Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 ม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 ม.2

Published by ๋Jiratchaya Chaitheeratham, 2021-05-06 08:51:19

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 1 ม.2

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนการสอน หน่วยทื่ 1 วชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว 22101 กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 จัดทำโดย นำงสำวจิรชั ญำ ชัยธีรธรรม ตำแหนง่ พนักงำนรำชกำร โรงเรียนรำชประชำนเุ ครำะห์ 31 ตำบลชำ่ งเค่ิง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ สำนักบริหำรงำนกำรศึกษำพิเศษ สำนักงำนกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 หน่วยการเรียนรู้ ระบบร่างกายมนุษย์ ช่ือแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1.1 ระบบหมุนเวียนเลือด ร หั ส – ช่ื อ ร า ย วิ ช า ว 322102 วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1/2564 เวลา 5 ช่วั โมง ผสู้ อน ครูจริ ัชญา ชัยธรี ธรรม โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 31 อ.แมแ่ จม่ จ.เชยี งใหม่ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่างๆของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กันรวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 1.2 ม.2/6 บรรยายโครงสร้างและหนา้ ทขี่ องหัวใจ หลอดเลอื ดและเลอื ด ว 1.2 ม.2/7 อธบิ ายการทางานของระบบหมนุ เวียนเลอื ดโดยใชแ้ บบจาลอง ว 1.2 ม.2/8 ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจขณะปกติ และหลงั ทากิจกรรม ว 1.2 ม.2/9 ตระหนักถงึ ความสาคัญของระบบหมุนเวียนเลือดโดยการบอกแนวทางในการดแู ลรักษา อวยั วะในระบบหมุนเวียนเลอื ดใหท้ างานเปน็ ปกติ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการทางานของระบบหมุนเวยี นเลือดได้ (K) 2. ทักษะการทางานกลมุ่ (P) 3. มคี วามตัง้ ใจ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ หัวใจจะทาหน้าที่สูบฉีดเลือดท่ีมีออกซิเจนสูงส่งไปตามเซลล์ต่างๆท่ัวร่างกาย และนาเลือดท่ีมี คาร์บอนไดออกไซด์สูงกลับมาทห่ี ัวใจ เพื่อนาไปฟอกท่ปี อด 4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ระบบหมนุ เวยี นเลือดของมนษุ ย์ประกอบด้วย หวั ใจ หลอดเลอื ดและเลอื ด หวั ใจทาหน้าที่สูบฉีด เลือด มี 4 หอ้ ง หลอดเลือดท่ีนาเลือดออกจากหัวใจเรียกว่า อาร์เทอรี และหลอดเลือดที่นาเลือดเข้าสู่หัวใจเรียกว่า เวน อาร์เทอรีและเวน เชื่อมต่อกันโดยหลอดเลือดฝอยซ่ึงแทรกอยู่ตามเซลล์ท่ัวร่างกาย ขณะที่หัวใจบีบและ คลายตัวทาให้เกิดเป็นความดัน 2 ค่า ซ่ึงสามารถวัดได้ เลือดประกอบด้วย น้าเลือดเซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์ เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลอื ด

5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียนและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1.ใฝเ่ รียนรู้ 2. ความสามารถในการคดิ 2. มงุ่ ม่นั ในการทางาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ข้ันนา ขัน้ ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) นักเรยี นและครูสนทนาร่วมกนั โดย ครตู ั้งประเดน็ คาถาม ให้นักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายดังนี้ - สารท่ไี ด้จากการย่อยในระบบย่อยอาหารจะไปยงั เซลล์ต่าง ๆ ทวั่ ร่างกายได้อยา่ งไร - ระบบหมนุ เวียนเลือดมคี วามสาคัญกับรา่ งกายอย่างไร - ระบบหมนุ เวยี นเลือดมกี ารทางานสัมพันธก์ ับอวัยวะในร่างกายใดบ้าง - เราจะสามารถตรวจสอบการทางานของหัวใจได้อย่างไร ขนั้ สอน ขน้ั ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) 1. นักเรยี นสารวจบริเวณเก้าอี้นงั่ ของนักเรียนมแี ผน่ ภาพปรศิ นา สงั เกตและพิจารณาชน้ิ สว่ นแผน่ ภาพปริศนา ดังกล่าว 2. นกั เรียนนาชิ้นสว่ นของแผน่ ภาพปรศิ นามาต่อกับแผ่นภาพปริศนาของเพอ่ื นร่วมชั้น โดยนักเรียนจะ สามารถแบ่งกล่มุ ไดจ้ ากกจิ กรรมดงั กลา่ ว เป็น 6 กลมุ่ กลุ่มละ 6 คน ขน้ั ที่ 3 ขนั้ สงั เคราะหค์ วามรู้ ข้ันนา ขัน้ ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain) กจิ กรรม ว่ิง วงิ่ ในวงั วนเลือด 1. นักเรยี นแบง่ กลุ่มเป็น 2 กลุ่มใหญ่ โดยรวมกลุ่ม 3 กล่มุ เข้าด้วยกัน 2. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มออกแบบโครงสรา้ งระบบไหลเวียนเลือดของมนษุ ย์ โดยใช้ตัว นกั เรียนทุกคนในกลมุ่ เป็นสว่ นหนึ่งของโครงสรา้ ง (ออกแบบวา่ นกั เรยี นคนใดอยตู่ าแหน่งไหนและทาหนา้ ที่ เป็นส่งิ ใดในระบบไหลเวยี นเลือดของมนุษย)์ ขั้นที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 16. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรยี นซักถามเนอ้ื หาเกย่ี วกบั เรือ่ ง ระบบหมนุ เวยี นโลหติ และให้ความรู้เพม่ิ เตมิ จากคาถามของนักเรยี น โดยครใู ช้ PowerPoint ในการอธิบายเพ่ิมเตมิ

17. นกั เรยี นจบั ค่กู ับเพ่อื นในชน้ั เรยี น ตามความสมคั รใจ จากนั้นใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคู่ร่วมกนั ทา ใบงาน เรื่อง ระบบหมุนเวยี นโลหติ เมอื่ ทาเสรจ็ แล้วนาสง่ ครทู ้ายช่ัวโมง 18. ครูสุม่ เลขที่นักเรียน จานวน 3 คน ออกมาเขียนคาตอบของตนเองหน้าช้ันเรยี น โดยให้เพ่อื นใน ชน้ั เรยี นรว่ มกันพิจารณาว่าคาตอบถกู ต้องหรอื ไม่ จากนั้นครเู ฉลยคาตอบทีถ่ ูกต้องให้นกั เรยี น ขัน้ สรุป ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรยี นกลุม่ ที่ 1 ทดลองสรา้ งโครงสร้างระบบไหลเวียนเลือดของมนุษย์ ตามท่ีไดอ้ อกแบบและ วางแผนมาในขัน้ ตอนขา้ งต้น 2. นักเรยี นกลุม่ ที่ 2 ให้สงั เกตและวเิ คราะหโ์ ครงสร้างระบบไหลเวียนเลือดของกลมุ่ ท่ี 1 แล้ววางแผน เส้นทางไหลเวียนของเลอื ด โดยนกั เรียนกลมุ่ ท่ี 2 จะต้องแทนตวั เองเปน็ เซลล์เม็ดเลอื ด ที่จะต้องวิ่งไหลเวียนใน โครงสร้างระบบไหลเวยี นเลอื ดของนักเรยี นกลมุ่ ท่ี 1 3. ปฏบิ ตั ิขั้นตอนท่ี 1, 2 อกี คร้งั โดยสลบั กลุ่มเป็นกล่มุ ท่ี 1 จะต้องแทนตัวเองเปน็ เซลล์เม็ดเลือด ที่ จะต้องวิง่ ไหลเวยี นในโครงสร้างระบบไหลเวียนเลือดของนกั เรยี นกลมุ่ ที่ 2 4. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มปรับปรุงแกไ้ ข โครงสร้างระบบไหลเวยี นเลอื ดของกล่มุ ตัวเอง และปรกึ ษาแนว ทางการแทนตวั เองเป็นเซลลเ์ ม็ดเลอื ดทีจ่ ะตอ้ งวงิ่ เป็นวงจรระบบไหลเวยี นเลือด ให้ถูกต้องและรวดเร็วท่ีสดุ . รอบแข่งขนั 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวดั วธิ กี าร เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ - ใบงาน เกณฑร์ ้อยละ 70 % 1. อธิบายการทางานของ - ตรวจใบงาน - สมุดประจาตวั หรือ แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ ระบบหมุนเวียนเลือดได้ - ตรวจสมุดประจาตวั ม.2 เลม่ 1 เกณฑร์ อ้ ยละ 70 % (K) หรอื แบบฝึกหัด - แบบประเมินทกั ษะ ผ่านเกณฑ์ กระบวนการ วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 2. ทักษะการทางานกลุ่ม - สงั เกตพฤตกิ รรมการ (P) ปฏบิ ัตงิ านของนักเรยี น 3. มคี วามต้งั ใจ (A) - สงั เกตพฤติกรรมการ - แบบประเมิน เกณฑ์ร้อยละ 70 % ปฏิบัติงานของนักเรยี น คุณลักษณะอนั พงึ ผ่านเกณฑ์ ประสงค์ 8. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 2) แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เรื่อง ระบบหมนุ เวยี นโลหิต

3) ใบงาน เรอ่ื ง ระบบหมุนเวียนโลหติ 4) PowerPoint เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต 5) สมดุ ประจาตวั นักเรียน 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องสมดุ 2) อนิ เทอร์เนต็ 9. ข้อเสนอแนะ  ใช้สอนได้  ควรปรับปรุง ………………………………………………………………………………..……………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 10. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้ ชน้ั ................  พอใช้  ปรบั ปรุง………………………. ความเหมาะสมของกิจกรรม  ดี ความเหมาะสมของเน้อื หา  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… ความเหมาะสมของเวลา  ดี  พอใช้  ปรับปรงุ ……………………… ความเหมาะสมของสื่อ  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… อน่ื ๆ……………………………………………………………………………………………………... 11. สรปุ ผลการประเมินผเู้ รยี นด้านความรู้ นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มีผลการเรียนรูฯ้ อยใู่ นระดับ 1 นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดบั 2 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดบั 3 นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดบั 4 12. สรุปผลการประเมนิ ผู้เรียนด้านทักษะกระบวนการ นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มผี ลการเรียนรูฯ้ อยใู่ นระดับ 1 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดับ 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มผี ลการเรียนร้ฯู อยใู่ นระดบั 3 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มีผลการเรียนรฯู้ อยูใ่ นระดับ 4

13. สรุปผลการประเมินผ้เู รียนด้านคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยู่ในระดบั 1 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มีผลการเรียนรู้ฯ อยใู่ นระดับ 2 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดบั 3 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรียนร้ฯู อยใู่ นระดับ 4 14. สรุปผลการประเมินผ้เู รยี น นักเรียนจานวน…….คน คดิ เป็นร้อยละ……….. มีผลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดบั 1 (ปรบั ปรุง) นักเรียนจานวน…….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……….. มผี ลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดบั 2 (พอใช้) นกั เรียนจานวน…….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……….. มีผลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดับ 3 (ดี) นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ……….. มผี ลการเรียนรู้ฯ อย่ใู นระดับ 4 (ดมี าก) สรุปโดยภาพรวมมีนกั เรียน จานวน………คน คดิ เป็นรอ้ ยละ……….ทีผ่ า่ นเกณฑ์ระดบั 2 ขึ้นไป ซง่ึ สูง (ต่า) กวา่ เกณฑท์ ก่ี าหนดไว้ร้อยละ………มนี ักเรียนจานวน……คน คดิ เป็นรอ้ ยละ…… ท่ไี ม่ผา่ นเกณฑท์ กี่ าหนด 15. ข้อสังเกต/ค้นพบ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 16. แนวทางแกไ้ ขปัญหาเพ่อื ปรบั ปรงุ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 17. ผลการพฒั นา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ................................................ (นางสาวจริ ัชญา ชัยธีรธรรม) ผู้สอน

ใบความรู้ เร่อื ง ระบบหมนุ เวยี นโลหิต ระบบไหลเวียนเลอื ดของมนษุ ยเ์ ป็นแบบระบบปดิ ซ่ึงมีหวั ใจทาหนา้ ท่ีเปน็ อวัยวะสาคญั ท่สี ุด หวั ใจของ มนษุ ย์มขี นาดเทา่ กบั กาปน้ั ของผู้ทเ่ี ป็นเจ้าของมที ้ังหมด 4 ห้อง คือ ห้องบน 2 ห้อง และหอ้ งลา่ ง 2 ห้อง ทา หน้าท่ีสบู ฉีดเลือดท่มี ีออกซิเจนสูงผา่ นหลอดเลือดเพื่อไปเลี้ยงเซลลต์ า่ ง ๆ ท่ัวรา่ งกายอยา่ งเปน็ ระบบมนุษย์ ปกติหัวใจจะเต้นนาทีละ 72 คร้ัง เลือดจะผ่านหวั ใจประมาณ 75 ลูกบาศก์เซนตเิ มตรตอ่ การเตน้ 1 ครงั้ หลอดเลอื ดนำเลอื ดจำกหวั ใจไป หลอดเลอื ดนำเลือดที่มี ยงั ปอด เพ่ือรบั ออกซเิ จนที่ปอด ออกซิเจนไปเลยี้ งศีรษะ และสว่ นตำ่ ง ๆ ของรำ่ งกำย หลอดเลอื ดนำเลือดจำกศรี ษะ หลอดเลอื ดรบั เลอื ดที่มอี อกซเิ จนจำกปอด และรำ่ งกำยเขำ้ สหู่ วั ใจ หวั ใจหอ้ งบนขวำ ลนิ้ หวั ใจ หวั ใจหอ้ งลำ่ งขวำ ลนิ้ หวั ใจ กลำ้ มเนือ้ หวั ใจ ขณะหัวใจบีบตัว เลือดจะถูกดันออกไปตามหลอดเลือดแดงด้วยความดันสูง เพ่ือให้เลือดเดินทางไปสู่ ส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ท่ัวถึง มีผลทาให้หลอดเลือดขยายตัว เม่ือเลือดผ่านไปแล้วหลอดเลือดจะกลับคืนสู่ สภาพเดมิ ถา้ เราใชน้ ิว้ มอื กดท่หี ลอดเลอื ด เชน่ บริเวณข้อมือหรือบริเวณคอ จะรู้สึกถึงการขยายตัวและหดตัว ของหลอดเลือด หรือท่ีเรียกว่า ชีพจร (pulse) ในผู้ใหญ่ท่ีร่างกายปกติ ขณะพักผ่อนหัวใจจะเต้นประมาณ 60 – 70 ครัง้ ต่อนาที ความดันเลือดในหลอดเลือดวัดได้โดยใช้เคร่ืองมือวัด มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรของปรอท เช่น 120/80 มลิ ลเิ มตรของปรอท ซึง่ ตวั เลข 120 เปน็ ค่าความดนั เลือดขณะเลือดผ่านหลอดเลือด (หัวใจบีบตัว) ส่วนตัวเลข 80 เปน็ ค่าความดนั เลือดเม่ือหลอดเลอื ดหดตวั (หวั ใจคลายตัว)

ใบงาน เรือ่ ง ระบบไหลเวียนโลหติ คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนศึกษาโครงสร้างและการทางานของหวั ใจ โดยเติมคาลงในช่องว่างใหถ้ ูกต้อง 1. ใหน้ กั เรยี นบอกโครงสรา้ งของหวั ใจให้ถกู ต้อง ……………………. ……………………. …………………… …………………… ……………………. ……………………. …………………… …………………… ……………………. ……………………. ……………………. ……………………. ……………………. 2. เรยี งลาดับเหตกุ ารณ์เกย่ี วกับการสบู ฉีดเลอื ด พร้อมทง้ั บอกรายละเอียดของเหตกุ ารณ์น้ันๆ ดว้ ย    …………………   

เฉลยใบงาน เร่ือง ระบบไหลเวยี นโลหติ คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาโครงสร้างและการทางานของหัวใจ โดยเตมิ คาลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง 1. ใหน้ กั เรียนบอกโครงสร้างของหัวใจใหถ้ กู ต้อง หลอดเลอื ดนำเลอื ดจำกหวั ใจไป หลอดเลอื ดนำเลอื ดทม่ี อี อกซิเจนไปเลยี้ ง ยงั ปอด เพอื่ รบั ออกซเิ จนทปี่ อด ศรี ษะ และสว่ นตำ่ ง ๆ ของร่ำงกำย หลอดเลอื ดนำเลอื ดจำกศรี ษะ หลอดเลอื ดรบั เลอื ดทมี่ อี อกซเิ จนจำกปอด และร่ำงกำยเขำ้ สหู่ วั ใจ ลนิ้ หวั ใจ หวั ใจหอ้ งบนขวำ ลนิ้ หวั ใจ กลำ้ มเนอื้ หวั ใจ หวั ใจหอ้ งลำ่ งขวำ 2. เรียงลาดบั เหตกุ ารณเ์ กี่ยวกบั การสูบฉีดเลือด พร้อมทั้งบอกรายละเอียดของเหตุการณ์น้นั ๆ ดว้ ย 1. เลอื ดทมี่ อี อกซเิ จนนอ้ ย 4. เลอื ดจำกปอดเขำ้ สหู่ วั ใจ 3. เลอื ดเขำ้ สหู่ ลอดเลอื ดไป เขำ้ สหู่ วั ใจหอ้ งบนขวำ หอ้ งบนซำ้ ย ปอด 2. หวั ใจบบี ตวั เลอื ดเขำ้ สู่ 5. หวั ใจบบี ตวั เลอื ดเขำ้ สู่ 6. เลอื ดจำกหวั ใจหอ้ งลำ่ ง หวั ใจหอ้ งลำ่ งขวำ หวั ใจหอ้ งลำ่ งซำ้ ย ซำ้ ยไปเลยี้ งสว่ นตำ่ งๆ ของ ร่ำงกำย

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 หน่ ว ย ก า รเ รี ย น รู้ ร ะ บ บร่ า ง ก า ยม นุ ษ ย์ ชื่ อ แ ผ น กา ร จัด ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ 1.2 ร ะ บ บ หา ย ใ จ ร หั ส – ช่ื อ ร า ย วิ ช า ว 322102 วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1/2564 เวลา 5 ช่ัวโมง ผูส้ อน ครูจิรชั ญา ชยั ธีรธรรม โรงเรยี น ราชประชานุเคราะห์ 31 อ.แม่แจม่ จ.เชียงใหม่ 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้วี ดั มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆของพืชที่ทางานสัมพันธ์กันรวมท้ังนาควา มรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 1.2 ม.2/1 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าทข่ี องอวัยวะทเี่ กีย่ วข้องในระบบหายใจ ว 1.2 ม.2/2 อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออกโดยใช้แบบจาลอง รวมทั้งอธิบายกระบวนการ แลกเปลย่ี นแกส๊ ว 1.2 ม.2/3 ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของระบบหายใจโดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะ ในระบบหายใจใหท้ างานเปน็ ปกติ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายโครงสร้างและการทางานของระบบหายใจได้ (K) 2. อธิบายโรคท่ีเกิดขึ้นกับระบบหายใจได้ (K) 3. ทกั ษะการทางานกลมุ่ (P) 4. คานวณหาปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วข้องกบั งานและกาลงั ได้ (P) 5. มีความใฝ่เรยี นรู้และมีความมงุ่ มั่นในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ การหายใจ (respiration) เป็นการนาอากาศเข้าและออกจากร่างกาย ส่งผลให้แกส๊ ออกซเิ จน ทาปฏิกิริยากับสารอาหารได้พลังงาน น้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กระบวนการหายใจเกิดขึ้นทุกเซลล์ ตลอดเวลา การหายใจจาเปน็ ต้องใชโ้ ครงสรา้ ง ๒ ชนิด คือ กล้ามเนื้อกระบังลม และกระดูกซ่ีโครง โครงสร้าง และการทางานของระบบหายใจ 4. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การหายใจจาเป็นต้องใช้โครงสรา้ ง ๒ ชนดิ คอื กลา้ มเนือ้ กระบงั ลม และกระดกู ซ่โี ครง โครงสร้างและการทางานของระบบหายใจ 1. การหายใจเข้า (inhalation) กระบังลมจะเลื่อนต่าลง กระดูกซ่ีโครงจะเล่ือนสูงขึ้น ทาให้ปริมาตร ของช่องอกเพิม่ ขึ้น ความดันอากาศภายในบรเิ วณรอบๆ ปอดลดต่าลงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายนอกจึง เคลือ่ นเข้าสจู่ มูก หลอดลม และไปยงั ถุงลมปอด

2. การหายใจออก (exhalation) กระบังลมจะเลอื่ นสงู ขนึ้ กระดกู ซโี่ ครงจะเลื่อนต่าลง ทาให้ปริมาตร ของชอ่ งอกลดนอ้ ยลง ความดันอากาศภายในบริเวณรอบ ๆ ปอดสงู กวาอากาศภายนอก อากาศภายในถุงลมปอดจึงเคล่อื นทจ่ี ากถุงลมปอดไปสู่หลอดลม และออกทางจมกู สง่ิ ทีก่ าหนดอัตราการหายใจเข้าและออกคือ ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด ถ้าปริมาณแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดต่าจะทาให้การหายใจช้าลง เช่น เวลานอนหลับ แต่ถ้าปริมาณแก๊ส คาร์บอนไดออกไซดใ์ นเลือดสงู จะทาให้มีการหายใจเรว็ ขึน้ 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียนและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 2. มงุ่ มัน่ ในการทางาน 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ข้ันนา ข้ันที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. นักเรียนรับลูกอมแจกฟรีกอ่ นเขา้ หอ้ งเรยี น โดยลกู อมน้ันจาแนกตามเปลือกมี 6 สี 2. นกั เรียนแบ่งกลมุ่ โดยหนึ่งกลุ่มจะต้องมผี ทู้ ีม่ เี ปลอื กลกู ครบทงั้ 6 สี จะไดเ้ ปน็ นกั เรยี น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน 3. นักเรยี นชมวิดีโอการต์ นู เร่อื ง How your lungs work (https://youtu.be/0giiDDBJVQU) แลว้ ร่วมกันอภิปรายโดยใช้คาถาม ดังนี้ - การต์ ูนนพี้ ดู ถึงอะไร (แนวคาตอบ ตามความคิดนกั เรยี น) - นักเรยี นทราบหรอื ไมว่ า่ ในขณะทเี่ ราหายใจปอดของเรามกี ารทางานอย่างไร (แนวคาตอบ ตาม ความคดิ นักเรียน) ขนั้ สอน ขั้นท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) นักเรยี นและครูรว่ มกันอภปิ ราย เรอื่ ง ระบบทางเดนิ หายใจ โดยใช้สื่อ PowerPoint เรอ่ื งระบบทางเดนิ หายใจ ขน้ั นา ข้ันท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain) 2. นกั เรียนตวั แทนกลุม่ ออกมารบั ธนบัตรสมมติ กลุม่ ละ 500 บาท 3. ครูแนะนาใหร้ ูจ้ ัก Material Store เป็นร้านคา้ ขายอปุ กรณส์ าหรบั ทา Breathing Machine จะประกอบไปด้วย

- กรรไกร 100 บาท - คัตเตอร์ 100 บาท - ขวดนา้ พลาสตกิ ขนาด 1 ลิตร 80 บาท - แก้วพลาสตกิ 70 บาท - สก๊อตเทปใส 120 บาท - ลกู โป่งขนาดใหญ่ 90 บาท - ลูกโปง่ ขนาดเลก็ 50 บาท - หลอดดูดน้า 90 บาท - กระดาษสี 150 บาท - สกอ๊ ตเทปลวดลาย 150 บาท ข้นั ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มออกแบบแบบจาลอง Breathing Machine และวางแผนวธิ กี ารสร้างรวมถงึ การซื้อ อปุ กรณจ์ าก Material Store ด้วยจานวนเงนิ ท่ีจากดั กลุ่มท่อี อกแบบและวางแผนเสร็จกอ่ นจะมีสิทธิเ์ ลอื กซ้อื อุปกรณใ์ น Material Store ก่อน ซ่งึ สนิ คา้ ทุกช้นิ ใน Material Store มีจานวนจากัด 2. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มลงมือทา Breathing Machine ตามแผนทวี่ างเอาไวด้ ้วยอุปกรณท์ ี่นักเรยี นได้ เลือกซือ้ มาจาก Material Store ขน้ั สรุป ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลการทาใบงาน เรื่อง ระบบหายใจ 2. ครูตรวจแบบฝกึ หดั เรอ่ื ง ระบบหายใจ จากแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 3. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเก่ียวกับงานและกาลัง ซ่ึงได้ข้อสรุปร่วมกันว่า “การหายใจ (respiration) เปน็ การนาอากาศเขา้ และออกจากรา่ งกาย ส่งผลให้แกส๊ ออกซิเจน ทาปฏิกิริยากับสารอาหารได้ พลงั งาน นา้ และแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ กระบวนการหายใจเกิดขน้ึ ทกุ เซลลต์ ลอดเวลา การหายใจจาเป็นต้อง ใช้โครงสรา้ ง 2 ชนิด คอื กลา้ มเนือ้ กระบงั ลม และกระดูกซี่โครง โครงสรา้ งและการทางานของระบบหายใจ”

7. การวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีการ เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน - ใบงาน เกณฑ์ร้อยละ 70 % 1. อธบิ ายโครงสร้างและ - ตรวจใบงาน - สมดุ ประจาตวั หรือ แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ การทางานของระบบ - ตรวจสมุดประจาตัว ม.2 เล่ม 1 เกณฑร์ อ้ ยละ 70 % หายใจได้ (K) หรอื แบบฝึกหดั - แบบประเมนิ ทักษะ ผ่านเกณฑ์ กระบวนการ 2. อธบิ ายโรคทีเ่ กดิ ขน้ึ กบั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เกณฑ์รอ้ ยละ 70 % - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ ระบบหายใจได้ (K) เลม่ 1 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 3. ทกั ษะการทางานกลุ่ม - สงั เกตพฤติกรรมการ (P) ปฏิบัตงิ านของนกั เรยี น 4. คานวณหาปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับงานและ กาลงั ได้ (P) 5. มีความใฝเ่ รียนรู้และมี - สังเกตพฤติกรรมการ ความมุง่ ม่ันในการทางาน ปฏิบัติงานของนักเรยี น (A) 8. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 2) แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เรอื่ ง ระบบหายใจ 3) ใบงาน เรอื่ ง ระบบหายใจ 4) PowerPoint เรื่อง ระบบหายใจ 5) สมดุ ประจาตัวนักเรยี น 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) อินเทอร์เน็ต 9. ข้อเสนอแนะ  ใช้สอนได้  ควรปรบั ปรงุ ………………………………………………………………………………..……………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ช้นั ................ ความเหมาะสมของกิจกรรม  ดี  พอใช้  ปรบั ปรุง………………………. ความเหมาะสมของเนอื้ หา  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… ความเหมาะสมของเวลา  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… ความเหมาะสมของสือ่  ดี  พอใช้  ปรบั ปรงุ ……………………… อนื่ ๆ……………………………………………………………………………………………………... 11. สรปุ ผลการประเมนิ ผู้เรยี นดา้ นความรู้ นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดบั 1 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรียนรู้ฯ อยใู่ นระดับ 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดับ 3 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรียนรฯู้ อยู่ในระดบั 4 12. สรปุ ผลการประเมนิ ผเู้ รยี นด้านทักษะกระบวนการ นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดับ 1 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรยี นรูฯ้ อย่ใู นระดบั 2 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยูใ่ นระดบั 3 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดับ 4 13. สรปุ ผลการประเมินผเู้ รียนดา้ นคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดับ 1 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยูใ่ นระดบั 2 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรียนรฯู้ อยู่ในระดบั 3 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นร้ฯู อยใู่ นระดับ 4 14. สรุปผลการประเมนิ ผูเ้ รยี น นกั เรียนจานวน…….คน คดิ เป็นร้อยละ……….. มีผลการเรยี นรู้ฯ อยู่ในระดบั 1 (ปรับปรงุ ) นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ……….. มผี ลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 2 (พอใช)้ นกั เรียนจานวน…….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……….. มผี ลการเรยี นรูฯ้ อย่ใู นระดับ 3 (ด)ี นักเรียนจานวน…….คน คดิ เป็นรอ้ ยละ……….. มีผลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดบั 4 (ดมี าก) สรปุ โดยภาพรวมมีนักเรียน จานวน………คน คิดเปน็ ร้อยละ……….ทีผ่ ่านเกณฑร์ ะดบั 2 ขนึ้ ไป ซงึ่ สงู (ต่า) กว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ร้อยละ………มีนักเรียนจานวน……คน คิดเป็นรอ้ ยละ…… ทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ์ทกี่ าหนด

15. ข้อสังเกต/ค้นพบ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 16. แนวทางแก้ไขปญั หาเพอ่ื ปรบั ปรงุ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 17. ผลการพัฒนา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................ (นางสาวจริ ชั ญา ชยั ธีรธรรม) ผู้สอน

ใบความรู้ เร่ือง ระบบหายใจ การดารงชีวิตของมนุษย์นอกจากต้องการสารอาหารแล้ว ยังต้องการแก๊สออกซิเจน ซ่ึงได้จากการ หายใจเข้า ถา้ เกิดอบุ ตั เิ หตุทาใหร้ า่ งกายหยุดหายใจไปเพยี ง 2 – 3 นาที อาจทาให้ถงึ แกช่ วี ติ ได้ โครงสร้างของปอด ถ้านักเรียนใช้มือจับซ่ีโครงขณะท่ีหายใจเข้า จะรู้สึกว่าซ่ีโครงหรือช่องอกขยายตัว น่ันเป็นเพราะ ปอดของนักเรียนเต็มไปด้วยอากาศ ปอดมีหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนจากอากาศเข้าสู่หลอดเลือดฝอย เม่ือเราหายใจเข้า ออกซิเจนจะถูกส่งไปยังเซลล์ทุกเซลล์เพื่อช่วยให้เซลล์สามารถดาเนินกิจกรรมของเซลล์ได้ และมีการแลกเปล่ียนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยหลอดเลือดฝอยจะนาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้า ออกจากเซลล์ของรา่ งกาย แกส๊ เหลา่ นจี้ ะถูกนาออกจากรา่ งกายโดยการหายใจออก ปอดที่สมบูรณ์จะทาหน้าที่ แลกเปลีย่ นแกส๊ ออกซิเจนจากอากาศไปเลี้ยงส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย และปล่อยแก๊สคารบ์ อนได-ออกไซด์กับน้า กลับสอู่ ากาศได้ดี ปอดที่ไมส่ มบูรณ์จะทาหน้าท่ดี งั กล่าวได้ไมเ่ ตม็ ท่ี อากาศผ่านเขา้ ออกปอดได้อย่างไร กระบวนการในการนาแก๊สออกซิเจนเขา้ สเู่ ซลล์ เพื่อใช้ในการทาปฏกิ ริ ยิ าเผาผลาญสารอาหาร และ กระบวนการกาจดั แก๊สคารบ์ อนไดอ้ อกไซดอ์ อกจากร่างกายรวมเรียกว่า กระบวนการหายใจ ซึ่งจะเกิดข้ึนกับ เซลลท์ กุ เซลลข์ องรา่ งกายตลอดเวลา การหายใจของมนุษยส์ ามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ขน้ั ตอน คือ 1. การหายใจเขา้ จะเกิดข้ึนเม่ือกล้ามเนื้อที่ยึดซ่ีโครงหดตัว ซ่ึงจะทาให้กระดูกซ่ีโครงเล่ือนสูงขึ้น ในขณะเดยี วกันกะบังลมกห็ ดตวั และเล่ือนต่าลง จงึ ทาใหป้ ริมาตรของช่องอกมีมากข้ึน ความดันอากาศภายใน ช่องอกจะลดต่าลง ดังน้นั อากาศจากภายนอกจึงสามารถผ่านเข้าสู่ปอดได้ 2. การหายใจออก จะเกิดข้ึนหลังจากการหายใจเข้าแล้ว ทาให้กล้ามเน้ือที่ยึดซี่โครงแถบนอกมี การคลายตัว ทาให้กระดูกซี่โครงเล่ือนต่าลง กะบังลมที่เลื่อนต่าลงก็จะเลื่อนตัวกลับสูงข้ึน ส่งผลให้ปริมาตร ของช่องอกลดลง ความดนั อากาศภายในช่องอกก็จะสูงข้นึ ดว้ ย ซึง่ ช่วยผลักดันให้อากาศจากภายในปอดออกสู่ ภายนอกได้โดยผ่านทางหลอดลมสู่จมูก การแลกเปลย่ี นแกส๊ ที่ถงุ ลม อากาศเม่ือเข้าสู่ปอดจะไปอยู่ในถุงลม ซ่ึงมีลักษณะกลมคล้ายลูกองุ่น ปอดแต่ละข้างจะมีถุงลม ประมาณข้างละ 150 ล้านถุง แต่ละถุงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ถึง 0.1 มิลลิเมตร ถุงลมทุกอันจะมีหลอด เลือดฝอยมาหอ่ หุม้ ไว้ การแลกเปลยี่ นแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ออกซิเจน ไนโตรเจน และไอน้า ผ่านเข้า-ออก จากถงุ ลมโดยผ่านเยื่อบางๆ ของถุงลม เย่ือถุงลมนี้บางมากจึงถูกทาลายได้โดยง่ายจากควันบุหรี่และจากสาร เสพตดิ

ใบงาน เร่ือง อากาศเขา้ -ออก ปอดได้อยา่ งไร จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ขอ้ 2 ทดลองและสรุปเก่ียวกบั การทางานของระบบต่างๆ ในร่างกายได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาภาพการหายใจเข้า-ออก แล้วทาการทดลองต่อไปนี้ ภาพ ภาพ ข้นั ตอนคอื ข้นั ตอนคอื ศึกษาปริมาตรลมหายใจออกตามข้นั ตอน ดังนี้ ลมหำยใจ ขวดนำ้ 1. ตวงน้าปริมาตร 200 มิลลิเมตร แลว้ เทใส่ในขวดปิ ดฝา คว่าขวดแลว้ ใชป้ ากกาขดี แสดงระดบั น้าในขวด สำย นำ้ 2. นาขวดในขอ้ 1. ไปใส่ในภาชนะทม่ี ีน้า แลว้ จดั เตรียม ยำง อุปกรณ์ ดงั ภาพ 3. กล้นั ลมหายใจและเป่ าออกผา่ นสายยาง สงั เกตระดบั น้าทีข่ วด บนั ทึกผล 4. นกั เรียนกระโดดตบ 30 คร้งั เสร็จแลว้ เป่ าลมหายใจผา่ นสายยาง สงั เกตระดบั น้า บนั ทึกผล นกั เรียนจะวเิ คราะห์ผลการศกึ ษาเกี่ยวกบั ปริมาตรลมหายใจออกวา่ อยา่ งไร

เฉลยใบงาน เรือ่ ง อากาศเขา้ -ออก ปอดได้อย่างไร คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนพิจารณาภาพการหายใจเขา้ -ออก แลว้ ทาการทดลองต่อไปนี้ ภาพ การหายใจเข้า ภาพ การหายใจออก ขั้นตอนคือ หลังจากการหายใจเข้า กะบงั ลมยดึ ขน้ั ตอนคอื เมอ่ื กล้ามเน้อื ยดึ ซโ่ี ครงหดตัว ซโี่ ครงคลายตัว กระดกู ซีโ่ ครงเลือ่ นต่าลง กระดูกซโ่ี ครงเล่ือนสูงข้ึน กะบงั ลมหดตัว กะบังลมเล่ือนสงู ข้นึ ปรมิ าตรของช่องอกลดลง และเล่ือนลงปรมิ าตรของช่องอกมีมากข้ึน ผลกั ดันให้อากาศจากภายในปอดออกสู่ภายนอก ความดันอากาศภายในช่องอกลดต่าลง ดังนน้ั อากาศจากภายนอกผ่านเขา้ สู่ปอดได้ ศกึ ษาปรมิ าตรลมหายใจออกตามขัน้ ตอน ดงั นี้ ขวดนำ้ 1. ตวงน้าปริมาตร 200 มลิ ลเิ มตร แลว้ เทใสใ่ นขวดปดิ ฝา ลมหำยใจ ควา่ ขวดแลว้ ใชป้ ากกาขีดแสดงระดบั นา้ ในขวด 2. นาขวดในข้อ 1. ไปใส่ในภาชนะทีม่ ีนา้ แล้วจัดเตรยี ม สำย นำ้ อุปกรณ์ ดงั ภาพ ยำง 3. กลนั้ ลมหายใจและเป่าออกผา่ นสายยาง สังเกตระดับนา้ ที่ขวด บันทกึ ผล 4. นกั เรยี นกระโดดตบ 30 ครั้ง เสรจ็ แล้วเปา่ ลมหายใจผ่านสายยาง สงั เกตระดบั นา้ บันทกึ ผล นกั เรียนจะวเิ คราะหผ์ ลการศึกษาเก่ียวกบั ปริมาตรลมหายใจออกวา่ อยา่ งไร ในภาวะท่ีรา่ งกายมีการออกกาลังกาย ปรมิ าตรลมหายใจออกจะมากกว่าเมอื่ รา่ งกายอย่ใู นภาวะ ปกติ จะเห็นไดจ้ ากการทดลองว่า ปรมิ าตรนา้ ในข้นั ตอนทใ่ี ห้นกั เรียนกระโดดตบ มปี รมิ าตรลดลงกวา่ ใน ขนั้ ตอนการกล้นั หายใจแลว้ เปา่ ลมหายใจออก เนื่องจากอากาศท่เี ปา่ เข้าไปในขวดจะดนั ใหน้ ้าออกจากขวด ถ้ามีอากาศเข้าไปแทนทมี่ าก น้ากจ็ ะถูกดนั ออกทางปากขวดมากเชน่ กนั

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 หน่ วย กา รเ รีย น รู้ ร ะ บบ ร่ า ง ก าย มนุ ษย์ ช่ื อ แ ผน กา รจั ดก า ร เ รี ย น รู้ ที่ 1.3 ร ะ บบ ขับ ถ่า ย ร หั ส – ชื่ อ ร า ย วิ ช า ว 322102 วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1/2564 เวลา 5 ชว่ั โมง ผ้สู อน ครูจิรชั ญา ชัยธีรธรรม โรงเรยี น ราชประชานุเคราะห์ 31 อ.แม่แจม่ จ.เชียงใหม่ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ัด มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่างๆของพืชที่ทางานสัมพันธ์กันรวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 1.2 ม.2/4 ระบุอวยั วะและบรรยายหนา้ ทีข่ องอวยั วะในระบบขับถา่ ยในการกาจัดของเสียทางไต ว 1.2 ม.2/5 ตระหนักถึงความสาคัญของระบบขับถ่าย ในการกาจัดของเสียทางไต โดยการบอก แนวทางในการปฏบิ ตั ติ นท่ีชว่ ยให้ระบบขับถา่ ยทาหนา้ ที่ไดอ้ ย่างปกติ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายเกย่ี วกับของเสียและการขบั ถา่ ยได้ (K) 2. อธิบายกระบวนการทางานของไตได้ (K) 3. นกั เรียนวาดภาพอวยั วะทเี่ ป็นสว่ นประกอบของระบบขับถ่ายได้ (P) 4. นักเรียนตระหนักถงึ การดแู ลรักษาไตได้ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ ระบบขบั ถา่ ย เป็นระบบท่รี ่างกายขบั ถา่ ยของเสียออกไป แบง่ เป็นหลายประเภท ทัง้ ของเสียในรูปแก๊ส คือ ลมหายใจ ของเหลว คือเหงอื่ และปสั สาวะ รวมถึงของแข็ง คอื อุจจาระ 4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ระบบขับถ่ายของมนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลังมีไตเป็นอวัยวะสาคัญในกาจัดของเสียออกจาก ร่างกาย ไตประกอบด้วยหน่วยไตเล็กๆจานวนมากทาหน้าที่กรองของเสียออกจากน้าเลือดและดูดสารที่มี ประโยชน์และน้าบางส่วนกลับคืนสู่หลอดเลือด ส่วนของเหลวท่ีเหลือซ่ึงประกอบด้วย ยูเรีย น้าและสารบาง ชนิด รวมเรียกว่า น้าปัสสาวะจะถูกกาจัดออกนอกร่างกาย สัตว์จาพวกแมลงใช้โครงสร้างท่ีเรียกว่าท่อมัลพิ เกียนในการกาจัดของเสยี 5. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวินยั รับผดิ ชอบ 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้

6. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ขน้ั นา ขนั้ ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1) ครูสนทนากับนกั เรียนเกี่ยวกับการกาจัดของเสียออกนอกร่างกายโดยต้ังประเดน็ คาถามดังนี้ – วนั น้ีนักเรียน ได้ออกกาลงั กาย แล้วหรือไม่ – หลังจากออกกาลงั กายรา่ งกายกาจดั สิ่งใดออกนอกรา่ งกาย และกาจดั ออกทางใด 2) นกั เรียนรว่ มกันตอบคาถามและแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับคาตอบของคาถามเพอื่ เชือ่ มโยงไปสกู่ ารเรียนรู้ เร่ืองระบบขับถ่าย ข้ันสอน ขัน้ ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) 1) ครูเปิดรปู ภาพระบบขับถา่ ยของมนษุ ยจ์ าก Power point ใหน้ กั เรยี นดจู ากน้นั ครตู งั้ ประเด็น คาถามให้นกั เรียนตอบคาถามโดยสังเกตจากรูปภาพ ดังต่อไปน้ี – นกั เรยี นคิดว่ารา่ งกายของเรานน้ั กาจัดของเสยี ออกมาในรปู แบบใดบ้าง 2) นกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายหาคาตอบเกี่ยวกับคาถามตามความคิดเห็นของแตล่ ะคน 3) นกั เรียนศกึ ษาระบบขับถ่ายจากในหนังสอื เรยี น ประกอบ Power point โดยครูและนักเรยี น รว่ มกนั อภิปรายวา่ ระบบขับถ่ายเป็นการกาจดั ของเสียออกนอกร่างกาย ในสว่ นของสารท่ีไม่เป็นประโยชน์ และร่างกายไมต่ ้องการ เชน่ แอมโมเนยี ยเู รยี และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของเสยี ในรา่ งกายมนษุ ย์เช่น ยเู รยี แอมโมเนยี รา่ งกายจะกาจดั ออกทางไต และทางผิวหนงั ในรปู ของเหงือ่ สว่ นกากอาหารจะถูกกาจัด ออกจาก รา่ งกายโดยการขบั ถา่ ยซ่งึ เกิดขึ้นทล่ี าไสใ้ หญ่ และก๊าชคารบ์ อนไดออกไซด์จะถูกกาจกั ออกทาง ปอด สว่ นใน สัตว์แตล่ ะชนดิ จะมีโครงสรา้ งทีใ่ ช้ในการกาจัดของเสยี ต่างกันตลอดจนอภปิ รายถงึ โรคท่เี กิด ข้ึนกับระบบ ขบั ถ่ายแนวทางในการปอ้ งกนั โรค และระบบขับถ่ายของสัตว์บางชนดิ 4) นักเรียนทาชิ้นงานโดยการเขยี นแผนผังอธบิ ายระบบขบั ถา่ ยของมนุษย์จากที่ไดศ้ กึ ษาไป และ สืบค้นเพมิ่ เตมิ จากหนงั สือเรยี น ขัน้ นา ข้นั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain) 1. นกั เรยี นและครูร่วมกนั อภิปรายเกีย่ วกบั เรือ่ ง ระบบขบั ถา่ ย ซึ่งได้ข้อสรุปร่วมกันว่า “ระบบขับถ่าย เป็นระบบที่ร่างกายขับถ่ายของเสียออกไป แบ่งเป็นหลายประเภท ท้ังของเสียในรูปแก๊ส คือ ลมหายใจ ของเหลว คือเหงอ่ื และปสั สาวะ รวมถงึ ของแข็ง คอื อจุ จาระ” 2. ครูอธิบายเพ่ิมเติมให้นักเรียนเข้าใจเก่ียวกับระบบขับถ่ายว่า “ระบบขับถ่ายของมนุษย์และสัตว์มี กระดูกสันหลังมีไตเป็นอวัยวะสาคัญในกาจัดของเสียออกจากร่างกาย ไตประกอบด้วยหน่วยไตเล็กๆจานวน มากทาหน้าที่กรองของเสยี ออกจากนา้ เลอื ดและดูดสารทีม่ ีประโยชนแ์ ละน้าบางสว่ นกลบั คืนสู่หลอดเลือด ส่วน

ของเหลวท่ีเหลือซ่ึงประกอบด้วย ยูเรีย น้าและสารบางชนิด รวมเรียกว่า น้าปัสสาวะจะถูกกาจัดออกนอก รา่ งกาย สตั ว์จาพวกแมลงใชโ้ ครงสรา้ งที่เรียกว่าท่อมลั พิเกียนในการกาจดั ของเสยี ” 3. ครูสมุ่ เลขทนี่ กั เรียน จานวน 2 คน ออกมาเขยี นคาตอบของตนเองหน้าช้ันเรียน โดยให้เพอ่ื นใน ชั้นเรียนรว่ มกนั พจิ ารณาว่าคาตอบถูกตอ้ งหรอื ไม่ จากนนั้ ครเู ฉลยคาตอบท่ีถูกต้องใหน้ ักเรยี น ข้ันท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามเน้ือหาเกี่ยวกบั เรือ่ ง ระบบขับถา่ ย และใหค้ วามร้เู พ่มิ เตมิ จาก คาถามของนกั เรยี น โดยครใู ช้ PowerPoint เรื่อง ระบบขบั ถ่าย ในการอธบิ ายเพ่ิมเตมิ 2. นักเรียนจบั คกู่ บั เพื่อนในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ จากนน้ั ให้นักเรียนแต่ละครู่ ว่ มกันทา ใบงาน เรือ่ ง ระบบขับถ่าย เมื่อทาเสร็จแล้วนาสง่ ครทู า้ ยช่ัวโมง 3 ครูสุ่มเลขท่ีนกั เรยี น จานวน 3 คน ออกมาเขียนคาตอบของตนเองหนา้ ชน้ั เรียน โดยให้เพื่อนใน ช้นั เรียนรว่ มกันพิจารณาวา่ คาตอบถกู ตอ้ งหรอื ไม่ จากนน้ั ครูเฉลยคาตอบท่ถี กู ต้องใหน้ กั เรยี น 4. นักเรยี นแต่ละคนทาแบบฝึกหดั เรอ่ื ง ระบบขบั ถา่ ย จากแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เปน็ การบา้ นสง่ ในชัว่ โมงถัดไป ข้ันสรปุ ข้นั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบฝึกหดั เรื่อง ระบบขบั ถ่าย จากแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 2. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเก่ียวกับงานระบบขับถ่าย ซ่ึงได้ข้อสรุปร่วมกันว่า “ระบบขับถ่ายของ มนุษยแ์ ละสัตว์มีกระดกู สันหลังมีไตเป็นอวยั วะสาคัญในกาจัดของเสียออกจากร่างกาย ไตประกอบด้วยหน่วย ไตเล็กๆจานวนมากทาหน้าทก่ี รองของเสยี ออกจากน้าเลือดและดูดสารที่มีประโยชน์และน้าบางส่วนกลับคืนสู่ หลอดเลือด ส่วนของเหลวท่ีเหลือซ่ึงประกอบด้วย ยูเรีย น้าและสารบางชนิด รวมเรียกว่า น้าปัสสาวะจะถูก กาจัดออกนอกร่างกาย สัตว์จาพวกแมลงใชโ้ ครงสรา้ งทเ่ี รียกว่าทอ่ มลั พเิ กยี นในการกาจดั ของเสีย”

7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วิธีการ เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน 1. อธิ บาย คว าม หมา ย - ตรวจสมุดประจาตัว - สมดุ ประจาตวั หรอื เกณฑร์ ้อยละ 70 % แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ เก่ียวกับของเสียและการ หรือแบบฝกึ หดั ม.2 เล่ม 1 ขบั ถา่ ยได้ (K) วทิ ยาศาสตร์ ม.2 2. อธิบายกระบวนการ เล่ม 1 ทางานของไตได้ (K) 3. นักเรียนวาดภาพอวัยวะ - สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมินทกั ษะ เกณฑ์ร้อยละ 70 % ที่เป็นส่วนประกอบของ ปฏิบัตงิ านของนักเรียน กระบวนการ ผ่านเกณฑ์ ระบบขับถา่ ยได้ (P) 4. นักเรยี นตระหนกั ถงึ - สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมนิ เกณฑร์ ้อยละ 70 % ผา่ นเกณฑ์ การดูแลรกั ษาไตได้ (A) ปฏิบตั งิ านของนักเรยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 8. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เรื่อง ระบบขบั ถา่ ย 3) PowerPoint เรื่อง ระบบขับถา่ ย 4) สมดุ ประจาตวั นักเรยี น 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) อนิ เทอร์เน็ต 9. ข้อเสนอแนะ  ใชส้ อนได้  ควรปรบั ปรุง ………………………………………………………………………………..……………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

10. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ชั้น ................ ความเหมาะสมของกจิ กรรม  ดี  พอใช้  ปรับปรุง………………………. ความเหมาะสมของเนือ้ หา  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… ความเหมาะสมของเวลา  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… ความเหมาะสมของสื่อ  ดี  พอใช้  ปรับปรงุ ……………………… อ่นื ๆ……………………………………………………………………………………………………... 11. สรุปผลการประเมินผู้เรยี นด้านความรู้ นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดบั 1 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรยี นรู้ฯ อยู่ในระดบั 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มผี ลการเรียนรู้ฯ อยใู่ นระดับ 3 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มีผลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดบั 4 12. สรุปผลการประเมินผเู้ รียนดา้ นทกั ษะกระบวนการ นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรู้ฯ อยู่ในระดบั 1 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อย่ใู นระดบั 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดบั 3 นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรูฯ้ อยใู่ นระดบั 4 13. สรปุ ผลการประเมนิ ผู้เรยี นด้านคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยูใ่ นระดบั 1 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มีผลการเรียนรู้ฯ อยูใ่ นระดับ 2 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดบั 3 นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นร้ฯู อยใู่ นระดบั 4 14. สรุปผลการประเมนิ ผูเ้ รียน นกั เรยี นจานวน…….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……….. มีผลการเรียนรฯู้ อยู่ในระดบั 1 (ปรบั ปรุง) นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ……….. มีผลการเรยี นรู้ฯ อย่ใู นระดบั 2 (พอใช)้ นกั เรยี นจานวน…….คน คดิ เป็นร้อยละ……….. มผี ลการเรียนร้ฯู อยู่ในระดบั 3 (ด)ี นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ……….. มีผลการเรยี นรูฯ้ อยู่ในระดับ 4 (ดีมาก) สรุปโดยภาพรวมมีนกั เรยี น จานวน………คน คิดเป็นรอ้ ยละ……….ท่ผี ่านเกณฑร์ ะดบั 2 ขนึ้ ไป ซ่งึ สงู (ตา่ ) กว่าเกณฑท์ กี่ าหนดไวร้ อ้ ยละ………มีนักเรยี นจานวน……คน คิดเปน็ ร้อยละ…… ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทีก่ าหนด

15. ขอ้ สงั เกต/ค้นพบ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 16. แนวทางแกไ้ ขปญั หาเพอ่ื ปรบั ปรงุ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 17. ผลการพฒั นา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................ (นางสาวจริ ัชญา ชยั ธรี ธรรม) ผู้สอน

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 หน่วย กา รเรีย น รู้ ระ บบร่ าง ก ายมนุษย์ ช่ือ แ ผน กา รจัดกา รเ รียน รู้ ท่ี 1.4 ร ะบบปร ะ สาท ร หั ส – ช่ื อ ร า ย วิ ช า ว 322102 วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1/2564 เวลา 5 ช่วั โมง ผู้สอน ครจู ิรัชญา ชัยธรี ธรรม โรงเรยี น ราชประชานเุ คราะห์ 31 อ.แม่แจม่ จ.เชียงใหม่ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่างๆของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กันรวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 1.2 ม.2/10 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบประสาทส่วนกลางในการควบคุม การทางานตา่ งๆของรา่ งกาย ว 1.2 ม.2/11 ตระหนักถึงความสาคัญของระบบประสาท โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษา รวมถงึ การปอ้ งกนั การกระทบกระเทอื นและอนั ตรายตอ่ สมองและไขสันหลงั 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายกระบวนการสรา้ งเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบประสาทได้ (K) 2. นาความรูเ้ รอ่ื งการสร้างเสริมประสทิ ธิภาพของระบบประสาท ไปใช้ในชีวิตประจาวัน (P) 3. เห็นความสาคัญของระบบประสาท (A) 3. สาระการเรียนรู้ ระบบประสาท 1. โครงสรา้ งของระบบประสาท 2. หน้าทีข่ องระบบประสาท 3. การสร้างเสริมและดารงประสทิ ธิภาพของระบบประสาท 4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ระบบประสาท เป็นศูนย์กลางที่ควบคุมการทางานของร่างกาย ประกอบด้วย ระบบประสาท - ส่วนกลางทาหน้าท่ีเก่ียวกับการคิด การได้ยิน การสัมผัส ระบบประสาทส่วนปลายทาหน้าที่รับและ นาความรูส้ ึกเขา้ สู่ระบบประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทอัตโนมัติ ซ่ึงทางานนอกเหนือจากการควบคุม ของจิตใจ การสร้างเสริมประสิทธิภาพของระบบประสาททาได้โดยการรับประทานอาหารท่ีบารุงสมอง ออก กาลงั กายสม่าเสมอ พักผ่อนอยา่ งเพยี งพอ

5. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวนิ ยั รบั ผดิ ชอบ 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้ 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ขั้นนา ข้นั ท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั ทบทวนความรู้เดิมทเ่ี รยี นไป 2. ใหน้ กั เรียนดู้รูปภาพของสมอง ไขสันหลงั และรูปของเซลลป์ ระสาท พรอ้ มกบั ต้งั คาถามกระตุน้ การ คิด - ครถู ามนักเรบี ยวา่ นกั เรียนร้จู ักภาพทคี่ รูเอามาให้ดูหรอื ไม่ แล้วรูปภาพทีเ่ หน็ คืออะไร แนวทางการตอบ : รู้จักคะ่ คือสมอง ไขสันหลงั และอีกรูปหน่ึงนักเรยี นอาจตอบไดห้ รอื ไมไ่ ด้(ครจู งึ อธบิ าย เพิ่มเติมวา่ รูปภาพที่เหน็ คอื สมอง ไขสันหลงั และรูปของเซลลป์ ระสาท) - จากรปู ภาพนักเรยี นคิดว่า การทรี่ ่างกายของเราสามารถทาส่งิ ต่างๆ ได้ ไม่วา่ จะเปน็ การเรียนหนงั สือ การ ออกกาลงั กาย การคิดสง่ิ ต่างๆ นกั เรียนคดิ วา่ เราต้องอาศยั อวยั วะใดบ้าง แนวการตอบ : ต้องอาศัยอวยั วะทง้ั 3 อยา่ งนี้ คือ สมอง ไขสนั หลัง และเซลลป์ ระสาท ขัน้ สอน ขัน้ ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) 1. ครนู านักเรยี นศึกษา เร่ือง ระบบประสาท 2. ครูอธิบายความหมายของคาว่า ระบบประสาท และประเภทของระบบประสาท พร้อมบอก นักเรียนว่า เราทราบไปแล้วว่า ระบบประสาทของเรานั้นมีก่ีระบบ เราจะมาศึกศสระบบแรกกันก่อนน้ันคือ ระบบประสาทส่วนกลาง ซ่งึ มสี มองและไขสนั หลงั เปน็ อวัยวะท่ีสาคญั และที่บริเวณสมองและไขสันหลังน้ันยัง มีเส้นประสาท หรือที่เรียกว่า เซลล์ประสาท แผ่ขยายออกไปมากมาย นักเรียนคิดว่า เซลล์ประสาทมีหน้าท่ี อะไร นักเรียนอาจตอบไดห้ รือไม่ได้ ครูจงึ นานกั เรียนเขา้ ศกึ ษาเรือ่ ง เซลล์ประสาท เร่ือง สารสื่อประสาท 3. ในเร่ือง สมอง ครูถามคาถามกระตุ้นการคิดของนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่าสมองนั้นมีการทางาน สัมพนั ธ์กนั อย่างไรกับเซลล์ประสาทท่ีเราเรยี นจบกนั ไป ครจู งึ นานกั เรยี นเขา้ ศึกษา เรอ่ื ง สมอง 4. ครูดาเนินกิจกรรมการสอนโดยการถามเพื่อให้นักเรียนได้เกิดการคิด และให้นักเรียนศึกษาจาก Power point

ขนั้ นา ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบายเพิ่มเตมิ ในเรือ่ ง สมอง ไขสันหลัง เซลลป์ ระสาท ระบบประสาทรอบนอก เพื่อห้ไดข้ ้อ สรุปว่า แนวสรปุ : ระบบประสาท คือ ระบบท่ีทาหน้าท่ีควบคมุ และประสานการทางานของระบบต่างๆ ของ ร่างกาย ระบบประสาท (Nervous System) คอื ระบบการตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ ของสตั ว์ ทาให้สตั ว์สามารถ ตอบสนองต่อสง่ิ ต่างๆ รอบตัวอย่างรวดเร็วช่วยรวบรวมข้อมลู เพอ่ื ให้สามารถตอบสนองได้ สัตวช์ ัน้ ต่าบางชนดิ เชน่ ฟองนา้ ไมม่ รี ะบบประสาท สัตวไ์ มม่ กี ระดูกสนั หลังบางชนิดเรม่ิ มรี ะบบประสาท สัตวช์ ั้นสูงขน้ึ มาจโี ครงสร้างของระบบประสาทซบั ซ้อนย่ิงขึ้น ระบบประสาทของมนษุ ย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ระบบประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทรอบนอก ขนั้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครนุ านกั เรียนเข้าศกึ ษาเพ่มิ เติมในเร่อื ง ความผิดปกติของระบบประสาท โดยต้ังคาถามกระต้นุ การ คดิ ว่า นักเรียนคอดวา่ หากระบบประสาทเกิดความผิดปกติจะมอี าการอย่างไร แนวการตอบ : ปวดศีรษะ (ครูจงึ บอกนกั เรียนว่า เก่งมากค่ะ นอกจากจะมีอาการปวดหวั แล้วจะมี อาการ ชา หมดสติ ชักได้อกี ดว้ ย) - นักเรียนคิดว่า อาการชัก มนั เกย่ี วขอ้ งกับการทางานของระบบประสาทอยา่ งไร แนวการตอบ : นักเรียนอาจตอบไดห้ รอื ไมไ่ ด้ ครูจงึ อธบิ ายให้นกั เรยี นทราบว่า อาการชักน้นั เกิดจาก มี การหล่งั ของสารส่อื ประสาททมี่ ากเกนิ ไป และไม่มีสารใดท่จี ะมายบั ย้ังสารสอ่ื ประสาทเหลา่ นน้ั ทาให้กระแส ประสาทท่ีเกิดขน้ึ เกิดการเคลือ่ นท่ีอย่างรวดเร็วและตอ่ เน่ือง ทาใหก้ ล้ามเนอื้ ของเราไม่ไดเ้ กิดการพัก จึงทาให้ เกิดอาการชกั กล้ามเน้ือกระตุกน้ันเอง - นักเรียนคิดว่าคนท่ดี ืม่ แอลกอฮอล์ ฤทธ์ิของแอลกอฮอล์จะไปทาลายสมองสว่ นใด แนวการตอบ : สมองส่วนเซรเี บลลมั (ครูจงึ อธบิ ายเพ่มิ เติมวา่ เมอ่ื ด่ืมสรุ าเข้าไป ฤทธิข์ องสุราจะเขา้ ไป ออกฤทธิ์ต่อสมองส่วนเซรีเบลลมั ทาใหเ้ รามีอาการเดนิ ไมต่ รงทาง และไม่สามารถควบคมุ เกยี่ วกบั การ เคล่ือนไหวของร่างกายได)้

ขั้นสรปุ ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลการทาใบงาน เรื่อง งาน,กาลงั 2. ครตู รวจแบบฝกึ หดั เรื่อง งานและกาลงั จากแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 2 3. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปเก่ยี วกับงานและกาลัง ซ่ึงไดข้ ้อสรุปรว่ มกันว่า “งาน เกิดขนึ้ เม่อื มีแรง กระทาต่อวัตถุแล้วทาให้วัตถุมีการเคลื่อนที่ไปในแนวเดียวกับทิศทางของแรง หรือมีการกระจัด ตามแนว แรงงานเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น จูล (J) และกาลัง เป็นปริมาณงานท่ีทาได้ในหน่ึงหน่วยเวลา หรือ ปริมาณที่ใช้บอกความสามารถในการทางานได้ต่อหน่ึงหน่วยเวลา กาลังเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น วัตต์ (W)” 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวัด วิธีการ เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมิน - ใบงาน เกณฑ์รอ้ ยละ 70 % 1. อธิบายกระบวนการ - ตรวจใบงาน - สมดุ ประจาตวั หรอื แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ ส ร้ า ง เ ส ริ ม แ ล ะ ด า ร ง - ตรวจสมุดประจาตวั ม.2 เลม่ 1 เกณฑ์รอ้ ยละ 70 % ประสิทธิภาพการทางาน หรือแบบฝึกหัด - แบบประเมินทกั ษะ ผ่านเกณฑ์ กระบวนการ ของระบบประสาทได้ (K) วิทยาศาสตร์ ม.2 เกณฑ์รอ้ ยละ 70 % - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ เล่ม 1 คณุ ลักษณะอันพึง ประสงค์ 2. นาความรู้เรื่องการสร้าง - สงั เกตพฤติกรรมการ เสริมประสิทธิภาพของ ปฏบิ ตั งิ านของนักเรยี น ระบบประสาท ไปใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั (P) 3. เห็น - สังเกตพฤตกิ รรมการ ความสาคญั ของระบบ ปฏบิ ัตงิ านของนกั เรียน ประสาท (A) 8. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เร่ือง ระบบประสาท 3) ใบงาน เร่ือง ระบบประสาท 4) PowerPoint เร่ือง งานและกาลงั 5) สมุดประจาตัวนักเรยี น 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องสมดุ 2) อนิ เทอรเ์ นต็

9. ขอ้ เสนอแนะ  ใช้สอนได้  ควรปรบั ปรุง ………………………………………………………………………………..……………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 10. บนั ทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ชั้น ................ ความเหมาะสมของกิจกรรม  ดี  พอใช้  ปรับปรุง………………………. ความเหมาะสมของเนอื้ หา  ดี  พอใช้  ปรบั ปรงุ ……………………… ความเหมาะสมของเวลา  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… ความเหมาะสมของส่อื  ดี  พอใช้  ปรบั ปรุง……………………… อ่นื ๆ……………………………………………………………………………………………………... 11. สรุปผลการประเมินผู้เรียนด้านความรู้ นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดับ 1 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรูฯ้ อยู่ในระดับ 2 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดับ 3 นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดับ 4 12. สรปุ ผลการประเมินผู้เรียนด้านทกั ษะกระบวนการ นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดับ 1 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรู้ฯ อย่ใู นระดับ 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรียนร้ฯู อยู่ในระดบั 3 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 4 13. สรปุ ผลการประเมนิ ผเู้ รียนด้านคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 1 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรยี นรูฯ้ อยใู่ นระดบั 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดบั 3 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยูใ่ นระดับ 4

14. สรุปผลการประเมินผเู้ รียน นักเรยี นจานวน…….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……….. มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 1 (ปรับปรงุ ) นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……….. มผี ลการเรียนรฯู้ อย่ใู นระดบั 2 (พอใช้) นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ……….. มีผลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดับ 3 (ดี) นกั เรียนจานวน…….คน คดิ เป็นรอ้ ยละ……….. มีผลการเรยี นรู้ฯ อยู่ในระดับ 4 (ดมี าก) สรปุ โดยภาพรวมมีนกั เรียน จานวน………คน คดิ เปน็ ร้อยละ……….ที่ผา่ นเกณฑ์ระดับ 2 ข้ึนไป ซึง่ สูง (ต่า) กว่าเกณฑ์ที่กาหนดไวร้ ้อยละ………มนี ักเรียนจานวน……คน คดิ เป็นรอ้ ยละ…… ทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑท์ ่กี าหนด 15. ขอ้ สังเกต/คน้ พบ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 16. แนวทางแกไ้ ขปญั หาเพือ่ ปรบั ปรงุ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 17. ผลการพฒั นา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ................................................ (นางสาวจิรัชญา ชยั ธีรธรรม) ผู้สอน

ใบงาน เรอ่ื ง การทางานของระบบประสาท คาช้ีแจง ให้นกั เรียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามคาแนะนา 1. จงบอกโครงสรา้ งของเซลล์ประสาท 3. 1. 2. 2. ใหน้ กั เรยี นเขียนวงจรการทางานของระบบประสาทจากเหตกุ ารณต์ ่อไปนี้

เฉลยใบงาน เรื่อง การทางานของระบบประสาท คาชี้แจง ให้นักเรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมตามคาแนะนา 1. จงบอกโครงสร้างของเซลลป์ ระสาท 3. แอกซอน (axon) 1. ตวั เซลล์ (cell body) 2. เดนไดรต์ (dendrite) 2. ใหน้ กั เรียนเขียนวงจรการทางานของระบบประสาทจากเหตกุ ารณ์ต่อไปน้ี ตำมองเหน็ ธนบตั ร เซลลป์ ระสำทรบั ควำมรูส้ กึ สมอง เซลลป์ ระสำทสง่ั กำร เก็บธนบตั ร กม้ ตวั ลง มอื ถกู หนำมตำ เซลลป์ ระสำทรบั ควำมรูส้ กึ ไขสนั หลงั ดงึ มอื ออกจำก หนำม เซลลป์ ระสำทสง่ั กำร กลำ้ มเนอื้ มอื

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 หน่วย กา ร เ รีย น รู้ ร ะ บบ ร่ าง ก าย มนุษย์ ชื่อ แ ผน ก า รจั ดกา รเ รีย น รู้ ท่ี 1.5 ร ะ บบสื บพั น ธุ์ ร หั ส – ชื่ อ ร า ย วิ ช า ว 322102 วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1/2564 เวลา 5 ชั่วโมง ผู้สอน ครจู ริ ัชญา ชัยธีรธรรม โรงเรยี น ราชประชานเุ คราะห์ 31 อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆของพืชที่ทางานสัมพันธ์กั นรวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 1.2 ม.2/12 ระบุอวยั วะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ของเพศชายและเพศหญิง โดยใช้แบบจาลอง ว 1.2 ม.2/13 อธิบายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงท่ีควบคุมการเปล่ียนแปลงของร่างกาย เมอ่ื เขา้ สู่วัยหนมุ่ สาว ว 1.2 ม.2/14 ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาว โดยการดูแลรักษา รา่ งกายและจติ ใจของตนเองในชว่ งท่มี กี ารเปล่ียนแปลง ว 1.2 ม.2/15 อธิบายการตกไข่ การมีประจาเดือน การปฏิสนธิและการพัฒนาของไซโกตจนคลอด เปน็ ทารก ว 1.2 ม.2/16 เลอื กวิธกี ารคุมกาเนดิ ทเี่ หมาะสมกับสถานการณ์ทก่ี าหนด ว 1.2 ม.2/17 ตระหนักถึงผลกระทบของการต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร โดยการประพฤติตนให้ เหมาะสมเมือ่ เขา้ ส่วู ยั หนมุ่ สาว 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายโครงสรางและหนาที่ของระบบสืบพนั ธุของมนษุ ยได (K) 2. อธบิ ายเกี่ยวกับวฏั จกั รชวี ิตและการตง้ั ครรภได (K) 3. วเิ คราะหสาเหตุและปญหาท่ีเกดิ จากการมเี พศสมั พันธและเขียนเรียงความ เรือ่ ง ปญหาการ มีเพศสมั พันธุกอนวยั อนั ควรได (P) 4. มีความใฝเ่ รยี นรู้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ - ระบบสบื พันธ์เุ พศชาย - ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง

4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive system) การสืบพันธ์ุของมนุษย์ เป็นแบบปฏิสนธิภายในร่างกาย โดยเพศชายจะหล่งั อสจุ จิ านวนมากในช่องคลอดของเพศหญงิ อสุจิจะเดนิ ทางเขา้ ไปในมดลูก และท่อนาไข่เพ่ือ ปฏิสนธิกับไข่ ภายหลังการปฏิสนธิ ตัวอ่อนจะมีการฝังตัวและเจริญเติบโตท่ีผนังมดลูก โดยอยู่ในครรภ์ ประมาณ 9 เดือน ในระหว่างน้ันต่อมน้านมจะทาการผลิตน้านม เพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับการให้นมของเพศ หญิง 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวินยั รับผดิ ชอบ 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ขัน้ นา ขั้นที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) - นักเรยี นชมวีดโี อคลปิ เรื่อง Sperm Attack http://www.youtube.com/watch?v=PGrZZ7Ef2f0 - จากวดี โี อคลิป นักเรยี นสังเกตเห็นส่ิงใดบา้ ง - ส่ิงทนี่ กั เรยี นเหน็ ในวีดีคลปิ มีสง่ิ ใดท่ีเก่ียวข้องกับนักเรยี นบา้ งและอยู่ในระบบใดของมนุษย์ ขนั้ สอน ขั้นท่ี 2 สารวจคน้ หา (Explore) - นักเรยี นศกึ ษาระบบสืบพนั ธ์ุของมนุษย์จากใบความรเู้ รอื่ งระบบสบื พันธขุ์ องมนุษย์ - นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน ทากจิ กรรมตามใบกจิ กรรมเร่อื งระบบสบื พนั ธุ์ของมนุษย์ ข้นั นา ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain) อธิบายและลงข้อสรุป - นักเรยี นแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลงาน - ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนอภปิ รายและสรปุ

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) - นกั เรียนทศั นศกึ ษาออนไลน์ http://fieldtrip.ipst.ac.th/video.php?content_id=26 - นกั เรียนศกึ ษาวีดีทศั น์เร่ืองการกาเนิดเกิดเป็นมนุษย์ http://www.youtube.com/watch?v=omZXzjEEstg - นกั เรียนร่วมกนแสดงความคิดเห็นและอภิปรายในประเด็นดงั น้ี 1. ความแตกต่างระหว่างเซลลไ์ ข่และเซลลอ์ สุจิ 2. การปฏิสนธิคืออะไร 3. การปฏิสนธิเกิดข้ึนบริเวณใด 4. ภายหลงั การปฏิสนธิเซลลไ์ ขมกี ารเปล่ียนแปลงอยา่ งไร 5. เอม็ บริโอฝังตวั และเจริญเติบโตท่ใี ด ขั้นสรุป ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลการทาใบงาน เรอ่ื ง ระบบสืบพันธ์ุ 2. ครูตรวจแบบฝึกหัด เร่ือง ระบบสบื พนั ธ์ุ จากแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 3. นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรปุ เกีย่ วกบั ระบบสบื พนั ธุ์ ซง่ึ ได้ขอ้ สรปุ รว่ มกันวา่ “ระบบสืบพันธุ์เพศชาย อวยั วะที่สาคญั ในระบบสืบพนั ธเ์ พศชายประกอบด้วย ุอัณฑะ (Testis) เป็นต่อมรูปไข่ มี 2 อัน ทาหน้าที่สร้าง อสุจิ (Sperm) ถุงหุ้มอัณฑะ (Scrotum) อยู่นอกช่องท้อง ทาหน้าท่ีควบคุมอุณหภูมิให้พอเหมาะในการสร้าง ตัวอสุจิ หลอดเก็บตัวอสจุ ิ (Epididymis) อยดู่ ้านบนของอัณฑะ มลี กั ษณะเป็นท่อเล็ก ๆ ยาวประมาณ 6 เมตร ขดทบไปมา ทาหน้าที่เก็บตัวอสุจิ จนกระทังตัวอสุจิเติบโตและแข็งแรงพร้อมท่ีจะปฏิสนธิ หลอดนาตัวอสุจิ (Vas deferens) อยู่ต่อจากหลอดเก็บตัวอสุจิ ทาหน้าท่ีลาเลียงตัวอสุจิไปเก็บไว้ ที่ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (Seminal vasicle) ทาหน้าท่ีสร้างอาหารเพื่อเล้ียงตัวอสุจิ เช่น น้าตาลฟรักโตส วิตามินซี โปรตีนโกลบูลิน และสร้างของเหลวมาผสมกบตัวอสุจิเพื่อทาให้เกิดสภาพท่ีเหมาะสม กับตัวอสุจิ ต่อมลูกหมาก (Prostate gland) อยู่ตอนต้นของท่อปัสสาวะ (Urethra) ทาหน้าท่ีหล่ังสารที่มีฤทธิ์เป็นเบส อ่อน ๆ เข้าไปในท่อปัสสาวะเพ่ือทาลายฤทธิ์กรดในท่อปัสสาวะ ทาให้เกิดสภาพท่ีเหมาะสมกับตัวอสุจิ ต่อมคาวเปอร์ (Cowper gland) อยใู่ ตต้ อ่ มลูกหมากลงไปเป็นกระเปาะเลก็ ๆ ทาหนา้ ท่หี ลั่งสาร ไปหล่อลื่นท่อ ปัสสาวะในขณะท่เี กิดการกระต้นุ ทางเพศ ทาใหต้ ัวอสุจิเคล่ือนท่ีเร็ว ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง อวัยวะท่ีสาคัญใน ระบบสบื พันธ์ุเพศหญงิ ประกอบด้วย รังไข่(Ovary) มอี ยู 2 รงั ตั้งอยูขา้ งมดลูกข้างละรัง ่ มีขนาดโตเทา่ หัวแม่มือ มมี วล 2-3 กรัม ทาหนา้ ท่ี สรา้ งไข่ และสร้างฮอร์โมนเพศหญิง”

7. การวดั และประเมินผล รายการวัด วิธกี าร เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ - ใบงาน เกณฑ์รอ้ ยละ 70 % 1. อธิบายโครงสร - ตรวจใบงาน - สมุดประจาตวั หรือ แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ างและหนาที่ของระบบสืบ - ตรวจสมุดประจาตัว ม.2 เลม่ 1 เกณฑ์ร้อยละ 70 % พนั ธุของมนุษยได (K) หรือแบบฝึกหัด - แบบประเมินทกั ษะ ผ่านเกณฑ์ กระบวนการ 2. อธิ บา ย วิทยาศาสตร์ ม.2 เกณฑ์ร้อยละ 70 % - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ เกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตและ เล่ม 1 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การตง้ั ครรภได (K) 3. วิเคราะหสาเหตุและป - สงั เกตพฤตกิ รรมการ ญหาที่เกิดจากการมีเพศ ปฏิบตั ิงานของนักเรยี น สั ม พั น ธ แ ล ะ เ ขี ย น เรียงความ เรื่อง ป ญหา การมีเพศสัมพันธุ ก อนวัย อนั ควรได (P) 4. มคี วามใฝเ่ รยี นรู้ (A) - สงั เกตพฤตกิ รรมการ ปฏิบตั งิ านของนักเรียน 8. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่อื การเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เรือ่ ง ระบบสืบพนั ธุ์ 3) ใบงาน เรือ่ ง ระบบสืบพันธุ์ 4) PowerPoint เร่อื ง ระบบสบื พนั ธุ์ 5) สมดุ ประจาตัวนักเรียน 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องสมดุ 2) อินเทอรเ์ น็ต 9. ข้อเสนอแนะ  ใชส้ อนได้  ควรปรับปรุง ………………………………………………………………………………..……………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

10. บนั ทกึ หลังการจัดการเรียนรู้ ช้นั ................ ความเหมาะสมของกิจกรรม  ดี  พอใช้  ปรับปรุง………………………. ความเหมาะสมของเนอื้ หา  ดี  พอใช้  ปรบั ปรุง……………………… ความเหมาะสมของเวลา  ดี  พอใช้  ปรบั ปรงุ ……………………… ความเหมาะสมของสือ่  ดี  พอใช้  ปรบั ปรุง……………………… อื่น ๆ……………………………………………………………………………………………………... 11. สรปุ ผลการประเมินผู้เรยี นด้านความรู้ นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดบั 1 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยู่ในระดับ 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มีผลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดบั 3 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรูฯ้ อยใู่ นระดบั 4 12. สรุปผลการประเมินผเู้ รียนดา้ นทักษะกระบวนการ นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดบั 1 นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดับ 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดับ 3 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มีผลการเรยี นร้ฯู อยู่ในระดับ 4 13. สรปุ ผลการประเมินผเู้ รียนด้านคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดับ 1 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยูใ่ นระดับ 2 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มผี ลการเรียนรู้ฯ อย่ใู นระดับ 3 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยใู่ นระดบั 4 14. สรปุ ผลการประเมนิ ผูเ้ รยี น นกั เรยี นจานวน…….คน คดิ เป็นรอ้ ยละ……….. มผี ลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดบั 1 (ปรบั ปรุง) นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ……….. มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 2 (พอใช)้ นกั เรยี นจานวน…….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……….. มผี ลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดบั 3 (ด)ี นกั เรียนจานวน…….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……….. มีผลการเรยี นรฯู้ อยใู่ นระดบั 4 (ดมี าก) สรปุ โดยภาพรวมมนี ักเรียน จานวน………คน คดิ เป็นร้อยละ……….ทีผ่ ่านเกณฑร์ ะดบั 2 ขึน้ ไป ซึ่งสูง (ต่า) กว่าเกณฑท์ ่ีกาหนดไว้รอ้ ยละ………มีนกั เรียนจานวน……คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ…… ทไ่ี ม่ผ่านเกณฑท์ ก่ี าหนด

15. ขอ้ สงั เกต/ค้นพบ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 16. แนวทางแกไ้ ขปญั หาเพอ่ื ปรบั ปรงุ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 17. ผลการพฒั นา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................ (นางสาวจริ ัชญา ชยั ธรี ธรรม) ผู้สอน

ใบงาน เร่อื ง ระบบสบื พันธุข์ องมนษุ ย์ คาช้แี จง ใหเ้ ขียนสว่ นประกอบของระบบสบื พนั ธเุ์ พศชายและระบบสบื พนั ธเุ์ พศหญงิ สว่ นประกอบของระบบสืบพันธเ์ุ พศชาย ได้แก่ 3 45 12 6 7 สว่ นประกอบของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ได้แก่ 34 2 5 1 6

เฉลยใบงาน เร่อื ง ระบบสบื พนั ธุข์ องมนุษย์ คาชี้แจง ใหเ้ ขยี นส่วนประกอบของระบบสืบพนั ธเุ์ พศชายและระบบสบื พนั ธเ์ุ พศหญิง 3 4 ส่วนประกอบของระบบสืบพนั ธเ์ุ พศชาย ไดแ้ ก่ 5 1. อณั ฑะ 26 2. ถุงอณั ฑะ 1 3. ต่อมสร้างนา้ เล้ยี งอสุจิ 7 4. กระเพาะปัสสาวะ 5. ท่อนาอสุจิ 6. ทอ่ ปัสสาวะ 7. องคชาต 34 ส่วนประกอบของระบบสืบพนั ธุเ์ พศหญิง ไดแ้ ก่ 1. รงั ไข่ 2 5 1 6 2. ปีกมดลูก 3. ท่อนาไข่ 4. มดลกู 5. เย่ือบมุ ดลกู 6. ช่องคลอด