี วามเข้มขน้ มาก การละลายจะเกิดได้ดี 3. อณุ หภมู ิ ของแข็งและของเหลวสว่ นใหญ่ ความสามารถในการละลายได้จะเพิ่มขึ้นเม่ือ อณุ หภูมิของสารละลายสูงข้ึน เม่ือเพม่ิ อุณหภมู ิ จะทาให้สารเคลื่อนท่ชี นกันได้เรว็ ขน้ึ กวา่ เดิม การละลายจึงเร็ว ขึน้ แตถ่ ้าเปน็ แกส๊ ความสามารถในการละลายได้จะลดลงเมือ่ อณุ หภมู ขิ องสารละลายสูงขนึ้ 4. ความดัน ความสามารถในการละลายไดข้ องแก๊สจะสงู ข้นึ มากเม่อื ความดนั เพ่ิมขึน้ แต่ ความดันมผี ลต่อการละลายของของแข็งและของเหลวเพยี งเลก็ นอ้ ย 5. พ้ืนท่ผี วิ ของตัวละลาย ถา้ ตวั ละลายถกู เพิ่มพ้ืนท่ีผิวดว้ ยการทาใหเ้ ป็นช้ินเลก็ ชิ้นนอ้ ยโดยการ หน่ั หรือบด จะทาใหอ้ ตั ราการละลายของสารเพ่ิมมากข้ึน 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. ความสามารถในการคิด 2. มุ่งมน่ั ในการทางาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงท่ี 1 - 3 ข้นั ท่ี 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู ักทายกับนกั เรียน แลว้ แจ้งจุดประสงค์การเรียนรใู้ ห้นักเรยี นทราบ จากน้ันนักเรยี นทา 2. ครูถามคาถามกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยใช้คาถามจาก หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 และรว่ มกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นอย่างอสิ ระ “ปัจจยั ท่มี ีผลตอ่ การละลายของสาร” 3. นกั เรยี นตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเองก่อนเขา้ สกู่ จิ กรรมการเรยี นการสอน จากการตอบคาถาม ในหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 โดยบันทึกลงในสมุดประจาตัวนกั เรยี น 4. ครูถามคาถาม จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพื่อเป็นการนาเขา้ สู่ บทเรยี นวา่ “สารละลายอิ่มตัว เป็นยังไง” (แนวตอบ : สารละลายท่ีไม่สามารถละลายตัวละลายได้อีกต่อไป ณ อุณหภูมิขณะนั้น ซ่ึงถ้าใส่ตัว ละลายเพิม่ ลงไปอีก จะเหลือตะกอนอยทู่ ีก่ น้ ภาชนะ)

ขนั้ ท่ี 2 สารวจคน้ หา (Explore) 2.1 นักเรยี นทดลองตามใบกิจกรรม เรอื่ ง ปจั จัยท่ีมีผลตอ่ การละลายของสาร โดยครคู อยให้ คาแนะนาในการใช้เครอื่ งมอื และการทากจิ กรรม 2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันศึกษา ใบความรู้ เรื่อง ปัจจยั ทีม่ ีผลตอ่ การละลายของสาร ชวั่ โมงท่ี 4 -6 ขนั้ ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain) 3.1 นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรู้ท่ีได้จากการศึกษาใบกิจกรรมและการทาการทดลองรว่ มกัน 3.2 นกั เรยี นรว่ มกนั เขียนแผนผงั ความคดิ เกย่ี วกบั ปจั จยั ทม่ี ีผลต่อการละลายของสาร จากความรู้ที่ได้ แลว้ นาเสนอหน้าชนั้ ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นซกั ถามเน้ือหาเก่ียวกับ เร่ือง สภาพละลายได้ปัจจัยท่ีมีผลต่อการละลายได้ และใหค้ วามรเู้ พ่ิมเติมจากคาถามของนักเรียน โดยครูใช้ PowerPoint เรื่อง สภาพละลายได้ปัจจัยท่ีมีผลต่อ การละลายได้ ในการอธิบายเพมิ่ เตมิ 2. นักเรียนจับคู่กับเพ่ือนในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ จากนั้นให้นักเรียนแต่ละคู่ร่วมกันทา ใบงาน เร่ือง ปจั จัยที่มผี ลต่อการละลายได้ เมื่อทาเสร็จแล้วนาสง่ ครทู า้ ยช่ัวโมง 3. ครสู ่มุ เลขท่นี ักเรียน จานวน 3 คน ออกมาเขียนคาตอบของตนเองหนา้ ชนั้ เรียน โดยให้เพอื่ นใน ชั้นเรยี นร่วมกนั พจิ ารณาว่าคาตอบถูกต้องหรอื ไม่ จากนนั้ ครเู ฉลยคาตอบท่ถี กู ต้องให้นกั เรียน 4. นกั เรยี นแตล่ ะคนทาแบบฝกึ หดั เร่อื ง สภาพละลายได้ปจั จยั ท่มี ีผลต่อการละลายได้ จากแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เปน็ การบา้ นส่งในชว่ั โมงถดั ไป ชว่ั โมงที่ 7 ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจสอบผลการทาใบกิจกรรม เรอ่ื ง สภาพละลายได้ปัจจยั ทม่ี ีผลตอ่ การละลายได้ 2. ครตู รวจแบบฝกึ หัด เร่ือง สภาพละลายได้ปัจจัยทีม่ ีผลต่อการละลายได้ จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 3. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเก่ียวกับสภาพละลายได้ปัจจัยที่มีผลต่อการละลายได้ ซึ่งได้ข้อสรุป รว่ มกันว่า “ปัจจัยท่มี ีผลต่อการละลายของสาร ได้แก่ 1. ชนดิ ของตัวทาละลาย ตัวทาละลายต่างกันมีความสามารถในการละลายต่างกัน เช่น โซเดียมคลอไรด์ ละลายในน้าแต่ไม่ ละลายในแอลกอฮอล์ กามะถนั ละลายในโทลูอนี แตไ่ ม่ละลายในนา้ 2. ความเขม้ ขน้ ของตวั ทาละลาย ถ้าตวั ทาละลายมคี วามเขม้ ขน้ มาก การละลายจะเกดิ ไดด้ ี 3. อุณหภูมิ ของแขง็ และของเหลวส่วนใหญ่ ความสามารถในการละลายไดจ้ ะเพ่ิมขึน้ เมอ่ื

อุณหภูมิของสารละลายสูงข้ึน เมื่อเพ่ิมอุณหภูมิ จะทาให้สารเคล่ือนทีช่ นกนั ไดเ้ รว็ ขนึ้ กวา่ เดิม การละลายจึงเร็ว ข้นึ แตถ่ า้ เปน็ แก๊ส ความสามารถในการละลายได้จะลดลงเมือ่ อุณหภูมิของสารละลายสูงขึ้น 4. ความดัน ความสามารถในการละลายไดข้ องแกส๊ จะสงู ขึ้นมากเมื่อความดันเพมิ่ ขนึ้ แต่ ความดนั มผี ลต่อการละลายของของแขง็ และของเหลวเพียงเล็กนอ้ ย 5. พ้ืนที่ผิวของตวั ละลาย ถ้าตัวละลายถา้ ตวั ละลายถกู เพ่มิ พน้ื ท่ผี วิ ดว้ ยการทาให้เป็นช้ินเลก็ ชิ้นน้อยโดยการหั่นหรือบด จะทาใหอ้ ัตราการละลายของสารเพ่ิมมากข้ึน” 7. การวัดและประเมนิ ผล รายการวัด วิธีการ เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ - ใบงาน เกณฑ์ร้อยละ 70 % 1. นกั เรยี นสามารถอธิบาย - ตรวจใบงาน - สมุดประจาตัว หรอื แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ เก่ียวกับสารละลายอ่ิมตัว - ตรวจสมุดประจาตวั ม.2 เลม่ 1 เกณฑ์ร้อยละ 70 % และการนาไปใช้ประโยชน์ หรอื แบบฝึกหัด - แบบประเมนิ ทักษะ ผา่ นเกณฑ์ กระบวนการ ได้ (K) วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เกณฑ์รอ้ ยละ 70 % - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ เล่ม 1 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 2. นักเรียนสามารถนา - สงั เกตพฤติกรรมการ ค ว า ม รู้ เ ก่ี ย ว กั บ ค ว า ม ปฏิบัติงานของนกั เรียน เ ข้ ม ข้ น ม า ใ ช้ ใ น ชีวิตประจาวันได้ (P) 3. นักเรี ยนสามารถน า - สังเกตพฤตกิ รรมการ ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม ปฏบิ ตั ิงานของนกั เรียน นักเรียนมีจิตวิทยาศาสตร์ และมีทักษะในการทดลอง สงั เกต (A) 8. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เรื่อง สภาพละลายได้ปจั จัยที่มผี ลต่อการละลายได้ 3) ใบงาน เรอ่ื ง สภาพละลายได้ปัจจยั ทม่ี ีผลต่อการละลายได้ 4) PowerPoint เรอ่ื ง สภาพละลายได้ปัจจัยท่ีมีผลต่อการละลายได้ 5) สมดุ ประจาตวั นักเรยี น 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องสมุด 2) อินเทอรเ์ นต็

9. ขอ้ เสนอแนะ  ใช้สอนได้  ควรปรบั ปรุง ………………………………………………………………………………..……………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 10. บนั ทึกหลังการจัดการเรยี นรู้ ชั้น ................ ความเหมาะสมของกิจกรรม  ดี  พอใช้  ปรับปรุง………………………. ความเหมาะสมของเนอื้ หา  ดี  พอใช้  ปรบั ปรงุ ……………………… ความเหมาะสมของเวลา  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… ความเหมาะสมของส่อื  ดี  พอใช้  ปรบั ปรุง……………………… อ่นื ๆ……………………………………………………………………………………………………... 11. สรุปผลการประเมินผู้เรียนด้านความรู้ นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดับ 1 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรูฯ้ อยู่ในระดับ 2 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดับ 3 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดับ 4 12. สรปุ ผลการประเมินผู้เรียนดา้ นทักษะกระบวนการ นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดับ 1 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มผี ลการเรียนรู้ฯ อย่ใู นระดับ 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรียนร้ฯู อยู่ในระดบั 3 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 4 13. สรปุ ผลการประเมนิ ผเู้ รียนด้านคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 1 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรูฯ้ อยใู่ นระดบั 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดบั 3 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยูใ่ นระดับ 4

14. สรปุ ผลการประเมนิ ผเู้ รยี น นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ……….. มผี ลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดบั 1 (ปรับปรงุ ) นกั เรยี นจานวน…….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……….. มผี ลการเรียนรู้ฯ อย่ใู นระดบั 2 (พอใช้) นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ……….. มีผลการเรียนรฯู้ อยู่ในระดบั 3 (ดี) นักเรยี นจานวน…….คน คดิ เป็นร้อยละ……….. มีผลการเรียนรู้ฯ อยใู่ นระดับ 4 (ดมี าก) สรปุ โดยภาพรวมมีนกั เรยี น จานวน………คน คิดเปน็ รอ้ ยละ……….ที่ผ่านเกณฑ์ระดบั 2 ขน้ึ ไป ซ่งึ สงู (ตา่ ) กว่าเกณฑท์ ี่กาหนดไวร้ ้อยละ………มนี กั เรยี นจานวน……คน คิดเป็นรอ้ ยละ…… ทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ์ทก่ี าหนด 15. ข้อสังเกต/คน้ พบ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 16. แนวทางแกไ้ ขปญั หาเพือ่ ปรบั ปรุง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 17. ผลการพฒั นา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................ (นางสาวจิรัชญา ชัยธีรธรรม) ผู้สอน

ใบความรู้ เรือ่ ง ปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ การละลายของสาร สภาพละลายไดข้ องสารแตล่ ะชนิดแตกต่างกันขึ้นอยกู่ บั ปัจจยั ต่าง ๆ ดังน้ี 1. ชนิดของตวั ทาละลายและตวั ละลาย ในชีวติ ประจา วัน นา้ เป็นตัวทา ละลายทีถ่ ูกนามา ใช้มากท่ีสุด นอกจากน้า แล้วยังมีสารอ่ืนที่เป็นตัวทา ละลายด้วย เช่น ทองแดง บิสมัท แก๊สโพรเพนและ แอลกอฮอล์ ตัวละลายที่เป็นของแข็งบางชนิด เช่น โซเดียมคลอไรด์สามารถละลายได้ดีในตัวทาละลายท่ีเป็น น้า สารละลายอิ่มตวั คอื สารละลายท่ีไมส่ ามารถละลายตัวละลายได้อกี ตอ่ ไป ณ อุณหภูมิขณะนั้น ซึ่งถ้า ใสต่ วั ละลายเพม่ิ ลงไปอีก จะเหลือตะกอนอยู่ทีก่ ้นภาชนะ ปจั จยั ที่มผี ลตอ่ การละลายของสาร ไดแ้ ก่ 1. ชนิดของตวั ทาละลาย ตัวทาละลายต่างกันมีความสามารถในการละลายต่างกัน เช่น โซเดียมคลอไรด์ ละลายในน้าแต่ไม่ ละลายในแอลกอฮอล์ กามะถันละลายในโทลูอีนแตไ่ ม่ละลายในน้า 2. ความเข้มข้นของตวั ทาละลาย ถ้าตวั ทาละลายมคี วามเข้มขน้ มาก การละลายจะเกิดได้ดี 3. อณุ หภูมิ ของแขง็ และของเหลวส่วนใหญ่ ความสามารถในการละลายได้จะเพิ่มขึน้ เมอ่ื อุณหภูมิของสารละลายสงู ขึ้น เมื่อเพ่มิ อณุ หภูมิ จะทาให้สารเคล่ือนทช่ี นกันไดเ้ ร็วขึ้นกวา่ เดิม การละลายจึงเร็ว ขึ้น แตถ่ า้ เป็นแกส๊ ความสามารถในการละลายได้จะลดลงเม่อื อุณหภูมิของสารละลายสงู ข้ึน 4. ความดนั ความสามารถในการละลายไดข้ องแก๊สจะสงู ขน้ึ มากเมอ่ื ความดันเพิ่มข้ึน แต่ ความดนั มผี ลตอ่ การละลายของของแขง็ และของเหลวเพยี งเล็กนอ้ ย 5. พืน้ ทีผ่ ิวของตัวละลาย ถา้ ตวั ละลายถกู เพ่ิมพ้ืนท่ีผวิ ดว้ ยการทาใหเ้ ป็นช้ินเลก็ ชิ้นนอ้ ยโดยการ หนั่ หรือบด จะทาใหอ้ ตั ราการละลายของสารเพ่ิมมากข้ึน

ใบกิจกรรม เรื่อง ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ การละลายของสาร วัน............เดอื น..................................พ.ศ................... กลุ่มท่.ี ...............................................ชั้น..................... 1. ชื่อสมาชกิ กลมุ่ 1. ชื่อ – สกุล ................................................................................................ เลขที่ .................... 2. ช่ือ – สกุล ................................................................................................ เลขท่ี .................... 3. ชื่อ – สกลุ ................................................................................................ เลขท่ี .................... 4. ชอื่ – สกลุ ................................................................................................ เลขท่ี .................... 5. ชอ่ื – สกลุ ................................................................................................ เลขที่ .................... 2. จดุ ประสงค์ของกิจกรรม (ตอนท่ี 2 ตวั ละลายตา่ งชนดิ กนั ละลายในตวั ทาละลายชนดิ เดยี วกนั ) ทดลองและอธิบายการละลายตัวละลายต่างชนดิ ในตัวทาละลายชนิดเดียวกัน 3. อุปกรณ์และสารเคมี 2. สารส้ม สารเคมี 2. แท่งแกว้ 3. ตะเกียงแอลกอฮอล์ 1. น้า 5. เทอร์โมมเิ ตอร์ อปุ กรณ์ 1. บกี เกอร์ 4. ที่ก้นั ลม 4. ข้นั ตอนการทากจิ กรรม 1. ใสน่ า้ ลงในบกี เกอร์ 50 มิลลิลติ ร 2 บกี เกอร์ เติมสารส้มลงไปทัง้ 2 บกี เกอร์ บกี เกอรล์ ะ 5 ชอ้ น โดย บกี เกอรแ์ รกคนช้า ๆ บีกเกอร์ที่ 2 คนเรว็ กวา่ บกี เกอร์แรก บันทกึ เวลาในการละลาย 2. ใส่น้าอุณหภูมิหอ้ งลงในบีกเกอร์แรก บกี เกอร์ท่ี 2 เตมิ นา้ อ่นุ 70 องศาเซลเซยี ส อย่างละ 50 มิลลลิ ิตร เตมิ สารสม้ ท้ัง 2 บกี เกอร์ บีกเกอรล์ ะ 5 ชอ้ น คนช้าๆ บนั ทึกเวลาในการละลาย 3. ใสน่ ้าลงในบกี เกอร์ 50 มลิ ลิลติ ร 2 บีกเกอร์ เติมสารส้มบดละเอยี ดในบีกเกอรแ์ รก และสารสม้ บด หยาบในบีกเกอร์ท่ี 2 บกี เกอร์ละ 5 ช้อน คนชา้ ๆ บันทึกเวลาในการละลาย

5. ตารางบันทกึ ผลการทากจิ กรรม ระยะเวลาในการละลาย (นาท)ี การทดลอง 1. คนสารละลายชา้ ๆ 2. คนสารละลายเร็ว 3. การละลายท่ีอุณหภมู ิห้อง 4. การละลายท่ี 70 องศาเซลเซยี ส 5. การละลายของสารสม้ บดละเอยี ด 6. การละลายของสารสม้ บดหยาบ 6. อภปิ รายผลการทากจิ กรรม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7. สรปุ ผลการทากิจกรรม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. คาถามทา้ ยกจิ กรรม 1. ความเรว็ ในการคนสารมผี ลต่อการละลายของสารหรือไม่ อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………................. .............................................................................................................................................................................. 2. อุณหภูมิมผี ลตอ่ การละลายของสารหรือไม่ อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………................. .............................................................................................................................................................................. 3. ขนาดของตวั ละลายมีผลต่อการละลายของสารหรอื ไม่ อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………................. ..............................................................................................................................................................................

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ สารละลาย ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3.3 ความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละ ร หั ส – ช่ื อ ร า ย วิ ช า ว 322102 วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1/2564 เวลา 7 ชว่ั โมง ผ้สู อน ครูจิรัชญา ชยั ธรี ธรรม โรงเรยี น ราชประชานุเคราะห์ 31 อ.แมแ่ จม่ จ.เชยี งใหม่ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับ โครงสรา้ งและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลง สถานะของ สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี ว 2.1 ม.2/5 ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลายในหน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละปริมาตรต่อ ปรมิ าตรมวลต่อมวลและมวลต่อปรมิ าตร 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถความหมายของความเขม้ ข้นได้ (K) 2. นักเรยี นสามารถคานวณความเขม้ ขน้ ของสารละลายได้ (P) 3. นักเรียนมจี ิตวิทยาศาสตร์และมที กั ษะในการทดลอง สังเกต (A) 3. สาระการเรียนรู้ 1. ความเข้มขน้ ของสารละลาย - สารละลายเข้มข้น - สารละลายเจือจาง - สารละลายอม่ิ ตวั 2. หน่วยของความเข้มขน้ ของสารละลาย - รอ้ ยละโดยมวลต่อปริมาตร - ร้อยละโดยปรมิ าตรต่อปรมิ าตร - รอ้ ยละโดยมวลตอ่ มวล 3. การเตรยี มสารละลาย 4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ความเข้มข้นของสารละลาย เป็นค่าที่บอกให้ทราบถึงปริมาณตัวละลายที่มีใน สารละลาย ว่ามี จานวนมากนอ้ ยเพยี งใด สารละลายเขม้ ข้น คือ สารละลายที่มีปรมิ าณตัวละลายมาก สารละลายเจือจาง คอื สารละลายทีม่ ีปรมิ าณตวั ละลายน้อย สารละลายอิ่มตวั คอื สารละลายท่ไี ม่สามารถละลายตัวละลายไดอ้ ีกตอ่ ไป ณ อุณหภมู ขิ ณะน้นั ซง่ึ ถ้า ใสต่ วั ละลายเพมิ่ ลงไปอีก จะเหลอื ตะกอนอยทู่ ี่กน้ ภาชนะ

5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มีวินัย รบั ผิดชอบ 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชั่วโมงที่ 1 - 3 ขน้ั ที่ 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1.1 ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ เตรียมน้าหวาน โดยใช้น้าหวานเข้มข้นทใ่ี ห้เตรียมมา(นา้ หวานตอ้ ง เปน็ ชนิด เดียวกนั )โดยใหก้ ลุม่ ท่ี 1 – 4 เตรียมดังนี้ กลมุ่ ท่ี 1 นา้ หวาน 20 cm3 ตอ่ นา้ 180 cm3 กลุ่มที่ 2 นา้ หวาน 40 cm3 ตอ่ นา้ 160 cm3 กลุม่ ที่ 3 นา้ หวาน 60 cm3 ต่อน้า 140 cm3 กลมุ่ ท่ี 4 นา้ หวาน 80 cm3 ตอ่ น้า 120 cm3 และให้กลมุ่ ท่ี 5-8 เตรยี มตามกลมุ่ ที่ 1-4 เรยี ง ตามลาดับ 1.2 ใหน้ ักเรียนในกลมุ่ สงั เกตสีและชิมน้าหวานทก่ี ลุ่มของตวั เองผสม จากนัน้ ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ วนไปสังเกตและ ชิมนา้ หวานของเพื่อนในกลมุ่ อ่นื (โดยใหว้ นกลุ่มท่ี 1-4 และกลุ่มที่ 5-8) 1.3 ตัง้ คาถามนกั เรียนวา่ นา้ หวานของกลุ่มใดท่มี ีสีเขม้ และหวานทีส่ ุด (แนวคาตอบคอื กลมุ่ ท่ี ผสมน้าหวาน ในอตั ราสว่ น น้าหวาน 80 cm3 ตอ่ นา้ 120 cm3 ) 1.4 ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ รว่ มกนั ตัง้ คาถามท่ตี นเองมีความสนใจและอยากรู้จากการเตรียม นา้ หวาน 1.5 ครูเลือกคาถามทเ่ี กีย่ วขอ้ งเกยี่ วกบั เรอื่ งความเขม้ ขน้ ของสารละลายเพอ่ื เขา้ สู่บทเรียน โดยท้ิงคาถามไว้ ไม่เฉลย(บอกนกั เรียนว่าจะนาไปเปน็ คาถามเพือ่ เก็บคะแนนหลงั จากเรยี นจบ ขน้ั ท่ี 2 สารวจคน้ หา (Explore) 2.1 นักเรยี นทดลองตามใบกิจกรรม เรอื่ ง ความเข้มข้นของสารละลาย โดยครคู อยให้คาแนะนาใน การใช้เคร่ืองมือและการทากิจกรรม 2.2 นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันศึกษา ใบความรู้ เร่ือง ความเข้มข้นของสารละลาย ชวั่ โมงท่ี 4 - 6 ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain) 3.1 นกั เรียนร่วมกนั สรุปความร้ทู ไี่ ด้จากการศึกษาใบงานและการทาการทดลองร่วมกัน 3.2 นกั เรยี นร่วมกนั เขยี นแผนผังความคิดเกย่ี วความเขม้ ข้นของสารละลายจากความรู้ที่ได้แลว้ นาเสนอหนา้ ช้นั

ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 4.1 ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาเก่ยี วกบั หน่วยของความเข้มขน้ และการคานวณความเข้มข้นจากสือ่ ภาพนิ่งโดยมี เนอ้ื หาโดยสังเขปดงั น้ี - ความเขม้ ข้นของสารละลาย หมายถงึ ปรมิ าณของตัวทาละลายในสารละลาย นยิ มบอกความ เข้มข้นของสารละลายเปน็ ปริมาตร หรือมวลของตวั ละลายในสารละลาย 100 cm3 - สารละลายเขม้ ข้น หมายถึง สารละลายทม่ี ีปรมิ าณตัวละลายมาก - สารละลายเจือจาง หมายถึง สารละลายท่มี ีปริมาณตวั ละลายนอ้ ย - สารละลายอิ่มตัว หมายถงึ สารละลายทม่ี ปี รมิ าณตัวละลายอยู่เตม็ ที่จนไมส่ ามารถละลายไดอ้ ีก ท่ี อุณหภมู ิขณะนนั้ หนว่ ยของความเข้มขน้ ของสารละลาย 1. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร คือ มวลของตัวละลายในสารละลาย 100 cm3 เช่น น้าเช่ือมมีความ เข้มข้นรอ้ ยละ 35 โดยมวลต่อปริมาตร หมายความว่า สารละลาย 100 cm3 มีน้าตาลทราย ละลายอยู่ 35 g 2. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร คือปริมาตรของตัวละลายในสารละลาย 100 cm3 เช่น แอลกอฮอล์มีความเข้มข้นร้อยละ 70 โดยปริมาตร หมายความว่า สารละลาย 100 cm3 มีเอทานอล อยู่ 70 cm3 3. ร้อยละโดยมวลต่อมวล คือ มวลของตัวละลาย 100 g เช่น น้าเกลือมีความเข้มข้นร้อย ละ 30 โดยมวลตอ่ มวล หมายความว่า สารละลาย 100 g มเี กลือละลายอยู่ 30 g 4.2 ให้นกั เรยี นดสู อ่ื วีดีโอเร่อื ง นาเกลอื และเกลอื สนิ เธาวจ์ าก http://www.youtube.com/watch?v=QSmgrObDzPc , http://fieldtrip.ipst.ac.th/intro_content.php?content_id=7 และ http://www.youtube.com/watch?v=j9iwylfciDE 4.3 .ใหน้ ักเรียนรว่ มกันคิดวา่ สามารถนาความรู้เรื่องความเข้มขน้ ของสารละลายไปใช้ ประโยชนใ์ น ชีวติ ประจาวนั อะไรได้บา้ งเปน็ การบา้ นโดยสามารถศึกษาเพ่ิมเติมจาก หอ้ งสมุด หรอื จากเว็ปไซต์ ชว่ั โมงท่ี 7 ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 5.1 ครูตั้งคาถาม “การเตรียมน้าหวานในตอนแรกเป็นการเตรียมสารละลายในหน่วยความ เข้มข้น ใด” โดยครูให้คะแนนสาหรับคนที่ตอบคาถามได้ถูกต้องเป็นคนแรก เพ่ือเป็นการกระตุ้นความ สนใจของ นักเรยี น 5.2 ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั คานวณความเขม้ ขน้ ของเกลือจากการทดลองในกิจกรรมที่ 1 ตอนท่ี 1 5.3 ให้นักเรียนแต่ละคนเขียนเรียงความเรื่อง “น้าอัดลมที่ฉันชอบ หวานน้ีดีหรือไม่” เป็น การบ้าน เพื่อให้นักเรียนศกึ ษาเรอ่ื งความเข้มขน้ ของนา้ ตาลในน้าอัดลม และประโยชน์และโทษของ น้าตาลในน้าอัดลม และเป็นการประเมินความร้เู กี่ยวกับความเขม้ ขน้ ทีน่ ักเรยี นได้รบั จากการเรยี นรู้ 5.4 ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นด้านพทุ ธิพิสัย 5.5 ให้นกั เรียนสรปุ ความรทู้ ีไ่ ด้รว่ มกบั กลมุ่ แล้วบนั ทึกลงในสมุด

5.6 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคะแนนจติ วิทยาศาสตร์ จาก เกณฑ์การให้ คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วิธกี าร เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนสามารถ - ตรวจใบกิจกรรม - ใบกิจกรรม เกณฑร์ ้อยละ 70 % คว า มห ม า ยข อ ง ค ว า ม - ตรวจสมุดประจาตัว - สมดุ ประจาตัว หรือ ผ่านเกณฑ์ เข้มขน้ ได้ (K) หรือแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ม.2 ม.2 เล่ม 1 เลม่ 1 2. นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ - สังเกตพฤติกรรมการ - แบบประเมินทกั ษะ เกณฑ์ร้อยละ 70 % คานวณความเข้มข้นของ ปฏิบัตงิ านของนกั เรยี น กระบวนการ ผ่านเกณฑ์ สารละลายได้ (P) 3. นักเรียนมีจิตวทิ ยา - สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมนิ เกณฑร์ ้อยละ 70 % ผา่ นเกณฑ์ ศาสตรแ์ ละมีทกั ษะในการ ปฏบิ ัติงานของนักเรียน คณุ ลกั ษณะอนั พึง ทดลอง สังเกต (A) ประสงค์ 8. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 2) แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เรอ่ื ง ความเข้มข้นของสารละลายในหนอ่ ยรอ้ ยละ 3) ใบกจิ กรรม เรือ่ ง ความเข้มขน้ ของสารละลายในหน่อยร้อยละ 4) PowerPoint เรอื่ ง ความเข้มขน้ ของสารละลายในหน่อยร้อยละ 5) สมดุ ประจาตัวนักเรยี น 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) อินเทอรเ์ น็ต 9. ขอ้ เสนอแนะ  ใช้สอนได้  ควรปรบั ปรุง ………………………………………………………………………………..……………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

10. บันทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ ช้นั ................ ความเหมาะสมของกจิ กรรม  ดี  พอใช้  ปรับปรุง………………………. ความเหมาะสมของเน้อื หา  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… ความเหมาะสมของเวลา  ดี  พอใช้  ปรบั ปรงุ ……………………… ความเหมาะสมของสื่อ  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… อนื่ ๆ……………………………………………………………………………………………………... 11. สรปุ ผลการประเมินผู้เรยี นด้านความรู้ นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยูใ่ นระดบั 1 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดบั 3 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มีผลการเรียนรูฯ้ อยใู่ นระดบั 4 12. สรปุ ผลการประเมินผเู้ รียนด้านทักษะกระบวนการ นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยู่ในระดบั 1 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดับ 2 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดับ 3 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรยี นร้ฯู อยู่ในระดับ 4 13. สรปุ ผลการประเมนิ ผเู้ รยี นดา้ นคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดับ 1 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยูใ่ นระดับ 2 นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อย่ใู นระดับ 3 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดบั 4 14. สรุปผลการประเมินผเู้ รียน นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……….. มผี ลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 1 (ปรบั ปรุง) นกั เรียนจานวน…….คน คดิ เป็นร้อยละ……….. มีผลการเรยี นรู้ฯ อย่ใู นระดับ 2 (พอใช)้ นกั เรียนจานวน…….คน คดิ เป็นร้อยละ……….. มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยู่ในระดบั 3 (ด)ี นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……….. มีผลการเรยี นรฯู้ อยูใ่ นระดบั 4 (ดมี าก) สรปุ โดยภาพรวมมีนกั เรยี น จานวน………คน คิดเป็นร้อยละ……….ท่ีผ่านเกณฑร์ ะดบั 2 ขนึ้ ไป ซ่งึ สูง (ตา่ ) กว่าเกณฑ์ทกี่ าหนดไวร้ ้อยละ………มีนักเรียนจานวน……คน คิดเป็นร้อยละ…… ท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์ทกี่ าหนด

15. ขอ้ สงั เกต/ค้นพบ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 16. แนวทางแกไ้ ขปญั หาเพอ่ื ปรบั ปรงุ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 17. ผลการพฒั นา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................ (นางสาวจริ ัชญา ชยั ธรี ธรรม) ผู้สอน

ใบความรู้ เรือ่ ง ความเข้มข้นของสารละลาย ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย เป็นค่าท่ีบอกให้ทราบถึงปริมาณตัวละลายท่มี ีในสารละลาย วา่ มี จานวนมากน้อยเพยี งใด สารละลายเขม้ ขน้ คือ สารละลายท่มี ปี รมิ าณตัวละลายมาก สารละลายเจือจาง คือ สารละลายทมี่ ีปริมาณตัวละลายน้อย สารละลายอิ่มตวั คือ สารละลายท่ีไม่สามารถละลายตัวละลายได้อีกต่อไป ณ อุณหภมู ขิ ณะนน้ั ซ่งึ ถ้าใส่ตวั ละลายเพิ่มลงไปอกี จะเหลือตะกอนอยูท่ กี่ น้ ภาชนะ สารละลายอ่มิ ตัว หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถกู ละลายอยเู่ ต็มท่ี จนไมส่ ามารถละลายตอ่ ไปได้ อีกแลว้ ณ อุณหภูมิขณะนั้น สารละลายไม่อิ่มตวั หมายถึง สารละลายท่ีตวั ถูกละลายสามารถจะละลายในตัวทาละลายไดอ้ ีก การบอกความเขม้ ขน้ ของสารละลายแสดงด้วยหน่วยรอ้ ยละ ดงั น้ี 1. ร้อยละโดยมวล เป็นการบอกมวลของตวั ละลายเปน็ กรัมในสารละลาย 100 กรมั เช่น สารละลายน้าตาลเข้มข้นร้อยละ 10 โดยมวล หมายความว่า มีน้าตาล 10 กรัม ละลายอยู่ในสารละลายน้าตาล 100 กรัม หรือสารละลาย น้าตาลประกอบด้วยน้าตาล 10 กรัม ละลายอยู่ในน้า 90 กรัม (100-10 = 90) [ การใช้หน่วยของมวลเป็น กรมั เขียนสัญลกั ษณ์ คือ g ] 2. รอ้ ยละโดยปริมาตร เป็นการบอกปริมาตรของตัวละลายเป็นลูกบาศก์เซนติเมตรในสารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร เช่น สารละลายเอทานอลในน้าเข้มขน้ รอ้ ยละ 15 โดยปรมิ าตร หมายความว่า สารละลายเอทานอลในน้า 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีเอทานอลละลายอยู่ 15 ลูกบาศก์เซนติเมตร ดังน้ันจึงมีน้าซ่ึงเป็นตัวทาละลาย 85 ลูกบาศก์เซนติเมตร (100-15 = 85) [ การใชห้ นว่ ยของปริมาตรเป็น ลกู บาศก์เซนติเมตร เขยี นสญั ลกั ษณ์ คือ cm3 ] 3. ร้อยละโดยมวลตอ่ ปรมิ าตร เป็นการบอกมวลตัวละลายเป็นกรัมในสารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร เช่น สารละลายยูเรีย เข้มข้น ร้อยละ 25 โดยมวลต่อปริมาตร หมายความว่า สารละลายยูเรีย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มียูเรีย ละลายอยู่ 25 กรัม [ การใชห้ นว่ ยของมวลเป็น กรัม เขยี นสัญลักษณ์ คือ g และ การใช้หน่วยของปริมาตรเป็น ลูกบาศก์ เซนติเมตร เขียนสัญลกั ษณ์ คือ cm3 ]

ใบกจิ กรรม เร่อื ง ความเขม้ ข้นของสารละลาย ปญั หา ....................................................................................................................................................... สมมตฐิ าน…………………………………………………………………………………………………………………………..…… จุดประสงค์ 1. ใหน้ ักเรียนเกดิ ความเข้าใจเก่ียวกับความเข้มข้นของสารละลาย 2. ใหน้ ักเรยี นสามารถเตรยี มสารละลายที่มีความเขม้ ข้นตา่ งๆได้ อุปกรณ์ 2. แก้วนา้ 5 ใบ 1. เครอื่ งชง่ั 4. ชอ้ นตักสาร (ช้อนโยเกริ ต์ ) 2 อัน 3. กระบอกตวง 100 cm3 2 อัน 6. น้าสะอาด 5. เกลอื (หมายเหตุ : ควรใช้อุปกรณใ์ หม่แล้วล้างให้สะอาด เนอื่ งจากต้องมกี ารชิม หรือสามารถปรบั เปลีย่ นอปุ กรณ์อื่น ตามความเหมาะสมและปลอดภัย) วิธีการทดลอง ตอนที่ 1 1. ให้นกั เรยี นเตรยี มแกว้ 5 ใบ โดยติดหมายเลขระบุเลข 1-5 2. ตวงน้าสะอาด 100 cm3 ใส่ลงในแกว้ ใบที่ 1 ชมิ และบนั ทกึ ผล 3. ชัง่ เกลือ 5 กรัม ใสล่ งในแกว้ ใบท่ี 2 เทน้าลงไป 50 cm3 คนใหล้ ะลายจากนั้นเทลงในกระบอกตวง อีก อัน จากน้นั นานา้ เลก็ นอ้ ยลา้ งแกว้ ที่ใชล้ ะลายเกลอื เทลงในกระบอกตวง จากน้ันเตมิ น้าลงในกระบอกตวง จนน้ามปี ริมาตรเป็น 100 cm3 เทคืนลงในแก้วใบท่ี 2 ชิมและบันทกึ ผล 4. ทาซา้ ตามขอ้ 3 โดยชั่งเกลอื 10 , 15 , 20 กรมั ลงในแกว้ ใบท่ี 3 , 4 , 5 ตามลาดบั ชิมและบนั ทึก ผล ตอนท่ี 2 1. ให้นกั เรยี นเติมเกลอื เพิม่ ลงในแกว้ ใบที่ 5 คร้งั ละ 5 กรัม สงั เกตการละลายของเกลอื ใหเ้ ติมลง ไป เรอ่ื ยๆจนเกลือไมล่ ะลาย บนั ทึกผล (ขอ้ ควรระวงั 1. ในการชิมสารละลายเกลือนกั เรียนไม่ควรกลืนน้าเกลอื เมอ่ื ชมิ แล้วควรบว้ นทิง้ แลว้ ล้างปาก ทุกครั้ง 2. ครูตอ้ งบอกนกั เรยี นวา่ ในการทดลองนักเรยี นไม่ควรวดั ผลการทดลองจากการชิมเพราะ สารเคมี มีอนั ตราย แตใ่ นการทดลองนี้เป็นการใชเ้ กลือจึงสามารถชมิ ได)้

ผลการทดลอง ผลการทดลอง(การชมิ ) ตอนที่ 1 นา้ หนกั เกลอื (กรมั ) น้าเปลา่ 5 กรมั 10 กรมั 15 กรมั 20 กรมั ตอนท่ี 2 ผลการทดลอง(การละลายของเกลือ) นา้ หนักเกลอื ทเี่ พม่ิ (กรมั ) 5 กรัม 10 กรมั 15 กรมั 20 กรมั 25 กรัม 30 กรัม คาถามทา้ ยการทดลอง 1. จากการทดลองสารทีเ่ ป็นตวั ละลายคอื .................................................................................................................................. สารทีเ่ ป็นตวั ทาละลายคือ ......................................................................................................................................................... 2. สารละลายในแกว้ ใบทเี่ ทา่ ใดที่มีความเคม็ มากที่สุด นกั เรียนคิดวา่ เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................... ............................................................................................................................. ................................................... 3. นกั เรียนคิดวา่ เพราะเหตุใดเมื่อเติมเกลอื มากข้ึนจนถึงจุดหน่ึงเกลอื จึงไมส่ ามารถละลายไดอ้ ีก ............................................................................................................................. ................................................... ....................................................................................................................................................................... ......... .......................................................................................................................... ...................................................... ............................................................................................................................. ................................................... ....................................................................................................................................................... ........................

อภิปรายผลการทดลอง ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................... ............................................................................................................................. ................................................... ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................... สรุปผลการทดลอง ............................................................................................................................. ................................................... .............................................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................... .............................................................................................................................................. .................................

แบบฝกึ หดั เรือ่ ง การเตรยี มสารละลายในความเข้มข้นตา่ ง ๆ ช่ือ......................................……นามสกลุ ………...................................ช้นั ..................เลขท่.ี ................... 1. เมื่อเติมเอทานอลจ านวน 50 cm3 ในน้ ากลน่ั 150 cm3 สารละลายท่ไี ดม้ คี วามเขม้ ขน้ ร้อยละโดยปริมาตร เป็นเท่าไร วธิ ีท า 2. เมื่อผสมน้ าตาลกลูโคส 15 g ในน้ า 60 g จงค านวณหาความเขม้ ขน้ เป็นร้อยละโดยมวล วธิ ีท า 3. น้ าสม้ สายชู 50 g มกี รดแอซิติก ละลายอยู่ 2.2 g ถา้ น้ าส้มสายชูมคี วามหนาแน่น 1.13 g/ cm3 จง ค านวณหาความ เขม้ ขน้ ของน้ าสม้ สายชูน้ี เป็นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร วธิ ีท า 4. ถา้ ตอ้ งการเตรียมสารละลายยเู รีย เขม้ ขน้ ร้อยละ 15 โดยมวลต่อปริมาตร จ านวน 500 cm3 จะตอ้ งใชย้ เู รีย กี่กรัม วิธีท า 5. ถา้ ตอ้ งการทองเหลือง จ านวน 2 kg จะตอ้ งใชท้ องแดง และสังกะสีอยา่ งละกี่กรัม ถา้ ทองหลืองท่ีตอ้ งการ เตรียม มี ทองแดง 65 % และสงั กะสี 35% โดยมวล วธิ ีทา

เฉลยแบบฝึกหัด เรื่องการเตรียมสารละลายในความเขม้ ข้นต่าง ๆ 1. วธิ ีทา มวลของสารละลาย = มวลของน้า + มวลของนา้ ตาลกลโู คส = 60 + 15 =75 g ในสารละลายกลโู คส 75 g มกี ลโู คสละลายอยู่ = 15g ถ้าในสารละลายกลโู คส 100 g มีกลูโคสละลายอยู่ = 15 × 100 = 20 g ตอบ สารละลายกลูโคสเข้มข้นร้อยละ 20 โดยมวล 2. วธิ ที า ปรมิ าตรของสารละลาย = ปรมิ าตรของเอทานอล+ปรมิ าตรของน้ากลน่ั = 50 + 150 = 200 cm3 ในสารละลายเอทานอล 200 cm3 มเี อทานอลละลายอยู่ =50 cm3 ถ้าในสารละลายกลูโคส 100 cm3 มีเอทานอลละลายอยู่ =50 × 100 = 25 cm3 ตอบ สารละลายเอทานอลเขม้ ข้นรอ้ ยละ 25 โดยปรมิ าตร 3. วิธีทา เพราะความหนาแนน่ = มวลปรมิ าตร หรือ ปริมาตร = มวลความหนาแนน่ ดงั น้นั ปรมิ าตรของสารละลาย (น้าส้มสายชู) = 50 = 44.25 ในนา้ สม้ สายชู 44.25 cm3 มีกรดแอซิตกิ ละลายอยู่ = 2.2 g ถา้ ในนา้ สม้ สายชู 100 cm3 มกี รดแอซิติกละลายอยู่ = 2.2 X 100 = 4.97 g ตอบ นา้ ส้มสายชูเข้มขน้ ร้อยละ 4.97 โดยมวลต่อปริมาตร 4. วิธีทา สารละลายยูเรียเขม้ ข้นร้อยละ 15 โดยมวลตอ่ ปรมิ าตร หมายความว่าในสารละลาย 100 cm3 มี ยูรียละลายอยู่ = 15 g ถ้าในสารละลาย 500 cm3 จะมียูเรยี ละลายอยู่ 15 X 500 = 75 g ตอบ จะตอ้ งใช้ยเู รยี 75 กรมั 5. วิธที า ทองหลือง 100 g มีทองแดง 65 g และมีสังกะสี 35 g ทองแดง 2×100 g มที องแดง = 65 X 2,000 = 1,300 g สังกะสี 2×100 g มีทองแดง = 35 X 2,000 = 700 g ตอบ ต้องใชท้ องแดง 1,300 g และสงั กะสี 700 g

ใบงาน เรือ่ ง การละลายความเขม้ ข้นของสารละลาย คาชีแ้ จง จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ีด้วยความคิดเหน็ ของนักเรียนเอง ตารางแสดงปริมารสารท่ีละลายได้มากที่สดุ หลอดที่ ชนดิ สารตัวละลาย ปรมิ ารสารทล่ี ะลายมากทส่ี ดุ (กรมั ) ปริมาณของนา้ ในหลอด (cm3) 1 ก 4 50 2 ข 5 50 3 ค 3 60 4 ง 5 20 1. จากข้อมลู ดงั กล่าวสารทมี่ ีความสามารถในการละลายน้าได้นอ้ ยทีส่ ดุ คอื .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ถ้าเพ่มิ ปริมาณน้าในหลอดท่ี 2 เปน็ 200 cm 3 จะตอ้ งเพิ่มสารให้ละลายเพ่ิมได้อีกกี่กรมั ณ อณุ หภมู ิ เดยี วกัน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. สารละลาย ค มคี วามเข้มข้นร้อยละเทา่ ไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

1. สาร ค. เฉลยกิจกรรมใบงาน 2. วิธคี ดิ เรอ่ื ง การละลายความเข้มข้นของสารละลาย 3. วิธีคิด สาร ข มนี า้ 50 cm 3 มีสารละลายอยู่ 5 g ถา้ เพม่ิ สาร ข ใหม้ ีน้าเปน็ 200 cm 3 มสี ารละลายอยู่ = 5 / 50 x 200 = 20 จะตอ้ งเติมสารลงไปอกี 20 – 5 = 15 กรัม สาร ค มนี ้า 60 cm 3 มสี ารละลายอยู่ 3 g สาร ค มีน้า 100 cm 3 มีสารละลายอยู่ 3 / 60 x 100 = 5g สารละลาย ค มีความเขม้ ข้นรอ้ ยละ 5g (5g / 100 cm3 )